ศาสนาเปรียบเทียบ 1

thnaporn999
thnaporn999thnaporn999
มนุษย์ฯ ๖   1
* เป็นลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์

   *ความเกรงกลัวต่อวิญญาณ/ เทพเจ้า
       * คําสอนที่ศาสดานํามาเผยแผ่
         สั่งสอนซึ่งมนุษย์ถือปฎิบัติ
1.เกิดจากความกลัว

   3.เกิดความเชื่อ เลื่อมใส จงรักภักดี
       4.เกิดจากมูลเหตุ คิดไตร่ตรอง
           5.เกิดจากลัทธิการเมือง
ศาสนา   ลัทธิ
ศาสนา                        ลัทธิ
1.เป็นสิ่งที่เกิด           1.เป็นสิ่งที่เกิดประโยชน์
ประโยชน์สุขแก่มนุษย์         สุขคนบางกลุ่ม

2.ต้องมีคําสอนเกี่ยวกับ     2. ไม่มหลักการที่ต้องมี
                                   ี
ศาสนาเน้นพิธีกรรม           คําสอนเกี่ยวกับศิลธรรม
                            3. เน้นจุดหมายสูงสุด
3. เน้นจุดมุ่งหมายของ
                            ของชีวิตที่สัมพันธกับ
ชีวิตทั้งโลกนี้และโลกหน้า
                            รูปธรรมเท่านั้น
ศาสนา                          ลัทธิ
4. ต้องมีสถาบันและ            4. มีคัมภีร์เป็นหลักการ
คัมภีร์ที่สืบต่อคําสอน          มีสถาบันไว้ปฎิบัติ
เปลี่ยนแปลงไม่ได้               เปลี่ยนแปลงได้
5.ต้องมีพิธีกรรม              5.ไม่จําเป็นต้องมีพิธีฯ

6.คําสั่งสอนต้อง             6.ไม่มีศักดิ์สิทธิ์ผู้ถือมี
ศักดิ์สิทธิ์เป็นที่สักการะ    ความเห็นสอดคล้องกัน
                              ไม่มีการสักการะบูชา
ศาสนา                     ลัทธิ
7.มีศาสดาเป็นผู้เผยแผ่    7. เจ้าลัทธิประกาศ
                           เพียงหลักการของ
                           ตนซึ่งเป็นทัศนะคติ
                           ส่วนตัว
8.ต้องมีสัญลักษณ์        8.มีสัญลักษณ์ หรือ
                            ไม่มีก็ได้
•คุณธรรม หมายถึง นามธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่ง
  เกี่ยวข้องกับจิตสํานึกของมนุษย์ที่ตระหนัก
  ถึงความผิดชอบชั่วดี
• จริยธรรม หมายถึง ความดีงามทางสังคมมนุษย์
 จําแนกแยกแยะว่าสิ่งไหนถูกและสิ่งไหนผิด ควร
 ไม่ควร ในการประพฤติปฏิบัติ
คุณธรรมจริยธรรม ในการดําเนินชีวิต

         การดําเนิน     เป้าหมาย


         คุณธรรม         วัตถุเงินทอง

         จริยธรรม        ความสงบ
                          ของจิต
คุณธรรมจริยธรรม

ส่วนใหญ่มาจากศาสนา
อเทวนิยม
เทวนิยม
พระเจ้าเป็นสิ่งสูงสุดเป็นผู้สร้างทุกสิ่ง
       เป็นเป้าหมายของชีวิต
เน้นการกระทําของมนุษย์
เพื่อเข้าถึงความจริงของโลกและชีวิต
         ด้วยตัวของมนุษย์เอง



เต๋า          ขงจื้อ         พุทธ
ความศักดิ์สิทธิ์และพิธีกรรม
พรหมัน หรือปรมาตมัน
เป็นสิ่งจริงแท้ ต้นกําเนิด
 ชีวิต เป็นเป้าหมายของ
 ชีวิตที่ต้องไปให้ถึงเพื่อ
 รวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวกับ
       “พระเจ้า”
พรหมัน เป็นสิ่งจริง
 แท้มีอยู่ในพระเจ้า
   พระพรหม ทรง
สร้างมนุษย์จากส่วน
ต่างๆของพระองค์จึง
ออกมาเป็นวรรณะ 4
คุณสมบัติ
 ดารงตนอยู่ในธรรม มี
                               หน้าที่
ความสุภาพ จังรักภักดี        ให้การศึกษา
ต่อพระเจ้า มีใจสงบเย็น     ประกอบศาสนพิธี
                          บําเพ็ญทานปฏิบัติธรรม
 กล้าหาญอดทน ไม่
  หวาดกลัวต่อภัย          รับการศึกษาชั้นสูง
   อันตรายต่างๆ           ปกครอง ป้องกันภัย
ฉลาดในการแลกเปลี่ยน
 สิ้นค้า มีความรู้ในการ    ค้าขายแลกเปลี่ยน
    คานวณเศรษฐกิจ               สินค้า
มีความสงบเสงี่ยมเจียม      รับจ้าง ใช้แรงงาน
   ตนขยันไม่เฉื่อยชา
อาศรม 4
           ลาดับของการดาเนินชีวิต
       1.            2.
                                  3.
  พรหมจารี        คฤหัสถ์
                              วนปรัสถ์
                                                 4.
  วัยแรกของ วัยครองเรือน     วัยสงบใจหลัง      สันยาสี
ชีวิต ดารงตน      หลังจบ       ผ่านพ้นวัย     สาหรับผู้
 อย่างบริสุทธิ์  การศึกษา     ทางาน มีลูก    ปรารถนา
     หมั่นใน     มีงานทา     เติบใหญ่ สละ    ความหลุด
การศึกษาเล่า      แต่งงาน    บ้านเข้าป่าหา    พ้น รู้แจ้ง
  เรียนไม่ยุ่ง  มีครอบครัว    ความสงบใจ      ในพรหมัน
เกี่ยวเรื่องเพศ  มีทายาท
สัญลักษณ์ อักษรเทวนาครี
                   อ่านว่า โอม รวมมาจาก
                      อักษรสามตัว คือ
มะ หมายถึง พระพรหม เป็นผู้สร้างสรรพสิ่ง
อุ หมายถึง พระวิษณุหรือนารายณ์ เป็นผู้
       คุ้มครองดูแลรักษา
อะ หมายถึง พระศิวะหรืออิศวร เป็นผู้ทําลาย
ความรัก
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
การดําเนินชีวิต
           ตามหลักศาสนาคริสต์

