SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
แผนการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้
   ชุดกิจกรรมส่ งเสริมศักยภาพการเรียนรู้ วทยาศาสตร์
                                          ิ
            ด้ วยการจัดการเรียนรู้ แบบ 4MAT

             หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง สารละลาย
รายวิชา ว21101 วิชา วิทยาศาสตร์ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1




                            โดย
                 นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
              กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์
                    โรงเรียนนนทรีวิทยา
การวิเคราะห์ ตัวชี้วัด
       เพือจัดทาคาอธิบายรายวิชา
          ่
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
            โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา
                       ิ                       ิ
แบบวิเคราะห์ ตวชี้วด/ผลการเรียนรู้ เพือจัดทาคาอธิบายรายวิชา ว 21101 วิทยาศาสตร์ 1
                      ั ั                     ่


          ตัวชี้วด
                 ั                                          คาสาคัญ (Key word)
                                     เนือหา/ความรู้
                                        ้                   กระบวนการ/กริยา      คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ทดลองและจาแนกสารเป็ น       - การจาแนกสารเป็ น       - ทดลอง                          มีวินย  ั
กลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรื อขนาด   กลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรื อ - จาแนก                         ใฝ่ เรี ยนรู้
อนุภาคเป็ นเกณฑ์ และอธิบาย     ขนาดอนุภาคเป็ นเกณฑ์ - อธิบาย
สมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม       และสมบัติของสารในแต่
ว 3.1 ม.1/1                    ละกลุ่ม
2. อธิบายสมบัติและการ          - สมบัติและการเปลี่ยน - อธิบาย                            มีวินย  ั
เปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้      สถานะของสาร โดยใช้                                       ใฝ่ เรี ยนรู้
แบบจาลองการจัดเรี ยงอนุภาค     แบบจาลองการจัดเรี ยง
ของสาร ว 3.1 ม.1/2             อนุภาคของสาร
3. ทดลองและอธิบายสมบัติ        - สมบัติความเป็ นกรด- - ทดลอง                       มุ่งมันในการทางาน
                                                                                         ่
ความเป็ นกรด-เบสของสาระ        เบสของสารละลาย           - อธิบาย                           ใฝ่ เรี ยนรู้
ละลาย ว 3.1 ม.1/3
4. ตรวจสอบค่า pH ของสาระ       - ค่า pH ของสาระ           - สังเกต                 มุ่งมันในการทางาน
                                                                                         ่
ละลายและนาความรู้ไปใช้         ละลายและนาความรู้ไป        - อภิปราย                        มีวินย
                                                                                                ั
ประโยชน์ ว 3.1 ม.1/4           ใช้ประโยชน์
5. ทดลองและอธิบายวิธี          - วิธีเตรี ยมสารละลายที่   - อธิบาย                        ใฝ่ เรี ยนรู้
เตรี ยมสารละลายที่มีความ       มีความเข้มข้นเป็ นร้อย     - อภิปราย                  อยูอย่างพอเพียง
                                                                                        ่
เข้มข้นเป็ นร้อยละ และ         ละ และการนาความรู้
อภิปรายการนาความรู้เกี่ยวกับ   เกี่ยวกับสารละลายไปใช้
สารละลายไปใช้ประโยชน์          ประโยชน์
ว 3.2 ม.1/1
6. ทดลองและอธิบายการ           - การเปลี่ยนแปลง       - ทดลอง                              ใฝ่ เรี ยนรู้
เปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ      สมบัติ มวล และพลังงาน - อธิบาย                      มุ่งมันในการทางาน
                                                                                         ่
พลังงานของสาร เมื่อสาร         ของสาร เมื่อสารเปลี่ยน
เปลี่ยนสถานะและเกิดการ         สถานะและเกิดการ
ละลาย ว 3.2 ม.1/2              ละลาย
ตัวชี้วด
                  ั                                         คาสาคัญ (Key word)
                                เนือหา/ความรู้
                                   ้                        กระบวนการ/กริยา      คุณลักษณะอันพึงประสงค์
7. ทดลองและอธิบายปัจจัยที่ - ปัจจัยที่มีผลต่อการ        - ทดลอง                             ใฝ่ เรี ยนรู้
มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและ เปลี่ยนสถานะและการ            - อธิบาย                    มุ่งมันในการทางาน
                                                                                          ่
การละลายของสาร ว 3.2       ละลายของสาร
ม.1/3
8. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิ - อุณหภูมิและการวัด           - ทดลอง                     มุ่งมันในการทางาน
                                                                                          ่
และการวัดอุณหภูมิ          อุณหภูมิ                     - อธิบาย                            มีวินย
                                                                                                 ั
ว 5.1 ม.1/1
9. สังเกตและอธิบายการถ่าย - การถ่ายโอนความร้อน          - สังเกต                            ใฝ่ เรี ยนรู้
โอนความร้อน และนาความรู้ และนาความรู้ไปใช้              - อธิบาย                    มุ่งมันในการทางาน
                                                                                          ่
ไปใช้ประโยชน์ ว 5.1 ม.1/2 ประโยชน์

10. อธิบายการดูดกลืน การ         - การดูดกลืน การคาย    - อธิบาย                          ใฝ่ เรี ยนรู้
คายความร้อน โดยการแผ่รังสี       ความร้อน โดยการแผ่                                  อยูอย่างพอเพียง
                                                                                        ่
และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์        รังสีและนาความรู้ไปใช้
ว 5.1 ม.1/3                      ประโยชน์
11. อธิบายสมดุลความร้อน          - สมดุลความร้อนและผล - อธิบาย                              ใฝ่ เรี ยนรู้
และผลของความร้อนต่อการ           ของความร้อนต่อการ                                  มุ่งมันในการทางาน
                                                                                          ่
ขยายตัวของสารและนาความรู้        ขยายตัวของสารและนา
ไปใช้ประโยชน์ ว 5.1 ม.1/4        ความรู้ไปใช้ประโยชน์

12. ตั้งคาถามที่กาหนด                      -            - ตั้งคาถาม                    ซื่อสัตย์สุจริ ต
ประเด็นหรื อตัวแปรที่สาคัญ                              - ศึกษาค้นคว้า                     มีวินยั
ในการสารวจตรวจสอบ หรื อ
ศึกษาค้นคว้า เรื่ องที่สนใจได้
อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
ว 8.1 ม.1/1
13. สร้างสมมติฐานที่สามารถ                              - สร้างสมมติฐาน                ซื่อสัตย์สุจริ ต
ตรวจสอบได้ และวางแผน                                    - สารวจตรวจสอบ                     มีวินยั
การสารวจตรวจสอบหลายๆ
วิธี ว 8.1 ม.1/2
ตัวชี้วด
                  ั                                      คาสาคัญ (Key word)
                                    เนือหา/ความรู้
                                       ้                 กระบวนการ/กริยา      คุณลักษณะอันพึงประสงค์
14. เลือกเทคนิควิธีการสารวจ               -          - สารวจตรวจสอบ                 ซื่อสัตย์สุจริ ต
ตรวจสอบ ทั้งเชิงปริ มาณและเชิง                       - การใช้เครื่ องมือ           อยูอย่างพอเพียง
                                                                                      ่
คุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ
ปลอดภัย โดยใช้วสดุและ
                   ั
เครื่ องมือที่เหมาะสม ว ม.1/3
                      8.1

15. รวบรวมข้อมูล จัดกระทา                 -          - สารวจตรวจสอบ             มุ่งมันในการทางาน
                                                                                      ่
ข้อมูล เชิงปริ มาณและคุณภาพ                          - การจัดกระทาข้อมูล                ใฝ่ เรี ยนรู้
ว 8.1 ม.1/4

16. วิเคราะห์และประเมินความ               -          - สารวจตรวจสอบ             มุ่งมันในการทางาน
                                                                                      ่
สอดคล้องของประจักษ์พยาน                              - วิเคราะห์                        มีวินย
                                                                                             ั
กับข้อสรุ ป ทั้งที่สนับสนุนหรื อ
ขัดแย้งกับสมมติฐานและความ
ผิดปกติของข้อมูลจากการ
สารวจตรวจสอ ว8.1 ม.1/5
                บ

17. สร้างแบบจาลอง หรื อ                   -          - สารวจตรวจสอบ             มุ่งมันในการทางาน
                                                                                      ่
รู ปแบบที่อธิบายผลหรื อ                              - สร้างแบบจาลอง                    ใฝ่ เรี ยนรู้
แสดงผลของการสารวจ
ตรวจสอบ ว 8.1 ม.1/6

18. สร้างคาถามที่นาไปสู่การ               -          - สารวจตรวจสอบ             มุ่งมันในการทางาน
                                                                                      ่
สารวจ  ตรวจสอบในเรื่ องที่                           - อธิบาย                           ใฝ่ เรี ยนรู้
เกี่ยวข้องและนาความรู้ที่ได้ไปใช้
ในสถานการณ์ใหม่ หรื ออธิบาย
เกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและ
ผลของโครงงานหรื อชิ้นงานให้
ผูอื่นเข้าใจ ว ม.1/7
  ้          8.1
ตัวชี้วด
                   ั                                     คาสาคัญ (Key word)
                                  เนือหา/ความรู้
                                     ้                    กระบวนการ/กริยา     คุณลักษณะอันพึงประสงค์
19. บันทึกและอธิบายผลการ                -          -   บันทึก                    มุ่งมันในการทางาน
                                                                                       ่
สังเกต การสารวจตรวจสอบ                             -   อธิบาย                            ใฝ่ เรี ยนรู้
ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่ง                           -   สังเกต
ความรู้ต่างๆ ให้ได้ขอมูลที่
                    ้                              -   สารวจตรวจสอบ
เชื่อถือได้และยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงความรู้ความรู้ที่
ค้นพบ เมื่อมีขอมูลและ
                ้
ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้น
หรื อโต้แย้งจากเดิม ว 8.1 ม.1/8

20. จัดแสดงผลงาน เขียน                  -          - อธิบาย                      มุ่งมันในการทางาน
                                                                                       ่
รายงานและหรื ออธิบายเกี่ยวกับ
            /                                      - ปฏิบติ
                                                         ั                               มีวินย
                                                                                              ั
แนวคิด กระบวนการ และผล
ของโครงงานหรื อชิ้นงานให้
ผูอื่นเข้าใจ ว8.1 ม.1/9
  ้
คาอธิบายรายวิชา
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
            โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา
                       ิ                       ิ
คาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์ 1
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1                                                           ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
1.5 หน่ วยกิต                                                                           เวลา 60 ชั่วโมง


           ศึกษาวิเคราะห์การจาแนกสารเป็ นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรื อขนาดอนุ ภาคเป็ นเกณฑ์ และสมบัติของ
สารในแต่ละกลุ่ม สมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจาลองการจัดเรี ยงอนุภาคของสาร
สมบัติความเป็ นกรด-เบสของสาระละลาย ค่า pH ของสาระละลายและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ วิธีเตรี ยม
สารละลายที่มีความเข้มข้นเป็ นร้อยละ และการนาความรู้เกี่                ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์
การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย ปัจจัยที่มี
ผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสาร                 อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ การถ่ายโอนความร้อน
การดูดกลืน การคายความร้อน โดยการแผ่รังสี สมดุลความร้อนและผลของความร้อนต่อการขยายตัวของ
สารและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
           โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูล และการอภิปราย
           เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรี ยนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริ ยธรรม คุณธรรม และ
ค่านิยมที่เหมาะสม

