SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  43
Télécharger pour lire hors ligne
~ 1 ~
ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี
วิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1
ข้อ
มาตรฐานตัวชี้วัด
มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2
1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
11 
12 
13 
14 
15 
16 
17 
18 
19 
20 
21 
22 
23 
24 
25 
26 
27 
28 
29 
~ 2 ~
ข้อ
มาตรฐานตัวชี้วัด
มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2
1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2
30 
31 
32 
33 
34 
35 
36 
37 
38 
39 
40 
41 
42 
43 
44 
45 
46 
47 
48 
49 
50 
51 
52 
53 
54 
55 
56 
57 
58 
59 
60 

~ 3 ~
ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง
1. “ ธรรมชาติกับการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์เป็นปัจจัยของความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลส่งเสริมซึ่งกัน
และกัน ” จากข้อความนี้ต้องการสื่อในเรื่องใดมากที่สุด
1. การสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ของศิลปินส่วนใหญ่มักใช้วัสดุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
2. ถ้ามนุษย์ใช้ความงามทางธรรมชาติเป็นต้นแบบก็จะสามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ได้
3. ความงดงามของผลงานทัศนศิลป์อยู่ที่การใช้สีที่เสมือนจริงตามธรรมชาติ
4. ธรรมชาติและงานทัศนศิลป์ไม่สามารถแยกออกจากกันได้
2. เพราะเหตุใดศิลปินจึงต้องมีความเข้าใจในธรรมชาติ
1. เพราะจะได้สร้างผลงานทัศนศิลป์ที่มีความหลากหลาย
2. เพราะจะได้มีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในแวดวงศิลปะ
3. เพราะจะได้ผลงานทัศนศิลป์ที่ตอบสนองต่อความต้องการทางสังคม
4. เพราะจะได้นาสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมาสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. การนาหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์มาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์จะก่อให้เกิดผลดี ยกเว้น
ในข้อใด
1. ผลงานที่สร้างขึ้นล้วนมีราคาสูง 2. ผลงานเกิดความสวยงามในด้านรูปทรง
3. ผลงานแสดงเรื่องราวได้อย่างหลากหลาย 4. ผลงานมีคุณค่าทางความงามอย่างสมบูรณ์
4.
จากภาพแสดงให้เห็นถึงสิ่งใดชัดเจนที่สุด
1. เอกภาพ 2. ความสมดุล
3. จังหวะและจุดสนใจ 4. ความกลมกลืนและความขัดแย้ง
1
1ศิลปะ ชุดที่ 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 90
~ 4 ~
5. เพราะเหตุใดมนุษย์ในอดีตจึงนิยมวาดภาพบนฝาผนังถ้า
1. ต้องการแสดงอาณาเขต
2. แสดงความเคารพต่อเทพเจ้า
3. ถ่ายทอดความทรงจาของตนเอง
4. สร้างสีสันที่สวยงามให้เกิดขึ้นภายในถ้า
6. ลักษณะที่โดดเด่นของการวาดภาพแสดงทัศนียภาพคือสิ่งใด
1. ภาพสื่ออารมณ์และความรู้สึกได้อย่างชัดเจน
2. ภาพแสดงให้เห็นถึงความเป็นจริงในธรรมชาติ
3. ภาพมีการผสมผสานเทคนิคการวาดภาพที่หลากหลาย
4. ภาพสามารถให้ความรู้สึกและอารมณ์ทางสุนทรียะได้ชัดเจน
7. งานปั้นและงานสื่อผสมมีความแตกต่างกันในข้อใดชัดเจนที่สุด
1. ความสวยงาม 2. วัสดุที่นามาใช้
3. การนาเสนอเรื่องราว 4. ประโยชน์ที่ได้รับจากผลงาน
8. เพราะเหตุใดก่อนลงมือปฏิบัติงานปั้นจึงควรมีการคัดแยกวัสดุที่แปลกปลอมออกก่อน
1. จะทาให้ผิวของวัตถุเปลี่ยนสี 2. เนื้อดินไม่ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน
3. ก่อให้เกิดอันตรายระหว่างการปั้น 4. ไม่สามารถนามาปั้นขึ้นเป็นรูปทรงได้
9. การออกแบบมีความสาคัญต่องานทัศนศิลป์อย่างไรมากที่สุด
1. ช่วยให้ผลงานทัศนศิลป์มีความหลากหลาย
2. ผลิตผลงานได้ทันตรงตามความต้องการของตลาด
3. สามารถนาผลงานส่งไปจัดจาหน่ายยังต่างประเทศได้
4. สร้างผลงานที่ตอบสนองความต้องการในด้านต่างๆ ของมนุษย์
10. เพราะเหตุใดในการออกแบบจึงต้องมีการนาองค์ประกอบทางด้านทัศนศิลป์มาใช้
1. ผลงานมีความทันสมัย ทันต่อความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
2. ผลงานได้รับการยอมรับและเป็นที่นิยมชมชอบของคนในสังคม
3. ผลงานส่วนใหญ่ให้ประโยชน์ด้านการใช้สอยและความสวยงาม
4. ผลงานเน้นการออกแบบให้มีรูปร่างและสีสันสวยงามสะดุดตา
11. เพราะเหตุใดผู้วิจารณ์จึงควรมีประสบการณ์กับผลงานทัศนศิลป์แบบโดยตรง
1. วิจารณ์ได้ถูกต้องเหมาะสม
2. ให้การวิจารณ์มีผลในเชิงบวก
3. ก่อให้เกิดทัศนคติที่ดีทางความคิด
4. แสดงออกทางความคิดได้หลากหลาย
~ 5 ~
12. บุคคลในข้อใดสามารถวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ได้ดีที่สุด
1. ลูกชุบ ชอบเก็บสะสมผลงานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง
2. ทองเอก ชอบแสวงหาความรู้เกี่ยวกับงานทัศนศิลป์อยู่เสมอ
3. ช่อม่วง จัดเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงในวงสังคม
4. ปุยฝ้าย เป็นดาวคณะศิลปกรรมศาสตร์
13. ผลงานจิตรกรรมไทยสร้างขึ้นเพื่อสิ่งใดเป็นสาคัญ
1. แสดงให้เห็นลีลาการวาดภาพลายไทยที่มีความอ่อนช้อย
2. บันทึกเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ศาสนา ชีวิตความเป็นอยู่ ฯลฯ
3. เชิดชูเกียรติจิตรกรที่สามารถสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมที่มีความสวยงาม
4. สะท้อนแนวความคิดในการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมโดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย
14. ผลงานสถาปัตยกรรมในข้อใดที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก
1. 2.
3. 4.
15. เอกลักษณ์ที่โดดเด่นของงานทัศนศิลป์ของชาติไทยอยู่ที่สิ่งใด
1. ผลิตขึ้นจากวัสดุชั้นดี
2. มีลวดลายที่วิจิตรสวยงาม
3. สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นชาติไทย
4. สร้างขึ้นโดยศิลปินที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้นๆ
16. ข้อใดจัดเป็นลักษณะสาคัญของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
1. ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศใกล้เคียง
2. สร้างสรรค์จากภูมิปัญญาของชาวบ้าน
3. ช่างผู้สร้างสรรค์ผลงานมาจากในวัง
4. มีรูปแบบของผลงานที่หลากหลาย
~ 6 ~
17.
จากภาพจัดเป็นงานจิตรกรรมที่เกิดขึ้นภายในท้องถิ่นหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. เป็น เพราะแสดงถึงความเรียบง่าย
2. เป็น เพราะสังเกตจากการแต่งกายของชาวบ้าน
3. ไม่เป็น เพราะมีการเลือกใช้เทคนิคสีที่หลากหลาย
4. ไม่เป็น เพราะชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่นิยมสร้างงานจิตรกรรม
18. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการสร้างงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย
1. มีผลงานไปจาหน่ายยังประเทศเพื่อนบ้าน 2. ถ่ายทอดประสบการณ์และความรู้สึก
3. เป็นแนวทางในการออกแบบ 4. แสดงออกด้านความเชื่อ
19. จุดเริ่มต้นของงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมสากลเกิดขึ้นมาจากสิ่งใด
1. ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
2. ความงดงามตามที่มองเห็นในธรรมชาติ
3. ความหลากหลายของผู้คนหลายเชื้อชาติ
4. ความเชื่อและความศรัทธาในอานาจลี้ลับ
20. ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมสากลมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องใดมากที่สุด
1. การใช้ธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจ
2. ความเชื่อและความศรัทธาในศาสนา
3. แสดงเนื้อหาสาระและรายละเอียดมาก
4. ฝีมือและเทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปิน
21. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการสร้างตัวโน้ตเพลงไทย
1. สร้างเอกลักษณ์เฉพาะทางดนตรีไทย
2. แสดงถึงความเป็นประเทศที่มีอารยธรรม
3. แบ่งแยกความแตกต่างทางวัฒนธรรมด้านดนตรี
4. เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงในการบรรเลงดนตรีไทย
22. วิธีการบันทึกอัตราจังหวะ 2 ชั้น ในการบรรเลงดนตรีไทย ควรบันทึกในรูปแบบใด
1. | - - - - || - - - ฉิ่ง|| - - - - || - - - ฉับ|
2. | - - - ฉิ่ง|| - - - ฉับ|| - - - ฉิ่ง|| - - - ฉับ|
3. | - ฉิ่ง - ฉับ|| - ฉิ่ง - ฉับ|| - ฉิ่ง - ฉับ|| - ฉิ่ง - ฉับ|
4. | ฉิ่ง - - ฉับ|| ฉิ่ง - - ฉับ|| ฉิ่ง - - ฉับ|| ฉิ่ง - - ฉับ|
~ 7 ~
23. ข้อใดเรียงลาดับของเสียงสูงไปหาต่าได้ถูกต้อง
1. โซปราโน เมซโซโซปราโน อัลโต 2. เมซโซโซปราโน เทเนอร์ เบส
3. บาริโทน อัลโต โซปราโน 4. อัลโต เบส เทเนอร์
24. เพลงไทยเดิมมีเอกลักษณ์เฉพาะที่มีความแตกต่างไปจากเพลงอื่นๆ ในด้านใด
1. การกระทบเสียง 2. การเอื้อนเสียง
3. การเปล่งเสียง 4. การโหนเสียง
25. การขับร้องประสานเสียงให้เกิดความไพเราะควรยึดหลักการในข้อใดเป็นสาคัญ
1. ทานองในการประสานเสียง 2. จานวนผู้ประสานเสียง
3. ความพร้อมเพรียง 4. ความดังของเสียง
26. “ วงตุ้มโมง ” เป็นวงดนตรีพื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่นิยมนามาบรรเลงในงานประเภทใด
1. งานศพ 2. งานแต่งงาน
3. งานรื่นเริงต่างๆ 4. งานทาบุญขึ้นบ้านใหม่
27. ถ้าเบญจวรรณต้องการจัดพิธีมงคลสมรสภายในบริเวณห้องที่มีพื้นที่ไม่กว้างมากนัก เบญจวรรณควร
เลือกใช้วงดนตรีประเภทใดมาบรรเลงจึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด
1. วงมโหรี 2. วงบัวลอย
3. วงปี่พาทย์ 4. วงเครื่องสาย
28. “ เอกเล่นกีตาร์ลีด เอยเล่นกีตาร์คอร์ด เอมเล่นกีตาร์เบส และเอิงตีกลองชุด ” จากข้อความนี้จัดเป็น
การบรรเลงดนตรีด้วยวงดนตรีสากลประเภทใด
1. วงสตริง 2. วงแตรวง
3. วงชาโดว์ 4. วงคอมโบ
29. สิ่งใดใช้ในการกาหนดความสั้น-ยาวของเสียง
1. ทานอง 2. จังหวะ
3. ตัวโน้ต 4. ขั้นคู่เสียง
30. ข้อใดวิเคราะห์ธาตุประกอบของเพลงพระราชนิพนธ์ “ พรปีใหม่ ” ได้ถูกต้องที่สุด
1. จังหวะปานกลาง สง่าผ่าเผย บรรเลงด้วยเสียงดังปานกลาง และมีอารมณ์ด้านบวก
2. จังหวะเร็ว ให้ความสนุกสนาน บรรเลงด้วยเสียงเบา และมีอารมณ์ด้านบวก
3. จังหวะปานกลาง ให้ความสงบ บรรเลงด้วยเสียงเบา และมีอารมณ์ด้านลบ
4. จังหวะช้า แสดงความเข้มขรึม บรรเลงด้วยเสียงเบา และมีอารมณ์ด้านลบ
31. ข้อใดต่างจากพวก
1. เพลงโหมโรง เพลงหน้าพาทย์ 2. เพลงเรื่อง เพลงหางเครื่อง
3. เพลงลูกบท เพลงภาษา 4. เพลงเถา เพลงตับ
~ 8 ~
32. “ บ้างก็ร้องพระประทุมสุริวงศ์ จะจับองค์พระร่วงให้จงได้
สั่งทหารให้ตามดาดินไป พบพระร่วงที่ในเขตอาราม
ไม่รู้จักทักถามพระร่วงเจ้า เธอจึงตอบตามเค้าที่เขาถาม
ว่าจงอยู่ที่นี่จะบอกความ ขอมก็เป็นศิลาตามคาสาปเอย ”
จากข้อความนี้เป็นการขับร้องเหมาะสมกับเพลงประเภทใดมากที่สุด
1. เพลงภาษา 2. เพลงเกร็ด
3. เพลงตับ 4. เพลงเถา
33. การประเมินคุณภาพด้านเสียงในการขับร้องควรประเมินในเรื่องต่างๆ ยกเว้น ข้อใด
1. แก้วเสียงใส กังวาน 2. พลังเสียงที่สม่าเสมอ
3. เลียนเสียงเหมือนศิลปินต้นแบบ 4. ควบคุมลมหายใจได้อย่างถูกต้อง
34. “ สีสันของเสียงเครื่องดนตรีที่ใช้เล่นทานองสอดคล้องเหมาะสมกับอารมณ์ของบทเพลง ”
จากข้อความนี้จัดเป็นการประเมินคุณภาพของบทเพลงในด้านใด
1. คุณภาพด้านองค์ประกอบของดนตรี 2. คุณภาพด้านนักร้อง
3. คุณภาพด้านเนื้อหา 4. คุณภาพด้านเสียง
35.
จากภาพเครื่องดนตรีชนิดนี้ควรมีวิธีการดูแลรักษาอย่างไร
1. บิดสายให้ตึงทุกสาย 2. ใช้ผ้าแห้งเช็ดที่ตัวเครื่องดนตรี
3. นาออกไปวางตากแดดเพื่อฆ่าเชื้อโรค 4. แยกเก็บไม้ดีดและตัวเครื่องไว้คนละที่
36. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการปลดเชือกที่ร้อยผืนระนาดลงเมื่อบรรเลงเสร็จเรียบร้อยแล้ว
1. ทาความสะอาดได้ง่าย 2. สามารถยกไปเก็บได้สะดวก
3. ลดการสะสมของคราบเหงื่อไคล 4. ป้องกันผืนระนาดหย่อน หรือขาด
37. เครื่องดนตรีสากลชนิดใดมีวิธีการเก็บดูแลรักษาที่เหมือนกัน
1. ฟลูต กีตาร์ 2. เปียโน ทรัมเป็ต
3. ทูบา ทรอมโบน 4. มาลาคา ทรัยแองเกิล
38. บทเพลงใดถูกประพันธ์ขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมทางสังคมไม่ใช่การฟังเพื่อความไพเราะ
1. เพลงสุดสงวนเถา 2. เพลงลาวดวงเดือน
3. เพลงโหมโรงจอมสุรางค์ 4. เพลงขวัญใจดอกไม้ของชาติ
39. มนุษย์สามารถรับรู้ความงามของดนตรีได้จากสิ่งใด
1. ค่านิยม 2. การศึกษา
3. ปัจจัยทางสังคม 4. อารมณ์และจิตใจ
~ 9 ~
40. เสียงดนตรีที่ไพเราะนั้นเกิดขึ้นได้จากสิ่งใด
1. การเรียบเรียงเสียงประสาน 2. การนาเครื่องดนตรีมาใช้
3. การขับร้องของศิลปิน 4. การกาหนดจังหวะ
41. ถ้านักเรียนต้องจัดการแสดงละครจะมีวิธีในการคัดเลือกนักแสดงอย่างไร
1. บุคลิกเหมาะสมกับบท 2. รูปร่างหน้าตาสมส่วน
3. มีชื่อเสียงทางสังคม 4. สนิทสนมส่วนตัว
42. เพราะเหตุใดนักแสดงจึงต้องหมั่นฝึกประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นประจาอย่างสม่าเสมอ
1. เวลาแสดงจะได้ไม่รู้สึกขัดเขิน
2. จะได้สามารถท่องจาบทได้อย่างละเอียด
3. สื่อสารกับนักแสดงท่านอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี
4. สามารถแสดงปฏิกิริยาตอบสนองได้ทันท่วงที
43. การตั้งวงล่างของตัวพระและตัวนางมีความแตกต่างกันอย่างไร
1. วงของตัวพระเป็นวงแคบกว่า
2. วงของตัวนางเป็นวงแคบกว่า
3. วงของตัวพระเป็นวงสูงกว่า
4. วงของตัวนางเป็นวงสูงกว่า
44. เพราะเหตุใดในการแสดงนาฏศิลป์จึงต้องมีการนาภาษาท่ามาใช้
1. สร้างความสวยงาม 2. ดึงดูดสายตาของผู้ชม
3. สื่อความหมายแทนคาพูด 4. บ่งบอกลักษณะของการแสดง
45. นักแสดงแสดงท่าทางโดยการใช้ “ มือซ้ายแตะหน้าผาก มือขวากุมที่ชายพก ” แสดงว่าต้องการสื่อ
ความหมายอย่างไร
1. ห่วงใย 2. ร้องไห้
3. เก้อเขิน 4. สว่างไสว
46. ลักษณะของการแสดงระบาในข้อใดต่างจากพวก
1. ระบาไกรลาศสาเริง 2. ระบากฤดาภินิหาร
3. ระบาเทพบันเทิง 4. ระบาดาวดึงส์
47. “ ดวงจันทร์วันเพ็ญ ลอยเด่นอยู่ในนภา
ทรงกลดสดสี รัศมีทอแสงงามตา
แสงจันทร์อร่าม ฉายงามส่องฟ้า
ไม่งามเท่าหน้า นวลน้องยองใย ”
~ 10 ~
จากเนื้อเพลงนี้ควรปฏิบัติท่าราใดจึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด
1. ท่าพรหมสี่หน้า และท่ายูงฟ้อนหาง
2. ท่าชะนีร่ายไม้ และท่าจ่อเพลิงกาฬ
3. ท่าแขกเต้าเข้ารัง และท่าผาลาเพียงไหล่
4. ท่าช้างประสานงาน และท่าจันทร์ทรงกลดแปลง
48. ข้อใดอธิบายเหตุผลที่คนไทยต้องศึกษาเกี่ยวกับนาฏศิลป์ได้ชัดเจนที่สุด
1. นาฏศิลป์เป็นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัว
2. เป็นวิชาที่เรียนกันมาตั้งแต่อดีต
3. มีเนื้อหาที่เข้าใจง่าย ภาพประกอบชัดเจน
4. เป็นเสมือนแหล่งรวบรวมศิลปะหลากหลายแขนง
49. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง
1. เป็นการแสดงเพื่อสร้างความสนุกสนาน
2. เป็นการแสดงเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน
3. เป็นการแสดงเพื่อแสดงความยินดีในโอกาสต่างๆ
4. เป็นการแสดงเพื่อแสดงความเคารพต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์
50. สิ่งใดที่ทาให้การแสดงนาฏศิลป์ตะวันออกมีความแตกต่างจากการแสดงนาฏศิลป์ไทย
1. นาเครื่องดนตรีมาบรรเลงประกอบ 2. มีการสร้างฉากประกอบการแสดง
3. ไม่คานึงถึงความสมจริง 4. บทละครมีเนื้อหากินใจ
51. บุคคลในข้อใดมีความสาคัญมากที่สุดในการแสดงละคร
1. ผู้ประพันธ์บท 2. ตัวประกอบ
3. นักแสดง 4. ผู้กากับ
52. บุคคลในข้อใดทาหน้าที่ควบคุมนักแสดงให้แสดงได้อย่างสมบทบาท
1. ผู้กากับเวที 2. ผู้ประพันธ์บท
3. ผู้กากับการแสดง 4. ผู้อานวยการแสดง
53. เมื่อถึงบทที่ตัวละครต้องแสดงอารมณ์โกรธ การเคลื่อนไหวบนเวทีจะเป็นการเคลื่อนไหวในรูปแบบใด
1. เคลื่อนไหวเป็นเส้นตรง 2. เคลื่อนไหวเป็นเส้นโค้ง
3. เคลื่อนไหวเป็นเส้นทแยง 4. เคลื่อนไหวเป็นเส้นซิกแซ็ก
54. การที่ตัวละครเคลื่อนไหวบนเวทีในลักษณะการเคลื่อนไหวไปข้างๆ แสดงให้เห็นว่าตัวละครต้องการสื่อ
ให้เห็นถึงใด
1. แสดงความรัก 2. แอบซ่อนตัว
3. ไว้อาลัย 4. โมโห
~ 11 ~
55. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการละครไทย
1. เป็นการแสดงที่พัฒนามาจากการร่ายราของชนชาติต่างๆ
2. มีจุดประสงค์เพื่อสร้างความสนุกสนาน เบิกบานใจ
3. เป็นการแสดงอย่างหนึ่งที่มนุษย์ได้สร้างสรรค์ขึ้น
4. จัดเป็นมหรสพอย่างหนึ่งที่แสดงเป็นเรื่องราว
56. “ ละครต้นแบบของละครรา เล่นกันเป็นพื้นบ้านทั่วไป มีตัวละครน้อย เดิมเป็นชายล้วน ตัวละครที่ไม่
สาคัญมักไม่แต่งตัวยืนเครื่อง กระบวนราไม่สู้งดงามประณีตนัก ” จากข้อความนี้หมายถึงการแสดง
ละครประเภทใด
1. ละครใน 2. ละครพูด
3. ละครนอก 4. ละครชาตรี
57. เพราะเหตุใดในการจัดแสดงละครนอกจึงนิยมใช้นักแสดงเป็นชายล้วน
1. ราได้สวยงามกว่าผู้หญิง
2. นักแสดงไม่ต้องแต่งหน้า ทาผม
3. เน้นความกระฉับกระเฉงในการแสดง
4. บทละครเอื้อต่อการแสดงของผู้ชายมากกว่า
58. ความสวยงามของการแสดงละครในอยู่ที่สิ่งใด
1. เวทีการแสดง 2. ลีลาการร่ายรา
3. เสียงของผู้ทาบท 4. หน้าตาของนักแสดง
59. เพราะเหตุใดในการแสดงละครดึกดาบรรพ์จึงต้องมีการคัดเลือกนักแสดงเป็นพิเศษ
1. นักแสดงจะต้องร้องและราเอง
2. นักแสดงจะต้องพูดได้หลายภาษา
3. นักแสดงจะต้องแสดงในบทที่โลดโผน
4. นักแสดงจะต้องมีความสามารถที่หลากหลาย
60. ในการแสดงละครพันทางควรเลือกใช้เพลงประเภทใดมาขับร้องประกอบการแสดง
1. เพลงตับ 2. เพลงเกร็ด
3. เพลงภาษา 4. เพลงเรื่อง