      อาณาจักรของพระเจ้า
เป็นเป้าหมายที่ชาวคริสต์ต้องไปให้ถึง
         ด้วยการดําเนินชีวิต
บัญญัติ 10 ประการ
เป็นบัญญัติที่พระเจ้าทรงประทานแก่โมเสส

1. จงนับถือพระยะโฮวาเจ้าเพียงพระองค์เดียว
  2. ไม่ทําหรือเคารพรูปเคารพใดๆทั้งปวง
   3. ไม่ออกนามพระเจ้าโดยไม่ควร
    4. จงระลึกถึงวันสะบาโต วันบริสุทธิ์ต้อง
       พักผ่อนเป็นวันที่ ๗ หลังพระเจ้าสร้างสรรพสิ่ง
บัญญัติ 10 ประการ
5. จงให้เกียรติบิดามารดา
 6. อย่าฆ่าคน
    7. อย่างล่วงประเวณี
      8. อย่าลักทรัพย์
       9. อย่าเป็นพยานเท็จใส่ร้ายเพื่อนบ้าน
           10. อย่ามีความโลภ
ตามคัมภีร์พันธสัญญาใหม่
                    เน้นเรื่องความรัก
                 ๑. จงรักพระเจ้าอย่างสุดจิตใจ
               และรักเพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง
        ๒. จงรักศัตรูและอธิษฐานเพื่อเขา
           ไม่แบ่งแยกดุจแสงอาทิตย์
๓. อย่าเป็นข้าสองเจ้าบ่าวสองนาย
เพราะจะเกิดความลําเอียง
๔. อย่าสะสมทรัพย์ไว้ในโลกนี้เท่านัน
                                  ้
จงสะสมไว้ในสวรรค์ เพราะใจจะอยู่
กับทรัพย์สมบัติด้วย
๕. อย่าวิตกว่าจะเอาอะไรดื่มกิน...แสวงหาดินแดนของ
พระเจ้าก่อนแล้วพระเจ้าจะเพิ่มเติมทุกสิ่งให้เอง
 ๖. จงปฏิบัติอย่างที่ทานต้องการให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อท่าน
                      ่
 ๗. จงเข้าทางประตูแคบ (สู้ชีวิต) ซึงพาไปสู่สวรรค์ได้
                                   ่
 ความลําบากสร้างคน ความสะดวกสบายทําลายคน
ศาสนาคริสต์
          เน้นเรื่องความรัก
             เพียงมีความรักตนเอง
        รักบุคคลอื่นเหมือนที่รักตนเอง
          และรักพระเจ้าอย่างแท้จริง
เชื่อมั่นว่า ชีวิตจะประสบสุขที่พึงประสงค์
 โลกพ้นจากความเลวร้าย วุ่นวายต่างๆได้
สัญลักษณ์แห่งศาสนาคริสต์
               “ ไม้กางเขน ”
• ไม้กางเขนเป็นเครื่องมือ สําหรับประหาร
  ชีวิตนักโทษในปาเลสไตน์
    สมัยโบราณนักโทษที่ถูกตัดสินประหารชีวิตจะ
 ถูกตรึงเข้ากับไม้กางเขนแล้วยกขึ้นตั้งให้ตากแดด
 ไว้จนกว่าจะตายไปด้วยความร้อนและความหิว
 กระหาย อย่างทุกข์ทรมาน
สัญลักษณ์แห่งศาสนาคริสต์
                “ กางเขน ”
• พระเยซูผู้เสียสละ ผู้ไถ่บาปให้แก่มวลมนุษยชาติ
  อย่างไม่เห็นแก่ตัว รักและให้อภัยแก่ผู้ทําร้าย
  พระองค์ พระองค์ไม่ต่อสู้และห้ามผู้อื่นตอบโต้