ตัวชี้วด
       ั
ว 3.1 ม.1/1 , ว 3.1 ม.1/2 , ว 3.1 ม.1/3 , ว 3.1 ม.1/4
ว 3.2 ม.1/1 , ว 3.2 ม.1/2 , ว 3.2 ม.1/3
ว 5.1 ม.1/1 , ว 5.1 ม.1/2 , ว 5.1 ม.1/3 , ว 5.1 ม.1/4
ว 8.1 ม.1/1 , ว 8.1 ม.1/2 , ว 8.1 ม.1/3 , ว 8.1 ม.1/4 , ว 8.1 ม.1/5 , ว 8.1 ม.1/6 , ว 8.1 ม.1/7 , ว 8.1 ม.1/8
ว 8.1 ม.1/9

รวม        20      ตัวชี้วด
                          ั
โครงสร้ างรายวิชา
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
            โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา
                       ิ                       ิ
โครงสร้ างรายวิชาวิทยาศาสตร์ 1
                     รหัสวิชา ว21101         ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1        1.5 หน่ วยกิต
                    ภาคเรียนที่ 1   เวลาเรียน 60 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 100               คะแนน
ลาดับที่     มาตรฐานการเรี ยนรู้/              สาระสาคัญ                   ชื่อหน่วยการ        เวลา น้ าหนัก
                     ตัวชี้วด
                            ั                 (Key Concept)                    เรี ยนรู้     (ชัวโมง) คะแนน
                                                                                                ่
   1       ว 8.1 ม.1/1 ,               การใช้กระบวนการทาง                  เราจะเรี ยนรู้         10    10
           ว 8.1 ม.1/2 ,            วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ใน         วิทยาศาสตร์
           ว 8.1 ม.1/3 ,            การสืบเสาะหาความรู้                        อย่างไร
           ว 8.1 ม.1/4 ,
           ว 8.1 ม.1/5 ,
           ว 8.1 ม.1/6 ,
           ว 8.1 ม.1/7 ,
           ว 8.1 ม.1/8 ,
           ว 8.1 ม.1/9
   2       ว 3.2 ม.1/1 ,            การจาแนกสารเป็ นกลุ่มโดยใช้เนื้อ       สารรอบตัว           12       15
           ว 3.2 ม.1/2 ,            สารหรื อขนาดอนุภาคเป็ นเกณฑ์ และ
           ว 3.2 ม.1/3              สมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม สมบัติ
           ว.8.1 ม.1/1              และการเปลี่ยนสถานะของสาร โดย
                                    ใช้แบบจาลองการจัดเรี ยงอนุภาคของ
                                    สาร
   3       ว 3.2 ม.1/1 ,            วิธีเตรี ยมสารละลายที่มีความเข้มข้น     สารละลาย           12       15
           ว 3.2 ม.1/2 ,            เป็ นร้อยละ และการนาความรู้เกี่ยวกับ
           ว 3.2 ม.1/3              สารละลายไปใช้ประโยชน์
                                    การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ
                                    พลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยน
                                    สถานะและเกิดการละลาย ปัจจัยที่มี
                                    ผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการ
                                    ละลายของสาร

   4                                สรุ ปทบทวนภาพรวม(สอบกลางภาค)                 -             2        15
ลาดับที่     มาตรฐานการเรี ยนรู้/               สาระสาคัญ               ชื่อหน่วยการ       เวลา น้ าหนัก
                   ตัวชี้วด
                          ั                    (Key Concept)                 เรี ยนรู้   (ชัวโมง) คะแนน
                                                                                            ่
   5       ว 3.1 ม.1/3 ,            สมบัติความเป็ นกรด-เบสของสาระ        สารละลาย             10    10
           ว 3.1 ม.1/4              ละลาย ค่า pH ของสาระละลายและ            กรด-เบส
                                    นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
   6       ว 5.1 ม.1/1              อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ การถ่าย   พลังงานความ        12       15
           ว 5.1 ม.1/2              โอนความร้อน การดูดกลืน การคาย           ร้อน
           ว 5.1 ม.1/3              ความร้อน โดยการแผ่รังสี สมดุล
                                    ความร้อนและผลของความร้อนต่อ
           ว 5.1 ม.1/4
                                    การขยายตัวของสารและนาความรู้ไป
                                    ใช้ประโยชน์
   7                                       สรุ ปทบทวนภาพรวม                   -            2        20
                                              (สอบปลายภาค)

                                           รวม                                             60      100
การกาหนดเปาหมายของหน่ วยการเรียนรู้
          ้
 หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง สารละลาย
 รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
             โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
   กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา
                        ิ                       ิ
หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สารละลาย
                    รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์
                                                                       ิ
                              ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1   ภาคเรียนที่ 1 เวลา 12 ชั่วโมง
                             ผู้สอน นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ โรงเรียนนนทรีวทยา
                                                                          ิ
     *****************************************************************************
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 3.2 : เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย
                                                                                   การ
                    เกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรี ยนรู้ และ
                    นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวชี้วด
       ั
           1. ทดลองและอธิบายวิธีเตรี ยมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็ นร้อยละ และอภิปรายการนาความรู้
              เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ (ว.3.2 ม.1/1)
           2. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและพลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะ
              และเกิดการละลาย (ว.3.2 ม.1/2)
           3. ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร (ว.3.2 ม.1/3)
           มาตรฐาน ว 8.1 :ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้
การแก้ปัญหารู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและ
ตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเค รื่ องมือที่มีอยูในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม
                  ้                          ่
และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน
                                       ั
ตัวชี้วด
       ั
           1. เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ
              ปลอดภัย โดยใช้วสดุและเครื่ องมือที่เหมาะสม (ว.8.1 ม.1-3/3)
                             ั
           2. สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู้ที่ได้ไปใช้ใน
              สถานการณ์ใหม่หรื ออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผอื่น
                                                                            หรื อ          ู้
              เข้าใจ (ว.8.1 ม.1-3/7)
3. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ
             ให้ได้ขอมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่คนพบเมื่อมีขอมูลและประจักษ์
                    ้                                                    ้          ้
             พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรื อโต้แย้งจากเดิม (ว.8.1 ม.1-3/8)
        4. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรื ออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ
             โครงงานหรื อชิ้นงานให้ผอื่นเข้าใจ (ว.8.1 ม.1-3/9)
                                    ู้
สาระสาคัญ

        วิธีเตรี ยมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็ นร้อยละ และการนาความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้
ประโยชน์การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสาร

สาระการเรียนรู้
        ความรู้
        1.   วิธีเตรี ยมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็ นร้อยละ และการนาความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์
        2. การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย
        3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสาร
        ทักษะ/กระบวนการ
        1. อธิบาย
        2. อภิปราย
        3. ทดลอง
        คุณลักษณะพึงประสงค์
        1. ใฝ่ เรี ยนรู้
        2. มุ่งมันในการทางาน
                 ่
        3. อยูอย่างพอเพียง
              ่
        4. มีความรับผิดชอบ
การบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง




         การพัฒนาตามหลักศรษฐกิจพอเพียงคือการพัฒนาที่ต้งอยูบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่
                             เ                           ั ่
ประมาท โดยคานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุมกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้
                                                                ้
ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนการตัดสินใจ และการกระทา ชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง
                                                                       ปรั
มีหลักพิจารณาอยู่5 ส่วน ดังนี้
     1. กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบติตนในทางที่ควรจะเป็ น โดยมี
                                                                  ั
พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลก
เชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา
                                ่                                                        ่
มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤติ เพื่อความมันคง และความยังยืนของการพัฒนา
                                               ่             ่
     2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กบการปฏิบติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้น
                                                           ั         ั
การปฏิบติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอน
          ั
     3. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้ รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ
การพัฒนาที่สมดุล และยังยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
                          ่
ความรู้ และเทคโนโลยี
การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ การจัดการเรียนการสอน
     1. ความพอเพียง ประกอบด้ วย 3 คุณลักษณะ ดังนี้
                ความพอประมาณ คือ ความพอดีที่ไม่นอยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง
                                                        ้
และผูอื่น เช่นการผลิต และการบริ โภคที่อยูในระดับพอประมาณ การใช้เวลาอย่างคุมค่า ทันเวลา
       ้                                       ่                                     ้
                ความมีเหตุผล คือ การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่าง
มีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ
อย่างรอบคอบ
                การมีภูมคุ้มกันที่ดีในตัว คือ การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้าน
                         ิ
ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้
และไกล
     2. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้
                                                                      ่
และคุณธรรมเป็ นพื้นฐาน กล่าวคือ
                เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวัง
ในขั้นปฏิบติ ั
                เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริ ต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต


        ภาระงาน/ชิ้นงาน
        1. ชุดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่ องสารละลาย
        2. โครงการสารละลายในชีวิตประจาวัน สร้างสรรค์ความสุข
        3. แผ่นพับให้ความรู้และประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สารละลาย
        4. การจัดแสดงนิทรรศการผลิตภัณฑ์ของนักเรี ยน
การประเมินผล
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง สารละลาย
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
            โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา
                       ิ                       ิ
การประเมินผล
           ผู้ประเมิน      : ครู ผสอนเป็ นผูประเมิน และ ผูเ้ รี ยนประเมินตนเอง
                                  ู้        ้