~ 12 ~
ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี
วิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 2
ข้อ
มาตรฐานตัวชี้วัด
มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2
1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
11 
12 
13 
14 
15 
16 
17 
18 
19 
20 
21 
22 
23 
24 
25 
26 
27 
28 
29 
~ 13 ~
ข้อ
มาตรฐานตัวชี้วัด
มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2
1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2
30 
31 
32 
33 
34 
35 
36 
37 
38 
39 
40 
41 
42 
43 
44 
45 
46 
47 
48 
49 
50 
51 
52 
53 
54 
55 
56 
57 
58 
59 
60 

~ 14 ~
ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง
1. เพราะเหตุใดมนุษย์จึงต้องใช้ธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์
1. สามารถจับต้องได้ง่าย
2. มีอยู่ทั่วๆ ไปรอบๆ ตัว
3. มักแฝงไว้ด้วยความงดงาม
4. ต้องการสร้างผลงานที่แปลกใหม่
2. ธรรมชาติเข้ามามีส่วนสาคัญในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างไร
1. เป็นแรงขับเคลื่อนให้มีการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ในหลากหลายรูปแบบ
2. เป็นแนวทางในการแสวงหาความรู้เรื่องเทคนิคการสร้างสรรค์ผลงาน
3. เป็นส่วนที่ช่วยสร้างวัสดุ อุปกรณ์มาใช้ในงานทัศนศิลป์
4. เป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน
3. ข้อใดจัดเป็นภาพที่แสดงให้เห็นถึงความสมดุล
1. 2.
3. 4.
4. ความกลมกลืนในงานทัศนศิลป์หมายถึงสิ่งใด
1. การแบ่งภาพทั้ง 2 ด้าน ให้มีขนาดที่เท่ากัน
2. การนารูปแบบที่มีลักษณะเหมือนกันมาจัดให้สัมพันธ์กัน
3. การเคลื่อนไหวที่เกิดจากการซ้ากันขององค์ประกอบภายในภาพ
4. การนาเอาส่วนประกอบต่างๆ มาจัดให้ได้สัดส่วนที่มีความเหมาะสม
1
1ศิลปะ ชุดที่ 2
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 90
~ 15 ~
5. “ ทัศนียภาพ ” จัดเป็นการวาดภาพที่ต้องการแสดงให้เห็นถึงสิ่งใดเป็นสาคัญ
1. การใช้เส้นชนิดต่างๆ 2. ขนาดของวัตถุสิ่งของ
3. การถ่ายทอดที่เหมือนจริง 4. ความเป็นมิติ แสดงระยะใกล้-ไกล
6. การวาดภาพแสดงทัศนียภาพควรคานึงถึงเรื่องใดมากที่สุด
1. ไม่เคร่งครัดในเรื่องของการใช้จินตนาการและหลักการวาดภาพ
2. เน้นหลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพทุกขั้นตอนอย่างละเอียด
3. เน้นหลักการวาดภาพเหมือนจริงทุกขั้นตอน
4. การใช้จินตนาการในการถ่ายทอดผลงาน
7. บุคคลในข้อใดสร้างสรรค์ผลงานศิลปะแบบสื่อผสม
1. ผักบุ้ง ทาแป้งลงบนใบหน้าของตน แล้วก็ร้องราทาเพลงอย่างสนุกสนาน
2. ข้าวโพด นาภาพถ่ายจากหนังสือพิมพ์ นิตยสารเก่าๆ มาปะติดลงบนกระดาษ
3. หัวหอม ใช้สีอะคริลิก สีน้ามัน สีน้า และสีเทียนผสมกันระบายลงบนแผ่นไม้อัด
4. พริกไทย ถ่ายวิดีโอจากโทรศัพท์มือถือแสดงภาพของตนขณะกาลังทางานศิลปะ
8. การจัดแสดงผลงานปั้นและผลงานศิลปะแบบสื่อผสมก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร
1. เพื่อช่วยให้ผลงานปั้นและงานศิลปะแบบสื่อผสมมีคุณค่า
2. เพื่อให้ผู้อื่นรู้จักผลงานปั้นและงานศิลปะแบบสื่อผสม
3. เพื่อสร้างชื่อเสียงให้แก่ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
4. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ผลงาน
9.
จากภาพจัดเป็นการออกแบบประเภทใด
1. การออกแบบโฆษณา 2. การออกแบบสิ่งพิมพ์
3. การออกแบบสัญลักษณ์สื่อความหมาย 4. การออกแบบตกแต่งหน้าร้านค้าและเวที
10. งานกราฟิกมีความสาคัญต่อการออกแบบหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. มี เพราะผลงานมีความสวยงามและทันสมัยมากขึ้น
2. มี เพราะผู้ชมจะสามารถเข้าใจเรื่องราวในผลงานได้ง่ายขึ้น
3. ไม่มี เพราะในการออกแบบบางอย่างไม่ต้องใช้กราฟิกเข้ามาช่วย
4. ไม่มี เพราะเป็นงานที่ละเอียดอ่อนมาก ทาให้เกิดความยุ่งยากในการออกแบบ
~ 16 ~
11. ข้อใดไม่ใช่หลักการประเมินคุณค่าของผลงานทัศนศิลป์
1. พิจารณาเปรียบเทียบกับผลงานเดิมที่มีอยู่ 2. ประเมินค่าความเป็นต้นแบบ
3. แสดงออกทางกลวิธีและฝีมือ 4. อธิบายความสาคัญของงาน
12. ข้อใดจัดเป็นเป้าหมายที่สาคัญที่สุดของการวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์
1. บ่งบอกถึงความชื่นชมผลงานของศิลปินในดวงใจ
2. นาเสนอแนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานให้มีความหลากหลาย
3. แสดงออกทางความคิดเห็น ติชมในเรื่องเกี่ยวกับคุณค่าทางทัศนศิลป์
4. ตาหนิ ติเตียนศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงานที่นาเทคนิคมาใช้มากจนเกินไป
13.
จากภาพต้องการสื่อในเรื่องใดชัดเจนที่สุด
1. จิตรกรรมกับความศรัทธาในพระพุทธศาสนา 2. แสดงความแตกต่างของบุคคลจากใบหน้า
3. เป็นภาพที่มีทัศนียภาพแบบตานกมอง 4. การใช้สีแบบเอกรงค์
14. เพราะเหตุใดพระพุทธรูปในสมัยสุโขทัยจึงได้รับการยกย่องว่าเป็น “ พระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะ
งดงามที่สุด ”
1. ใช้วัสดุที่นาเข้ามาจากต่างประเทศ 2. มีลักษณะพระพักตร์เหมือนมนุษย์
3. มีความอ่อนช้อย งดงามเป็นพิเศษ 4. ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้าน
15. ผลงานทัศนศิลป์ภาคกลางส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจากสิ่งใด
1. ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 2. รูปแบบงานทัศนศิลป์ตะวันตก
3. แนวคิดของศิลปินที่มีชื่อเสียง 4. คติความเชื่อทางพระพุทธศาสนา
16. ข้อใดจัดเป็นงานสถาปัตยกรรมล้านนา
1. 2.
3. 4.
~ 17 ~
17. ข้อใดจัดเป็นลักษณะเด่นของบ้านเรือนในภาคใต้
1. ใช้ตอกและหวายเป็นตัวยึดส่วนต่างๆ ของเรือน
2. ไม่นิยมทาหน้าต่างทางด้านหลังตัวเรือน
3. ยกพื้นใต้ถุนสูงจากพื้นดินเสมอศีรษะ
4. นิยมวางเสาไว้บนตีนเสา
18. ข้อใดจัดเป็นลักษณะสาคัญของการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ของไทย
1. ต้องการสร้างผลงานที่สามารถสนองความต้องการของชุมชน
2. แสดงให้เห็นถึงความเชื่อและความศรัทธาในศาสนา
3. นาเสนอผลงานที่มีการผสมผสานทางวัฒนธรรม
4. ถ่ายทอดประสบการณ์จากธรรมชาติ
19. ข้อใดคือเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมสากล
1. แสดงออกด้านความเชื่อ 2. ผสมผสานแนวคิดอย่างเป็นกลาง
3. ถ่ายทอดผลงานจากประสบการณ์ 4. เน้นการสร้างจุดดึงดูดความสนใจ
20. หากจาเป็นต้องมีการเปรียบเทียบทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมสากลควรเลือกใช้วิธีการใด
จึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด
1. ค้นคว้าทดลองตามหลักการทางวิทยาศาสตร์
2. หาความรู้เกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตร์
3. ศึกษาในช่วงเวลาร่วมที่เกิดตรงกัน
4. ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์
21. “ สัญกรณ์ทางดนตรีที่ใช้แสดงถึงระดับเสียงของตัวโน้ต ” จากข้อความนี้หมายถึงเครื่องหมาย
ทางดนตรีประเภทใด
1. บันไดเสียง 2. บรรทัด 5 เส้น
3. กุญแจประจาหลัก 4. เครื่องหมายกากับจังหวะ
22. การเขียนโน้ตกุญแจซอลที่ถูกต้องหัวของกุญแจต้องอยู่คาบเส้นใด
1. เส้นที่ 1 2. เส้นที่ 2
3. เส้นที่ 3 4. เส้นที่ 4
23. ระบบเสียงดนตรีไทยกับเสียงดนตรีสากลมีความเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. เหมือนกัน เพราะจัดเป็นเสียงดนตรีเหมือนกัน
2. เหมือนกัน เพราะมีการแบ่งช่วงทบเสียงเท่ากัน
3. แตกต่างกัน เพราะต้องการแบ่งแยกความแตกต่างที่ชัดเจน
4. แตกต่างกัน เพราะเสียงแต่ละเสียงจะมีความถี่ของเสียงไม่เท่ากัน
~ 18 ~
24. ไพลิน ได้รับมอบหมายให้จัดการแสดงดนตรีในงานประเพณีลอยกระทง ไพลินควรเลือกใช้บทเพลง
ประเภทใดมาใช้ประกอบการจัดกิจกรรมในครั้งนี้จึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด
1. เพลงปลุกใจ 2. เพลงพื้นบ้าน
3. เพลงไทยเดิม 4. เพลงประสานเสียง 2 แนว
25. “ พวกเราเหล่ามาชุมนุม ต่างภูมิใจรักสมัครสมาน
ล้วนมิตรจิตชื่นบาน สราญเริงอยู่ทุกผู้ทุกนาม ”
จากเนื้อเพลงนี้ควรร้องด้วยน้าเสียงอย่างไร
1. สนุกสนาน 2. โกรธแค้น
3. โศกเศร้า 4. ฮึกเหิม
26. “ สาเนียงและทานองเพลงจะพลิ้วไหวตามบรรยากาศ ความนุ่มนวล และอ่อนละมุนของธรรมชาติ ”
จากข้อความนี้หมายถึงการบรรเลงดนตรีด้วยวงดนตรีพื้นบ้านของภาคใด
1. วงดนตรีพื้นบ้านภาคอีสาน 2. วงดนตรีพื้นบ้านภาคกลาง
3. วงดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือ 4. วงดนตรีพื้นบ้านภาคใต้
27. เพราะเหตุใดจึงมีคากล่าวว่า “ วงมโหรี เป็นวงดนตรีที่มีความสมบูรณ์ในด้านเสียงสูงสุด ”
1. มีการนาวงปี่พาทย์และวงเครื่องสายมาประสมวงกัน
2. เน้นเฉพาะเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีเป็นหลัก
3. ให้เสียงที่มีความอ่อนหวานและนุ่มนวลสลับกัน
4. ไม่มีการนาเครื่องกากับจังหวะมาใช้
28. “ วงดนตรีขนาดเล็ก จะใช้เครื่องดนตรีตามสภาพของสังคม ” จากข้อความนี้หมายถึงวงดนตรี
ประเภทใด
1. วงโฟล์คซอง 2. วงโยธวาทิต
3. วงแตรวง 4. วงสตริง
29. “ ความต่อเนื่องของโน้ตดนตรีที่เรียงร้อยอย่างเหมาะสม ” จากข้อความนี้หมายถึงสิ่งใด
1. ตัวโน้ต 2. จังหวะ
3. ทานอง 4. บันไดเสียง
30. ความดัง-เบาของเสียงดนตรีสามารถส่งผลต่ออารมณ์ของผู้ฟังเพลงได้อย่างไร
