SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
Télécharger pour lire hors ligne
ใบความรู้ที่ 1.4
การเลือกหัวเรืองโครงงาน
่
…………………………………………………………………………………………………………………
บทนา
การคิดหาหัวข้อในการทาโครงงาน เป็นขั้นตอนที่ยาก เนื่องจากนักเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้ถูกฝึกฝนให้คิด
หัวเรื่องโครงงานส่วนใหญ่ได้มาจากความสนใจ ความอยากรู้อยากเห็นของนักเรียน ตลอดจนประสบการณ์
ต่างๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนทาให้นักเรียนมองเห็นปัญหาได้
หัวเรื่องที่เลือกควรเป็นหัวเรื่องที่อยู่ในความสนใจของผู้ทาโครงงาน และควรเป็นหัวเรื่องที่ท้าทาย
ความสามารถและความสนใจ และหากโครงงานใดต้องทากันเป็ นทีม หัวเรื่องที่เลือกก็ต้องเป็นหัวเรื่องที่อยู่ใน
ความสนใจของกลุ่ม และสามารถใช้ศักยภาพของแต่ละคนช่วยกันทาโครงงานให้สาเร็จได้
การเลือกหัวเรื่องที่ยากเกินไป อาจทาให้ไม่สามารถทางานให้สาเร็จได้ หรือถ้าเลือกหัวเรื่องที่ง่าย
เกินไปก็ทาให้ขาดความน่าสนใจ เมื่อผู้ทาโครงงานตัดสินใจเลือกหัวเรื่องแล้ว ควรยึดการทางานให้อยู่ในกรอบ
ของหัวเรื่องที่เลือก แต่ทั้งนี้ หากลงมือทางานในหัวเรื่องที่เลือกไปได้สักระยะและค้นพบว่าไม่ใช่เรื่องที่น่าสนใจ
และไม่รู้สึกอยากทาในเรื่องนั้น ผู้ทาโครงงานอาจหยุดทาโครงงานในหัวเรื่องนั้น และเปลี่ยนหาหัวเรื่องที่สนใจ
อัน ใหม่ทา เพราะการทาโครงงานที่ไม่รู้สึ กอยากทา ทาให้ ผู้ทาโครงงานขาดความตั้งใจทางาน แต่ทั้งนี้มี
คาแนะนาว่า ควรพยายามไม่เปลี่ยนหัวเรื่องโครงงาน เพราะมีหลายกรณีที่การทาโครงงานที่ไม่น่าสนใจใน
ระยะต้น แต่เมื่อตั้งใจทางานต่อไป อาจกลับกลายเป็นได้ผลงานที่ดีที่คาดไม่ถึงออกมาได้
เทคนิคการเลือกหัวเรื่อง
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถามหรือความ
สนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะ
นามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้
1. การสังเกตสิ่งใกล้ตัวที่มองเห็นอยู่หรือเป็นอยู่ทุกวัน แล้วเกิดคาถามขึ้นเป็นลูกโซ่ อาจทาให้เกิด
คาถามที่น่าสนใจ จนนามาทาเป็นหัวเรื่องของโครงงานได้
2. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ
3. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
4. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
6. งานอดิเรกของนักเรียน
7. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
การเลือกหัวเรื่อง
ในการตัดสินใจเลือกัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญ
ดังนี้
1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
3. มีแหล่งความรู้เพียงขอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
4. มีเวลาเพียงพอ
5. มีงบประมาณเพียงพอ
6. มีความปลอดภัย
การเขียนชื่อหัวเรื่อง
การเขียนชื่อหัวเรื่องโครงงานมีความสาคัญต่อผู้ทาโครงงาน และผู้อื่นที่สนใจ ดังนั้นชื่อจะต้องกระชับ
ใช้ภาษาง่ายๆ สามารถสื่อให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าใจได้ ที่สาคัญ คือ ทาให้ผู้อื่นรู้ว่าโครงงานนี้มีเป้าหมาย
อย่างไร
บทคัดย่อ
บทคัดย่อเป็นภาพรวมของโครงงานที่ทาตั้งแต่ต้นจนจบ ในการเขียนบทคัดย่อผู้เขียนต้องคานึงถึง
จุดมุ่งหมายของโครงงาน รูปแบบการทดลองเพื่อหาคาตอบ ผลการทดลองที่คาดว่าจะได้ สิ่งที่ได้มีความสาคัญ
อย่างไร และแนวทางการพัฒนาในอนาคต

Contenu connexe

Similaire à 1.4 การเลือกหัวเรื่องโครงงาน

ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทmcf_cnx1
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectFelinicia
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานmansupotyrc
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานls_lalita
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4Nuties Electron
 
ใบงานทที่ 3
ใบงานทที่ 3ใบงานทที่ 3
ใบงานทที่ 3Mashmallow Korn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Jom-Jam HulaHula
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4powe1234
 
ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2
ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2
ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2บุ๊กบิ๊ก หุหุหุ
 
ใบงานทที่ 4
ใบงานทที่ 4ใบงานทที่ 4
ใบงานทที่ 4Mashmallow Korn
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Jom-Jam HulaHula
 

Similaire à 1.4 การเลือกหัวเรื่องโครงงาน (20)

K3
K3K3
K3
 
Computer project 2562_607
Computer project 2562_607Computer project 2562_607
Computer project 2562_607
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
K3
K3K3
K3
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานทที่ 3
ใบงานทที่ 3ใบงานทที่ 3
ใบงานทที่ 3
 
Com
ComCom
Com
 
Com 4
Com 4Com 4
Com 4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 4 8
ใบงานที่ 4 8ใบงานที่ 4 8
ใบงานที่ 4 8
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2
ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2
ออกแบบและพัฒนาโครงงาน บทที่ 2
 
ใบงานทที่ 4
ใบงานทที่ 4ใบงานทที่ 4
ใบงานทที่ 4
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
2 3
2 32 3
2 3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Plus de Taweep Saechin

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานTaweep Saechin
 
โครงร่างโครงงาน E book
โครงร่างโครงงาน E bookโครงร่างโครงงาน E book
โครงร่างโครงงาน E bookTaweep Saechin
 
1.4 เครื่องมือที่สามารถนำมาใช้ในการสร้างโครงงาน
1.4 เครื่องมือที่สามารถนำมาใช้ในการสร้างโครงงาน1.4 เครื่องมือที่สามารถนำมาใช้ในการสร้างโครงงาน
1.4 เครื่องมือที่สามารถนำมาใช้ในการสร้างโครงงานTaweep Saechin
 
1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่มTaweep Saechin
 
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Taweep Saechin
 
1.1 โครงงานคอมพิวเตอร์
1.1 โครงงานคอมพิวเตอร์1.1 โครงงานคอมพิวเตอร์
1.1 โครงงานคอมพิวเตอร์Taweep Saechin
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Taweep Saechin
 
ความสำคัญของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ความสำคัญของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Taweep Saechin
 
การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6Taweep Saechin
 
การแข่งขันหุ่นยนต์ผสม ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันหุ่นยนต์ผสม ระดับชั้น ม.4-ม.6การแข่งขันหุ่นยนต์ผสม ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันหุ่นยนต์ผสม ระดับชั้น ม.4-ม.6Taweep Saechin
 
การแข่งขันหุ่นยนต์บังคับมือ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันหุ่นยนต์บังคับมือ ระดับชั้น ม.4-ม.6การแข่งขันหุ่นยนต์บังคับมือ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันหุ่นยนต์บังคับมือ ระดับชั้น ม.4-ม.6Taweep Saechin
 
การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.4-ม.6การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.4-ม.6Taweep Saechin
 
การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.1-ม.3
การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.1-ม.3การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.1-ม.3
การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.1-ม.3Taweep Saechin
 
การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6Taweep Saechin
 
การแข่งขันการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6การแข่งขันการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6Taweep Saechin
 
การแข่งขันการสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันการสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6การแข่งขันการสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันการสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6Taweep Saechin
 

Plus de Taweep Saechin (20)

Aaa
AaaAaa
Aaa
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน E book
โครงร่างโครงงาน E bookโครงร่างโครงงาน E book
โครงร่างโครงงาน E book
 
1.4 เครื่องมือที่สามารถนำมาใช้ในการสร้างโครงงาน
1.4 เครื่องมือที่สามารถนำมาใช้ในการสร้างโครงงาน1.4 เครื่องมือที่สามารถนำมาใช้ในการสร้างโครงงาน
1.4 เครื่องมือที่สามารถนำมาใช้ในการสร้างโครงงาน
 
1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม
 
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
1.1 โครงงานคอมพิวเตอร์
1.1 โครงงานคอมพิวเตอร์1.1 โครงงานคอมพิวเตอร์
1.1 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความสำคัญของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ความสำคัญของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันการออกแบบสิ่งของเครื่องใช้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
 
การแข่งขันหุ่นยนต์ผสม ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันหุ่นยนต์ผสม ระดับชั้น ม.4-ม.6การแข่งขันหุ่นยนต์ผสม ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันหุ่นยนต์ผสม ระดับชั้น ม.4-ม.6
 
การแข่งขันหุ่นยนต์บังคับมือ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันหุ่นยนต์บังคับมือ ระดับชั้น ม.4-ม.6การแข่งขันหุ่นยนต์บังคับมือ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันหุ่นยนต์บังคับมือ ระดับชั้น ม.4-ม.6
 
การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.4-ม.6การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.4-ม.6
 
การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.1-ม.3
การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.1-ม.3การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.1-ม.3
การแข่งขันหุ่นยนต์อัตโนมัติ ระดับชั้น ม.1-ม.3
 
การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
 
การแข่งขันการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6การแข่งขันการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
 
การแข่งขันการสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันการสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6การแข่งขันการสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
การแข่งขันการสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ระดับชั้น ม.4-ม.6
 
ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
ก.ค.ศ.2
ก.ค.ศ.2ก.ค.ศ.2
ก.ค.ศ.2
 

1.4 การเลือกหัวเรื่องโครงงาน

  • 1. ใบความรู้ที่ 1.4 การเลือกหัวเรืองโครงงาน ่ ………………………………………………………………………………………………………………… บทนา การคิดหาหัวข้อในการทาโครงงาน เป็นขั้นตอนที่ยาก เนื่องจากนักเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้ถูกฝึกฝนให้คิด หัวเรื่องโครงงานส่วนใหญ่ได้มาจากความสนใจ ความอยากรู้อยากเห็นของนักเรียน ตลอดจนประสบการณ์ ต่างๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนทาให้นักเรียนมองเห็นปัญหาได้ หัวเรื่องที่เลือกควรเป็นหัวเรื่องที่อยู่ในความสนใจของผู้ทาโครงงาน และควรเป็นหัวเรื่องที่ท้าทาย ความสามารถและความสนใจ และหากโครงงานใดต้องทากันเป็ นทีม หัวเรื่องที่เลือกก็ต้องเป็นหัวเรื่องที่อยู่ใน ความสนใจของกลุ่ม และสามารถใช้ศักยภาพของแต่ละคนช่วยกันทาโครงงานให้สาเร็จได้ การเลือกหัวเรื่องที่ยากเกินไป อาจทาให้ไม่สามารถทางานให้สาเร็จได้ หรือถ้าเลือกหัวเรื่องที่ง่าย เกินไปก็ทาให้ขาดความน่าสนใจ เมื่อผู้ทาโครงงานตัดสินใจเลือกหัวเรื่องแล้ว ควรยึดการทางานให้อยู่ในกรอบ ของหัวเรื่องที่เลือก แต่ทั้งนี้ หากลงมือทางานในหัวเรื่องที่เลือกไปได้สักระยะและค้นพบว่าไม่ใช่เรื่องที่น่าสนใจ และไม่รู้สึกอยากทาในเรื่องนั้น ผู้ทาโครงงานอาจหยุดทาโครงงานในหัวเรื่องนั้น และเปลี่ยนหาหัวเรื่องที่สนใจ อัน ใหม่ทา เพราะการทาโครงงานที่ไม่รู้สึ กอยากทา ทาให้ ผู้ทาโครงงานขาดความตั้งใจทางาน แต่ทั้งนี้มี คาแนะนาว่า ควรพยายามไม่เปลี่ยนหัวเรื่องโครงงาน เพราะมีหลายกรณีที่การทาโครงงานที่ไม่น่าสนใจใน ระยะต้น แต่เมื่อตั้งใจทางานต่อไป อาจกลับกลายเป็นได้ผลงานที่ดีที่คาดไม่ถึงออกมาได้ เทคนิคการเลือกหัวเรื่อง โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถามหรือความ สนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะ นามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้ 1. การสังเกตสิ่งใกล้ตัวที่มองเห็นอยู่หรือเป็นอยู่ทุกวัน แล้วเกิดคาถามขึ้นเป็นลูกโซ่ อาจทาให้เกิด คาถามที่น่าสนใจ จนนามาทาเป็นหัวเรื่องของโครงงานได้ 2. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ 3. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ 4. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน 6. งานอดิเรกของนักเรียน 7. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. การเลือกหัวเรื่อง ในการตัดสินใจเลือกัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้ 1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา 2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ 3. มีแหล่งความรู้เพียงขอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา 4. มีเวลาเพียงพอ 5. มีงบประมาณเพียงพอ 6. มีความปลอดภัย การเขียนชื่อหัวเรื่อง การเขียนชื่อหัวเรื่องโครงงานมีความสาคัญต่อผู้ทาโครงงาน และผู้อื่นที่สนใจ ดังนั้นชื่อจะต้องกระชับ ใช้ภาษาง่ายๆ สามารถสื่อให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าใจได้ ที่สาคัญ คือ ทาให้ผู้อื่นรู้ว่าโครงงานนี้มีเป้าหมาย อย่างไร บทคัดย่อ บทคัดย่อเป็นภาพรวมของโครงงานที่ทาตั้งแต่ต้นจนจบ ในการเขียนบทคัดย่อผู้เขียนต้องคานึงถึง จุดมุ่งหมายของโครงงาน รูปแบบการทดลองเพื่อหาคาตอบ ผลการทดลองที่คาดว่าจะได้ สิ่งที่ได้มีความสาคัญ อย่างไร และแนวทางการพัฒนาในอนาคต