   สิ่ งที่ต้องประเมิน      วิธีการวัดผล    ประเด็นที่ประเมิน                           เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. ผลงานนักเรี ยน        แบบประเมินผลงาน    - การคิดวิเคราะห์     3 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญ ขยายความ ยกตัวอย่าง
   / ใบงาน                                                        เปรี ยบเทียบและสรุ ปความคิดรวบยอดได้ดี
                                                                  2 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้ แต่ขยายความหรื อ
                                                                  ยกตัวอย่างไม่ได้
                                                                  1 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้นอย        ้
                                          - การเขียนสื่ อความ     3 คะแนน = เขียนสื่ อความได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ตรงประเด็น
                                                                  และ เข้าใจง่าย
                                                                  2 คะแนน = เขียนสื่ อความไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี 2-3 แห่ง ตรง
                                                                  ประเด็น
                                                                  1 คะแนน = เขียนสื่ อความได้นอย ไม่ตรงประเด็น
                                                                                                ้
                                          - มีความคิดสร้างสรรค์ 3 คะแนน = ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มีความสัมพันธ์กบหัวข้อที่
                                                                                                                      ั
                                                                  กาหนด ระบายสี ได้สวยงาม
                                                                  2 คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กบหัวข้อที่กาหนด แต่ไม่
                                                                                                      ั
                                                                  ดึงดูดความสนใจ
                                                                  1 คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กบหัวข้อที่กาหนดน้อยมาก
                                                                                                        ั
                                          - ประโยชน์ของการนา 3 คะแนน = สามารถนาไปประยุกต์กบสถานการณ์ใน    ั
                                          ข้อมูลไปใช้             ชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
                                                                  2 คะแนน = สามารถนาไปประยุกต์กบสถานการณ์ใน ั
                                                                  ชีวิตประจาวันได้บาง
                                                                                   ้
                                                                  1 คะแนน = สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้นอยมาก      ้
การประเมินผล คะแนน 12 -9 = ดี (3) คะแนน 8 - 5 = พอใช้ (2) คะแนน 4 - 0 = ควรปรับปรุ ง (1)
2. พฤติกรรมขณะร่ วม แบบบันทึกการ          ความมุ่งมั่นในการทางาน เกณฑ์ การให้ คะแนน
กิจกรรมของนักเรี ยน  สังเกตและ            - ความสนใจในการทา ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี
                     ประเมินผล            กิจกรรม                 ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง
                     พฤติกรรมรายบุคคล - การมีส่วนร่ วมในการ ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุ ง
                                          แสดงความคิดเห็น
                                          - การตอบคาถาม
                                          - การยอมรับฟังความ
                                          คิดเห็นผูอื่น
                                                   ้
                                          - ทางานตามที่ได้รับ
                                          มอบหมาย
เกณฑ์ การประเมินผล คะแนน 15 -13 = ดี (3) คะแนน 12 - 9 = พอใช้ (2) คะแนน 8 - 5 = ควรปรับปรุ ง (1)
สิ่ งที่ต้องประเมิน       วิธีการวัดผล     ประเด็นที่ประเมิน                         เกณฑ์ การให้ คะแนน
3. ทักษะกระบวนการ        แบบประเมิน        - การทดลองตาม          เกณฑ์ การให้ คะแนน
ทางวิทยาศาสตร์           พฤติกรรม การ      แผนที่กาหนด            3 คะแนน = ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่าง
                         ปฏิบติงานและทักษะ
                              ั                                   ถูกต้อง มีการปรับ-ปรุ งแก้ไขเป็ นระยะ
                         การทดลอง                                 2 คะแนน = ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้โดยครู
                                                                  เป็ นผูแนะนาในบางส่ วน มีการปรับปรุ งแก้ไขบ้าง
                                                                         ้
                                                                  1 คะแนน = ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้หรื อ
                                                                  ดาเนินการข้ามขั้น-ตอนที่กาหนดไว้ ไม่มีการปรับปรุ งแก้ไข
                                          - การใช้อุปกรณ์         เกณฑ์ การให้ คะแนน
                                          และ/หรื อเครื่ องมือ    3 คะแนน = ใช้อุปกรณ์และ/หรื อเครื่ องมือ ในการทดลองได้อย่าง
                                                                  คล่องแคล่ว และถูกต้องตามหลักการปฏิบติ   ั
                                                                  2 คะแนน = ใช้อุปกรณ์และ/หรื อเครื่ องมือ ในการทดลองได้อย่าง
                                                                  ถูกต้อง ตามหลักการปฏิบติ แต่ไม่คล่องแคล่ว
                                                                                            ั
                                                                  1 คะแนน = ใช้อุปกรณ์และ/หรื อเครื่ องมือ ไม่ถูกต้อง
                                          - การบันทึกผลการ        เกณฑ์ การให้ คะแนน
                                          ทดลอง                   3 คะแนน = บันทึกผลเป็ นระยะ อย่างถูกต้อง มีระเบียบ และ
                                                                  เป็ นไปตามการทดลอง
                                                                  2 คะแนน = บันทึกผลเป็ นระยะ ไม่ระบุหน่วย ไม่เป็ นระเบียบ
                                                                  และเป็ นไปตามการทดลอง
                                                                  1 คะแนน = บันทึกผลไม่ครบ ไม่มีการระบุหน่วย และไม่เป็ นไป
                                                                  ตามการทดลอง
                                          - การสรุ ปผลการ         เกณฑ์ การให้ คะแนน
                                          ทดลอง                   3 คะแนน = สรุ ปผลการทดลองได้อย่างถูกต้อง กระชับ ชัดเจน
                                                                  และครอบคลุมข้อมูล จากการวิเคราะห์ท้ งหมด
                                                                                                        ั
                                                                  2 คะแนน = สรุ ปผลการทดลองได้ถูกต้อง แต่ยงไม่ครอบคลุม
                                                                                                               ั
                                                                  ข้อมูลจากการวิเคราะห์ท้ งหมด
                                                                                          ั
                                                                  1 คะแนน = สรุ ปผลการทดลองได้ตามความเห็น โดยไม่ใช้ขอมูล  ้
                                                                  จากการทดลอง
                                          - การดูแลและการ         เกณฑ์ การให้ คะแนน
                                          เก็บอุปกรณ์และ/         3 คะแนน = ดูแลอุปกรณ์และ/หรื อเครื่ องมือในการทดลองและมี
                                          หรื อเครื่ องมือ        การทาความสะอาด และเก็บอย่างถูกต้องตามหลักการ
                                                                  2 คะแนน = ดูแลอุปกรณ์และ/หรื อเครื่ องมือในการทดลองและมี
                                                                  การทาความสะอาด แต่เก็บไม่ถูกต้อง
                                                                  1 คะแนน = ไม่ดูแลอุปกรณ์และ/หรื อเครื่ องมือในการทดลอง
                                                                  และไม่สนใจทาความสะอาดรวมทั้งเก็บไม่ถูกต้อง
เกณฑ์ การประเมินผล คะแนน 15 -13 = ดี (3) คะแนน 12 - 9 = พอใช้ (2) คะแนน 8 - 5 = ควรปรับปรุ ง (1)
สิ่ งที่ต้องประเมิน      วิธีการวัดผล     ประเด็นที่ประเมิน                       เกณฑ์ การให้ คะแนน
4. ความรับผิดชอบ        แบบประเมินความ      1. ความรับผิดชอบต่อ   เกณฑ์การให้คะแนน
                        ตระหนักรู ้ดาน
                                    ้       การเรี ยน             ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี
                        คุณธรรมและความ      2. ความรับผิดชอบต่อ   ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง
                        รับผิดชอบ           การปฏิบติหน้าที่และ
                                                      ั           ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุ ง
                                            งานที่ได้รับมอบหมาย   (คาอธิบายคุณภาพตามตารางดังแนบ)
                                            3. ความรับผิดชอบต่อ
                                            การกระทาของตน
                                            4. ความรับผิดชอบ
                                            ต่อเพื่อน

เกณฑ์ การประเมินผล คะแนน 2.51 – 3.50 = ดี   คะแนน 1.51 – 2.50 = พอใช้ คะแนน 1.00 – 1.50 = ควรปรับปรุ ง
5. การปฏิบติตนตาม
          ั          แบบประเมินการ        - ความพอประมาณ          เกณฑ์ การให้ คะแนน
หลักปรัชญาของ        ปฏิบติตนตามหลัก
                         ั                - ความมีเหตุผล          ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี
เศรษฐกิจพอเพียง      ปรัชญาของเศรษฐกิจ    - มีภูมิคมกันในตัวที่ดี ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง
                                                   ุ้
                     พอเพียง              - มีความรู ้            ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุ ง
                                          - มีคุณธรรม
เกณฑ์ การประเมินผล คะแนน 9 -8 = ดี (3) คะแนน 7 - 6 = พอใช้ (2) คะแนน 5 - 3 = ควรปรับปรุ ง (1)
แบบประเมินผล
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง สารละลาย
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
            โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา
                       ิ                       ิ
แบบประเมินพัฒนาการในการเรียนรู้ ของนักเรียน
                        หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง ...............................................                              ชั้น...............
         คาชี้แจง
                1. ให้บนทึกคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน – หลังเรี ยนของนักเรี ยนแต่ละคนลงใน
                       ั
         ช่องคะแนนแบบทดสอบ
                2. นาคะแนนหลังการเรี ยนลบคะแนนก่อนเรี ยน เป็ นคะแนนพัฒนาการ
                3. ประเมินคะแนนพัฒนาการในการเรี ยนรู้โดยเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์คะแนนพัฒนาการแล้วทา
         เครื่องหมาย  ลงในช่ องความหมายของการพัฒนาการเรียนรู้ให้ ตรงกับความเป็ นจริง
                                                          คะแนนแบบทดสอบ                   คะแนน                                       พัฒนาการในการเรี ยนรู้
เลขที่                  ชื่อ – สกุล                         ก่อน     หลังเรี ยน         พัฒนาการ                     ดีมาก            ดี       ปานกลาง         ปรับปรุ ง
                         นักเรี ยน                          เรี ยน                     (หลัง-ก่อน)




                                                                         ลงชื่อ...........................................ผูประเมิน
                                                                                                                            ้
                                                                                    (…………………………….. )
                                                                                ........./...................../...........
         เกณฑ์คะแนนพัฒนาการ
                        9 – 10 = ดีมาก
                        7–8           = ดี
                        5–6           = ปานกลาง
                    น้อยกว่า 5 = ปรับปรุ ง
แบบบันทึกการสั งเกตและประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล
                                          ครั้งที่ ………… เรื่ อง ................................................................
             รหัสวิชา ..........................ภาคเรี ยนที…....ปี การศึกษา………… ชั้น................ โรงเรี ยน ..................................
                                                           ่

                                                                                                           พฤติกรรม / ระดับคะแนน
                                                               ความสนใจใน         การมีส่วนร่ วม           การตอบ           การยอมรับฟัง       ทางานตามที่
                                                                  การทา            ในการแสดง                คาถาม            ความคิดเห็น          ได้รับ             รวม
ลาดับที่                    ชื่อ – สกุล                          กิจกรรม           ความคิดเห็น                                  ผูอื่น
                                                                                                                                  ้             มอบหมาย
                                                               3      2     1      3     2      1      3      2     1       3      2    1      3      2     1




       เกณฑ์ การให้ คะแนน                                                                                   เกณฑ์ การประเมิน คะแนนเต็ม 15 คะแนน
                ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี                                                  คะแนน 13 - 15 หมายถึง ดี
                ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง                                             คะแนน 9 - 12 หมายถึง ปานกลาง
                ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุ ง                                           คะแนน 5 - 8 หมายถึง ปรับปรุ ง
                เกณฑ์ การผ่ าน            ร้อยละ 60 ( 9 คะแนน )

                                                                                                           ลงชื่อ ................................................
                                                                                                                        (                                       )
                                                                                                                                ครู ผสอน / ผูประเมิน
                                                                                                                                     ู้      ้
แบบประเมินความตระหนักรู้ ด้านคุณธรรมความรับผิดชอบ
ชื่อกลุ่ม ...................................................................
คาชี้แจง : ให้ผประเมินใส่ ตวเลขลงในช่องตามความเป็ นจริ ง
               ู้          ั




เกณฑ์การประเมิน
       คะแนนเฉลีย
                ่                    2.51 – 3.50              1.51 – 2.50       1.00 – 1.50
       ความหมาย                           ดี                     พอใช้           ปรับปรุ ง


                                                      ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน
                                                           ( ………………………………………………)
เกณฑ์ การประเมินความตระหนักรู้ คุณธรรมด้ านความรับผิดชอบต่ อการเรียน
เกณฑ์ การประเมินความตระหนักรู้ คุณธรรมด้ านความรับผิดชอบ
        ต่ อการปฏิบัติหน้ าที่และงานที่ได้ รับมอบหมาย
เกณฑ์ การประเมินความตระหนักรู้ คุณธรรมด้ านความรับผิดชอบต่ อการกระทาของตน
เกณฑ์ การประเมินความตระหนักรู้ คุณธรรมด้ านความรับผิดชอบต่ อเพือน
                                                               ่
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง สารละลาย
รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
            โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
  กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา
                       ิ                       ิ
แผนการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้
                      ชุดกิจกรรมส่ งเสริมศักยภาพการเรียนรู้วทยาศาสตร์ หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง สารละลาย
                                                            ิ
                                            รายวิชา ว21101 วิชา วิทยาศาสตร์ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
   -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------



       หน่ วยการเรียนรู้เรื่อง สารละลาย

          1. ผังการวิเคราะห์ สาระการเรียนรู้

           ความเข้ มข้ นของสารละลาย                                                    องค์ประกอบของสารละลาย                                                            การละลายของสาร



           สมบัตของสารละลาย
                ิ                                                                               สารละลาย                                                        ปัจจัยที่มผลต่อการละลาย
                                                                                                                                                                          ี



                                      การจาแนกประเภทของสารละลาย                                                                การเปลียนแปลงพลังงานในการละลาย
                                                                                                                                      ่



          2. ผังการวิเคราะห์ ประเด็นของการเรียนรู้


                            ความรู้ความเข้ าใจเกียวกับสารละลาย
                                                 ่                                                                                       สารละลายในชีวตประจาวัน
                                                                                                                                                      ิ



          สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์                                                                   สารละลาย                                                  ศักยภาพในการเรียนรู้วทยาศาสตร์
                                                                                                                                                                                 ิ



 เศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่ วง 2 เงื่อนไข                                                         การนาความรู้ เกียวกับ
                                                                                                            ่                                                             คุณลักษณะพึงประสงค์
ความพอประมาณ ,ความมีเหตุผล ,ภูมิคมกัน
                                 ุ้                                                     สารละลายไปใช้ ประโยชน์                                                        ใฝ่ เรี ยนรู ้ , มุ่งมันในการทางาน ,
                                                                                                                                                                                             ่
    เงื่อนไขความรู ้ , เงื่อนไขคุณธรรม                                                                                                                          อยูอย่างพอเพียง และมีความรับผิดชอบ
                                                                                                                                                                   ่
3. มโนมติที่ผู้เรียนพึงได้ รับ
       สารละลาย (Solution) คือ สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารบริ สุทธิ์ (ธาตุ หรื อสารประกอบ ) ตั้งแต่ 2
ชนิดขึ้นไปมาผสมกันแล้วกลมกลืนเป็ นเนื้อเดียวกันโดยตลอดทัวทุกส่วน แต่มีอตราส่วนผสมไม่คงที่
                                                        ่              ั
ซึ่งสารละลายในชีวิตประจาวันมีหลายชนิด โดยเราสามารถนาความรู้เรื่ องสารละลายไปใช้ประโยชน์ในการ
ดาเนินชีวิตประจาวันได้


    4. สาระการเรียนรู้
       สารละลาย (Solution) คือ สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารบริ สุทธิ์ (ธาตุ หรื อสารประกอบ ) ตั้งแต่ 2
ชนิดขึ้นไปมาผสมกันแล้วกลมกลืนเป็ นเนื้อเดียวกันโดยตลอดทัวทุ
                                                        ่              กส่วน แต่มีอตราส่วนผสมไม่คงที่
                                                                                   ั
องค์ประกอบของสารละลายที่สาคัญ 2 ส่วน คือ ตัวทาละลาย (solvent) และ ตัวละลาย (solute)
        การพิจารณาว่าสารใดเป็ นตัวทาละลาย สารใดเป็ นตัวละลาย สารที่สถานะเดียวกัน เมื่อนาสารที่มี
สถานะเดียวกันมาผสมกันเกิดเป็ นสารละลาย สารที่มีปริ มา มากกว่าเป็ นตัวทาละลาย สารที่มีปริ มาณน้อยกว่า
                                                   ณ
เป็ นตัวถูกละลาย สารที่มสถานะต่างกัน เมื่อนาสารที่มีสถานะต่างกันมาผสมกันเกิดเป็ นสารละลาย
                        ี
สารที่มีสถานะเดียวกับสารละลายจัดเป็ นตัวทาละลาย และสารที่มีสถานะต่างไปจากสารละลายจัดเป็ นตัวละลาย
        การจา แนกประเภทของสารละลาย สามารถจาแนกได้                 3 ประเภท คือ จาแนกตามสถานะของ
สารละลายจาแนกตามปริ มาณของตัวละลาย และจาแนกตามความเข้มข้น
        การละลาย หมายถึง การที่อนุภาคของสารตั้งตันสองชนิดข้นไปแทรกรวมเป็ นเนื้อเดียวกันการละลาย
ของสารชนิดหนึ่งอาจเป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทดู ดความร้อนหรื อคายความร้อน                      ขึ้นอยูกบผลต่าง
                                                                                                    ่ ั
ของพลังงานที่ใช้แยกอนุภาคของของแข็งกับพลังงานที่คายออกมา ่อให้อนุภาคของของแข็งยึดเหนี่ยวกับน้ า
                                                       เพื
        ปัจจัยที่มผลต่อการละลายของสาร ได้แก่ ชนิดของตัวละลายและตัวทาละลาย อัตราส่วนระหว่าง
                  ี
ปริ มาณของตัวละลายกับตัวทาละลาย อุณหภูมิ และ ความดัน
        ความเข้ มข้ นของสารละลาย เป็ นค่าที่แสดงให้ทราบถึงปริ มาณของตัวละลายที่มีอยูในปริ มาณของ
                                                                                    ่
สารละลาย การบอกความเข้มข้นของสารละลาย แบ่งออกเป็ น ลักษณะ คือ หน่วยร้อยละ หรื อเปอร์เซ็นต์
                                                 3
ส่วนในล้านส่วน (part per million หรื อ ppm) และ ส่วนในพันส่วน(part per thousand หรื อ ppt)
5. ศักยภาพที่ต้องการพัฒนา (เปาหมายของการเรียนรู้)
                              ้
       1. ด้ านการส่ งเสริมความรอบรู้
          1.1 ศึกษาเกี่ยวกับ ความเข้มข้นของสารละลาย องค์ประกอบของสารละลาย การละลาย
               ของสาร ปัจจัยที่มีผลต่อการละลาย สมบัติของสารละลาย การจาแนกประเภทของ
               สารละลาย และ การเปลี่ยนแปลงพลังงานในการละลาย
          1.2 สามารถเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับสารละลายในชีวิตประจาวันได้
          1.3 ระบุความสามารถทางวิทยาศาสตร์ได้ (สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์)
          1.4 มีความใฝ่ เรี ยนรู้ จากสื่อและแหล่งเรี ยนรู้ต่างๆ พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ
      2. ด้ านการปฏิบัตการดีมประโยชน์ ต่อสังคม
                       ิ     ี
         2.1 ฝึ กพัฒนาตนเองให้มีสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านปฏิบติการ
                                                                                 ั
              และด้านคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์
          2.2 ฝึ กพัฒนาสมองซีกซ้ายและซีกขวาอย่างสมดุล เรี ยนรู้ตามแบบและความต้องการของ
              ตนเองอย่างเหมาะสม และสามารถพัฒนาตนเองอย่างเต็มตามศักยภาพ
          2.3 ฝึ กการทางานร่ วมกันและกระบวนการกลุ่ม มุ่งมันในการทางาน
                                                          ่
          2.4 ฝึ กทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และคิดอย่างมีวิจารณญาณ
          2.5 ฝึ กปฏิบติการวางแผน ออกแบบและจัดทาโครงงานและผ ที่มีประโยชน์ต่อตนเอง
                      ั                                     ลิตภัณฑ์
              และสังคมบนพื้นฐานแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
      3. ด้ านการพัฒนาและเผยแพร่ ผลงาน
         3.1 ตรวจสอบประเมินผลงานของตนเองและนาผลการประเมินมาพัฒนาและปรับปรุ งแก้ไข
              ผลงานด้วยตนเองได้ความรับผิดชอบ
                             มี
          3.2 ฝึ กประชาสัมพันธ์ผลงานได้
          3.3 ฝึ กเขียนคาถามเพื่อให้ผอื่นตอบคาถามได้อย่างหลากหลาย
                                     ู้
          3.4 ฝึ กประเมินผลงานของตนเองและของผูอื่นได้
                                                  ้
6. ผังการวางแผนการจัดกิจกรรม

                                            ประสบการณ์ตรง



               If                                                                   Why

                                 ขันที่ 8
                                   ้                          ขันที่ 1
                                                                ้

                    ขันที่ 7
                      ้                                                  ขันที่ 2
                                                                           ้
                                               R     R
                                 L                                 L
การปฏิบติ
       ั                                                                                   การสังเกต
                                      R                           R
                    ขันที่ 6
                      ้                                                  ขันที่ 3
                                                                           ้
                                               L         L


                                  ขันที่ 5
                                    ้                        ขันที่ 4
                                                               ้

             How                                                                    What



                                          ความคิดรวบยอด


                      หมายเหตุ R = Right (กิจกรรมที่พฒนาสมองซีกขวา)
                                                     ั

                                 L = Left (กิจกรรมที่พฒนาสมองซีกซ้าย)
                                                      ั
7. เนือหาการเรียนรู้
          ้
                หน่วยการเรี ยนรู้ เรื่ อง สารละลาย แบ่งเป็ น 3 เรื่ อง ได้แก่
         เรื่องที่ 1 สารละลายน่ ารู้ (เวลา 6 ชัวโมง)
                                               ่
                    1.1 การละลายของสาร
                    1.2 สารละลายและสมบัติของสารละลาย
                    1.3 การเปลี่ยนแปลงพลังงานในการละลาย
                    1.4 องค์ประกอบของสารละลาย
                    1.5 ความเข้มข้นของสารละลาย
                    1.6 การจาแนกประเภทของสารละลาย
                    1.7 ปัจจัยที่มีผลต่อการละลายของสาร
         เรื่องที่ 2 สารละลายในชีวตประจาวัน สร้ างสรรค์ความสุ ข (เวลา 4 ชัวโมง)
                                     ิ                                     ่
                    2.1 การทาเจลล้างมือ
                    2.2 การทาโครงการและผลิตภัณฑ์ ที่เป็ นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
         เรื่องที่ 3 ผลงานสร้ างสรรค์ที่ฉันภูมใจ (เวลา 2 ชัวโมง)
                                                 ิ         ่
                    3.1 จัดทาแผ่นพับประชาสัมพันธ์
                    3.2 ตรวจสอบผลงานแผ่นพับประชาสัมพันธ์และผลิตภัณฑ์
                    3.3 ประเมินผลงาน สู่การพัฒนา และการประเมินตนเอง
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ประกอบด้ วย 3 ขั้น คือ
1. ขั้นการส่งเสริ มความรอบรู้
2. ขั้นการปฏิบติการดี มีประโยชน์ต่อสังคม
                ั
3. ขั้นการพัฒนา และเผยแพร่ ผลงาน แต่ละขั้นของการจัดกระบวนการเรี ยนรูประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ
                                                                         ้
ได้แก่
         1) กิจกรรม รู้ไหม:ฉลาดรู้ ประกอบด้วย การอ่าน คิด เขียนอย่างมีศิลป์ และสร้างสรรค์
         2) กิจกรรม ลองทาดู เพือรู้จริง ประกอบด้วยการตอบคาถามเขียนคาถาม บติการทางวิทยาศาสตร์
                                   ่                                         ปฏิ ั
         3) กิจกรรม การสรุปส่ วนสาคัญประกอบด้วยการฝึ กสรุ ปสาระสาคั วนที่เป็ นความรูกระบวนการ
                                                                     ญในส่                 ้
             คุณค่าของผลงาน
         4) กิจกรรม ชวนคิดชวนทาประกอบด้วยการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์
         5) กิจกรรม สนุกกับการคิดประกอบด้วยการฝึ กคิดโดยใช้เกมวิทยาศาสตร์ ศนาคาทายและ อื่นๆ
                                                                              ปริ
         6) กิจกรรม การสารวจค้นหา (Exploration) ประกอบด้วยการฝึ กทางานเป็ นกลุ่ม การร่ วมมือร่ วมใจ
             การทาโครงการ / โครงงาน
         7) กิจกรรมการประเมินผลตนเอง       ประกอบด้วยการประเมินผลตนเองก่อนเรี ยระหว่างเรี ยนหลังเรี ยน
                                                                                   น
แผนผังแสดงโครงสร้ างของชุดกิจกรรมส่ งเสริมศักยภาพการเรียนรู้วทยาศาสตร์
                                                                              ิ
                                         ด้ วยการจัดการเรียนรู้แบบ 4MAT
                         หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง สารละลาย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
                                                                                           ขั้นที่1 สร้ างประสบการณ์
                                                                                                  ซีกขวา (1 ชม.)
                                                                   Why
                                                                  เหตุผล
                                     เรื่องที่ 1                                         ขั้นที่2 วิเคราะห์ ประสบการณ์
                                  สารละลายน่ ารู้ !                                               ซีกซ้ าย (1 ชม.)
                                    (6 ชัวโมง)
                                          ่
                                                                                      ขั้นที่3 ปรับประสบการณ์ เป็ น
                                                                                     ความคิดรวบยอด ซีกขวา (1 ชม.)
                                 ขั้นการส่ งเสริ มความรอบรู ้
                                                                    What
                                                                ข้ อเท็จจริง
                                                                                              ขั้นที่4 มุ่งสู่ หลักการ
                                                                                                 ซีกซ้ าย (3 ชม.)
ชุดกิจกรรมส่งเสริ ม
ศักยภาพการเรี ยนรู้
   วิทยาศาสตร์
 หน่วยการเรี ยนรู้
 เรื่ อง สารละลาย                       เรื่องที่ 2                                  ขั้นที่5 ลงมือปฏิบัติตามหลักการ
                                 สารละลายในชีวิต                                               ซีกซ้ าย (2 ชม.)
   (12 ชัวโมง)
         ่                                                         How
                                ประจาวัน สร้ างสรรค์
                                                                  ปฏิบัติ
                                ความสุ ข (4 ชัวโมง)
                                              ่                                          ขั้นที่6 สร้ างผลงานตามความ
                                                                                              ถนัด ซีกขวา (2 ชม.)
                                    ขั้นการปฏิบติการดี
                                               ั                                                  ซีกซ้ าย (3 ชม.)
                                   มีประโยชน์ต่อสังคม