“ไม้กางเขนจึงเป็นสัญลักษณ์แห่งการเสียสละ
     อันยิ่งใหญ่นิรนดรของ พระเยซู”
                   ั
กฎระเบียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
การยอมจํานนในกฎระเบียบที่พระเจ้าทรง
     ประทานไว้ มีหลักปฏิบัติ ดังนี้
    เมื่อพบกันกล่าวว่า “อัสลามูอาลัยกุม”
         ตอบรับว่า “อาลัยกุมมุสลาม”
             แล้วยื่นมือสัมผัสกัน
๑. ศรัทธาในองค์พระอัลเลาะฮ์เจ้า
๒. ศรัทธาในเหล่ามลาอิกะฮ์ ผู้เป็นเทพบริวาร
๓. ศรัทธาในคัมภีร์ อัลกุรอาน
๔. ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต (นบี)
๕. ศรัทธาในวันพิพากษาและโลกหน้า
๖. ศรัทธาในกฎสภาวการณ์ทุกสิ่งที่พระเจ้าสร้าง
ต้องปฏิญาณตน นับถือองค์
พระอัลเลาะฮ์เพียงพระองค์เดียว
และมีศรัทธา มั่นคงในพระองค์
โดยกระทําทุกอย่างเพื่อพระองค์
คือ การแสดงความเคารพต่อพระเจ้า
     ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ก่อนนอน
     เพื่อให้จิตอยู่ใกล้พระเจ้าตลอด
* ด้วยยืน ก้ม กราบ
  เป็นศาสนกิจประจําวันที่สําคัญ
  ของศาสนาอิสลาม
* ก่อนละหมาดต้องอาบน้ําละหมาดทุกครั้ง
 แต่ในกรณีที่ไม่มีน้ํา ใช้ฝุ่นดินที่สะอาดแทนได้
      * กระทําวันละ 5 เวลาเช้าตรู่ สาย บ่าย เย็น
      และก่อนนอน เพื่อให้จิตอยู่ใกล้พระเจ้าตลอด
3. การถือศีลอด
 การถือศีลอดในเดือนรอมฎอน (เดือน ๙) คือการ
 บังคับตนงดจากการดื่มกิน หรือจิตใฝ่ต่ํา ตั้งแต่
 ตะวันขึ้น จนถึงตะวันตกดิน เมื่อตะวันลับฟ้าไป
 แล้วก็ทาน เพียงการยังชีพเท่านั้น
            4. การทําซากาต
หมายถึง การบริจาคทรัพย์ เครื่องอุปโภคบริโภคของ
  ตน เพื่อแบ่งปันให้บุคคลอื่นในทุกรอบปี เป็นการ
  กระทําให้สะอาดบริสทธิ์ปราศจากมลทิน
                    ุ
คือ การไปแสวงบุญที่นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย
    ใช้เวลา 2 สัปดาห์ ในรอบปี โดยการเดินรอบวิหารกาบะ
    จูบหินดําก้อนใหญ่
สัญลักษณ์แห่งศาสนาอิสลาม
                    “พระจันทร์เสี้ยวกับดาว
                     เกิดขึ้นในยุคอาณาจักร
                  อ๊อตโตมานเตอร์กเรืองอํานาจ
     ดาว เป็นสิ่งที่มแสงสว่างในตัว และเป็นเครือง
                     ี                        ่
บ่งบอก ทิศทางในยามค่ําคืน ทําให้ไม่หลงทิศทาง ชีวิต
จึงควรที่จะมีแสงสว่าง (ปัญญา) เป็นเครื่องส่องทางเดิน
จะได้ไม่เกิดอันตรายผิดทิศหลงทาง
สัญลักษณ์แห่งศาสนาอิสลาม
                   “พระจันทร์เสี้ยวกับดาว

    เดือน เป็นสิ่งสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์
มายังโลกในยามค่ําคืน และยังมีมืดมีสว่าง เหมือน
เป็นการบ่งบอกชีวิตมีสว่างมีมืด ต้องรู้จักปรับตัว
และทําใจ ใช้ชีวิตอย่างไม่ประมาท
* การเข้าสุนัต หมายถึง การเข้าสู่ชีวิตตามแบบอย่างของ
ท่านนบีฯ โดยการขลิบหนังหุ่มปลายอวัยวะเพศชาย เพือ   ่
ความสะอาด
  * มีภรรยาได้ ๔ คน ด้วยความยุติธรรม เสมอภาค
    ในทุกคน
 * มีอาชีพสุจริต ไม่คดโกง ทุจริตทรัพย์สินของคนอื่น
 หรือฟอกเงิน
• พระอัลเลาะฮ์ไม่รักคนเนรคุณชอบทําบาป
• มีเมตตา ระงับความโกรธได้ ให้อภัยผู้อื่น
  ไม่ฆ่าตัวเอง
    • นมัสการพระอัลเลาะฮ์ และไม่สร้างสิ่งใด
      มาเป็นภาคีพระองค์
    • จงทําดีกับผู้ให้กําเนิด ญาติ ลูกกําพร้า
      คนอนาถา เพื่อนบ้านทั้งใกล้ไกล
เกียรติยศ
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
พระเจ้าคือสัจธรรม คือผู้สร้างและสถิตย์ในทุกสิ่ง
 พระเจ้าปราศจากความกลัว ปราศจากภัยอันตราย
    พระเจ้าเป็นอมตะ เหนือการเกิดและการตาย
   พระเจ้าเป็นผู้ที่พร้อมสมบูรณ์ในพระองค์เอง
            พระนามว่า อกาลปุรุข
               เป้าหมาย คือ
    การมีสภาวะรวมเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า
*   คันด้า เป็นเครื่องหมายเกียรติยศของชาวซิกข์ คือ



1. ผม (เกศา) ไว้ผมโดยไม่ตัด ญาติผู้ใหญ่ที่เคารพ
         เช่นบิดามารดาตายจึงตัด
2. หวี (กังฆะ) จําเป็นสําหรับการรักษาเกศาให้
   สะอาดและเรียบร้อย