1. อารมณ์จะอยู่ในระดับที่คงที่ในช่วงแรกและจะเปลี่ยนแปลงในช่วงท้าย
2. อารมณ์จะขึ้นลงไม่คงที่มีการเปลี่ยนแปลงสลับไปมาตลอดทั้งบทเพลง
3. อารมณ์ไม่เปลี่ยนแปลงไม่ว่าเสียงจะดัง-เบาเพียงใดก็ตาม
4. อารมณ์เปลี่ยนแปลงไปตามความดัง-เบาของเสียง
~ 19 ~
31. “ สังคมชนบท เป็นสังคมเกษตรกรรม ในสมัยก่อนเมื่อทางานในแต่ละวันเสร็จแล้วก็จะมารวมตัวกัน
เพื่อร้องราทาเพลง สร้างความบันเทิงใจให้หายจากการเหน็ดเหนื่อย ” จากข้อความนี้มีความเกี่ยวข้อง
กับข้อใดมากที่สุด
1. การสร้างสรรค์เพลงเพื่อการฟัง 2. เพลงประกอบการแสดง
3. เพลงสาหรับชาวบ้าน 4. การแข่งขันทางดนตรี
32. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการบรรเลงเพลงโหมโรงก่อนการแสดงทุกครั้ง
1. กระตุ้นนักแสดงให้รีบแต่งกายให้เสร็จ 2. ประกาศให้ทราบว่างานกาลังจะเริ่มขึ้น
3. เทียบเสียงเครื่องดนตรีก่อนแสดงจริง 4. แสดงความสามารถของนักดนตรี
33. การประเมินผลงานทางดนตรีที่ดีควรประเมินในด้านต่างๆ ยกเว้นข้อใด
1. คุณภาพด้านเสียง 2. คุณภาพด้านนักร้อง
3. คุณภาพด้านเนื้อหา 4. คุณภาพด้านองค์ประกอบของดนตรี
34. บุคคลในข้อใดสามารถทาหน้าที่เป็นผู้ประเมินคุณภาพของบทเพลงได้ดีที่สุด
1. หน่า รักความยุติธรรม เที่ยงตรง ไม่เอนเอียง 2. โหน่ง รับจ้างร้องเพลงในร้านอาหาร
3. เหน่ง ชอบเก็บสะสมเครื่องดนตรี 4. หน่อง เป็นนักดนตรีที่มีชื่อเสียง
35. ก่อนนาเครื่องดนตรีมาใช้ควรปฏิบัติอย่างไร จึงจะเหมาะสมมากที่สุด
1. ใช้ผ้านุ่มชุบน้าเช็ดทาความสะอาดเครื่องดนตรี
2. ทาความสะอาดบริเวณที่เก็บเครื่องดนตรีให้เรียบร้อย
3. วิเคราะห์ความเหมาะสมของเครื่องดนตรีกับเพลงที่ใช้บรรเลง
4. ตรวจสอบความเรียบร้อยของส่วนประกอบต่างๆ ในเครื่องดนตรี
36. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการเก็บรักษาเครื่องดนตรีอย่างถูกวิธี
1. เครื่องดนตรีมีราคาแพง 2. สามารถหยิบใช้ได้สะดวก
3. ยืดอายุการใช้งานของเครื่องดนตรี 4. แสดงให้เห็นอุปนิสัยที่ดีของนักดนตรี
37. บุคคลในข้อใดปฏิบัติตนได้เหมาะสมในการเก็บรักษาเครื่องดนตรีอย่างถูกวิธี
1. นาย นากระดาษทรายมาขัดรอยด่างบนเครื่องดนตรี
2. ปาย เก็บเครื่องดนตรีใส่ในกล่องของเครื่องดนตรี
3. ซาย ใช้ผ้าเปียกชุบน้ามาเช็ดที่ตัวเครื่องดนตรี
4. มาย วางเครื่องดนตรีไว้บนหลังตู้เย็น
38. ข้อใดคือบทบาทสาคัญของดนตรีต่อสังคมไทย
1. เป็นเครื่องหมายอย่างหนึ่งที่แสดงลักษณะเฉพาะของชาติไทย
2. แสดงความไพเราะในด้านเสียงไม่ว่าจะผ่านมานานเท่าใดก็ตาม
3. นาดนตรีจากหลากหลายวัฒนธรรมมาผสมผสานกันให้เกิดดนตรีแนวใหม่
4. มีการนาดนตรีไทยไปบรรเลงเพื่อสร้างชื่อเสียงให้เป็นที่รู้จักระดับนานาชาติ
~ 20 ~
39. “ ดนตรีเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่ช่วยให้มนุษย์มีความสุข ” จากข้อความนี้ต้องการสื่อให้เห็นถึงสิ่งใด
1. มนุษย์รู้จักสร้างสรรค์งานดนตรีมาตั้งแต่อดีต
2. เสียงดนตรีที่ดีสามารถสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ฟังได้
3. ดนตรีมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์จนแยกออกจากกันไม่ได้
4. ดนตรีถูกพัฒนาขึ้นไปพร้อมๆ กับความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
40. สิ่งใดมีความสาคัญเป็นอย่างมากในการสร้างความพร้อมเพรียงและความกลมกลืนกันของเสียงดนตรี
1. จังหวะ 2. ทานอง
3. เสียงดนตรี 4. การประสานเสียง
41. เพราะเหตุใดในการแสดงละครนักแสดงจะต้องแสดงอย่างเต็มที่
1. เพราะผู้ชมจะสามารถเข้าใจรูปแบบการแสดงที่นักแสดงต้องการสื่อได้อย่างชัดเจน
2. เพราะจะต้องแสดงได้อย่างสมบทบาท ซึ่งเป็นการสร้างความเชื่อให้แก่ผู้ชม
3. เพราะบรรยากาศในการแสดงไม่สามารถสร้างความเชื่อให้เกิดขึ้นได้
4. เพราะการแสดงจะได้มีความสัมพันธ์กับความสวยงามของฉาก
42. การสมมติมีความสาคัญมากสาหรับการแสดง เพราะนักแสดงจาเป็นต้องสมมติบทบาทที่ตนเองกาลัง
แสดงอยู่เพื่อให้เกิดความสมจริง นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด
1. เห็นด้วย เพราะนักแสดงจะต้องผ่านการฝึกในเรื่องการสมมติมาก่อน
2. เห็นด้วย เพราะเป็นการสร้างความเชื่อให้เกิดขึ้นกับผู้ชมขณะชมการแสดง
3. ไม่เห็นด้วย เพราะการสมมติไม่สามารถช่วยให้การแสดงละครเกิดความสมบูรณ์
4. ไม่เห็นด้วย เพราะนักแสดงที่มีฝีมือสามารถถ่ายทอดเรื่องราวโดยใช้ตนเองเป็นหลักได้
43. ก่อนการยกเท้าแต่ละครั้งจะต้องปฏิบัติท่านาฏยศัพท์ใดก่อนเสมอ
1. ประเท้า 2. จรดเท้า
3. เขย่งเท้า 4. ถัดเท้า
44. ภาษาท่าที่แสดงถึง “ ความดีใจ ” มีความสัมพันธ์กับข้อใด
1. โบกมือไปมา
2. ใช้มือบังสายตา
3. ปรบมือเข้าหากันระหว่างอก
4. ยกมือข้างใดข้างหนึ่งพร้อมกับชูนิ้วชี้
45. นักแสดงแสดงท่าทางโดยการใช้ “ ฝ่ามือถูที่ต้นคอ ” แสดงว่าต้องการสื่อความหมายอย่างไร
1. เบื่อหน่าย
2. ราคาญ
3. เครียด
4. โกรธ
~ 21 ~
46. เนื้อเพลงในข้อใดเหมาะสาหรับนามาใช้กับท่ารายั่ว
1. ดวงจันทร์ขวัญฟ้า ชื่นชีวาขวัญพี่
2. ชาวไทยเจ้าเอ๋ย ขออย่าละเลยในการทาหน้าที่
3. ขวัญใจดอกไม้ของชาติ งามวิลาศนวยนาฏร่ายรา
4. ยามกลางเดือนหงาย เย็นพระพายโบกพลิ้วปลิวมา
47. เพลงราวงมาตรฐานในข้อใดที่มีการใช้ท่านาฏยศัพท์ที่เหมือนกัน
1. เพลงราซิมารา เพลงหญิงไทยใจงาม 2. เพลงงามแสงเดือน เพลงคืนเดือนหงาย
3. เพลงบูชานักรบ เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ 4. เพลงยอดชายใจหาญ เพลงดอกไม้ของชาติ
48. ข้อใดเป็นเอกลักษณ์ที่สาคัญของการแสดงนาฏศิลป์ไทย
1. เป็นการแสดงสด 2. ไม่จาเป็นต้องมีบทเจรจา
3. มีท่าราที่อ่อนช้อย งดงาม 4. ใช้นักแสดงเป็นผู้หญิงทั้งหมด
49. การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองมักนิยมนามาจัดแสดงเนื่องในโอกาสใด
1. งานรื่นเริงต่างๆ 2. งานมงคลสมรส
3. งานคล้ายวันเกิด 4. งานสวดอภิธรรมศพ
50. สิ่งใดที่แสดงให้เห็นถึงความคล้ายคลึงกันระหว่างการแสดงนาฏศิลป์ตะวันออกและการแสดง
นาฏศิลป์ไทย
1. เรื่องที่นามาแสดง 2. เครื่องแต่งกาย
3. จุดกาเนิด 4. ฉาก
51. ถ้านักเรียนต้องจัดการแสดงละครจะมีวิธีในการคัดเลือกนักแสดงอย่างไร
1. สนิทสนมส่วนตัว 2. มีชื่อเสียงทางสังคม
3. รูปร่างหน้าตาสมส่วน 4. บุคลิกเหมาะสมกับบท
52. ใครเป็นบุคคลสาคัญที่สุดในการประเมินการแสดงละคร
1. ผู้ชม 2. นักแสดง
3. ผู้กากับเวที 4. ผู้อานวยการแสดง
53. การที่ตัวละครเคลื่อนไหวบนเวทีเป็นเส้นโค้งแสดงให้เห็นว่าตัวละครต้องการสื่ออารมณ์ใด
1. โกรธ 2. สงสาร
3. หึงหวง 4. หลบหนี
54. เพราะเหตุใดการเคลื่อนไหวของตัวละครบนเวทีจึงควรแสดงให้เหมือนกับชีวิตจริงมากที่สุด
1. ทาให้ละครเกิดความสนุกสนาน
2. มีผู้ชมเข้ามาชมการแสดงละครมากขึ้น
3. ละครได้รับความนิยมจากผู้ชมเป็นอย่างมาก
4. มีผลต่อการสื่ออารมณ์ของตัวละครไปยังผู้ชม
~ 22 ~
55. การแสดงละครของทุกชาติ ทุกภาษามีสิ่งใดที่คล้ายคลึงกัน
1. จานวนนักแสดง 2. การแต่งกาย
3. บทละคร 4. ต้นกาเนิด
56. ข้อใดมีความเกี่ยวข้องกับคาว่า “ มโนห์รา ” มากที่สุด
1. นิยมนามาใช้แสดงละครนอก
2. แต่งกายแบบยืนเครื่องพระ-นาง
3. นาเครื่องดนตรีสากลมาบรรเลงร่วม
4. เป็นบทละครที่ค้นพบในสมัยก่อนสุโขทัย
57. เอกลักษณ์ที่สาคัญที่แสดงให้เห็นถึงรูปแบบการแสดงละครในสมัยสุโขทัยคือข้อใด
1. การแสดงละครมีความหลากหลาย
2. นิยมนาบทละครจากต่างประเทศมาแสดง
3. ได้มีการกาหนดแบบแผนแห่งศิลปะการแสดง
4. เครื่องแต่งกายของตัวละครถูกออกแบบมาอย่างสวยงาม
58. การละครไทยในสมัยอยุธยามีการพัฒนาขึ้นจากในสมัยสุโขทัยอย่างไร
1. นิยมใช้นานักแสดงชาย-หญิงมาแสดงร่วมกัน
2. บทละครที่นามาแสดงสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมตะวันตก
3. มีการจัดระเบียบแบบแผนรูปแบบการแสดงให้มีความรัดกุมมากขึ้น
4. จัดสร้างโรงละครขนาดใหญ่ เพื่อใช้เป็นสถานที่ในการจัดแสดง
59. เพราะเหตุใดการละครไทยในสมัยธนบุรีจึงไม่ค่อยได้รับความนิยม
1. อยู่ในช่วงพ้นจากการทาสงคราม 2. ขาดการสนับสนุนจากเหล่าขุนนาง
3. ไม่มีการนาบทละครใหม่ๆ มาจัดแสดง 4. ประชาชนหันมาสนใจการละครตะวันตก
60. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) เป็นบุคคลที่มีความสาคัญต่อวงการ
ละครไทยอย่างไร
1. บรรเลงดนตรีประกอบการแสดง 2. ออกแบบเครื่องแต่งกายละคร
3. เข้าร่วมการแสดงละคร 4. รวบรวมตาราฟ้อนรา

~ 23 ~
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 2
1. 2 2. 4 3. 3 4. 2 5. 4
6. 1 7. 2 8. 1 9. 3 10. 2
11. 4 12. 3 13. 1 14. 2 15. 4
16. 3 17. 4 18. 1 19. 2 20. 3
21. 3 22. 2 23. 4 24. 2 25. 4
26. 3 27. 1 28. 3 29. 3 30. 4
31. 3 32. 2 33. 2 34. 1 35. 4
36. 3 37. 2 38. 1 39. 3 40. 1
41. 2 42. 2 43. 1 44. 3 45. 4
46. 3 47. 2 48. 3 49. 1 50. 3
51. 4 52. 1 53. 2 54. 4 55. 4
56. 4 57. 3 58. 3 59. 1 60. 4
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1
1. 2 2. 4 3. 1 4. 1 5. 3
6. 4 7. 2 8. 3 9. 4 10. 3
11. 1 12. 2 13. 2 14. 3 15. 3
16. 2 17. 1 18. 1 19. 4 20. 2
21. 4 22. 2 23. 1 24. 2 25. 3
26. 1 27. 4 28. 3 29. 2 30. 2
31. 4 32. 1 33. 3 34. 1 35. 2
36. 4 37. 3 38. 4 39. 4 40. 1
41. 1 42. 4 43. 2 44. 3 45. 2
46. 2 47. 3 48. 4 49. 2 50. 3
51. 3 52. 3 53. 1 54. 2 55. 1
56. 4 57. 3 58. 2 59. 1 60. 3