                                                                                         ขั้นทึ่7 วิเคราะห์ แนวทางในการ
                                      เรื่องที่ 3                                            นาไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์
                                 ผลงานสร้างสรรค์                                                   ซีกซ้ าย (1 ชม.)
                                  ที่เรานั้นภูมิใจ                  If
                                                                  นาไปใช้
                                     (2 ชัวโมง)
                                           ่                                         ขั้นที่ 8 แลกเปลี่ยนประสบการณ์
                                                                                               ซีกขวา ( 1 ชม.)
                                                                                                ซีกซ้ าย (3 ชม.)
                              ขั้นการพัฒนาและเผยแพร่ ผลงาน
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ

More Related Content

What's hot

ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ดีโด้ ดีโด้
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
Naphachol Aon
 
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internet
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internetแบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internet
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internet
โรงเรียนบ้านพอก
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Wareerut Hunter
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
Nattapong Boonpong
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
Bangon Suyana
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
Sopa
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana55
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
Natthawut Sutthi
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
thnaporn999
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
Sivagon Soontong
 
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุมใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
poomarin
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
Noppadon Khongchana
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
npapak74
 

What's hot (20)

แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internet
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internetแบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internet
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าจาก Internet
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุมใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 

Viewers also liked

รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
Kobwit Piriyawat
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
Kobwit Piriyawat
 
เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1
Kobwit Piriyawat
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
krupornpana55
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
Siriphan Kristiansen
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
Kobwit Piriyawat
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
Jiraporn
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
Jiraporn
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
Jiraporn
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
Jiraporn Chaimongkol
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
Jiraporn Chaimongkol
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกเรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
Kobwit Piriyawat
 

Viewers also liked (20)

รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 
เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1เค้าโครงสอน ม.1
เค้าโครงสอน ม.1
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
 
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
การประดิษฐ์สื่อการเรียนการสอนแบบจำลองน้ำตกจากวัสดุเหลือใช้
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลกเรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
เรื่องที่ 1 โครงสร้างของโลก
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ

โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
supphawan
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
supphawan
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
korakate
 
ข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพร
kruhome1
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
korakate
 
1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา
Nichaphon Tasombat
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
kruannchem
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
phachanee boonyuen
 
กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3
Nun'Top Lovely LoveLove
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 4
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 4ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 4
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 4
Mam Chongruk
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
krupornpana55
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ (20)

โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
กำนดการสอนปี55
กำนดการสอนปี55กำนดการสอนปี55
กำนดการสอนปี55
 
ข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพร
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา1 คำอธิบายรายวิชา
1 คำอธิบายรายวิชา
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
long term
long termlong term
long term
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
1
11
1
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3กำนดการสอนปี55ม.3
กำนดการสอนปี55ม.3
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 4
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 4ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 4
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 4
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 

More from Kobwit Piriyawat

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
Kobwit Piriyawat
 

More from Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
สอนวิทยาศาสตร์อย่างไร ให้สนุก โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ฉบับเผยแพร่
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
 

แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒ

  • 1. แผนการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมส่ งเสริมศักยภาพการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ ิ ด้ วยการจัดการเรียนรู้ แบบ 4MAT หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง สารละลาย รายวิชา ว21101 วิชา วิทยาศาสตร์ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวิทยา
  • 2. การวิเคราะห์ ตัวชี้วัด เพือจัดทาคาอธิบายรายวิชา ่ รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา ิ ิ
  • 3. แบบวิเคราะห์ ตวชี้วด/ผลการเรียนรู้ เพือจัดทาคาอธิบายรายวิชา ว 21101 วิทยาศาสตร์ 1 ั ั ่ ตัวชี้วด ั คาสาคัญ (Key word) เนือหา/ความรู้ ้ กระบวนการ/กริยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ทดลองและจาแนกสารเป็ น - การจาแนกสารเป็ น - ทดลอง มีวินย ั กลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรื อขนาด กลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรื อ - จาแนก ใฝ่ เรี ยนรู้ อนุภาคเป็ นเกณฑ์ และอธิบาย ขนาดอนุภาคเป็ นเกณฑ์ - อธิบาย สมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม และสมบัติของสารในแต่ ว 3.1 ม.1/1 ละกลุ่ม 2. อธิบายสมบัติและการ - สมบัติและการเปลี่ยน - อธิบาย มีวินย ั เปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้ สถานะของสาร โดยใช้ ใฝ่ เรี ยนรู้ แบบจาลองการจัดเรี ยงอนุภาค แบบจาลองการจัดเรี ยง ของสาร ว 3.1 ม.1/2 อนุภาคของสาร 3. ทดลองและอธิบายสมบัติ - สมบัติความเป็ นกรด- - ทดลอง มุ่งมันในการทางาน ่ ความเป็ นกรด-เบสของสาระ เบสของสารละลาย - อธิบาย ใฝ่ เรี ยนรู้ ละลาย ว 3.1 ม.1/3 4. ตรวจสอบค่า pH ของสาระ - ค่า pH ของสาระ - สังเกต มุ่งมันในการทางาน ่ ละลายและนาความรู้ไปใช้ ละลายและนาความรู้ไป - อภิปราย มีวินย ั ประโยชน์ ว 3.1 ม.1/4 ใช้ประโยชน์ 5. ทดลองและอธิบายวิธี - วิธีเตรี ยมสารละลายที่ - อธิบาย ใฝ่ เรี ยนรู้ เตรี ยมสารละลายที่มีความ มีความเข้มข้นเป็ นร้อย - อภิปราย อยูอย่างพอเพียง ่ เข้มข้นเป็ นร้อยละ และ ละ และการนาความรู้ อภิปรายการนาความรู้เกี่ยวกับ เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ สารละลายไปใช้ประโยชน์ ประโยชน์ ว 3.2 ม.1/1 6. ทดลองและอธิบายการ - การเปลี่ยนแปลง - ทดลอง ใฝ่ เรี ยนรู้ เปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ สมบัติ มวล และพลังงาน - อธิบาย มุ่งมันในการทางาน ่ พลังงานของสาร เมื่อสาร ของสาร เมื่อสารเปลี่ยน เปลี่ยนสถานะและเกิดการ สถานะและเกิดการ ละลาย ว 3.2 ม.1/2 ละลาย
  • 4. ตัวชี้วด ั คาสาคัญ (Key word) เนือหา/ความรู้ ้ กระบวนการ/กริยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7. ทดลองและอธิบายปัจจัยที่ - ปัจจัยที่มีผลต่อการ - ทดลอง ใฝ่ เรี ยนรู้ มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและ เปลี่ยนสถานะและการ - อธิบาย มุ่งมันในการทางาน ่ การละลายของสาร ว 3.2 ละลายของสาร ม.1/3 8. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิ - อุณหภูมิและการวัด - ทดลอง มุ่งมันในการทางาน ่ และการวัดอุณหภูมิ อุณหภูมิ - อธิบาย มีวินย ั ว 5.1 ม.1/1 9. สังเกตและอธิบายการถ่าย - การถ่ายโอนความร้อน - สังเกต ใฝ่ เรี ยนรู้ โอนความร้อน และนาความรู้ และนาความรู้ไปใช้ - อธิบาย มุ่งมันในการทางาน ่ ไปใช้ประโยชน์ ว 5.1 ม.1/2 ประโยชน์ 10. อธิบายการดูดกลืน การ - การดูดกลืน การคาย - อธิบาย ใฝ่ เรี ยนรู้ คายความร้อน โดยการแผ่รังสี ความร้อน โดยการแผ่ อยูอย่างพอเพียง ่ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ รังสีและนาความรู้ไปใช้ ว 5.1 ม.1/3 ประโยชน์ 11. อธิบายสมดุลความร้อน - สมดุลความร้อนและผล - อธิบาย ใฝ่ เรี ยนรู้ และผลของความร้อนต่อการ ของความร้อนต่อการ มุ่งมันในการทางาน ่ ขยายตัวของสารและนาความรู้ ขยายตัวของสารและนา ไปใช้ประโยชน์ ว 5.1 ม.1/4 ความรู้ไปใช้ประโยชน์ 12. ตั้งคาถามที่กาหนด - - ตั้งคาถาม ซื่อสัตย์สุจริ ต ประเด็นหรื อตัวแปรที่สาคัญ - ศึกษาค้นคว้า มีวินยั ในการสารวจตรวจสอบ หรื อ ศึกษาค้นคว้า เรื่ องที่สนใจได้ อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว 8.1 ม.1/1 13. สร้างสมมติฐานที่สามารถ - สร้างสมมติฐาน ซื่อสัตย์สุจริ ต ตรวจสอบได้ และวางแผน - สารวจตรวจสอบ มีวินยั การสารวจตรวจสอบหลายๆ วิธี ว 8.1 ม.1/2
  • 5. ตัวชี้วด ั คาสาคัญ (Key word) เนือหา/ความรู้ ้ กระบวนการ/กริยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 14. เลือกเทคนิควิธีการสารวจ - - สารวจตรวจสอบ ซื่อสัตย์สุจริ ต ตรวจสอบ ทั้งเชิงปริ มาณและเชิง - การใช้เครื่ องมือ อยูอย่างพอเพียง ่ คุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ ปลอดภัย โดยใช้วสดุและ ั เครื่ องมือที่เหมาะสม ว ม.1/3 8.1 15. รวบรวมข้อมูล จัดกระทา - - สารวจตรวจสอบ มุ่งมันในการทางาน ่ ข้อมูล เชิงปริ มาณและคุณภาพ - การจัดกระทาข้อมูล ใฝ่ เรี ยนรู้ ว 8.1 ม.1/4 16. วิเคราะห์และประเมินความ - - สารวจตรวจสอบ มุ่งมันในการทางาน ่ สอดคล้องของประจักษ์พยาน - วิเคราะห์ มีวินย ั กับข้อสรุ ป ทั้งที่สนับสนุนหรื อ ขัดแย้งกับสมมติฐานและความ ผิดปกติของข้อมูลจากการ สารวจตรวจสอ ว8.1 ม.1/5 บ 17. สร้างแบบจาลอง หรื อ - - สารวจตรวจสอบ มุ่งมันในการทางาน ่ รู ปแบบที่อธิบายผลหรื อ - สร้างแบบจาลอง ใฝ่ เรี ยนรู้ แสดงผลของการสารวจ ตรวจสอบ ว 8.1 ม.1/6 18. สร้างคาถามที่นาไปสู่การ - - สารวจตรวจสอบ มุ่งมันในการทางาน ่ สารวจ ตรวจสอบในเรื่ องที่ - อธิบาย ใฝ่ เรี ยนรู้ เกี่ยวข้องและนาความรู้ที่ได้ไปใช้ ในสถานการณ์ใหม่ หรื ออธิบาย เกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและ ผลของโครงงานหรื อชิ้นงานให้ ผูอื่นเข้าใจ ว ม.1/7 ้ 8.1
  • 6. ตัวชี้วด ั คาสาคัญ (Key word) เนือหา/ความรู้ ้ กระบวนการ/กริยา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 19. บันทึกและอธิบายผลการ - - บันทึก มุ่งมันในการทางาน ่ สังเกต การสารวจตรวจสอบ - อธิบาย ใฝ่ เรี ยนรู้ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่ง - สังเกต ความรู้ต่างๆ ให้ได้ขอมูลที่ ้ - สารวจตรวจสอบ เชื่อถือได้และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ความรู้ที่ ค้นพบ เมื่อมีขอมูลและ ้ ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้น หรื อโต้แย้งจากเดิม ว 8.1 ม.1/8 20. จัดแสดงผลงาน เขียน - - อธิบาย มุ่งมันในการทางาน ่ รายงานและหรื ออธิบายเกี่ยวกับ / - ปฏิบติ ั มีวินย ั แนวคิด กระบวนการ และผล ของโครงงานหรื อชิ้นงานให้ ผูอื่นเข้าใจ ว8.1 ม.1/9 ้
  • 7. คาอธิบายรายวิชา รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา ิ ิ
  • 8. คาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 1.5 หน่ วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง ศึกษาวิเคราะห์การจาแนกสารเป็ นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรื อขนาดอนุ ภาคเป็ นเกณฑ์ และสมบัติของ สารในแต่ละกลุ่ม สมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจาลองการจัดเรี ยงอนุภาคของสาร สมบัติความเป็ นกรด-เบสของสาระละลาย ค่า pH ของสาระละลายและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ วิธีเตรี ยม สารละลายที่มีความเข้มข้นเป็ นร้อยละ และการนาความรู้เกี่ ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย ปัจจัยที่มี ผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสาร อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ การถ่ายโอนความร้อน การดูดกลืน การคายความร้อน โดยการแผ่รังสี สมดุลความร้อนและผลของความร้อนต่อการขยายตัวของ สารและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรี ยนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริ ยธรรม คุณธรรม และ ค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วด ั ว 3.1 ม.1/1 , ว 3.1 ม.1/2 , ว 3.1 ม.1/3 , ว 3.1 ม.1/4 ว 3.2 ม.1/1 , ว 3.2 ม.1/2 , ว 3.2 ม.1/3 ว 5.1 ม.1/1 , ว 5.1 ม.1/2 , ว 5.1 ม.1/3 , ว 5.1 ม.1/4 ว 8.1 ม.1/1 , ว 8.1 ม.1/2 , ว 8.1 ม.1/3 , ว 8.1 ม.1/4 , ว 8.1 ม.1/5 , ว 8.1 ม.1/6 , ว 8.1 ม.1/7 , ว 8.1 ม.1/8 ว 8.1 ม.1/9 รวม 20 ตัวชี้วด ั
  • 9. โครงสร้ างรายวิชา รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา ิ ิ
  • 10. โครงสร้ างรายวิชาวิทยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 1.5 หน่ วยกิต ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 100 คะแนน ลาดับที่ มาตรฐานการเรี ยนรู้/ สาระสาคัญ ชื่อหน่วยการ เวลา น้ าหนัก ตัวชี้วด ั (Key Concept) เรี ยนรู้ (ชัวโมง) คะแนน ่ 1 ว 8.1 ม.1/1 , การใช้กระบวนการทาง เราจะเรี ยนรู้ 10 10 ว 8.1 ม.1/2 , วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ใน วิทยาศาสตร์ ว 8.1 ม.1/3 , การสืบเสาะหาความรู้ อย่างไร ว 8.1 ม.1/4 , ว 8.1 ม.1/5 , ว 8.1 ม.1/6 , ว 8.1 ม.1/7 , ว 8.1 ม.1/8 , ว 8.1 ม.1/9 2 ว 3.2 ม.1/1 , การจาแนกสารเป็ นกลุ่มโดยใช้เนื้อ สารรอบตัว 12 15 ว 3.2 ม.1/2 , สารหรื อขนาดอนุภาคเป็ นเกณฑ์ และ ว 3.2 ม.1/3 สมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม สมบัติ ว.8.1 ม.1/1 และการเปลี่ยนสถานะของสาร โดย ใช้แบบจาลองการจัดเรี ยงอนุภาคของ สาร 3 ว 3.2 ม.1/1 , วิธีเตรี ยมสารละลายที่มีความเข้มข้น สารละลาย 12 15 ว 3.2 ม.1/2 , เป็ นร้อยละ และการนาความรู้เกี่ยวกับ ว 3.2 ม.1/3 สารละลายไปใช้ประโยชน์ การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และ พลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยน สถานะและเกิดการละลาย ปัจจัยที่มี ผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการ ละลายของสาร 4 สรุ ปทบทวนภาพรวม(สอบกลางภาค) - 2 15
  • 11. ลาดับที่ มาตรฐานการเรี ยนรู้/ สาระสาคัญ ชื่อหน่วยการ เวลา น้ าหนัก ตัวชี้วด ั (Key Concept) เรี ยนรู้ (ชัวโมง) คะแนน ่ 5 ว 3.1 ม.1/3 , สมบัติความเป็ นกรด-เบสของสาระ สารละลาย 10 10 ว 3.1 ม.1/4 ละลาย ค่า pH ของสาระละลายและ กรด-เบส นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 6 ว 5.1 ม.1/1 อุณหภูมิและการวัดอุณหภูมิ การถ่าย พลังงานความ 12 15 ว 5.1 ม.1/2 โอนความร้อน การดูดกลืน การคาย ร้อน ว 5.1 ม.1/3 ความร้อน โดยการแผ่รังสี สมดุล ความร้อนและผลของความร้อนต่อ ว 5.1 ม.1/4 การขยายตัวของสารและนาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ 7 สรุ ปทบทวนภาพรวม - 2 20 (สอบปลายภาค) รวม 60 100
  • 12. การกาหนดเปาหมายของหน่ วยการเรียนรู้ ้ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง สารละลาย รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา ิ ิ