    3. กางเกงในขาสั้น (กะแช่ร่า) เป็นสัญลักษณ์
       แห่งความว่องไว ปราดเปรียว สะดวก
4. กําไลเหล็ก (การ่า) มีพันธะผูกพันกับองค์
พระศาสดาความผูกพันต่อหมู่คณะและการ
เป็นมิตรความรู้สึกของความเป็นพี่น้อง

 5. ดาบ (กิรปาน) เป็นเครื่องหมายของความกล้าหาญ
 และการผจญภัยเป็นการแสดงออกถึงความเชื่อมั่นใน
 ตัวเอง และพร้อมทีจะปกป้องเกียรติของตนและผู้อื่น
                   ่
ศาสนาซิกข์ เกิดขึ้นท่ามกลาง
   ความขัดแย้งของฮินดูกับอิสลามจึงมี
   การรวมคําสอนที่เห็นว่าเหมาะสม ดังนี้
1. ความสามัคคี
    2. ความเสมอภาค
     3.ศรัทธา
       4. ความรัก ภักดี
๑. ตื่นแต่เช้า ก่อนรุ่งอรุณอย่างน้อยครึ่งชั่วโมง
๒. ตื่นแล้วสวดมนต์ชําระจิตใจให้สะอาด
๓. ประกอบอาชีพสุจริต
4. แบ่งส่วนรายได้ช่วยสังคม สาธารณะกุศล
5. เว้นจากสิ่งเสพติด ของมึนเมาและประพฤติ
    ผิดประเวณี
ศาสนาอเทวนิยม
      เน้นการกระทําของมนุษย์
เพื่อเข้าถึงความจริงของโลกและชีวิต
         ด้วยตัวของมนุษย์เอง
ธรรมชาติ
การดําเนินชีวิต
            ตามหลักศาสนาเต๋า
“เต๋า” เป็นอุดมคติของชีวิต เป็นวิถีแห่ง
  ธรรมชาติอยู่กับความบริสุทธิ์ ปราศจากความ เส
  แสร้งอยู่ด้วยความว่างปราศจากความยึดติดสอน
  ให้ดําเนินชีวิตอย่างเรียบง่ายผสานกับธรรมชาติ
   * ทําตนให้เหมือนน้ํา รู้จักพอ รู้จักละ รู้จักวาง
หลักการดําเนินชีวิต
1. การรู้จักตัวเองอย่างถูกต้อง
    2. การรู้จักเอาชนะตัวเอง
          3. การรู้จักพอด้วยตัวเอง
               4. ยึดถือเต๋าเป็นอุดมคติ
ขุมทรัพย์ของเล่าจื๊อ 3 ประการ
ความรักที่แท้จริง ทําให้เกิดความ กล้าหาญ

     การรู้จักมัธยัสถ์ ทําให้เกิดความ
                 อุดมสมบูรณ์

  ความอ่อนน้อมถ่อมตน ไม่แข็งกระด้าง
หยิน                               หยาง
               ความมืด                              ความสว่าง
ความเชื่องช้า หรือ หยุดพักอยู่กับที่            ความเคลื่อนไหว
               ความตาย                    การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต
 อารมณ์ผันผวนปรวนแปร ความเศร้าหมอง      อารมณ์มั่นคง จิตใจปลอดโปร่งใส
           โลก , พระจันทร์                          พระอาทิตย์
       ความหนาวเย็น อ่อนนุ่ม                พลังทีแข็งแกร่ง ความร้อน
                                                  ่
      ความไม่ดี ความเศร้าหมอง                       ความอบอุ่น
  ดําเนินชีวิตอย่างเฉื่อยชาเบื่อหน่าย    ดําเนินชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ
                                                  และมีชีวิตชีวา
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
การดําเนินชีวิต
               ตามหลักศาสนาขงจื๊อ
               จริยธรรมของขงจื๊อ
            อยู่ในแนวของมนุษยนิยม
                 อยู่กันด้วยความรัก
          ผสานกันทั้งร่างกายและจิตใจ
          แสวงหาความมั่งคั่งร่ํารวยได้
แต่อย่าละเมิดคุณธรรมที่เป็นหลักจริยศาสตร์สําคัญ
หลักจริยศาสตร์สําคัญ
         จงรักมนุษย์หรือมีมนุษยธรรม
1. ไม่เห็นแก่ตัว
     2. มีความจริงใจ
          3. มีความขยัน
             4. มีความเมตตากรุณา
                   5. มีความสุภาพอ่อนโยน
                   เป็นสุภาพชน
*กษัตริย์หรือรัฐบาล ควรมีเมตตาซื่อสัตย์สุจริต
    ต่อขุนนางหรือประชาชน ๆ มีความจงรักภักดี
*บิดามารดามีเมตตาต่อบุตรๆ มีความกตัญํู
 กตเวที
*สามีภรรยาพึงมีความรักใคร่และซือสัตย์ต่อกัน
                                 ่
*ญาติพี่น้องพึงมีความปรองดองรักใคร่กัน
*เพื่อนพึงมีความรักใคร่จริงใจต่อกัน
รู้ ตื่น เบิกบาน
การดําเนินชีวิต
                       ตามหลักศาสนาพุทธ
               สอนให้บุคคลพึ่งตนเอง ด้วยการกระทํา
             ของตนเอง (อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ)
           ทําดี ได้ดี ทําชั่ว ได้ชั่ว จึงมีคํากล่าวว่า
          ความดีไม่มีขาย ถ้าอยากได้ต้องทําเอง
       ทําดีถึงทีสุดและไม่ยึดติด จิตจะถึงเป้าหมาย
                 ่
คือ นิพพาน หมายถึงภาวะจิตที่สงบเย็นไร้จากความทุกข์
การดําเนินชีวิตของชาวพุทธ
       อริยมรรค มีองค์ 8                    ไตรสิกขา
1. สัมมาทิฐิ เห็นถูกต้องตามจริง    1. ปัญญาสิกขา การศึกษาฝึกฝน
2. สัมมาสังกัปปะ ความดําริชอบ          ปัญญาให้เห็นทุกสิ่งตามจริง
3. สัมมาวาจา การพูดชอบ             2. ศีลสิกขา การฝึกปฏิบัติอยู่
4. สัมมากัมมันตะ การทํางานชอบ         อย่างปกติ มีความรักให้แก่กัน
5. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ      และกัน ไม่เบียดเบียนกัน
6. สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ
                                   3. จิตสิกขา ฝึกจิตให้สงบมีความ
7. สัมมาสติ การระลึกชอบ               มั่นคงเพื่อให้เกิดปัญญา
8. สัมมาสมาธิ มีจิตตั้งมั่นชอบ
สัปปุริสธรรม
  ธรรมสําหรับการพัฒนาตนสู่ความเป็นผู้เจริญ
     1.ธัมมัญํุตา ความเป็นผู้รู้จักเหตุ
     2.อัตถัญํุตา ความเป็นผู้รู้จักผล
3.อัตตัญํุตา ความเป็นผู้รู้จักตนเอง
4.วมัตตัญํุตา ความเป็นผู้รู้จักประมาณ
สัปปุริสธรรม
  ธรรมสําหรับการพัฒนาตนสูความเป็นผู้เจริญ
                         ่