~ 24 ~
เฉลยแบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1
เฉลยอย่างละเอียด
1. ตอบ ข้อ 2. เพราะธรรมชาติกับการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เป็นปัจจัยของความสัมพันธ์ที่มีความ
เกื้อกูลส่งเสริมซึ่งกันและกัน มนุษย์ได้อาศัยเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน
ทัศนศิลป์ในสาขาต่างๆ ซึ่งผลงานดังกล่าวส่วนหนึ่งจะเกิดจากการอาศัยธรรมชาติ หรือ
สิ่งแวดล้อมเป็นแรงบันดาลใจ การสร้างรูปทรงลักษณะต่างๆ กัน ทั้งแบบรูปธรรม
นามธรรม และกึ่งนามธรรม โดยมีธรรมชาติเป็นต้นแบบของแรงบันดาลใจ ทาให้ได้คิดใน
แง่มุมต่างๆ กัน อย่างไม่มีวันจบสิ้นตราบเท่าที่มนุษย์ยังมีความคิดสร้างสรรค์และมี
จินตนาการ โลกของงานทัศนศิลป์ก็จะเปิดกว้างให้กับผู้ที่มีใจรักทางทัศนศิลป์ และการ
แสดงออก โดยใช้กิจกรรมเป็นช่องทางของการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดได้อย่างอิสระ
2. ตอบ ข้อ 4. เพราะธรรมชาติได้เข้ามามีส่วนช่วยในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ดังนั้น หน้าที่ของ
ศิลปินที่สาคัญก็คือจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในธรรมชาติ รู้จักถ่ายทอดแรงบันดาลใจที่
เกิดจากธรรมชาติให้เป็นรูปทรงและเรื่องราวที่ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงเท่าที่ความงาม
ในธรรมชาติจะสามารถเอื้ออานวย
3. ตอบ ข้อ 1. เพราะหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ จัดเป็นหลักการสาคัญสาหรับผู้สร้างสรรค์ผลงาน
ทัศนศิลป์ อันเนื่องมาจากผลงานทัศนศิลป์ไม่ว่าจะชิ้นใดๆ ก็ตาม ล้วนมีคุณค่าอยู่ด้วยกัน
2 ประการ คือ
1. คุณค่าทางด้านรูปทรง เกิดจากการนาเอาองค์ประกอบต่างๆ ของทัศนศิลป์มาจัด
รวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้เกิดความงาม
2. คุณค่าทางด้านเนื้อหา เป็นเรื่องราวของผลงานที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้น ผู้ชมสามารถรับรู้
ได้ โดยอาศัยรูปลักษณะที่เกิดจากการจัดองค์ประกอบศิลป์ ถ้าองค์ประกอบที่จัดขึ้น
ไม่มีความสัมพันธ์กับเรื่องราว ที่ต้องการนาเสนอ ผลงานชิ้นนั้นก็จะขาดคุณค่าทาง
ความงาม
ดังนั้น ในการจัดองค์ประกอบศิลป์ จึงมีความสาคัญต่อการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์เป็น
อย่างมาก เพราะจะทาให้ผลงานทัศนศิลป์มีคุณค่าทางความงามอย่างสมบูรณ์
4. ตอบ ข้อ 1. เพราะจากภาพแสดงให้เห็นถึงหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ที่เรียกว่า “ เอกภาพ ”
เนื่องจากภาพผลงานสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน รวมทั้งความกลมกลืน
เข้ากันได้ เอกภาพในทางทัศนศิลป์จะหมายถึง การจัดภาพที่จะต้องทาให้เกิดความสัมพันธ์
อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ไม่กระจัดกระจาย หรือก่อให้เกิดความสับสน แต่จะมีความสัมพันธ์กัน
อย่างไรนั้น ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนตายตัวขึ้นอยู่กับความคิด และการนาเสนอของ
ผู้สร้างสรรค์ผลงานในการจัดภาพ
~ 25 ~
5. ตอบ ข้อ 3. เพราะการเขียนภาพ เป็นสิ่งที่แสดงออกถึงความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์
ของมนุษย์ เป็นสิ่งที่ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกภายในจิตใจของตนเองออกมา มนุษย์รู้จัก
การวาดภาพ เขียนภาพกันมาหลายยุคหลายสมัย นับตั้งแต่สมัยดึกดาบรรพ์ ซึ่งเป็น
ระยะเวลายาวนานนับหมื่นปีมาแล้ว ดังจะเห็นได้จากภาพบนฝาผนังถ้าและเพดานถ้าที่
มนุษย์อาศัยอยู่ โดยส่วนใหญ่จะเป็นภาพเกี่ยวกับสัตว์ ที่มนุษย์สามารถพบเห็นได้อยู่เสมอๆ
หรือสัตว์ที่มนุษย์ล่ามาเป็นอาหาร เช่น วัว กวาง ม้า ปลา เป็นต้น ภาพเขียนจึงเป็นภาพที่
ถ่ายทอดความทรงจา เช่น ภาพเขียนในยุคหินเก่าภายในถ้าลาส์โกซ์ (Lascaux) ประเทศ
ฝรั่งเศส เป็นต้น
6. ตอบ ข้อ 4. เพราะการวาดภาพแสดงทัศนียภาพ เป็นวิธีการสร้างภาพให้มีระยะใกล้-ไกล มีลักษณะเป็น
ภาพ 3 มิติ ทาให้การมองเห็นภาพมีลักษณะคล้ายคลึงกับสิ่งที่ตามองเห็น ที่ปรากฏอยู่จริง
ในโลก การนาหลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพด้วยวิธีการกาหนดจุดรวมสายตา หรือใช้
วิธีการทางทัศนศิลป์มาสร้างความลึกลวงตา จะนิยมนามาใช้ในการวาดภาพ ระบายสีวัตถุ
หรือทิวทัศน์ เพราะจะทาให้ภาพมีบรรยากาศของความใกล้-ไกล ตื้น-ลึก เป็นมิติที่ให้
ความรู้สึกทางสุนทรียะได้ โดยเฉพาะในการวาดภาพเหมือนจริงด้วยแล้ว หลักของการวาด
ภาพแบบทัศนียภาพก็นับว่ามีความเกี่ยวข้องและจาเป็นอย่างมาก
7. ตอบ ข้อ 2. เพราะงานปั้น จัดเป็นผลงานทัศนศิลป์ที่ถูกสร้างขึ้นจากการนาวัสดุที่มีเนื้ออ่อน เช่น
ดินเหนียว ดินน้ามัน เป็นต้น มาผ่านกระบวนต่างๆ แล้วนามาปั้นให้เกิดเป็นรูปทรงต่างๆ
ตามความต้องการ ส่วนงานสื่อผสม จัดเป็นผลงานทัศนศิลป์ที่เกิดจากการนาวัสดุ
หลากหลายชนิด เช่น กระดาษ ไม้ โลหะ เป็นต้น มาผสมผสานกันด้วยความคิดสร้างสรรค์
จนไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นผลงานทัศนศิลป์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ
8. ตอบ ข้อ 3. เพราะเศษวัสดุที่แปลกปลอมเข้ามาอยู่ในวัตถุที่จะนามาใช้ในงานปั้นเหล่านี้ จะทาให้พื้นผิว
ของผลงานปั้นดูขรุขระ ไม่เรียบเนียน และเมื่อปฏิบัติผลงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผลงานที่
ออกมาจะดูไม่สวยงามเท่าที่ควร นอกจากนี้ วัตถุเหล่านั้นอาจก่อให้เกิดอันตรายในระหว่าง
การปั้นได้ เช่น ถ้าวัตถุที่ปนอยู่เป็นเศษแก้ว อาจทาให้บาดมือผู้สร้างสรรค์ผลงานได้
เป็นต้น ดังนั้น ก่อนการลงมือปฏิบัติงานปั้นทุกครั้ง จึงควรมีการคัดแยกเศษวัสดุที่
แปลกปลอมออกก่อน
9. ตอบ ข้อ 4. เพราะการสร้างสรรค์ผลงานใดๆ ก็ตาม เพื่อต้องการให้ผลงานนั้นมีความแปลกใหม่ ไม่ซ้า
กับของที่มีอยู่เดิม หรือต่อเติม ปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ทั้งใน
เรื่องของประโยชน์ใช้สอยและความงาม ดังจะพบเห็นได้จากสิ่งของเครื่องใช้ทั้งหลาย
ที่รายล้อมอยู่รอบๆ ตัว สิ่งใหม่ๆ ที่ผลิตขึ้นมาย่อมมีความสวยงามทั้งในเรื่องของการ
ออกแบบ สีสัน วัสดุที่นามาใช้ เทคนิคที่ใช้ในการผลิต การออกแบบจึงนับว่าเป็นส่วน
สาคัญอันดับแรกในการพัฒนาสิ่งต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการ ในด้านต่างๆ ของ
~ 26 ~
มนุษย์ ยิ่งในยุคปัจจุบันทุกวงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ผลงาน ไม่ว่าด้านศิลปะ หรือ
ศิลปะประยุกต์ที่นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ได้มีการแข่งขันกันเป็นอย่างมาก นักออกแบบ
จึงต้องพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ให้มีความก้าวหน้าอยู่เสมอ จึงจะสามารถสร้าง
ผลงานให้เป็นที่ยอมรับได้อย่างต่อเนื่อง
10. ตอบ ข้อ 3. เพราะการออกแบบ เป็นงานสร้างสรรค์ที่ต้องใช้ความคิดและจินตนาการ เพื่อก่อให้เกิดสิ่ง
ที่แปลกใหม่ หรือปรับปรุง เปลี่ยนแปลงสิ่งเดิมที่มีอยู่ให้ดียิ่งขึ้นด้วยวัสดุ โครงสร้าง
เทคนิค ในการออกแบบที่ดีนั้น จะต้องมีการนาองค์ประกอบทางทัศนศิลป์เข้ามาร่วมด้วย
เพื่อช่วยให้การออกแบบบรรลุตรงตามวัตถุประสงค์ด้านประโยชน์ใช้สอยและความงาม
11. ตอบ ข้อ 1. เพราะการวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ เป็นกระบวนการปฏิบัติที่สามารถช่วยให้ผู้วิจารณ์
มีประสบการณ์ตรงกับผลงานทางทัศนศิลป์ต่างๆ ได้ สามารถอ่านและทาความเข้าใจคุณค่า
และความหมายทางทัศนศิลป์ได้ โดยแสดงออกด้วยการพูด หรือการเขียน ซึ่งการวิจารณ์จะ
ได้ผลดีมากน้อยเพียงใดนั้น ผู้วิจารณ์ควรมีประสบการณ์กับผลงานทัศนศิลป์โดยตรง
เพราะผู้วิจารณ์จะสามารถมองเห็นรูปลักษณะ เทคนิคแบบสมบูรณ์ สามารถวิเคราะห์และ
ตีความจากผลงานจริงแบบตรงไปตรงมาได้อย่างสร้างสรรค์และถูกต้องเหมาะสม
12. ตอบ ข้อ 2. เพราะคุณสมบัติของผู้ที่จะสามารถวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ได้นั้น จะต้องมีพื้นฐานความรู้
ในงานทัศนศิลป์แต่ละประเภทจากการศึกษาและได้พบเห็นมา ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ
งานทัศนศิลป์ในด้านที่จะวิจารณ์ ซึ่งจะทาให้ผลการวิจารณ์มีน้าหนัก และมีความน่าเชื่อถือ
มากยิ่งขึ้น
13. ตอบ ข้อ 2. เพราะจิตรกรรมไทย นับเป็นวิจิตรศิลป์แขนงหนึ่ง ที่นิยมถ่ายทอดเรื่องราวผ่านภาพวาด
โดยมีเนื้อหาส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี
ชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ฯลฯ ที่เกิดขึ้นในแต่ละยุคสมัย
ซึ่งนอกจากจะส่งผลสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมอันดีงามของชาติแล้ว ยังมีคุณค่าทาง
ทัศนศิลป์ที่ช่วยเสริมสร้างสุนทรียภาพให้เกิดขึ้นภายในจิตใจของมนุษย์ และเป็นประโยชน์
ต่อการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ในอดีตได้เป็นอย่างดี
14. ตอบ ข้อ 3. เพราะพระที่นั่งวิมานเมฆ เป็นหนึ่งในพระที่นั่งที่สร้างจากไม้สักทองทั้งหลัง ( การก่อสร้าง
แล้วเสร็จเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2444 ) จัดว่ามีลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่งดงาม ประณีต
และละเอียดอ่อน โดยได้รับอิทธิพลการก่อสร้างมาจากตะวันตก
15. ตอบ ข้อ 3. เพราะงานทัศนศิลป์ของชาติ เป็นงานทัศนศิลป์ที่ถูกถ่ายทอดและสร้างขึ้นโดยช่างจาก
ราชสานัก หรือช่างหลวง โดยรูปแบบจะมีความแตกต่างกันออกไปตามลักษณะของการใช้
สื่อ วัสดุ กรรมวิธี และพัฒนาการทางด้านทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัย ตลอดจนอุดมคติของ
ผู้สร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งผลงานแต่ละชิ้นล้วนสะท้อนให้เห็นถึงเอกลักษณ์ของความเป็น
ชาติไทยได้เป็นอย่างดี
~ 27 ~
16. ตอบ ข้อ 2. เพราะงานทัศนศิลป์ของท้องถิ่น เป็นศาสตร์ทางด้านศิลปกรรมในสาขาภูมิปัญญาไทย
ทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ที่เป็นผลงานการสร้างสรรค์ของ
ท้องถิ่นที่เกิดขึ้นจากภูมิปัญญาของชาวบ้านที่ได้ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมา มีเอกลักษณ์เฉพาะ
ของตนที่สามารถบ่งบอกได้ว่าเกิดจากสถานที่ใด
17. ตอบ ข้อ 1. เพราะจากภาพเป็นงานจิตรกรรมท้องถิ่นที่ปรากฏอยู่บนฝาผนังวัดสระบัวแก้ว
ตาบลหนองเม็ก อาเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ซึ่งผลงานจิตรกรรมที่เกิดขึ้น
ภายในท้องถิ่นนั้น จะเป็นผลงานการวาดภาพระบายสีลงบนพื้นผิวต่างๆ ตามความรู้สึกนึก
คิดของชาวบ้าน มีลักษณะเรียบง่าย ไม่เน้นการแสดงรายละเอียดมากนัก แต่จะแสดงออก
ให้เห็นถึงความทรงจา ตลอดจนแรงบันดาลใจจากสิ่งที่พบเห็นในธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ผ่านภาพวาดจิตรกรรมในลักษณะต่างๆ เช่น จิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรม
ประกอบเครื่องใช้ จิตรกรรมประเภทเครื่องเล่นต่างๆ จิตรกรรมที่เกิดจากความเชื่อ
และความศรัทธาในพระพุทธศาสนา เป็นต้น
18. ตอบ ข้อ 1. เพราะในการสร้างงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย จะมีจุดประสงค์ในการสร้าง
คือ เพื่อต้องการถ่ายทอดประสบการณ์และความรู้สึก เพื่อความภาคภูมิใจของตนเองและ
หมู่คณะ เพื่อดึงดูดความสนใจ เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ เพื่อสะดวก
ในการดารงชีวิต และเพื่อแสดงออกด้านความเชื่อ
19. ตอบ ข้อ 4. เพราะการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ในระยะแรกๆ ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นจากความเชื่อและ
ความศรัทธาในอานาจลี้ลับต่างๆ ที่มองไม่เห็น และมีรูปแบบในการแสดงออกของผลงาน
เป็นการเลียนแบบธรรมชาติและสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบๆ ตัว รวมทั้งมีการพัฒนารูปแบบตาม
ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ จนในที่สุดรูปแบบเหล่านั้นก็ถูกพัฒนามาเป็นรูปแบบทาง
ทัศนศิลป์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
20. ตอบ ข้อ 2. เพราะทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมสากล มีจุดเริ่มต้นในการสร้างสรรค์
ผลงานต่างๆ ที่มีความเป็นมาคล้ายคลึงกัน จากปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิตของมนุษย์ ที่
สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อ ความศรัทธาทางศาสนา รวมถึงลัทธิ และปรัชญาต่างๆ
21. ตอบ ข้อ 4. เพราะตัวโน้ตเพลงไทย เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงในการบรรเลงดนตรีไทย เป็นสื่อช่วย
ในการสร้างความเข้าใจในกลุ่มของนักดนตรีด้วยกัน เปรียบเสมือนกับตัวอักษรไทย หรือ
ภาษาไทยที่ใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารทาความเข้าใจระหว่างผู้ใช้ภาษาไทยด้วยกัน
ไม่ว่าคีตกวี หรือผู้ประพันธ์เพลงจะเรียบเรียงท่วงทานองเพลงไว้ยากหรือง่าย ไพเราะ
หรือไม่เพียงใด นักดนตรีไทยจะมีความเข้าใจที่ตรงกัน สามารถบรรเลงออกมาเป็น
ท่วงทานองเดียวกัน แสดงให้เห็นถึงคุณค่าของตัวโน้ตในการถ่ายทอด ช่วยในการจดจา
ทาให้เพลงไทยคงอยู่คู่ชาติไทย นอกจากนี้ ยังช่วยให้ชาวต่างชาติได้รู้จักและสนใจที่จะ
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3teerachon
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2rojanasak tipnek
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6teerachon
 
ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2peter dontoom
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)peter dontoom
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...Kruthai Kidsdee
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชาkkrunuch
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุNattapon
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)WoraWat Somwongsaa
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2Kruanchalee
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 

Tendances (20)

แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.6 ชุด 2
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
 
ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2
 
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
แบบทดสอบศิลปะ ม.ต้น (2)
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 
นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2นาฏศิลป์2
นาฏศิลป์2
 
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 

En vedette

5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)Kruthai Kidsdee
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1sasi SAsi
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 3 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 3 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1teerachon
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003Thidarat Termphon
 
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6Seew609
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์peter dontoom
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะพิพัฒน์ ตะภา
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002Thidarat Termphon
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะBoonlert Aroonpiboon
 

En vedette (18)

5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 3 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 3 พร้อมเฉลย
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.1
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
 
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
 
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
ข้อสอบกศน ศิลป ดนตรี นาฏศิลป์
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.1
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
Colour Theory
Colour TheoryColour Theory
Colour Theory
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 

Similaire à แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1

แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1teerachon
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1teerachon
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1rojanasak tipnek
 
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2Anawat Supappornchai
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2Natsima Chaisuttipat
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนpeter dontoom
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2Manas Panjai
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาอังกฤษ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาอังกฤษ ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาอังกฤษ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาอังกฤษ ป.5Khunnawang Khunnawang
 
ใบงานที่11
ใบงานที่11ใบงานที่11
ใบงานที่11Opp Phurinat
 
รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3
รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3
รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3Tanaporn Nawayo
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบWatcharinz
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Kachon46592
 

Similaire à แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1 (20)

แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.1
 
Basketwork Ceramics
Basketwork CeramicsBasketwork Ceramics
Basketwork Ceramics
 
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net ศิลปะ ม.3 ชุด 1
 
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
ขอสอบ O net-ศลปะ_ม.3_ชด_2
 
O net
O netO net
O net
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัต2
 
Flap Basketwork
Flap BasketworkFlap Basketwork
Flap Basketwork
 
THAI DANCE
THAI  DANCETHAI  DANCE
THAI DANCE
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 2
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาอังกฤษ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาอังกฤษ ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาอังกฤษ ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาอังกฤษ ป.5
 
ใบงานที่11
ใบงานที่11ใบงานที่11
ใบงานที่11
 
Pre o-net job3
Pre o-net job3Pre o-net job3
Pre o-net job3
 
ใบความรู้ สง่ากล่องเอนกประสงค์
ใบความรู้ สง่ากล่องเอนกประสงค์ใบความรู้ สง่ากล่องเอนกประสงค์
ใบความรู้ สง่ากล่องเอนกประสงค์
 
รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3
รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3
รวมข้อสอบ Onet การงานอาชีพ ม.3
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบ
 
3
33
3
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 

Plus de teerachon

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 

Plus de teerachon (20)

แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 

แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1

  • 1. ~ 1 ~ ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 ข้อ มาตรฐานตัวชี้วัด มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  11  12  13  14  15  16  17  18  19  20  21  22  23  24  25  26  27  28  29 
  • 2. ~ 2 ~ ข้อ มาตรฐานตัวชี้วัด มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2 30  31  32  33  34  35  36  37  38  39  40  41  42  43  44  45  46  47  48  49  50  51  52  53  54  55  56  57  58  59  60  
  • 3. ~ 3 ~ ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง 1. “ ธรรมชาติกับการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์เป็นปัจจัยของความสัมพันธ์ที่เกื้อกูลส่งเสริมซึ่งกัน และกัน ” จากข้อความนี้ต้องการสื่อในเรื่องใดมากที่สุด 1. การสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ของศิลปินส่วนใหญ่มักใช้วัสดุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 2. ถ้ามนุษย์ใช้ความงามทางธรรมชาติเป็นต้นแบบก็จะสามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ได้ 3. ความงดงามของผลงานทัศนศิลป์อยู่ที่การใช้สีที่เสมือนจริงตามธรรมชาติ 4. ธรรมชาติและงานทัศนศิลป์ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ 2. เพราะเหตุใดศิลปินจึงต้องมีความเข้าใจในธรรมชาติ 1. เพราะจะได้สร้างผลงานทัศนศิลป์ที่มีความหลากหลาย 2. เพราะจะได้มีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในแวดวงศิลปะ 3. เพราะจะได้ผลงานทัศนศิลป์ที่ตอบสนองต่อความต้องการทางสังคม 4. เพราะจะได้นาสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมาสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. การนาหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์มาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์จะก่อให้เกิดผลดี ยกเว้น ในข้อใด 1. ผลงานที่สร้างขึ้นล้วนมีราคาสูง 2. ผลงานเกิดความสวยงามในด้านรูปทรง 3. ผลงานแสดงเรื่องราวได้อย่างหลากหลาย 4. ผลงานมีคุณค่าทางความงามอย่างสมบูรณ์ 4. จากภาพแสดงให้เห็นถึงสิ่งใดชัดเจนที่สุด 1. เอกภาพ 2. ความสมดุล 3. จังหวะและจุดสนใจ 4. ความกลมกลืนและความขัดแย้ง 1 1ศิลปะ ชุดที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 90
  • 4. ~ 4 ~ 5. เพราะเหตุใดมนุษย์ในอดีตจึงนิยมวาดภาพบนฝาผนังถ้า 1. ต้องการแสดงอาณาเขต 2. แสดงความเคารพต่อเทพเจ้า 3. ถ่ายทอดความทรงจาของตนเอง 4. สร้างสีสันที่สวยงามให้เกิดขึ้นภายในถ้า 6. ลักษณะที่โดดเด่นของการวาดภาพแสดงทัศนียภาพคือสิ่งใด 1. ภาพสื่ออารมณ์และความรู้สึกได้อย่างชัดเจน 2. ภาพแสดงให้เห็นถึงความเป็นจริงในธรรมชาติ 3. ภาพมีการผสมผสานเทคนิคการวาดภาพที่หลากหลาย 4. ภาพสามารถให้ความรู้สึกและอารมณ์ทางสุนทรียะได้ชัดเจน 7. งานปั้นและงานสื่อผสมมีความแตกต่างกันในข้อใดชัดเจนที่สุด 1. ความสวยงาม 2. วัสดุที่นามาใช้ 3. การนาเสนอเรื่องราว 4. ประโยชน์ที่ได้รับจากผลงาน 8. เพราะเหตุใดก่อนลงมือปฏิบัติงานปั้นจึงควรมีการคัดแยกวัสดุที่แปลกปลอมออกก่อน 1. จะทาให้ผิวของวัตถุเปลี่ยนสี 2. เนื้อดินไม่ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน 3. ก่อให้เกิดอันตรายระหว่างการปั้น 4. ไม่สามารถนามาปั้นขึ้นเป็นรูปทรงได้ 9. การออกแบบมีความสาคัญต่องานทัศนศิลป์อย่างไรมากที่สุด 1. ช่วยให้ผลงานทัศนศิลป์มีความหลากหลาย 2. ผลิตผลงานได้ทันตรงตามความต้องการของตลาด 3. สามารถนาผลงานส่งไปจัดจาหน่ายยังต่างประเทศได้ 4. สร้างผลงานที่ตอบสนองความต้องการในด้านต่างๆ ของมนุษย์ 10. เพราะเหตุใดในการออกแบบจึงต้องมีการนาองค์ประกอบทางด้านทัศนศิลป์มาใช้ 1. ผลงานมีความทันสมัย ทันต่อความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 2. ผลงานได้รับการยอมรับและเป็นที่นิยมชมชอบของคนในสังคม 3. ผลงานส่วนใหญ่ให้ประโยชน์ด้านการใช้สอยและความสวยงาม 4. ผลงานเน้นการออกแบบให้มีรูปร่างและสีสันสวยงามสะดุดตา 11. เพราะเหตุใดผู้วิจารณ์จึงควรมีประสบการณ์กับผลงานทัศนศิลป์แบบโดยตรง 1. วิจารณ์ได้ถูกต้องเหมาะสม 2. ให้การวิจารณ์มีผลในเชิงบวก 3. ก่อให้เกิดทัศนคติที่ดีทางความคิด 4. แสดงออกทางความคิดได้หลากหลาย
  • 5. ~ 5 ~ 12. บุคคลในข้อใดสามารถวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ได้ดีที่สุด 1. ลูกชุบ ชอบเก็บสะสมผลงานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง 2. ทองเอก ชอบแสวงหาความรู้เกี่ยวกับงานทัศนศิลป์อยู่เสมอ 3. ช่อม่วง จัดเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงในวงสังคม 4. ปุยฝ้าย เป็นดาวคณะศิลปกรรมศาสตร์ 13. ผลงานจิตรกรรมไทยสร้างขึ้นเพื่อสิ่งใดเป็นสาคัญ 1. แสดงให้เห็นลีลาการวาดภาพลายไทยที่มีความอ่อนช้อย 2. บันทึกเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ศาสนา ชีวิตความเป็นอยู่ ฯลฯ 3. เชิดชูเกียรติจิตรกรที่สามารถสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมที่มีความสวยงาม 4. สะท้อนแนวความคิดในการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมโดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย 14. ผลงานสถาปัตยกรรมในข้อใดที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก 1. 2. 3. 4. 15. เอกลักษณ์ที่โดดเด่นของงานทัศนศิลป์ของชาติไทยอยู่ที่สิ่งใด 1. ผลิตขึ้นจากวัสดุชั้นดี 2. มีลวดลายที่วิจิตรสวยงาม 3. สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นชาติไทย 4. สร้างขึ้นโดยศิลปินที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้นๆ 16. ข้อใดจัดเป็นลักษณะสาคัญของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น 1. ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศใกล้เคียง 2. สร้างสรรค์จากภูมิปัญญาของชาวบ้าน 3. ช่างผู้สร้างสรรค์ผลงานมาจากในวัง 4. มีรูปแบบของผลงานที่หลากหลาย
  • 6. ~ 6 ~ 17. จากภาพจัดเป็นงานจิตรกรรมที่เกิดขึ้นภายในท้องถิ่นหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. เป็น เพราะแสดงถึงความเรียบง่าย 2. เป็น เพราะสังเกตจากการแต่งกายของชาวบ้าน 3. ไม่เป็น เพราะมีการเลือกใช้เทคนิคสีที่หลากหลาย 4. ไม่เป็น เพราะชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่นิยมสร้างงานจิตรกรรม 18. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการสร้างงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย 1. มีผลงานไปจาหน่ายยังประเทศเพื่อนบ้าน 2. ถ่ายทอดประสบการณ์และความรู้สึก 3. เป็นแนวทางในการออกแบบ 4. แสดงออกด้านความเชื่อ 19. จุดเริ่มต้นของงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมสากลเกิดขึ้นมาจากสิ่งใด 1. ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 2. ความงดงามตามที่มองเห็นในธรรมชาติ 3. ความหลากหลายของผู้คนหลายเชื้อชาติ 4. ความเชื่อและความศรัทธาในอานาจลี้ลับ 20. ผลงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมสากลมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องใดมากที่สุด 1. การใช้ธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจ 2. ความเชื่อและความศรัทธาในศาสนา 3. แสดงเนื้อหาสาระและรายละเอียดมาก 4. ฝีมือและเทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปิน 21. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการสร้างตัวโน้ตเพลงไทย 1. สร้างเอกลักษณ์เฉพาะทางดนตรีไทย 2. แสดงถึงความเป็นประเทศที่มีอารยธรรม 3. แบ่งแยกความแตกต่างทางวัฒนธรรมด้านดนตรี 4. เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงในการบรรเลงดนตรีไทย 22. วิธีการบันทึกอัตราจังหวะ 2 ชั้น ในการบรรเลงดนตรีไทย ควรบันทึกในรูปแบบใด 1. | - - - - || - - - ฉิ่ง|| - - - - || - - - ฉับ| 2. | - - - ฉิ่ง|| - - - ฉับ|| - - - ฉิ่ง|| - - - ฉับ| 3. | - ฉิ่ง - ฉับ|| - ฉิ่ง - ฉับ|| - ฉิ่ง - ฉับ|| - ฉิ่ง - ฉับ| 4. | ฉิ่ง - - ฉับ|| ฉิ่ง - - ฉับ|| ฉิ่ง - - ฉับ|| ฉิ่ง - - ฉับ|
  • 7. ~ 7 ~ 23. ข้อใดเรียงลาดับของเสียงสูงไปหาต่าได้ถูกต้อง 1. โซปราโน เมซโซโซปราโน อัลโต 2. เมซโซโซปราโน เทเนอร์ เบส 3. บาริโทน อัลโต โซปราโน 4. อัลโต เบส เทเนอร์ 24. เพลงไทยเดิมมีเอกลักษณ์เฉพาะที่มีความแตกต่างไปจากเพลงอื่นๆ ในด้านใด 1. การกระทบเสียง 2. การเอื้อนเสียง 3. การเปล่งเสียง 4. การโหนเสียง 25. การขับร้องประสานเสียงให้เกิดความไพเราะควรยึดหลักการในข้อใดเป็นสาคัญ 1. ทานองในการประสานเสียง 2. จานวนผู้ประสานเสียง 3. ความพร้อมเพรียง 4. ความดังของเสียง 26. “ วงตุ้มโมง ” เป็นวงดนตรีพื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่นิยมนามาบรรเลงในงานประเภทใด 1. งานศพ 2. งานแต่งงาน 3. งานรื่นเริงต่างๆ 4. งานทาบุญขึ้นบ้านใหม่ 27. ถ้าเบญจวรรณต้องการจัดพิธีมงคลสมรสภายในบริเวณห้องที่มีพื้นที่ไม่กว้างมากนัก เบญจวรรณควร เลือกใช้วงดนตรีประเภทใดมาบรรเลงจึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด 1. วงมโหรี 2. วงบัวลอย 3. วงปี่พาทย์ 4. วงเครื่องสาย 28. “ เอกเล่นกีตาร์ลีด เอยเล่นกีตาร์คอร์ด เอมเล่นกีตาร์เบส และเอิงตีกลองชุด ” จากข้อความนี้จัดเป็น การบรรเลงดนตรีด้วยวงดนตรีสากลประเภทใด 1. วงสตริง 2. วงแตรวง 3. วงชาโดว์ 4. วงคอมโบ 29. สิ่งใดใช้ในการกาหนดความสั้น-ยาวของเสียง 1. ทานอง 2. จังหวะ 3. ตัวโน้ต 4. ขั้นคู่เสียง 30. ข้อใดวิเคราะห์ธาตุประกอบของเพลงพระราชนิพนธ์ “ พรปีใหม่ ” ได้ถูกต้องที่สุด 1. จังหวะปานกลาง สง่าผ่าเผย บรรเลงด้วยเสียงดังปานกลาง และมีอารมณ์ด้านบวก 2. จังหวะเร็ว ให้ความสนุกสนาน บรรเลงด้วยเสียงเบา และมีอารมณ์ด้านบวก 3. จังหวะปานกลาง ให้ความสงบ บรรเลงด้วยเสียงเบา และมีอารมณ์ด้านลบ 4. จังหวะช้า แสดงความเข้มขรึม บรรเลงด้วยเสียงเบา และมีอารมณ์ด้านลบ 31. ข้อใดต่างจากพวก 1. เพลงโหมโรง เพลงหน้าพาทย์ 2. เพลงเรื่อง เพลงหางเครื่อง 3. เพลงลูกบท เพลงภาษา 4. เพลงเถา เพลงตับ