  • 13. หน่ วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สารละลาย รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ ิ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 12 ชั่วโมง ผู้สอน นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ โรงเรียนนนทรีวทยา ิ ***************************************************************************** มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 3.2 : เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การ เกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรี ยนรู้ และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วด ั 1. ทดลองและอธิบายวิธีเตรี ยมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็ นร้อยละ และอภิปรายการนาความรู้ เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ (ว.3.2 ม.1/1) 2. ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและพลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะ และเกิดการละลาย (ว.3.2 ม.1/2) 3. ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร (ว.3.2 ม.1/3) มาตรฐาน ว 8.1 :ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหารู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและ ตรวจสอบได้ ภายใต้ขอมูลและเค รื่ องมือที่มีอยูในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม ้ ่ และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กน ั ตัวชี้วด ั 1. เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ ปลอดภัย โดยใช้วสดุและเครื่ องมือที่เหมาะสม (ว.8.1 ม.1-3/3) ั 2. สร้างคาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรื่ องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู้ที่ได้ไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่หรื ออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผอื่น หรื อ ู้ เข้าใจ (ว.8.1 ม.1-3/7)
  • 14. 3. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ขอมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่คนพบเมื่อมีขอมูลและประจักษ์ ้ ้ ้ พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรื อโต้แย้งจากเดิม (ว.8.1 ม.1-3/8) 4. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรื ออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ โครงงานหรื อชิ้นงานให้ผอื่นเข้าใจ (ว.8.1 ม.1-3/9) ู้ สาระสาคัญ วิธีเตรี ยมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็ นร้อยละ และการนาความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ ประโยชน์การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสาร สาระการเรียนรู้ ความรู้ 1. วิธีเตรี ยมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็ นร้อยละ และการนาความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ 2. การเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย 3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสาร ทักษะ/กระบวนการ 1. อธิบาย 2. อภิปราย 3. ทดลอง คุณลักษณะพึงประสงค์ 1. ใฝ่ เรี ยนรู้ 2. มุ่งมันในการทางาน ่ 3. อยูอย่างพอเพียง ่ 4. มีความรับผิดชอบ
  • 15. การบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักศรษฐกิจพอเพียงคือการพัฒนาที่ต้งอยูบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ เ ั ่ ประมาท โดยคานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุมกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนการตัดสินใจ และการกระทา ชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง ปรั มีหลักพิจารณาอยู่5 ส่วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบติตนในทางที่ควรจะเป็ น โดยมี ั พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลก เชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ่ ่ มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤติ เพื่อความมันคง และความยังยืนของการพัฒนา ่ ่ 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กบการปฏิบติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้น ั ั การปฏิบติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอน ั 3. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้ รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุล และยังยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ่ ความรู้ และเทคโนโลยี
  • 16. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ การจัดการเรียนการสอน 1. ความพอเพียง ประกอบด้ วย 3 คุณลักษณะ ดังนี้ ความพอประมาณ คือ ความพอดีที่ไม่นอยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง ้ และผูอื่น เช่นการผลิต และการบริ โภคที่อยูในระดับพอประมาณ การใช้เวลาอย่างคุมค่า ทันเวลา ้ ่ ้ ความมีเหตุผล คือ การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่าง มีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมคุ้มกันที่ดีในตัว คือ การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้าน ิ ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล 2. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ ่ และคุณธรรมเป็ นพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวัง ในขั้นปฏิบติ ั เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ ซื่อสัตย์สุจริ ต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ภาระงาน/ชิ้นงาน 1. ชุดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่ องสารละลาย 2. โครงการสารละลายในชีวิตประจาวัน สร้างสรรค์ความสุข 3. แผ่นพับให้ความรู้และประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สารละลาย 4. การจัดแสดงนิทรรศการผลิตภัณฑ์ของนักเรี ยน
  • 17. การประเมินผล หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง สารละลาย รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา ิ ิ
  • 18. การประเมินผล ผู้ประเมิน : ครู ผสอนเป็ นผูประเมิน และ ผูเ้ รี ยนประเมินตนเอง ู้ ้ สิ่ งที่ต้องประเมิน วิธีการวัดผล ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน 1. ผลงานนักเรี ยน แบบประเมินผลงาน - การคิดวิเคราะห์ 3 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญ ขยายความ ยกตัวอย่าง / ใบงาน เปรี ยบเทียบและสรุ ปความคิดรวบยอดได้ดี 2 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้ แต่ขยายความหรื อ ยกตัวอย่างไม่ได้ 1 คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้นอย ้ - การเขียนสื่ อความ 3 คะแนน = เขียนสื่ อความได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ตรงประเด็น และ เข้าใจง่าย 2 คะแนน = เขียนสื่ อความไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี 2-3 แห่ง ตรง ประเด็น 1 คะแนน = เขียนสื่ อความได้นอย ไม่ตรงประเด็น ้ - มีความคิดสร้างสรรค์ 3 คะแนน = ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มีความสัมพันธ์กบหัวข้อที่ ั กาหนด ระบายสี ได้สวยงาม 2 คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กบหัวข้อที่กาหนด แต่ไม่ ั ดึงดูดความสนใจ 1 คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กบหัวข้อที่กาหนดน้อยมาก ั - ประโยชน์ของการนา 3 คะแนน = สามารถนาไปประยุกต์กบสถานการณ์ใน ั ข้อมูลไปใช้ ชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม 2 คะแนน = สามารถนาไปประยุกต์กบสถานการณ์ใน ั ชีวิตประจาวันได้บาง ้ 1 คะแนน = สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้นอยมาก ้ การประเมินผล คะแนน 12 -9 = ดี (3) คะแนน 8 - 5 = พอใช้ (2) คะแนน 4 - 0 = ควรปรับปรุ ง (1) 2. พฤติกรรมขณะร่ วม แบบบันทึกการ ความมุ่งมั่นในการทางาน เกณฑ์ การให้ คะแนน กิจกรรมของนักเรี ยน สังเกตและ - ความสนใจในการทา ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี ประเมินผล กิจกรรม ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง พฤติกรรมรายบุคคล - การมีส่วนร่ วมในการ ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุ ง แสดงความคิดเห็น - การตอบคาถาม - การยอมรับฟังความ คิดเห็นผูอื่น ้ - ทางานตามที่ได้รับ มอบหมาย เกณฑ์ การประเมินผล คะแนน 15 -13 = ดี (3) คะแนน 12 - 9 = พอใช้ (2) คะแนน 8 - 5 = ควรปรับปรุ ง (1)
  • 19. สิ่ งที่ต้องประเมิน วิธีการวัดผล ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน 3. ทักษะกระบวนการ แบบประเมิน - การทดลองตาม เกณฑ์ การให้ คะแนน ทางวิทยาศาสตร์ พฤติกรรม การ แผนที่กาหนด 3 คะแนน = ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้อย่าง ปฏิบติงานและทักษะ ั ถูกต้อง มีการปรับ-ปรุ งแก้ไขเป็ นระยะ การทดลอง 2 คะแนน = ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้โดยครู เป็ นผูแนะนาในบางส่ วน มีการปรับปรุ งแก้ไขบ้าง ้ 1 คะแนน = ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้หรื อ ดาเนินการข้ามขั้น-ตอนที่กาหนดไว้ ไม่มีการปรับปรุ งแก้ไข - การใช้อุปกรณ์ เกณฑ์ การให้ คะแนน และ/หรื อเครื่ องมือ 3 คะแนน = ใช้อุปกรณ์และ/หรื อเครื่ องมือ ในการทดลองได้อย่าง คล่องแคล่ว และถูกต้องตามหลักการปฏิบติ ั 2 คะแนน = ใช้อุปกรณ์และ/หรื อเครื่ องมือ ในการทดลองได้อย่าง ถูกต้อง ตามหลักการปฏิบติ แต่ไม่คล่องแคล่ว ั 1 คะแนน = ใช้อุปกรณ์และ/หรื อเครื่ องมือ ไม่ถูกต้อง - การบันทึกผลการ เกณฑ์ การให้ คะแนน ทดลอง 3 คะแนน = บันทึกผลเป็ นระยะ อย่างถูกต้อง มีระเบียบ และ เป็ นไปตามการทดลอง 2 คะแนน = บันทึกผลเป็ นระยะ ไม่ระบุหน่วย ไม่เป็ นระเบียบ และเป็ นไปตามการทดลอง 1 คะแนน = บันทึกผลไม่ครบ ไม่มีการระบุหน่วย และไม่เป็ นไป ตามการทดลอง - การสรุ ปผลการ เกณฑ์ การให้ คะแนน ทดลอง 3 คะแนน = สรุ ปผลการทดลองได้อย่างถูกต้อง กระชับ ชัดเจน และครอบคลุมข้อมูล จากการวิเคราะห์ท้ งหมด ั 2 คะแนน = สรุ ปผลการทดลองได้ถูกต้อง แต่ยงไม่ครอบคลุม ั ข้อมูลจากการวิเคราะห์ท้ งหมด ั 1 คะแนน = สรุ ปผลการทดลองได้ตามความเห็น โดยไม่ใช้ขอมูล ้ จากการทดลอง - การดูแลและการ เกณฑ์ การให้ คะแนน เก็บอุปกรณ์และ/ 3 คะแนน = ดูแลอุปกรณ์และ/หรื อเครื่ องมือในการทดลองและมี หรื อเครื่ องมือ การทาความสะอาด และเก็บอย่างถูกต้องตามหลักการ 2 คะแนน = ดูแลอุปกรณ์และ/หรื อเครื่ องมือในการทดลองและมี การทาความสะอาด แต่เก็บไม่ถูกต้อง 1 คะแนน = ไม่ดูแลอุปกรณ์และ/หรื อเครื่ องมือในการทดลอง และไม่สนใจทาความสะอาดรวมทั้งเก็บไม่ถูกต้อง เกณฑ์ การประเมินผล คะแนน 15 -13 = ดี (3) คะแนน 12 - 9 = พอใช้ (2) คะแนน 8 - 5 = ควรปรับปรุ ง (1)
  • 20. สิ่ งที่ต้องประเมิน วิธีการวัดผล ประเด็นที่ประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน 4. ความรับผิดชอบ แบบประเมินความ 1. ความรับผิดชอบต่อ เกณฑ์การให้คะแนน ตระหนักรู ้ดาน ้ การเรี ยน ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี คุณธรรมและความ 2. ความรับผิดชอบต่อ ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง รับผิดชอบ การปฏิบติหน้าที่และ ั ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุ ง งานที่ได้รับมอบหมาย (คาอธิบายคุณภาพตามตารางดังแนบ) 3. ความรับผิดชอบต่อ การกระทาของตน 4. ความรับผิดชอบ ต่อเพื่อน เกณฑ์ การประเมินผล คะแนน 2.51 – 3.50 = ดี คะแนน 1.51 – 2.50 = พอใช้ คะแนน 1.00 – 1.50 = ควรปรับปรุ ง 5. การปฏิบติตนตาม ั แบบประเมินการ - ความพอประมาณ เกณฑ์ การให้ คะแนน หลักปรัชญาของ ปฏิบติตนตามหลัก ั - ความมีเหตุผล ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจ - มีภูมิคมกันในตัวที่ดี ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง ุ้ พอเพียง - มีความรู ้ ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุ ง - มีคุณธรรม เกณฑ์ การประเมินผล คะแนน 9 -8 = ดี (3) คะแนน 7 - 6 = พอใช้ (2) คะแนน 5 - 3 = ควรปรับปรุ ง (1)
  • 21. แบบประเมินผล หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง สารละลาย รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา ิ ิ