5.กาลัญํุตา ความเป็นผู้รู้จักกาลเวลา
6.ปริสัญํุตา ความเป็นผู้รู้จักชุมชน สังคม

 7.ปุคคลปโรปรัญํุตา เป็นผู้รู้จักบุคคลอื่นๆ
หลักมนุษยธรรม
               เบญจศีล                         เบญจธรรม
๑.   เว้นจากการเบียดเบียนทําลายชีวิตสัตว์   ๑. มีเมตตา
๒.   เว้นจากการลักทรัพย์                    ๒. มีสัมมาอาชีพ
๓.   เว้นจากการประพฤติผิดในกาม              ๓. สังวรในกาม
๔.   เว้นจากการพูดเท็จ                      ๔. มีสัจจะ
๕.   เว้นจากการดื่มสุรา และของมึนเมา        ๕. มีสติสัมปชัญญะ
หลักเศรษฐกิจ
   หลักประโยชน์ปัจจุบัน            ตระกูลมั่นคง

๑. ขยันในการแสวงหาทรัพย์      ๑. แสวงหาของที่หาย
๒. รู้จักเก็บออมรักษาทรัพย์   ๒. ซ่อมแซมของที่ชํารุด
๓. รู้จักคบเพื่อนที่ดีงาม     ๓. รู้จักประมาณการใช้จ่าย
๔. ใช้จ่ายเหมาะสมกับฐานะ      ๔. มอบอํานาจให้ผู้มีศีล
อบายมุข ๖
                   ปากทางแห่งความเสื่อมความฉิบหาย

           ๑                         ๒                     ๓
  ดื่มสุรา ยาเสพติด           เที่ยวกลางคืน         เที่ยวดูการเล่น
    มีความเสื่อม ดังนี้       มีความเสื่อม ดังนี้
                                                    มีความเสื่อม ดังนี้
         เสียทรัพย์                ไม่รักตัว
                                                        เสียทรัพย์
        เสียสุขภาพ             ไม่รักครอบครัว
                                                         เสียงาน
เสียคนทะเลาะวิวาท เสีย          ไม่รักษาทรัพย์
                                                         เสียเวลา
  ความดีไม่ละอาย เสีย      เป็นที่ระแวงของคนอื่น
                                                      เสียตัวได้ง่าย
         สติปัญญา             และมักถูกใส่ความ
    เสียตัว เสียชีวิตได้
อบายมุข ๖
             ปากทางแห่งความเสื่อมความฉิบหาย