  • 8. ~ 8 ~ 32. “ บ้างก็ร้องพระประทุมสุริวงศ์ จะจับองค์พระร่วงให้จงได้ สั่งทหารให้ตามดาดินไป พบพระร่วงที่ในเขตอาราม ไม่รู้จักทักถามพระร่วงเจ้า เธอจึงตอบตามเค้าที่เขาถาม ว่าจงอยู่ที่นี่จะบอกความ ขอมก็เป็นศิลาตามคาสาปเอย ” จากข้อความนี้เป็นการขับร้องเหมาะสมกับเพลงประเภทใดมากที่สุด 1. เพลงภาษา 2. เพลงเกร็ด 3. เพลงตับ 4. เพลงเถา 33. การประเมินคุณภาพด้านเสียงในการขับร้องควรประเมินในเรื่องต่างๆ ยกเว้น ข้อใด 1. แก้วเสียงใส กังวาน 2. พลังเสียงที่สม่าเสมอ 3. เลียนเสียงเหมือนศิลปินต้นแบบ 4. ควบคุมลมหายใจได้อย่างถูกต้อง 34. “ สีสันของเสียงเครื่องดนตรีที่ใช้เล่นทานองสอดคล้องเหมาะสมกับอารมณ์ของบทเพลง ” จากข้อความนี้จัดเป็นการประเมินคุณภาพของบทเพลงในด้านใด 1. คุณภาพด้านองค์ประกอบของดนตรี 2. คุณภาพด้านนักร้อง 3. คุณภาพด้านเนื้อหา 4. คุณภาพด้านเสียง 35. จากภาพเครื่องดนตรีชนิดนี้ควรมีวิธีการดูแลรักษาอย่างไร 1. บิดสายให้ตึงทุกสาย 2. ใช้ผ้าแห้งเช็ดที่ตัวเครื่องดนตรี 3. นาออกไปวางตากแดดเพื่อฆ่าเชื้อโรค 4. แยกเก็บไม้ดีดและตัวเครื่องไว้คนละที่ 36. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการปลดเชือกที่ร้อยผืนระนาดลงเมื่อบรรเลงเสร็จเรียบร้อยแล้ว 1. ทาความสะอาดได้ง่าย 2. สามารถยกไปเก็บได้สะดวก 3. ลดการสะสมของคราบเหงื่อไคล 4. ป้องกันผืนระนาดหย่อน หรือขาด 37. เครื่องดนตรีสากลชนิดใดมีวิธีการเก็บดูแลรักษาที่เหมือนกัน 1. ฟลูต กีตาร์ 2. เปียโน ทรัมเป็ต 3. ทูบา ทรอมโบน 4. มาลาคา ทรัยแองเกิล 38. บทเพลงใดถูกประพันธ์ขึ้นเพื่อใช้ประกอบกิจกรรมทางสังคมไม่ใช่การฟังเพื่อความไพเราะ 1. เพลงสุดสงวนเถา 2. เพลงลาวดวงเดือน 3. เพลงโหมโรงจอมสุรางค์ 4. เพลงขวัญใจดอกไม้ของชาติ 39. มนุษย์สามารถรับรู้ความงามของดนตรีได้จากสิ่งใด 1. ค่านิยม 2. การศึกษา 3. ปัจจัยทางสังคม 4. อารมณ์และจิตใจ
  • 9. ~ 9 ~ 40. เสียงดนตรีที่ไพเราะนั้นเกิดขึ้นได้จากสิ่งใด 1. การเรียบเรียงเสียงประสาน 2. การนาเครื่องดนตรีมาใช้ 3. การขับร้องของศิลปิน 4. การกาหนดจังหวะ 41. ถ้านักเรียนต้องจัดการแสดงละครจะมีวิธีในการคัดเลือกนักแสดงอย่างไร 1. บุคลิกเหมาะสมกับบท 2. รูปร่างหน้าตาสมส่วน 3. มีชื่อเสียงทางสังคม 4. สนิทสนมส่วนตัว 42. เพราะเหตุใดนักแสดงจึงต้องหมั่นฝึกประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นประจาอย่างสม่าเสมอ 1. เวลาแสดงจะได้ไม่รู้สึกขัดเขิน 2. จะได้สามารถท่องจาบทได้อย่างละเอียด 3. สื่อสารกับนักแสดงท่านอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี 4. สามารถแสดงปฏิกิริยาตอบสนองได้ทันท่วงที 43. การตั้งวงล่างของตัวพระและตัวนางมีความแตกต่างกันอย่างไร 1. วงของตัวพระเป็นวงแคบกว่า 2. วงของตัวนางเป็นวงแคบกว่า 3. วงของตัวพระเป็นวงสูงกว่า 4. วงของตัวนางเป็นวงสูงกว่า 44. เพราะเหตุใดในการแสดงนาฏศิลป์จึงต้องมีการนาภาษาท่ามาใช้ 1. สร้างความสวยงาม 2. ดึงดูดสายตาของผู้ชม 3. สื่อความหมายแทนคาพูด 4. บ่งบอกลักษณะของการแสดง 45. นักแสดงแสดงท่าทางโดยการใช้ “ มือซ้ายแตะหน้าผาก มือขวากุมที่ชายพก ” แสดงว่าต้องการสื่อ ความหมายอย่างไร 1. ห่วงใย 2. ร้องไห้ 3. เก้อเขิน 4. สว่างไสว 46. ลักษณะของการแสดงระบาในข้อใดต่างจากพวก 1. ระบาไกรลาศสาเริง 2. ระบากฤดาภินิหาร 3. ระบาเทพบันเทิง 4. ระบาดาวดึงส์ 47. “ ดวงจันทร์วันเพ็ญ ลอยเด่นอยู่ในนภา ทรงกลดสดสี รัศมีทอแสงงามตา แสงจันทร์อร่าม ฉายงามส่องฟ้า ไม่งามเท่าหน้า นวลน้องยองใย ”
  • 10. ~ 10 ~ จากเนื้อเพลงนี้ควรปฏิบัติท่าราใดจึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด 1. ท่าพรหมสี่หน้า และท่ายูงฟ้อนหาง 2. ท่าชะนีร่ายไม้ และท่าจ่อเพลิงกาฬ 3. ท่าแขกเต้าเข้ารัง และท่าผาลาเพียงไหล่ 4. ท่าช้างประสานงาน และท่าจันทร์ทรงกลดแปลง 48. ข้อใดอธิบายเหตุผลที่คนไทยต้องศึกษาเกี่ยวกับนาฏศิลป์ได้ชัดเจนที่สุด 1. นาฏศิลป์เป็นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัว 2. เป็นวิชาที่เรียนกันมาตั้งแต่อดีต 3. มีเนื้อหาที่เข้าใจง่าย ภาพประกอบชัดเจน 4. เป็นเสมือนแหล่งรวบรวมศิลปะหลากหลายแขนง 49. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง 1. เป็นการแสดงเพื่อสร้างความสนุกสนาน 2. เป็นการแสดงเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน 3. เป็นการแสดงเพื่อแสดงความยินดีในโอกาสต่างๆ 4. เป็นการแสดงเพื่อแสดงความเคารพต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 50. สิ่งใดที่ทาให้การแสดงนาฏศิลป์ตะวันออกมีความแตกต่างจากการแสดงนาฏศิลป์ไทย 1. นาเครื่องดนตรีมาบรรเลงประกอบ 2. มีการสร้างฉากประกอบการแสดง 3. ไม่คานึงถึงความสมจริง 4. บทละครมีเนื้อหากินใจ 51. บุคคลในข้อใดมีความสาคัญมากที่สุดในการแสดงละคร 1. ผู้ประพันธ์บท 2. ตัวประกอบ 3. นักแสดง 4. ผู้กากับ 52. บุคคลในข้อใดทาหน้าที่ควบคุมนักแสดงให้แสดงได้อย่างสมบทบาท 1. ผู้กากับเวที 2. ผู้ประพันธ์บท 3. ผู้กากับการแสดง 4. ผู้อานวยการแสดง 53. เมื่อถึงบทที่ตัวละครต้องแสดงอารมณ์โกรธ การเคลื่อนไหวบนเวทีจะเป็นการเคลื่อนไหวในรูปแบบใด 1. เคลื่อนไหวเป็นเส้นตรง 2. เคลื่อนไหวเป็นเส้นโค้ง 3. เคลื่อนไหวเป็นเส้นทแยง 4. เคลื่อนไหวเป็นเส้นซิกแซ็ก 54. การที่ตัวละครเคลื่อนไหวบนเวทีในลักษณะการเคลื่อนไหวไปข้างๆ แสดงให้เห็นว่าตัวละครต้องการสื่อ ให้เห็นถึงใด 1. แสดงความรัก 2. แอบซ่อนตัว 3. ไว้อาลัย 4. โมโห
  • 11. ~ 11 ~ 55. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการละครไทย 1. เป็นการแสดงที่พัฒนามาจากการร่ายราของชนชาติต่างๆ 2. มีจุดประสงค์เพื่อสร้างความสนุกสนาน เบิกบานใจ 3. เป็นการแสดงอย่างหนึ่งที่มนุษย์ได้สร้างสรรค์ขึ้น 4. จัดเป็นมหรสพอย่างหนึ่งที่แสดงเป็นเรื่องราว 56. “ ละครต้นแบบของละครรา เล่นกันเป็นพื้นบ้านทั่วไป มีตัวละครน้อย เดิมเป็นชายล้วน ตัวละครที่ไม่ สาคัญมักไม่แต่งตัวยืนเครื่อง กระบวนราไม่สู้งดงามประณีตนัก ” จากข้อความนี้หมายถึงการแสดง ละครประเภทใด 1. ละครใน 2. ละครพูด 3. ละครนอก 4. ละครชาตรี 57. เพราะเหตุใดในการจัดแสดงละครนอกจึงนิยมใช้นักแสดงเป็นชายล้วน 1. ราได้สวยงามกว่าผู้หญิง 2. นักแสดงไม่ต้องแต่งหน้า ทาผม 3. เน้นความกระฉับกระเฉงในการแสดง 4. บทละครเอื้อต่อการแสดงของผู้ชายมากกว่า 58. ความสวยงามของการแสดงละครในอยู่ที่สิ่งใด 1. เวทีการแสดง 2. ลีลาการร่ายรา 3. เสียงของผู้ทาบท 4. หน้าตาของนักแสดง 59. เพราะเหตุใดในการแสดงละครดึกดาบรรพ์จึงต้องมีการคัดเลือกนักแสดงเป็นพิเศษ 1. นักแสดงจะต้องร้องและราเอง 2. นักแสดงจะต้องพูดได้หลายภาษา 3. นักแสดงจะต้องแสดงในบทที่โลดโผน 4. นักแสดงจะต้องมีความสามารถที่หลากหลาย 60. ในการแสดงละครพันทางควรเลือกใช้เพลงประเภทใดมาขับร้องประกอบการแสดง 1. เพลงตับ 2. เพลงเกร็ด 3. เพลงภาษา 4. เพลงเรื่อง 
  • 12. ~ 12 ~ ตารางวิเคราะห์แบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี วิชา ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 2 ข้อ มาตรฐานตัวชี้วัด มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  11  12  13  14  15  16  17  18  19  20  21  22  23  24  25  26  27  28  29 
  • 13. ~ 13 ~ ข้อ มาตรฐานตัวชี้วัด มฐ ศ1.1 มฐ ศ1.2 มฐ ศ2.1 มฐ ศ2.2 มฐ ศ3.1 มฐ ศ3.2 1 2 3 4 5 6 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 1 2 3 4 5 1 2 30  31  32  33  34  35  36  37  38  39  40  41  42  43  44  45  46  47  48  49  50  51  52  53  54  55  56  57  58  59  60  
  • 14. ~ 14 ~ ให้วง ⃝ ล้อมรอบตัวเลขหน้าคาตอบที่ถูกต้อง 1. เพราะเหตุใดมนุษย์จึงต้องใช้ธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ 1. สามารถจับต้องได้ง่าย 2. มีอยู่ทั่วๆ ไปรอบๆ ตัว 3. มักแฝงไว้ด้วยความงดงาม 4. ต้องการสร้างผลงานที่แปลกใหม่ 2. ธรรมชาติเข้ามามีส่วนสาคัญในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างไร 1. เป็นแรงขับเคลื่อนให้มีการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ในหลากหลายรูปแบบ 2. เป็นแนวทางในการแสวงหาความรู้เรื่องเทคนิคการสร้างสรรค์ผลงาน 3. เป็นส่วนที่ช่วยสร้างวัสดุ อุปกรณ์มาใช้ในงานทัศนศิลป์ 4. เป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน 3. ข้อใดจัดเป็นภาพที่แสดงให้เห็นถึงความสมดุล 1. 2. 3. 4. 4. ความกลมกลืนในงานทัศนศิลป์หมายถึงสิ่งใด 1. การแบ่งภาพทั้ง 2 ด้าน ให้มีขนาดที่เท่ากัน 2. การนารูปแบบที่มีลักษณะเหมือนกันมาจัดให้สัมพันธ์กัน 3. การเคลื่อนไหวที่เกิดจากการซ้ากันขององค์ประกอบภายในภาพ 4. การนาเอาส่วนประกอบต่างๆ มาจัดให้ได้สัดส่วนที่มีความเหมาะสม 1 1ศิลปะ ชุดที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 90
  • 15. ~ 15 ~ 5. “ ทัศนียภาพ ” จัดเป็นการวาดภาพที่ต้องการแสดงให้เห็นถึงสิ่งใดเป็นสาคัญ 1. การใช้เส้นชนิดต่างๆ 2. ขนาดของวัตถุสิ่งของ 3. การถ่ายทอดที่เหมือนจริง 4. ความเป็นมิติ แสดงระยะใกล้-ไกล 6. การวาดภาพแสดงทัศนียภาพควรคานึงถึงเรื่องใดมากที่สุด 1. ไม่เคร่งครัดในเรื่องของการใช้จินตนาการและหลักการวาดภาพ 2. เน้นหลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพทุกขั้นตอนอย่างละเอียด 3. เน้นหลักการวาดภาพเหมือนจริงทุกขั้นตอน 4. การใช้จินตนาการในการถ่ายทอดผลงาน 7. บุคคลในข้อใดสร้างสรรค์ผลงานศิลปะแบบสื่อผสม 1. ผักบุ้ง ทาแป้งลงบนใบหน้าของตน แล้วก็ร้องราทาเพลงอย่างสนุกสนาน 2. ข้าวโพด นาภาพถ่ายจากหนังสือพิมพ์ นิตยสารเก่าๆ มาปะติดลงบนกระดาษ 3. หัวหอม ใช้สีอะคริลิก สีน้ามัน สีน้า และสีเทียนผสมกันระบายลงบนแผ่นไม้อัด 4. พริกไทย ถ่ายวิดีโอจากโทรศัพท์มือถือแสดงภาพของตนขณะกาลังทางานศิลปะ 8. การจัดแสดงผลงานปั้นและผลงานศิลปะแบบสื่อผสมก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร 1. เพื่อช่วยให้ผลงานปั้นและงานศิลปะแบบสื่อผสมมีคุณค่า 2. เพื่อให้ผู้อื่นรู้จักผลงานปั้นและงานศิลปะแบบสื่อผสม 3. เพื่อสร้างชื่อเสียงให้แก่ผู้สร้างสรรค์ผลงาน 4. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ผลงาน 9. จากภาพจัดเป็นการออกแบบประเภทใด 1. การออกแบบโฆษณา 2. การออกแบบสิ่งพิมพ์ 3. การออกแบบสัญลักษณ์สื่อความหมาย 4. การออกแบบตกแต่งหน้าร้านค้าและเวที 10. งานกราฟิกมีความสาคัญต่อการออกแบบหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. มี เพราะผลงานมีความสวยงามและทันสมัยมากขึ้น 2. มี เพราะผู้ชมจะสามารถเข้าใจเรื่องราวในผลงานได้ง่ายขึ้น 3. ไม่มี เพราะในการออกแบบบางอย่างไม่ต้องใช้กราฟิกเข้ามาช่วย 4. ไม่มี เพราะเป็นงานที่ละเอียดอ่อนมาก ทาให้เกิดความยุ่งยากในการออกแบบ
  • 16. ~ 16 ~ 11. ข้อใดไม่ใช่หลักการประเมินคุณค่าของผลงานทัศนศิลป์ 1. พิจารณาเปรียบเทียบกับผลงานเดิมที่มีอยู่ 2. ประเมินค่าความเป็นต้นแบบ 3. แสดงออกทางกลวิธีและฝีมือ 4. อธิบายความสาคัญของงาน 12. ข้อใดจัดเป็นเป้าหมายที่สาคัญที่สุดของการวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ 1. บ่งบอกถึงความชื่นชมผลงานของศิลปินในดวงใจ 2. นาเสนอแนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานให้มีความหลากหลาย 3. แสดงออกทางความคิดเห็น ติชมในเรื่องเกี่ยวกับคุณค่าทางทัศนศิลป์ 4. ตาหนิ ติเตียนศิลปินผู้สร้างสรรค์ผลงานที่นาเทคนิคมาใช้มากจนเกินไป 13. จากภาพต้องการสื่อในเรื่องใดชัดเจนที่สุด 1. จิตรกรรมกับความศรัทธาในพระพุทธศาสนา 2. แสดงความแตกต่างของบุคคลจากใบหน้า 3. เป็นภาพที่มีทัศนียภาพแบบตานกมอง 4. การใช้สีแบบเอกรงค์ 14. เพราะเหตุใดพระพุทธรูปในสมัยสุโขทัยจึงได้รับการยกย่องว่าเป็น “ พระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะ งดงามที่สุด ” 1. ใช้วัสดุที่นาเข้ามาจากต่างประเทศ 2. มีลักษณะพระพักตร์เหมือนมนุษย์ 3. มีความอ่อนช้อย งดงามเป็นพิเศษ 4. ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศเพื่อนบ้าน 15. ผลงานทัศนศิลป์ภาคกลางส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจากสิ่งใด 1. ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 2. รูปแบบงานทัศนศิลป์ตะวันตก 3. แนวคิดของศิลปินที่มีชื่อเสียง 4. คติความเชื่อทางพระพุทธศาสนา 16. ข้อใดจัดเป็นงานสถาปัตยกรรมล้านนา 1. 2. 3. 4.