  • 22. แบบประเมินพัฒนาการในการเรียนรู้ ของนักเรียน หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง ............................................... ชั้น............... คาชี้แจง 1. ให้บนทึกคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน – หลังเรี ยนของนักเรี ยนแต่ละคนลงใน ั ช่องคะแนนแบบทดสอบ 2. นาคะแนนหลังการเรี ยนลบคะแนนก่อนเรี ยน เป็ นคะแนนพัฒนาการ 3. ประเมินคะแนนพัฒนาการในการเรี ยนรู้โดยเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์คะแนนพัฒนาการแล้วทา เครื่องหมาย  ลงในช่ องความหมายของการพัฒนาการเรียนรู้ให้ ตรงกับความเป็ นจริง คะแนนแบบทดสอบ คะแนน พัฒนาการในการเรี ยนรู้ เลขที่ ชื่อ – สกุล ก่อน หลังเรี ยน พัฒนาการ ดีมาก ดี ปานกลาง ปรับปรุ ง นักเรี ยน เรี ยน (หลัง-ก่อน) ลงชื่อ...........................................ผูประเมิน ้ (…………………………….. ) ........./...................../........... เกณฑ์คะแนนพัฒนาการ 9 – 10 = ดีมาก 7–8 = ดี 5–6 = ปานกลาง น้อยกว่า 5 = ปรับปรุ ง
  • 23.
  • 24. แบบบันทึกการสั งเกตและประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล ครั้งที่ ………… เรื่ อง ................................................................ รหัสวิชา ..........................ภาคเรี ยนที…....ปี การศึกษา………… ชั้น................ โรงเรี ยน .................................. ่ พฤติกรรม / ระดับคะแนน ความสนใจใน การมีส่วนร่ วม การตอบ การยอมรับฟัง ทางานตามที่ การทา ในการแสดง คาถาม ความคิดเห็น ได้รับ รวม ลาดับที่ ชื่อ – สกุล กิจกรรม ความคิดเห็น ผูอื่น ้ มอบหมาย 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 เกณฑ์ การให้ คะแนน เกณฑ์ การประเมิน คะแนนเต็ม 15 คะแนน ระดับ 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ดี คะแนน 13 - 15 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปานกลาง คะแนน 9 - 12 หมายถึง ปานกลาง ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับ ปรับปรุ ง คะแนน 5 - 8 หมายถึง ปรับปรุ ง เกณฑ์ การผ่ าน ร้อยละ 60 ( 9 คะแนน ) ลงชื่อ ................................................ ( ) ครู ผสอน / ผูประเมิน ู้ ้
  • 25.
  • 26. แบบประเมินความตระหนักรู้ ด้านคุณธรรมความรับผิดชอบ ชื่อกลุ่ม ................................................................... คาชี้แจง : ให้ผประเมินใส่ ตวเลขลงในช่องตามความเป็ นจริ ง ู้ ั เกณฑ์การประเมิน คะแนนเฉลีย ่ 2.51 – 3.50 1.51 – 2.50 1.00 – 1.50 ความหมาย ดี พอใช้ ปรับปรุ ง ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน ( ………………………………………………)
  • 27. เกณฑ์ การประเมินความตระหนักรู้ คุณธรรมด้ านความรับผิดชอบต่ อการเรียน
  • 28. เกณฑ์ การประเมินความตระหนักรู้ คุณธรรมด้ านความรับผิดชอบ ต่ อการปฏิบัติหน้ าที่และงานที่ได้ รับมอบหมาย
  • 29. เกณฑ์ การประเมินความตระหนักรู้ คุณธรรมด้ านความรับผิดชอบต่ อการกระทาของตน
  • 30. เกณฑ์ การประเมินความตระหนักรู้ คุณธรรมด้ านความรับผิดชอบต่ อเพือน ่
  • 31. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง สารละลาย รหัสวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์ โรงเรียนนนทรีวทยา ิ ิ
  • 32. แผนการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมส่ งเสริมศักยภาพการเรียนรู้วทยาศาสตร์ หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง สารละลาย ิ รายวิชา ว21101 วิชา วิทยาศาสตร์ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หน่ วยการเรียนรู้เรื่อง สารละลาย 1. ผังการวิเคราะห์ สาระการเรียนรู้ ความเข้ มข้ นของสารละลาย องค์ประกอบของสารละลาย การละลายของสาร สมบัตของสารละลาย ิ สารละลาย ปัจจัยที่มผลต่อการละลาย ี การจาแนกประเภทของสารละลาย การเปลียนแปลงพลังงานในการละลาย ่ 2. ผังการวิเคราะห์ ประเด็นของการเรียนรู้ ความรู้ความเข้ าใจเกียวกับสารละลาย ่ สารละลายในชีวตประจาวัน ิ สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ สารละลาย ศักยภาพในการเรียนรู้วทยาศาสตร์ ิ เศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่ วง 2 เงื่อนไข การนาความรู้ เกียวกับ ่ คุณลักษณะพึงประสงค์ ความพอประมาณ ,ความมีเหตุผล ,ภูมิคมกัน ุ้ สารละลายไปใช้ ประโยชน์ ใฝ่ เรี ยนรู ้ , มุ่งมันในการทางาน , ่ เงื่อนไขความรู ้ , เงื่อนไขคุณธรรม อยูอย่างพอเพียง และมีความรับผิดชอบ ่
  • 33. 3. มโนมติที่ผู้เรียนพึงได้ รับ สารละลาย (Solution) คือ สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารบริ สุทธิ์ (ธาตุ หรื อสารประกอบ ) ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกันแล้วกลมกลืนเป็ นเนื้อเดียวกันโดยตลอดทัวทุกส่วน แต่มีอตราส่วนผสมไม่คงที่ ่ ั ซึ่งสารละลายในชีวิตประจาวันมีหลายชนิด โดยเราสามารถนาความรู้เรื่ องสารละลายไปใช้ประโยชน์ในการ ดาเนินชีวิตประจาวันได้ 4. สาระการเรียนรู้ สารละลาย (Solution) คือ สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารบริ สุทธิ์ (ธาตุ หรื อสารประกอบ ) ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกันแล้วกลมกลืนเป็ นเนื้อเดียวกันโดยตลอดทัวทุ ่ กส่วน แต่มีอตราส่วนผสมไม่คงที่ ั องค์ประกอบของสารละลายที่สาคัญ 2 ส่วน คือ ตัวทาละลาย (solvent) และ ตัวละลาย (solute) การพิจารณาว่าสารใดเป็ นตัวทาละลาย สารใดเป็ นตัวละลาย สารที่สถานะเดียวกัน เมื่อนาสารที่มี สถานะเดียวกันมาผสมกันเกิดเป็ นสารละลาย สารที่มีปริ มา มากกว่าเป็ นตัวทาละลาย สารที่มีปริ มาณน้อยกว่า ณ เป็ นตัวถูกละลาย สารที่มสถานะต่างกัน เมื่อนาสารที่มีสถานะต่างกันมาผสมกันเกิดเป็ นสารละลาย ี สารที่มีสถานะเดียวกับสารละลายจัดเป็ นตัวทาละลาย และสารที่มีสถานะต่างไปจากสารละลายจัดเป็ นตัวละลาย การจา แนกประเภทของสารละลาย สามารถจาแนกได้ 3 ประเภท คือ จาแนกตามสถานะของ สารละลายจาแนกตามปริ มาณของตัวละลาย และจาแนกตามความเข้มข้น การละลาย หมายถึง การที่อนุภาคของสารตั้งตันสองชนิดข้นไปแทรกรวมเป็ นเนื้อเดียวกันการละลาย ของสารชนิดหนึ่งอาจเป็ นการเปลี่ยนแปลงประเภทดู ดความร้อนหรื อคายความร้อน ขึ้นอยูกบผลต่าง ่ ั ของพลังงานที่ใช้แยกอนุภาคของของแข็งกับพลังงานที่คายออกมา ่อให้อนุภาคของของแข็งยึดเหนี่ยวกับน้ า เพื ปัจจัยที่มผลต่อการละลายของสาร ได้แก่ ชนิดของตัวละลายและตัวทาละลาย อัตราส่วนระหว่าง ี ปริ มาณของตัวละลายกับตัวทาละลาย อุณหภูมิ และ ความดัน ความเข้ มข้ นของสารละลาย เป็ นค่าที่แสดงให้ทราบถึงปริ มาณของตัวละลายที่มีอยูในปริ มาณของ ่ สารละลาย การบอกความเข้มข้นของสารละลาย แบ่งออกเป็ น ลักษณะ คือ หน่วยร้อยละ หรื อเปอร์เซ็นต์ 3 ส่วนในล้านส่วน (part per million หรื อ ppm) และ ส่วนในพันส่วน(part per thousand หรื อ ppt)
  • 34. 5. ศักยภาพที่ต้องการพัฒนา (เปาหมายของการเรียนรู้) ้ 1. ด้ านการส่ งเสริมความรอบรู้ 1.1 ศึกษาเกี่ยวกับ ความเข้มข้นของสารละลาย องค์ประกอบของสารละลาย การละลาย ของสาร ปัจจัยที่มีผลต่อการละลาย สมบัติของสารละลาย การจาแนกประเภทของ สารละลาย และ การเปลี่ยนแปลงพลังงานในการละลาย 1.2 สามารถเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับสารละลายในชีวิตประจาวันได้ 1.3 ระบุความสามารถทางวิทยาศาสตร์ได้ (สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์) 1.4 มีความใฝ่ เรี ยนรู้ จากสื่อและแหล่งเรี ยนรู้ต่างๆ พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ 2. ด้ านการปฏิบัตการดีมประโยชน์ ต่อสังคม ิ ี 2.1 ฝึ กพัฒนาตนเองให้มีสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านปฏิบติการ ั และด้านคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์ 2.2 ฝึ กพัฒนาสมองซีกซ้ายและซีกขวาอย่างสมดุล เรี ยนรู้ตามแบบและความต้องการของ ตนเองอย่างเหมาะสม และสามารถพัฒนาตนเองอย่างเต็มตามศักยภาพ 2.3 ฝึ กการทางานร่ วมกันและกระบวนการกลุ่ม มุ่งมันในการทางาน ่ 2.4 ฝึ กทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.5 ฝึ กปฏิบติการวางแผน ออกแบบและจัดทาโครงงานและผ ที่มีประโยชน์ต่อตนเอง ั ลิตภัณฑ์ และสังคมบนพื้นฐานแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. ด้ านการพัฒนาและเผยแพร่ ผลงาน 3.1 ตรวจสอบประเมินผลงานของตนเองและนาผลการประเมินมาพัฒนาและปรับปรุ งแก้ไข ผลงานด้วยตนเองได้ความรับผิดชอบ มี 3.2 ฝึ กประชาสัมพันธ์ผลงานได้ 3.3 ฝึ กเขียนคาถามเพื่อให้ผอื่นตอบคาถามได้อย่างหลากหลาย ู้ 3.4 ฝึ กประเมินผลงานของตนเองและของผูอื่นได้ ้
  • 35. 6. ผังการวางแผนการจัดกิจกรรม ประสบการณ์ตรง If Why ขันที่ 8 ้ ขันที่ 1 ้ ขันที่ 7 ้ ขันที่ 2 ้ R R L L การปฏิบติ ั การสังเกต R R ขันที่ 6 ้ ขันที่ 3 ้ L L ขันที่ 5 ้ ขันที่ 4 ้ How What ความคิดรวบยอด หมายเหตุ R = Right (กิจกรรมที่พฒนาสมองซีกขวา) ั L = Left (กิจกรรมที่พฒนาสมองซีกซ้าย) ั
  • 36. 7. เนือหาการเรียนรู้ ้ หน่วยการเรี ยนรู้ เรื่ อง สารละลาย แบ่งเป็ น 3 เรื่ อง ได้แก่ เรื่องที่ 1 สารละลายน่ ารู้ (เวลา 6 ชัวโมง) ่ 1.1 การละลายของสาร 1.2 สารละลายและสมบัติของสารละลาย 1.3 การเปลี่ยนแปลงพลังงานในการละลาย 1.4 องค์ประกอบของสารละลาย 1.5 ความเข้มข้นของสารละลาย 1.6 การจาแนกประเภทของสารละลาย 1.7 ปัจจัยที่มีผลต่อการละลายของสาร เรื่องที่ 2 สารละลายในชีวตประจาวัน สร้ างสรรค์ความสุ ข (เวลา 4 ชัวโมง) ิ ่ 2.1 การทาเจลล้างมือ 2.2 การทาโครงการและผลิตภัณฑ์ ที่เป็ นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม เรื่องที่ 3 ผลงานสร้ างสรรค์ที่ฉันภูมใจ (เวลา 2 ชัวโมง) ิ ่ 3.1 จัดทาแผ่นพับประชาสัมพันธ์ 3.2 ตรวจสอบผลงานแผ่นพับประชาสัมพันธ์และผลิตภัณฑ์ 3.3 ประเมินผลงาน สู่การพัฒนา และการประเมินตนเอง การจัดกระบวนการเรียนรู้ ประกอบด้ วย 3 ขั้น คือ 1. ขั้นการส่งเสริ มความรอบรู้ 2. ขั้นการปฏิบติการดี มีประโยชน์ต่อสังคม ั 3. ขั้นการพัฒนา และเผยแพร่ ผลงาน แต่ละขั้นของการจัดกระบวนการเรี ยนรูประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ้ ได้แก่ 1) กิจกรรม รู้ไหม:ฉลาดรู้ ประกอบด้วย การอ่าน คิด เขียนอย่างมีศิลป์ และสร้างสรรค์ 2) กิจกรรม ลองทาดู เพือรู้จริง ประกอบด้วยการตอบคาถามเขียนคาถาม บติการทางวิทยาศาสตร์ ่ ปฏิ ั 3) กิจกรรม การสรุปส่ วนสาคัญประกอบด้วยการฝึ กสรุ ปสาระสาคั วนที่เป็ นความรูกระบวนการ ญในส่ ้ คุณค่าของผลงาน 4) กิจกรรม ชวนคิดชวนทาประกอบด้วยการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะทางวิทยาศาสตร์ 5) กิจกรรม สนุกกับการคิดประกอบด้วยการฝึ กคิดโดยใช้เกมวิทยาศาสตร์ ศนาคาทายและ อื่นๆ ปริ 6) กิจกรรม การสารวจค้นหา (Exploration) ประกอบด้วยการฝึ กทางานเป็ นกลุ่ม การร่ วมมือร่ วมใจ การทาโครงการ / โครงงาน 7) กิจกรรมการประเมินผลตนเอง ประกอบด้วยการประเมินผลตนเองก่อนเรี ยระหว่างเรี ยนหลังเรี ยน น
  • 37. แผนผังแสดงโครงสร้ างของชุดกิจกรรมส่ งเสริมศักยภาพการเรียนรู้วทยาศาสตร์ ิ ด้ วยการจัดการเรียนรู้แบบ 4MAT หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง สารละลาย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ขั้นที่1 สร้ างประสบการณ์ ซีกขวา (1 ชม.) Why เหตุผล เรื่องที่ 1 ขั้นที่2 วิเคราะห์ ประสบการณ์ สารละลายน่ ารู้ ! ซีกซ้ าย (1 ชม.) (6 ชัวโมง) ่ ขั้นที่3 ปรับประสบการณ์ เป็ น ความคิดรวบยอด ซีกขวา (1 ชม.) ขั้นการส่ งเสริ มความรอบรู ้ What ข้ อเท็จจริง ขั้นที่4 มุ่งสู่ หลักการ ซีกซ้ าย (3 ชม.) ชุดกิจกรรมส่งเสริ ม ศักยภาพการเรี ยนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรี ยนรู้ เรื่ อง สารละลาย เรื่องที่ 2 ขั้นที่5 ลงมือปฏิบัติตามหลักการ สารละลายในชีวิต ซีกซ้ าย (2 ชม.) (12 ชัวโมง) ่ How ประจาวัน สร้ างสรรค์ ปฏิบัติ ความสุ ข (4 ชัวโมง) ่ ขั้นที่6 สร้ างผลงานตามความ ถนัด ซีกขวา (2 ชม.) ขั้นการปฏิบติการดี ั ซีกซ้ าย (3 ชม.) มีประโยชน์ต่อสังคม ขั้นทึ่7 วิเคราะห์ แนวทางในการ เรื่องที่ 3 นาไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ผลงานสร้างสรรค์ ซีกซ้ าย (1 ชม.) ที่เรานั้นภูมิใจ If นาไปใช้ (2 ชัวโมง) ่ ขั้นที่ 8 แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ซีกขวา ( 1 ชม.) ซีกซ้ าย (3 ชม.) ขั้นการพัฒนาและเผยแพร่ ผลงาน