         ๔                       ๕                        ๖
  เล่นการพนัน          คบคนชั่วเป็นมิตร           เกียจคร้านทํางาน
 มีความเสื่อม ดังนี้     มีความเสื่อม ดังนี้       ผู้มากด้วยข้ออ้าง
  ชนะย่อมก่อเวร           ทาให้ตนเองพลอย            หนาว ร้อน เย็น
 แพ้ก็เสียดายทรัพย์      เป็นเช่นนั้นไปด้วย             ยังเช้าอยู่
 ทรัพย์ย่อมฉิบหาย         เช่น นักเลง เจ้าชู้ หิว กระหายเหลือเกินเดี๋ยว
 ไม่มีใครเชื่อคําพูด   ติดยา โกง หลอกลวง               ค่อยทําก็ได้
    มักถูกดูหมิ่น           ทาของปลอม            จึงทําให้ฉิบหายด้วย
หาคนจริงใจด้วยยาก          เป็นผู้ร้ายต่างๆ           ประการต่างๆ
หลักปฏิบัติของการอยู่ร่วมกันในสังคม
ธรรมค้ําจุนโลก                      ธรรมคุ้มครองโลก
     หรือพรหมวิหาร                         หรือเทวธรรม
๑. เมตตา ความรักต่อสัตว์โลก            ๑. หิริ ความละอายใจ
   ทุกประเภท
                                          ไม่กล้าทาชั่ว
๒. กรุณา ความสงสารสัตว์โลกที่
   มีทุกข์ ช่วยเหลือตามควร             ๒. โอตตัปปะ ความ
๓. มุทิตา ความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี      เกรงกลัวต่อผลของ
   ไม่ริษยา                               ความชั่วที่จะติดตามมา
๔. อุเบกขา ความมีใจเป็นกลาง
สัญลักษณ์แห่งศาสนาพุทธ
                   เรียกว่า ธรรมจักร
        ประกอบด้วย ๓ ส่วน ซึ่งใช้แทนหลักธรรม คือ
ดุม สิ่งที่อยูตรงกลาง เป็นเสมือนโพธิปักขิยธรรม เป็นธรรมอัน
              ่
   เป็นฝักฝ่ายแห่งการตรัสรู้
    กํา สิ่งที่เชื่อมระหว่างดุมกับกง ที่ใช้ทั่วไปกาจะมี ๘ ได้แก่
     อริยมรรคมีองค์ ๘ แต่บางครั้งจะเห็นมี ๑๒ หมายถึง
     ปฎิจจสมุปบาท ๑๒
            กง เป็นฐานของล้อ เปรียบเป็นอริยสัจ ๔ คือ
              ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และอริยมรรค
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
แบบทดสอบ เทวนิยม
1. ในศาสนาฝ่ายเทวนิยม ได้แก่ศาสนาใดบ้าง
  นักเรียนชอบรูปแบบการดําเนินชีวิตของศาสนาใด
  อธิบาย

       2. หลักศรัทธา 6 ของศาสนาอิสลาม
          กําหนดไว้อย่างไร
แบบทดสอบ เทวนิยม
3. ท่านเชื่อในความมีอยู่ของพระเจ้าแต่ละ
  ศาสนาหรือไม่ เพราะเหตุใด
   4. จงบอกสัญลักษณ์ของศาสนาฝ่ายเทวนิยม
     มาหนึ่งศาสนา พร้อมกับความหมายอันเป็น
     แนวจริยธรรมที่แฝงอยู่
แบบทดสอบ เทวนิยม
5. วรรณะ 4 ของศาสนาพราหมณ์หมายถึงอะไรบ้าง
  6. อาศรม 4 เป็นการดําเนินชีวิตของศาสนาใด
  กําหนดไว้อย่างไร
   7. ศาสนาฝ่ายเทวนิยม เน้นเกี่ยวกับเรื่องใด
        8. หลักจริยธรรมใหญ่ ของศาสนาซิกข์
        รวมคําสอนไว้อย่างไร
แบบทดสอบ อเทวนิยม
1. ในคัมภีร์ เต๋า กล่าวว่าให้ท้าตัวเหมือนน้า
   หมายความว่าอย่างไร
   คุณธรรมของน้ามีอะไรบ้าง
   2. หยิน หยาง แตกต่างกันอย่างไร
          3. สัญลักษณ์ของศาสนาพุทธ เกี่ยวข้อง
             กันอย่างไร
แบบทดสอบ อเทวนิยม
4. การด้าเนินชีวิตของชาวพุทธเกี่ยวข้อง
   กับสิ่งใดบ้าง
 5. จงเขียนแนวคิดในการด้าเนินชีวิตของตนเอง
    (ไม่น้อยกว่า 10 บรรทัด /หน้ากระดาษขนาด A 4
    โดยประมาณ)
       6. แนวคิดของมนุษยนิยม เกี่ยวกับเรื่องใด
           ยึดหลักจริยธรรมใดเป็นส้าคัญ
1 sur 78

Recommandé

ศาสนาเปรียบเทียบ par
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
16.3K vues5 diapositives
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ par
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
21.3K vues47 diapositives
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา par
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
26.2K vues56 diapositives
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน par
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
25.4K vues46 diapositives
ศาสนาซิกข์ par
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
36.3K vues34 diapositives
ศาสนาคริสต์ par
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์นายวินิตย์ ศรีทวี
20.7K vues55 diapositives

Contenu connexe

Tendances

พระพุทธศาสนา par
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
20.7K vues104 diapositives
ความหมายและประเภทของศาสนา par
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนานายวินิตย์ ศรีทวี
24.3K vues48 diapositives
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย par
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
11.6K vues92 diapositives
พระพุทธศาสนา par
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนานายวินิตย์ ศรีทวี
8.6K vues72 diapositives
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา par
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
8.9K vues41 diapositives
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
22.8K vues134 diapositives

Tendances(20)

พระพุทธศาสนา par Padvee Academy
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy20.7K vues
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย par Padvee Academy
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy11.6K vues
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา par Thongsawan Seeha
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha8.9K vues
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par Padvee Academy
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Padvee Academy22.8K vues
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา par Padvee Academy
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
Padvee Academy7.4K vues
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย par Bom Anuchit
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
Bom Anuchit11.4K vues
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา par Padvee Academy
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
Padvee Academy8.2K vues
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา par Padvee Academy
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
Padvee Academy93.5K vues
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖ par Anchalee BuddhaBucha
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
ศาสนาคริสต์ par thnaporn999
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
thnaporn9996.8K vues
พุทธศาสนานิกายมหายาน par Chainarong Maharak
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
Chainarong Maharak19.7K vues
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย par Mint NutniCha
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
Mint NutniCha13.6K vues
หลักธรรม ของ นักบริหาร par Panuwat Beforetwo
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
Panuwat Beforetwo14.7K vues
ศาสนาอิสลาม par Padvee Academy
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
Padvee Academy25.1K vues