  • 17. ~ 17 ~ 17. ข้อใดจัดเป็นลักษณะเด่นของบ้านเรือนในภาคใต้ 1. ใช้ตอกและหวายเป็นตัวยึดส่วนต่างๆ ของเรือน 2. ไม่นิยมทาหน้าต่างทางด้านหลังตัวเรือน 3. ยกพื้นใต้ถุนสูงจากพื้นดินเสมอศีรษะ 4. นิยมวางเสาไว้บนตีนเสา 18. ข้อใดจัดเป็นลักษณะสาคัญของการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ของไทย 1. ต้องการสร้างผลงานที่สามารถสนองความต้องการของชุมชน 2. แสดงให้เห็นถึงความเชื่อและความศรัทธาในศาสนา 3. นาเสนอผลงานที่มีการผสมผสานทางวัฒนธรรม 4. ถ่ายทอดประสบการณ์จากธรรมชาติ 19. ข้อใดคือเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมสากล 1. แสดงออกด้านความเชื่อ 2. ผสมผสานแนวคิดอย่างเป็นกลาง 3. ถ่ายทอดผลงานจากประสบการณ์ 4. เน้นการสร้างจุดดึงดูดความสนใจ 20. หากจาเป็นต้องมีการเปรียบเทียบทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมสากลควรเลือกใช้วิธีการใด จึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด 1. ค้นคว้าทดลองตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ 2. หาความรู้เกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตร์ 3. ศึกษาในช่วงเวลาร่วมที่เกิดตรงกัน 4. ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 21. “ สัญกรณ์ทางดนตรีที่ใช้แสดงถึงระดับเสียงของตัวโน้ต ” จากข้อความนี้หมายถึงเครื่องหมาย ทางดนตรีประเภทใด 1. บันไดเสียง 2. บรรทัด 5 เส้น 3. กุญแจประจาหลัก 4. เครื่องหมายกากับจังหวะ 22. การเขียนโน้ตกุญแจซอลที่ถูกต้องหัวของกุญแจต้องอยู่คาบเส้นใด 1. เส้นที่ 1 2. เส้นที่ 2 3. เส้นที่ 3 4. เส้นที่ 4 23. ระบบเสียงดนตรีไทยกับเสียงดนตรีสากลมีความเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. เหมือนกัน เพราะจัดเป็นเสียงดนตรีเหมือนกัน 2. เหมือนกัน เพราะมีการแบ่งช่วงทบเสียงเท่ากัน 3. แตกต่างกัน เพราะต้องการแบ่งแยกความแตกต่างที่ชัดเจน 4. แตกต่างกัน เพราะเสียงแต่ละเสียงจะมีความถี่ของเสียงไม่เท่ากัน
  • 18. ~ 18 ~ 24. ไพลิน ได้รับมอบหมายให้จัดการแสดงดนตรีในงานประเพณีลอยกระทง ไพลินควรเลือกใช้บทเพลง ประเภทใดมาใช้ประกอบการจัดกิจกรรมในครั้งนี้จึงจะมีความเหมาะสมมากที่สุด 1. เพลงปลุกใจ 2. เพลงพื้นบ้าน 3. เพลงไทยเดิม 4. เพลงประสานเสียง 2 แนว 25. “ พวกเราเหล่ามาชุมนุม ต่างภูมิใจรักสมัครสมาน ล้วนมิตรจิตชื่นบาน สราญเริงอยู่ทุกผู้ทุกนาม ” จากเนื้อเพลงนี้ควรร้องด้วยน้าเสียงอย่างไร 1. สนุกสนาน 2. โกรธแค้น 3. โศกเศร้า 4. ฮึกเหิม 26. “ สาเนียงและทานองเพลงจะพลิ้วไหวตามบรรยากาศ ความนุ่มนวล และอ่อนละมุนของธรรมชาติ ” จากข้อความนี้หมายถึงการบรรเลงดนตรีด้วยวงดนตรีพื้นบ้านของภาคใด 1. วงดนตรีพื้นบ้านภาคอีสาน 2. วงดนตรีพื้นบ้านภาคกลาง 3. วงดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือ 4. วงดนตรีพื้นบ้านภาคใต้ 27. เพราะเหตุใดจึงมีคากล่าวว่า “ วงมโหรี เป็นวงดนตรีที่มีความสมบูรณ์ในด้านเสียงสูงสุด ” 1. มีการนาวงปี่พาทย์และวงเครื่องสายมาประสมวงกัน 2. เน้นเฉพาะเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีเป็นหลัก 3. ให้เสียงที่มีความอ่อนหวานและนุ่มนวลสลับกัน 4. ไม่มีการนาเครื่องกากับจังหวะมาใช้ 28. “ วงดนตรีขนาดเล็ก จะใช้เครื่องดนตรีตามสภาพของสังคม ” จากข้อความนี้หมายถึงวงดนตรี ประเภทใด 1. วงโฟล์คซอง 2. วงโยธวาทิต 3. วงแตรวง 4. วงสตริง 29. “ ความต่อเนื่องของโน้ตดนตรีที่เรียงร้อยอย่างเหมาะสม ” จากข้อความนี้หมายถึงสิ่งใด 1. ตัวโน้ต 2. จังหวะ 3. ทานอง 4. บันไดเสียง 30. ความดัง-เบาของเสียงดนตรีสามารถส่งผลต่ออารมณ์ของผู้ฟังเพลงได้อย่างไร 1. อารมณ์จะอยู่ในระดับที่คงที่ในช่วงแรกและจะเปลี่ยนแปลงในช่วงท้าย 2. อารมณ์จะขึ้นลงไม่คงที่มีการเปลี่ยนแปลงสลับไปมาตลอดทั้งบทเพลง 3. อารมณ์ไม่เปลี่ยนแปลงไม่ว่าเสียงจะดัง-เบาเพียงใดก็ตาม 4. อารมณ์เปลี่ยนแปลงไปตามความดัง-เบาของเสียง
  • 19. ~ 19 ~ 31. “ สังคมชนบท เป็นสังคมเกษตรกรรม ในสมัยก่อนเมื่อทางานในแต่ละวันเสร็จแล้วก็จะมารวมตัวกัน เพื่อร้องราทาเพลง สร้างความบันเทิงใจให้หายจากการเหน็ดเหนื่อย ” จากข้อความนี้มีความเกี่ยวข้อง กับข้อใดมากที่สุด 1. การสร้างสรรค์เพลงเพื่อการฟัง 2. เพลงประกอบการแสดง 3. เพลงสาหรับชาวบ้าน 4. การแข่งขันทางดนตรี 32. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการบรรเลงเพลงโหมโรงก่อนการแสดงทุกครั้ง 1. กระตุ้นนักแสดงให้รีบแต่งกายให้เสร็จ 2. ประกาศให้ทราบว่างานกาลังจะเริ่มขึ้น 3. เทียบเสียงเครื่องดนตรีก่อนแสดงจริง 4. แสดงความสามารถของนักดนตรี 33. การประเมินผลงานทางดนตรีที่ดีควรประเมินในด้านต่างๆ ยกเว้นข้อใด 1. คุณภาพด้านเสียง 2. คุณภาพด้านนักร้อง 3. คุณภาพด้านเนื้อหา 4. คุณภาพด้านองค์ประกอบของดนตรี 34. บุคคลในข้อใดสามารถทาหน้าที่เป็นผู้ประเมินคุณภาพของบทเพลงได้ดีที่สุด 1. หน่า รักความยุติธรรม เที่ยงตรง ไม่เอนเอียง 2. โหน่ง รับจ้างร้องเพลงในร้านอาหาร 3. เหน่ง ชอบเก็บสะสมเครื่องดนตรี 4. หน่อง เป็นนักดนตรีที่มีชื่อเสียง 35. ก่อนนาเครื่องดนตรีมาใช้ควรปฏิบัติอย่างไร จึงจะเหมาะสมมากที่สุด 1. ใช้ผ้านุ่มชุบน้าเช็ดทาความสะอาดเครื่องดนตรี 2. ทาความสะอาดบริเวณที่เก็บเครื่องดนตรีให้เรียบร้อย 3. วิเคราะห์ความเหมาะสมของเครื่องดนตรีกับเพลงที่ใช้บรรเลง 4. ตรวจสอบความเรียบร้อยของส่วนประกอบต่างๆ ในเครื่องดนตรี 36. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการเก็บรักษาเครื่องดนตรีอย่างถูกวิธี 1. เครื่องดนตรีมีราคาแพง 2. สามารถหยิบใช้ได้สะดวก 3. ยืดอายุการใช้งานของเครื่องดนตรี 4. แสดงให้เห็นอุปนิสัยที่ดีของนักดนตรี 37. บุคคลในข้อใดปฏิบัติตนได้เหมาะสมในการเก็บรักษาเครื่องดนตรีอย่างถูกวิธี 1. นาย นากระดาษทรายมาขัดรอยด่างบนเครื่องดนตรี 2. ปาย เก็บเครื่องดนตรีใส่ในกล่องของเครื่องดนตรี 3. ซาย ใช้ผ้าเปียกชุบน้ามาเช็ดที่ตัวเครื่องดนตรี 4. มาย วางเครื่องดนตรีไว้บนหลังตู้เย็น 38. ข้อใดคือบทบาทสาคัญของดนตรีต่อสังคมไทย 1. เป็นเครื่องหมายอย่างหนึ่งที่แสดงลักษณะเฉพาะของชาติไทย 2. แสดงความไพเราะในด้านเสียงไม่ว่าจะผ่านมานานเท่าใดก็ตาม 3. นาดนตรีจากหลากหลายวัฒนธรรมมาผสมผสานกันให้เกิดดนตรีแนวใหม่ 4. มีการนาดนตรีไทยไปบรรเลงเพื่อสร้างชื่อเสียงให้เป็นที่รู้จักระดับนานาชาติ
  • 20. ~ 20 ~ 39. “ ดนตรีเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่ช่วยให้มนุษย์มีความสุข ” จากข้อความนี้ต้องการสื่อให้เห็นถึงสิ่งใด 1. มนุษย์รู้จักสร้างสรรค์งานดนตรีมาตั้งแต่อดีต 2. เสียงดนตรีที่ดีสามารถสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ฟังได้ 3. ดนตรีมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์จนแยกออกจากกันไม่ได้ 4. ดนตรีถูกพัฒนาขึ้นไปพร้อมๆ กับความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 40. สิ่งใดมีความสาคัญเป็นอย่างมากในการสร้างความพร้อมเพรียงและความกลมกลืนกันของเสียงดนตรี 1. จังหวะ 2. ทานอง 3. เสียงดนตรี 4. การประสานเสียง 41. เพราะเหตุใดในการแสดงละครนักแสดงจะต้องแสดงอย่างเต็มที่ 1. เพราะผู้ชมจะสามารถเข้าใจรูปแบบการแสดงที่นักแสดงต้องการสื่อได้อย่างชัดเจน 2. เพราะจะต้องแสดงได้อย่างสมบทบาท ซึ่งเป็นการสร้างความเชื่อให้แก่ผู้ชม 3. เพราะบรรยากาศในการแสดงไม่สามารถสร้างความเชื่อให้เกิดขึ้นได้ 4. เพราะการแสดงจะได้มีความสัมพันธ์กับความสวยงามของฉาก 42. การสมมติมีความสาคัญมากสาหรับการแสดง เพราะนักแสดงจาเป็นต้องสมมติบทบาทที่ตนเองกาลัง แสดงอยู่เพื่อให้เกิดความสมจริง นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด 1. เห็นด้วย เพราะนักแสดงจะต้องผ่านการฝึกในเรื่องการสมมติมาก่อน 2. เห็นด้วย เพราะเป็นการสร้างความเชื่อให้เกิดขึ้นกับผู้ชมขณะชมการแสดง 3. ไม่เห็นด้วย เพราะการสมมติไม่สามารถช่วยให้การแสดงละครเกิดความสมบูรณ์ 4. ไม่เห็นด้วย เพราะนักแสดงที่มีฝีมือสามารถถ่ายทอดเรื่องราวโดยใช้ตนเองเป็นหลักได้ 43. ก่อนการยกเท้าแต่ละครั้งจะต้องปฏิบัติท่านาฏยศัพท์ใดก่อนเสมอ 1. ประเท้า 2. จรดเท้า 3. เขย่งเท้า 4. ถัดเท้า 44. ภาษาท่าที่แสดงถึง “ ความดีใจ ” มีความสัมพันธ์กับข้อใด 1. โบกมือไปมา 2. ใช้มือบังสายตา 3. ปรบมือเข้าหากันระหว่างอก 4. ยกมือข้างใดข้างหนึ่งพร้อมกับชูนิ้วชี้ 45. นักแสดงแสดงท่าทางโดยการใช้ “ ฝ่ามือถูที่ต้นคอ ” แสดงว่าต้องการสื่อความหมายอย่างไร 1. เบื่อหน่าย 2. ราคาญ 3. เครียด 4. โกรธ
  • 21. ~ 21 ~ 46. เนื้อเพลงในข้อใดเหมาะสาหรับนามาใช้กับท่ารายั่ว 1. ดวงจันทร์ขวัญฟ้า ชื่นชีวาขวัญพี่ 2. ชาวไทยเจ้าเอ๋ย ขออย่าละเลยในการทาหน้าที่ 3. ขวัญใจดอกไม้ของชาติ งามวิลาศนวยนาฏร่ายรา 4. ยามกลางเดือนหงาย เย็นพระพายโบกพลิ้วปลิวมา 47. เพลงราวงมาตรฐานในข้อใดที่มีการใช้ท่านาฏยศัพท์ที่เหมือนกัน 1. เพลงราซิมารา เพลงหญิงไทยใจงาม 2. เพลงงามแสงเดือน เพลงคืนเดือนหงาย 3. เพลงบูชานักรบ เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ 4. เพลงยอดชายใจหาญ เพลงดอกไม้ของชาติ 48. ข้อใดเป็นเอกลักษณ์ที่สาคัญของการแสดงนาฏศิลป์ไทย 1. เป็นการแสดงสด 2. ไม่จาเป็นต้องมีบทเจรจา 3. มีท่าราที่อ่อนช้อย งดงาม 4. ใช้นักแสดงเป็นผู้หญิงทั้งหมด 49. การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองมักนิยมนามาจัดแสดงเนื่องในโอกาสใด 1. งานรื่นเริงต่างๆ 2. งานมงคลสมรส 3. งานคล้ายวันเกิด 4. งานสวดอภิธรรมศพ 50. สิ่งใดที่แสดงให้เห็นถึงความคล้ายคลึงกันระหว่างการแสดงนาฏศิลป์ตะวันออกและการแสดง นาฏศิลป์ไทย 1. เรื่องที่นามาแสดง 2. เครื่องแต่งกาย 3. จุดกาเนิด 4. ฉาก 51. ถ้านักเรียนต้องจัดการแสดงละครจะมีวิธีในการคัดเลือกนักแสดงอย่างไร 1. สนิทสนมส่วนตัว 2. มีชื่อเสียงทางสังคม 3. รูปร่างหน้าตาสมส่วน 4. บุคลิกเหมาะสมกับบท 52. ใครเป็นบุคคลสาคัญที่สุดในการประเมินการแสดงละคร 1. ผู้ชม 2. นักแสดง 3. ผู้กากับเวที 4. ผู้อานวยการแสดง 53. การที่ตัวละครเคลื่อนไหวบนเวทีเป็นเส้นโค้งแสดงให้เห็นว่าตัวละครต้องการสื่ออารมณ์ใด 1. โกรธ 2. สงสาร 3. หึงหวง 4. หลบหนี 54. เพราะเหตุใดการเคลื่อนไหวของตัวละครบนเวทีจึงควรแสดงให้เหมือนกับชีวิตจริงมากที่สุด 1. ทาให้ละครเกิดความสนุกสนาน 2. มีผู้ชมเข้ามาชมการแสดงละครมากขึ้น 3. ละครได้รับความนิยมจากผู้ชมเป็นอย่างมาก 4. มีผลต่อการสื่ออารมณ์ของตัวละครไปยังผู้ชม
  • 22. ~ 22 ~ 55. การแสดงละครของทุกชาติ ทุกภาษามีสิ่งใดที่คล้ายคลึงกัน 1. จานวนนักแสดง 2. การแต่งกาย 3. บทละคร 4. ต้นกาเนิด 56. ข้อใดมีความเกี่ยวข้องกับคาว่า “ มโนห์รา ” มากที่สุด 1. นิยมนามาใช้แสดงละครนอก 2. แต่งกายแบบยืนเครื่องพระ-นาง 3. นาเครื่องดนตรีสากลมาบรรเลงร่วม 4. เป็นบทละครที่ค้นพบในสมัยก่อนสุโขทัย 57. เอกลักษณ์ที่สาคัญที่แสดงให้เห็นถึงรูปแบบการแสดงละครในสมัยสุโขทัยคือข้อใด 1. การแสดงละครมีความหลากหลาย 2. นิยมนาบทละครจากต่างประเทศมาแสดง 3. ได้มีการกาหนดแบบแผนแห่งศิลปะการแสดง 4. เครื่องแต่งกายของตัวละครถูกออกแบบมาอย่างสวยงาม 58. การละครไทยในสมัยอยุธยามีการพัฒนาขึ้นจากในสมัยสุโขทัยอย่างไร 1. นิยมใช้นานักแสดงชาย-หญิงมาแสดงร่วมกัน 2. บทละครที่นามาแสดงสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมตะวันตก 3. มีการจัดระเบียบแบบแผนรูปแบบการแสดงให้มีความรัดกุมมากขึ้น 4. จัดสร้างโรงละครขนาดใหญ่ เพื่อใช้เป็นสถานที่ในการจัดแสดง 59. เพราะเหตุใดการละครไทยในสมัยธนบุรีจึงไม่ค่อยได้รับความนิยม 1. อยู่ในช่วงพ้นจากการทาสงคราม 2. ขาดการสนับสนุนจากเหล่าขุนนาง 3. ไม่มีการนาบทละครใหม่ๆ มาจัดแสดง 4. ประชาชนหันมาสนใจการละครตะวันตก 60. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) เป็นบุคคลที่มีความสาคัญต่อวงการ ละครไทยอย่างไร 1. บรรเลงดนตรีประกอบการแสดง 2. ออกแบบเครื่องแต่งกายละคร 3. เข้าร่วมการแสดงละคร 4. รวบรวมตาราฟ้อนรา 
  • 23. ~ 23 ~ เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 2 1. 2 2. 4 3. 3 4. 2 5. 4 6. 1 7. 2 8. 1 9. 3 10. 2 11. 4 12. 3 13. 1 14. 2 15. 4 16. 3 17. 4 18. 1 19. 2 20. 3 21. 3 22. 2 23. 4 24. 2 25. 4 26. 3 27. 1 28. 3 29. 3 30. 4 31. 3 32. 2 33. 2 34. 1 35. 4 36. 3 37. 2 38. 1 39. 3 40. 1 41. 2 42. 2 43. 1 44. 3 45. 4 46. 3 47. 2 48. 3 49. 1 50. 3 51. 4 52. 1 53. 2 54. 4 55. 4 56. 4 57. 3 58. 3 59. 1 60. 4 เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี มัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 1. 2 2. 4 3. 1 4. 1 5. 3 6. 4 7. 2 8. 3 9. 4 10. 3 11. 1 12. 2 13. 2 14. 3 15. 3 16. 2 17. 1 18. 1 19. 4 20. 2 21. 4 22. 2 23. 1 24. 2 25. 3 26. 1 27. 4 28. 3 29. 2 30. 2 31. 4 32. 1 33. 3 34. 1 35. 2 36. 4 37. 3 38. 4 39. 4 40. 1 41. 1 42. 4 43. 2 44. 3 45. 2 46. 2 47. 3 48. 4 49. 2 50. 3 51. 3 52. 3 53. 1 54. 2 55. 1 56. 4 57. 3 58. 2 59. 1 60. 3 