Similaire à ศาสนาเปรียบเทียบ 1

แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน par
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
329 vues22 diapositives
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน par
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
691 vues18 diapositives
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง par
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
776 vues15 diapositives
ศาสนาซิกข์ par
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์thnaporn999
3.5K vues3 diapositives
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007 par
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
4K vues46 diapositives
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม par
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมTaweedham Dhamtawee
601 vues16 diapositives

Similaire à ศาสนาเปรียบเทียบ 1(20)

แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน par Tongsamut vorasan
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน par Tongsamut vorasan
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง par พัน พัน
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ศาสนาซิกข์ par thnaporn999
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
thnaporn9993.5K vues
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007 par Dream'Es W.c.
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.4K vues
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม par Taweedham Dhamtawee
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร par niralai
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
niralai669 vues
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555 par Carzanova
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
Carzanova743 vues
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ par niralai
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
niralai5.2K vues
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555 par Panda Jing
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
Panda Jing593 vues
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร par ampy48
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ampy4812.1K vues
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด par Tongsamut vorasan
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร par guestf16531
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
guestf16531767 vues
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์ par pentanino
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
pentanino1.6K vues
แผ่นพับวันมาฆบูชา par thanaetch
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
thanaetch11.9K vues

Plus de thnaporn999

รัฐเดี่ยว รัฐรวม par
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
55.6K vues25 diapositives
บริษัท par
บริษัทบริษัท
บริษัทthnaporn999
614 vues6 diapositives
ชุด ห้างหุ้นส่วน par
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนthnaporn999
994 vues6 diapositives
ชุด สหกรณ์ par
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์thnaporn999
6K vues7 diapositives
ธุรกิจย่อย par
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยthnaporn999
1K vues7 diapositives
การค้าระหว่างประเทศ par
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
11.1K vues47 diapositives

Plus de thnaporn999(20)

รัฐเดี่ยว รัฐรวม par thnaporn999
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
thnaporn99955.6K vues
ชุด ห้างหุ้นส่วน par thnaporn999
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
thnaporn999994 vues
ชุด สหกรณ์ par thnaporn999
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์
thnaporn9996K vues
ธุรกิจย่อย par thnaporn999
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
thnaporn9991K vues
การค้าระหว่างประเทศ par thnaporn999
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
thnaporn99911.1K vues
ชุด เจ้าของเดียว par thnaporn999
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียว
thnaporn999803 vues
สาระเศรษฐศาสตร์ par thnaporn999
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์
thnaporn9991.2K vues
ชุดสัมปทาน par thnaporn999
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
thnaporn9993.9K vues
ชุดกองทุนหมู่บ้าน par thnaporn999
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
thnaporn9991K vues
ชุด รัฐวิสาหกิจ par thnaporn999
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจ
thnaporn9993.2K vues
ชุด บรรษัทข้ามชาติ par thnaporn999
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
thnaporn99916.3K vues
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ par thnaporn999
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
thnaporn9991.9K vues
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี par thnaporn999
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
thnaporn9995K vues
อุปสงค์ อุปทาน par thnaporn999
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทาน
thnaporn99919.9K vues
ศาสนาอิสลาม par thnaporn999
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
thnaporn9999.2K vues
พราหมณ์ par thnaporn999
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
thnaporn9992.2K vues
สหประชาชาติ par thnaporn999
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติ
thnaporn9995.9K vues
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย par thnaporn999
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn99988.3K vues