  • 24. ~ 24 ~ เฉลยแบบทดสอบมาตรฐานชั้นปี ชุดที่ 1 เฉลยอย่างละเอียด 1. ตอบ ข้อ 2. เพราะธรรมชาติกับการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เป็นปัจจัยของความสัมพันธ์ที่มีความ เกื้อกูลส่งเสริมซึ่งกันและกัน มนุษย์ได้อาศัยเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน ทัศนศิลป์ในสาขาต่างๆ ซึ่งผลงานดังกล่าวส่วนหนึ่งจะเกิดจากการอาศัยธรรมชาติ หรือ สิ่งแวดล้อมเป็นแรงบันดาลใจ การสร้างรูปทรงลักษณะต่างๆ กัน ทั้งแบบรูปธรรม นามธรรม และกึ่งนามธรรม โดยมีธรรมชาติเป็นต้นแบบของแรงบันดาลใจ ทาให้ได้คิดใน แง่มุมต่างๆ กัน อย่างไม่มีวันจบสิ้นตราบเท่าที่มนุษย์ยังมีความคิดสร้างสรรค์และมี จินตนาการ โลกของงานทัศนศิลป์ก็จะเปิดกว้างให้กับผู้ที่มีใจรักทางทัศนศิลป์ และการ แสดงออก โดยใช้กิจกรรมเป็นช่องทางของการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดได้อย่างอิสระ 2. ตอบ ข้อ 4. เพราะธรรมชาติได้เข้ามามีส่วนช่วยในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ดังนั้น หน้าที่ของ ศิลปินที่สาคัญก็คือจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในธรรมชาติ รู้จักถ่ายทอดแรงบันดาลใจที่ เกิดจากธรรมชาติให้เป็นรูปทรงและเรื่องราวที่ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงเท่าที่ความงาม ในธรรมชาติจะสามารถเอื้ออานวย 3. ตอบ ข้อ 1. เพราะหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ จัดเป็นหลักการสาคัญสาหรับผู้สร้างสรรค์ผลงาน ทัศนศิลป์ อันเนื่องมาจากผลงานทัศนศิลป์ไม่ว่าจะชิ้นใดๆ ก็ตาม ล้วนมีคุณค่าอยู่ด้วยกัน 2 ประการ คือ 1. คุณค่าทางด้านรูปทรง เกิดจากการนาเอาองค์ประกอบต่างๆ ของทัศนศิลป์มาจัด รวมเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้เกิดความงาม 2. คุณค่าทางด้านเนื้อหา เป็นเรื่องราวของผลงานที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้น ผู้ชมสามารถรับรู้ ได้ โดยอาศัยรูปลักษณะที่เกิดจากการจัดองค์ประกอบศิลป์ ถ้าองค์ประกอบที่จัดขึ้น ไม่มีความสัมพันธ์กับเรื่องราว ที่ต้องการนาเสนอ ผลงานชิ้นนั้นก็จะขาดคุณค่าทาง ความงาม ดังนั้น ในการจัดองค์ประกอบศิลป์ จึงมีความสาคัญต่อการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์เป็น อย่างมาก เพราะจะทาให้ผลงานทัศนศิลป์มีคุณค่าทางความงามอย่างสมบูรณ์ 4. ตอบ ข้อ 1. เพราะจากภาพแสดงให้เห็นถึงหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ที่เรียกว่า “ เอกภาพ ” เนื่องจากภาพผลงานสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน รวมทั้งความกลมกลืน เข้ากันได้ เอกภาพในทางทัศนศิลป์จะหมายถึง การจัดภาพที่จะต้องทาให้เกิดความสัมพันธ์ อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ไม่กระจัดกระจาย หรือก่อให้เกิดความสับสน แต่จะมีความสัมพันธ์กัน อย่างไรนั้น ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนตายตัวขึ้นอยู่กับความคิด และการนาเสนอของ ผู้สร้างสรรค์ผลงานในการจัดภาพ
  • 25. ~ 25 ~ 5. ตอบ ข้อ 3. เพราะการเขียนภาพ เป็นสิ่งที่แสดงออกถึงความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ของมนุษย์ เป็นสิ่งที่ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกภายในจิตใจของตนเองออกมา มนุษย์รู้จัก การวาดภาพ เขียนภาพกันมาหลายยุคหลายสมัย นับตั้งแต่สมัยดึกดาบรรพ์ ซึ่งเป็น ระยะเวลายาวนานนับหมื่นปีมาแล้ว ดังจะเห็นได้จากภาพบนฝาผนังถ้าและเพดานถ้าที่ มนุษย์อาศัยอยู่ โดยส่วนใหญ่จะเป็นภาพเกี่ยวกับสัตว์ ที่มนุษย์สามารถพบเห็นได้อยู่เสมอๆ หรือสัตว์ที่มนุษย์ล่ามาเป็นอาหาร เช่น วัว กวาง ม้า ปลา เป็นต้น ภาพเขียนจึงเป็นภาพที่ ถ่ายทอดความทรงจา เช่น ภาพเขียนในยุคหินเก่าภายในถ้าลาส์โกซ์ (Lascaux) ประเทศ ฝรั่งเศส เป็นต้น 6. ตอบ ข้อ 4. เพราะการวาดภาพแสดงทัศนียภาพ เป็นวิธีการสร้างภาพให้มีระยะใกล้-ไกล มีลักษณะเป็น ภาพ 3 มิติ ทาให้การมองเห็นภาพมีลักษณะคล้ายคลึงกับสิ่งที่ตามองเห็น ที่ปรากฏอยู่จริง ในโลก การนาหลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพด้วยวิธีการกาหนดจุดรวมสายตา หรือใช้ วิธีการทางทัศนศิลป์มาสร้างความลึกลวงตา จะนิยมนามาใช้ในการวาดภาพ ระบายสีวัตถุ หรือทิวทัศน์ เพราะจะทาให้ภาพมีบรรยากาศของความใกล้-ไกล ตื้น-ลึก เป็นมิติที่ให้ ความรู้สึกทางสุนทรียะได้ โดยเฉพาะในการวาดภาพเหมือนจริงด้วยแล้ว หลักของการวาด ภาพแบบทัศนียภาพก็นับว่ามีความเกี่ยวข้องและจาเป็นอย่างมาก 7. ตอบ ข้อ 2. เพราะงานปั้น จัดเป็นผลงานทัศนศิลป์ที่ถูกสร้างขึ้นจากการนาวัสดุที่มีเนื้ออ่อน เช่น ดินเหนียว ดินน้ามัน เป็นต้น มาผ่านกระบวนต่างๆ แล้วนามาปั้นให้เกิดเป็นรูปทรงต่างๆ ตามความต้องการ ส่วนงานสื่อผสม จัดเป็นผลงานทัศนศิลป์ที่เกิดจากการนาวัสดุ หลากหลายชนิด เช่น กระดาษ ไม้ โลหะ เป็นต้น มาผสมผสานกันด้วยความคิดสร้างสรรค์ จนไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นผลงานทัศนศิลป์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ 8. ตอบ ข้อ 3. เพราะเศษวัสดุที่แปลกปลอมเข้ามาอยู่ในวัตถุที่จะนามาใช้ในงานปั้นเหล่านี้ จะทาให้พื้นผิว ของผลงานปั้นดูขรุขระ ไม่เรียบเนียน และเมื่อปฏิบัติผลงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผลงานที่ ออกมาจะดูไม่สวยงามเท่าที่ควร นอกจากนี้ วัตถุเหล่านั้นอาจก่อให้เกิดอันตรายในระหว่าง การปั้นได้ เช่น ถ้าวัตถุที่ปนอยู่เป็นเศษแก้ว อาจทาให้บาดมือผู้สร้างสรรค์ผลงานได้ เป็นต้น ดังนั้น ก่อนการลงมือปฏิบัติงานปั้นทุกครั้ง จึงควรมีการคัดแยกเศษวัสดุที่ แปลกปลอมออกก่อน 9. ตอบ ข้อ 4. เพราะการสร้างสรรค์ผลงานใดๆ ก็ตาม เพื่อต้องการให้ผลงานนั้นมีความแปลกใหม่ ไม่ซ้า กับของที่มีอยู่เดิม หรือต่อเติม ปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ทั้งใน เรื่องของประโยชน์ใช้สอยและความงาม ดังจะพบเห็นได้จากสิ่งของเครื่องใช้ทั้งหลาย ที่รายล้อมอยู่รอบๆ ตัว สิ่งใหม่ๆ ที่ผลิตขึ้นมาย่อมมีความสวยงามทั้งในเรื่องของการ ออกแบบ สีสัน วัสดุที่นามาใช้ เทคนิคที่ใช้ในการผลิต การออกแบบจึงนับว่าเป็นส่วน สาคัญอันดับแรกในการพัฒนาสิ่งต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการ ในด้านต่างๆ ของ
  • 26. ~ 26 ~ มนุษย์ ยิ่งในยุคปัจจุบันทุกวงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์ผลงาน ไม่ว่าด้านศิลปะ หรือ ศิลปะประยุกต์ที่นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ได้มีการแข่งขันกันเป็นอย่างมาก นักออกแบบ จึงต้องพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ให้มีความก้าวหน้าอยู่เสมอ จึงจะสามารถสร้าง ผลงานให้เป็นที่ยอมรับได้อย่างต่อเนื่อง 10. ตอบ ข้อ 3. เพราะการออกแบบ เป็นงานสร้างสรรค์ที่ต้องใช้ความคิดและจินตนาการ เพื่อก่อให้เกิดสิ่ง ที่แปลกใหม่ หรือปรับปรุง เปลี่ยนแปลงสิ่งเดิมที่มีอยู่ให้ดียิ่งขึ้นด้วยวัสดุ โครงสร้าง เทคนิค ในการออกแบบที่ดีนั้น จะต้องมีการนาองค์ประกอบทางทัศนศิลป์เข้ามาร่วมด้วย เพื่อช่วยให้การออกแบบบรรลุตรงตามวัตถุประสงค์ด้านประโยชน์ใช้สอยและความงาม 11. ตอบ ข้อ 1. เพราะการวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ เป็นกระบวนการปฏิบัติที่สามารถช่วยให้ผู้วิจารณ์ มีประสบการณ์ตรงกับผลงานทางทัศนศิลป์ต่างๆ ได้ สามารถอ่านและทาความเข้าใจคุณค่า และความหมายทางทัศนศิลป์ได้ โดยแสดงออกด้วยการพูด หรือการเขียน ซึ่งการวิจารณ์จะ ได้ผลดีมากน้อยเพียงใดนั้น ผู้วิจารณ์ควรมีประสบการณ์กับผลงานทัศนศิลป์โดยตรง เพราะผู้วิจารณ์จะสามารถมองเห็นรูปลักษณะ เทคนิคแบบสมบูรณ์ สามารถวิเคราะห์และ ตีความจากผลงานจริงแบบตรงไปตรงมาได้อย่างสร้างสรรค์และถูกต้องเหมาะสม 12. ตอบ ข้อ 2. เพราะคุณสมบัติของผู้ที่จะสามารถวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ได้นั้น จะต้องมีพื้นฐานความรู้ ในงานทัศนศิลป์แต่ละประเภทจากการศึกษาและได้พบเห็นมา ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ งานทัศนศิลป์ในด้านที่จะวิจารณ์ ซึ่งจะทาให้ผลการวิจารณ์มีน้าหนัก และมีความน่าเชื่อถือ มากยิ่งขึ้น 13. ตอบ ข้อ 2. เพราะจิตรกรรมไทย นับเป็นวิจิตรศิลป์แขนงหนึ่ง ที่นิยมถ่ายทอดเรื่องราวผ่านภาพวาด โดยมีเนื้อหาส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ฯลฯ ที่เกิดขึ้นในแต่ละยุคสมัย ซึ่งนอกจากจะส่งผลสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมอันดีงามของชาติแล้ว ยังมีคุณค่าทาง ทัศนศิลป์ที่ช่วยเสริมสร้างสุนทรียภาพให้เกิดขึ้นภายในจิตใจของมนุษย์ และเป็นประโยชน์ ต่อการศึกษาเรื่องราวต่างๆ ในอดีตได้เป็นอย่างดี 14. ตอบ ข้อ 3. เพราะพระที่นั่งวิมานเมฆ เป็นหนึ่งในพระที่นั่งที่สร้างจากไม้สักทองทั้งหลัง ( การก่อสร้าง แล้วเสร็จเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2444 ) จัดว่ามีลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่งดงาม ประณีต และละเอียดอ่อน โดยได้รับอิทธิพลการก่อสร้างมาจากตะวันตก 15. ตอบ ข้อ 3. เพราะงานทัศนศิลป์ของชาติ เป็นงานทัศนศิลป์ที่ถูกถ่ายทอดและสร้างขึ้นโดยช่างจาก ราชสานัก หรือช่างหลวง โดยรูปแบบจะมีความแตกต่างกันออกไปตามลักษณะของการใช้ สื่อ วัสดุ กรรมวิธี และพัฒนาการทางด้านทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัย ตลอดจนอุดมคติของ ผู้สร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งผลงานแต่ละชิ้นล้วนสะท้อนให้เห็นถึงเอกลักษณ์ของความเป็น ชาติไทยได้เป็นอย่างดี
  • 27. ~ 27 ~ 16. ตอบ ข้อ 2. เพราะงานทัศนศิลป์ของท้องถิ่น เป็นศาสตร์ทางด้านศิลปกรรมในสาขาภูมิปัญญาไทย ทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ที่เป็นผลงานการสร้างสรรค์ของ ท้องถิ่นที่เกิดขึ้นจากภูมิปัญญาของชาวบ้านที่ได้ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมา มีเอกลักษณ์เฉพาะ ของตนที่สามารถบ่งบอกได้ว่าเกิดจากสถานที่ใด 17. ตอบ ข้อ 1. เพราะจากภาพเป็นงานจิตรกรรมท้องถิ่นที่ปรากฏอยู่บนฝาผนังวัดสระบัวแก้ว ตาบลหนองเม็ก อาเภอหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ซึ่งผลงานจิตรกรรมที่เกิดขึ้น ภายในท้องถิ่นนั้น จะเป็นผลงานการวาดภาพระบายสีลงบนพื้นผิวต่างๆ ตามความรู้สึกนึก คิดของชาวบ้าน มีลักษณะเรียบง่าย ไม่เน้นการแสดงรายละเอียดมากนัก แต่จะแสดงออก ให้เห็นถึงความทรงจา ตลอดจนแรงบันดาลใจจากสิ่งที่พบเห็นในธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ผ่านภาพวาดจิตรกรรมในลักษณะต่างๆ เช่น จิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรม ประกอบเครื่องใช้ จิตรกรรมประเภทเครื่องเล่นต่างๆ จิตรกรรมที่เกิดจากความเชื่อ และความศรัทธาในพระพุทธศาสนา เป็นต้น 18. ตอบ ข้อ 1. เพราะในการสร้างงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย จะมีจุดประสงค์ในการสร้าง คือ เพื่อต้องการถ่ายทอดประสบการณ์และความรู้สึก เพื่อความภาคภูมิใจของตนเองและ หมู่คณะ เพื่อดึงดูดความสนใจ เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ เพื่อสะดวก ในการดารงชีวิต และเพื่อแสดงออกด้านความเชื่อ 19. ตอบ ข้อ 4. เพราะการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ในระยะแรกๆ ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นจากความเชื่อและ ความศรัทธาในอานาจลี้ลับต่างๆ ที่มองไม่เห็น และมีรูปแบบในการแสดงออกของผลงาน เป็นการเลียนแบบธรรมชาติและสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบๆ ตัว รวมทั้งมีการพัฒนารูปแบบตาม ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ จนในที่สุดรูปแบบเหล่านั้นก็ถูกพัฒนามาเป็นรูปแบบทาง ทัศนศิลป์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว 20. ตอบ ข้อ 2. เพราะทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมสากล มีจุดเริ่มต้นในการสร้างสรรค์ ผลงานต่างๆ ที่มีความเป็นมาคล้ายคลึงกัน จากปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิตของมนุษย์ ที่ สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อ ความศรัทธาทางศาสนา รวมถึงลัทธิ และปรัชญาต่างๆ 21. ตอบ ข้อ 4. เพราะตัวโน้ตเพลงไทย เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงในการบรรเลงดนตรีไทย เป็นสื่อช่วย ในการสร้างความเข้าใจในกลุ่มของนักดนตรีด้วยกัน เปรียบเสมือนกับตัวอักษรไทย หรือ ภาษาไทยที่ใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารทาความเข้าใจระหว่างผู้ใช้ภาษาไทยด้วยกัน ไม่ว่าคีตกวี หรือผู้ประพันธ์เพลงจะเรียบเรียงท่วงทานองเพลงไว้ยากหรือง่าย ไพเราะ หรือไม่เพียงใด นักดนตรีไทยจะมีความเข้าใจที่ตรงกัน สามารถบรรเลงออกมาเป็น ท่วงทานองเดียวกัน แสดงให้เห็นถึงคุณค่าของตัวโน้ตในการถ่ายทอด ช่วยในการจดจา ทาให้เพลงไทยคงอยู่คู่ชาติไทย นอกจากนี้ ยังช่วยให้ชาวต่างชาติได้รู้จักและสนใจที่จะ