ศาสนาเปรียบเทียบ 1

  • 2. * เป็นลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์ *ความเกรงกลัวต่อวิญญาณ/ เทพเจ้า * คําสอนที่ศาสดานํามาเผยแผ่ สั่งสอนซึ่งมนุษย์ถือปฎิบัติ
  • 3. 1.เกิดจากความกลัว 3.เกิดความเชื่อ เลื่อมใส จงรักภักดี 4.เกิดจากมูลเหตุ คิดไตร่ตรอง 5.เกิดจากลัทธิการเมือง
  • 4. ศาสนา ลัทธิ
  • 5. ศาสนา ลัทธิ 1.เป็นสิ่งที่เกิด 1.เป็นสิ่งที่เกิดประโยชน์ ประโยชน์สุขแก่มนุษย์ สุขคนบางกลุ่ม 2.ต้องมีคําสอนเกี่ยวกับ 2. ไม่มหลักการที่ต้องมี ี ศาสนาเน้นพิธีกรรม คําสอนเกี่ยวกับศิลธรรม 3. เน้นจุดหมายสูงสุด 3. เน้นจุดมุ่งหมายของ ของชีวิตที่สัมพันธกับ ชีวิตทั้งโลกนี้และโลกหน้า รูปธรรมเท่านั้น
  • 6. ศาสนา ลัทธิ 4. ต้องมีสถาบันและ 4. มีคัมภีร์เป็นหลักการ คัมภีร์ที่สืบต่อคําสอน มีสถาบันไว้ปฎิบัติ เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เปลี่ยนแปลงได้ 5.ต้องมีพิธีกรรม 5.ไม่จําเป็นต้องมีพิธีฯ 6.คําสั่งสอนต้อง 6.ไม่มีศักดิ์สิทธิ์ผู้ถือมี ศักดิ์สิทธิ์เป็นที่สักการะ ความเห็นสอดคล้องกัน ไม่มีการสักการะบูชา
  • 7. ศาสนา ลัทธิ 7.มีศาสดาเป็นผู้เผยแผ่ 7. เจ้าลัทธิประกาศ เพียงหลักการของ ตนซึ่งเป็นทัศนะคติ ส่วนตัว 8.ต้องมีสัญลักษณ์ 8.มีสัญลักษณ์ หรือ ไม่มีก็ได้
  • 8. •คุณธรรม หมายถึง นามธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่ง เกี่ยวข้องกับจิตสํานึกของมนุษย์ที่ตระหนัก ถึงความผิดชอบชั่วดี • จริยธรรม หมายถึง ความดีงามทางสังคมมนุษย์ จําแนกแยกแยะว่าสิ่งไหนถูกและสิ่งไหนผิด ควร ไม่ควร ในการประพฤติปฏิบัติ
  • 9. คุณธรรมจริยธรรม ในการดําเนินชีวิต การดําเนิน เป้าหมาย คุณธรรม วัตถุเงินทอง จริยธรรม ความสงบ ของจิต
  • 15. พรหมัน หรือปรมาตมัน เป็นสิ่งจริงแท้ ต้นกําเนิด ชีวิต เป็นเป้าหมายของ ชีวิตที่ต้องไปให้ถึงเพื่อ รวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวกับ “พระเจ้า”
  • 16. พรหมัน เป็นสิ่งจริง แท้มีอยู่ในพระเจ้า พระพรหม ทรง สร้างมนุษย์จากส่วน ต่างๆของพระองค์จึง ออกมาเป็นวรรณะ 4
  • 17. คุณสมบัติ ดารงตนอยู่ในธรรม มี หน้าที่ ความสุภาพ จังรักภักดี ให้การศึกษา ต่อพระเจ้า มีใจสงบเย็น ประกอบศาสนพิธี บําเพ็ญทานปฏิบัติธรรม กล้าหาญอดทน ไม่ หวาดกลัวต่อภัย รับการศึกษาชั้นสูง อันตรายต่างๆ ปกครอง ป้องกันภัย ฉลาดในการแลกเปลี่ยน สิ้นค้า มีความรู้ในการ ค้าขายแลกเปลี่ยน คานวณเศรษฐกิจ สินค้า มีความสงบเสงี่ยมเจียม รับจ้าง ใช้แรงงาน ตนขยันไม่เฉื่อยชา
  • 18. อาศรม 4 ลาดับของการดาเนินชีวิต 1. 2. 3. พรหมจารี คฤหัสถ์ วนปรัสถ์ 4. วัยแรกของ วัยครองเรือน วัยสงบใจหลัง สันยาสี ชีวิต ดารงตน หลังจบ ผ่านพ้นวัย สาหรับผู้ อย่างบริสุทธิ์ การศึกษา ทางาน มีลูก ปรารถนา หมั่นใน มีงานทา เติบใหญ่ สละ ความหลุด การศึกษาเล่า แต่งงาน บ้านเข้าป่าหา พ้น รู้แจ้ง เรียนไม่ยุ่ง มีครอบครัว ความสงบใจ ในพรหมัน เกี่ยวเรื่องเพศ มีทายาท
  • 19. สัญลักษณ์ อักษรเทวนาครี อ่านว่า โอม รวมมาจาก อักษรสามตัว คือ มะ หมายถึง พระพรหม เป็นผู้สร้างสรรพสิ่ง อุ หมายถึง พระวิษณุหรือนารายณ์ เป็นผู้ คุ้มครองดูแลรักษา อะ หมายถึง พระศิวะหรืออิศวร เป็นผู้ทําลาย
  • 22. การดําเนินชีวิต ตามหลักศาสนาคริสต์ อาณาจักรของพระเจ้า เป็นเป้าหมายที่ชาวคริสต์ต้องไปให้ถึง ด้วยการดําเนินชีวิต
  • 23. บัญญัติ 10 ประการ เป็นบัญญัติที่พระเจ้าทรงประทานแก่โมเสส 1. จงนับถือพระยะโฮวาเจ้าเพียงพระองค์เดียว 2. ไม่ทําหรือเคารพรูปเคารพใดๆทั้งปวง 3. ไม่ออกนามพระเจ้าโดยไม่ควร 4. จงระลึกถึงวันสะบาโต วันบริสุทธิ์ต้อง พักผ่อนเป็นวันที่ ๗ หลังพระเจ้าสร้างสรรพสิ่ง
  • 24. บัญญัติ 10 ประการ 5. จงให้เกียรติบิดามารดา 6. อย่าฆ่าคน 7. อย่างล่วงประเวณี 8. อย่าลักทรัพย์ 9. อย่าเป็นพยานเท็จใส่ร้ายเพื่อนบ้าน 10. อย่ามีความโลภ
  • 25. ตามคัมภีร์พันธสัญญาใหม่ เน้นเรื่องความรัก ๑. จงรักพระเจ้าอย่างสุดจิตใจ และรักเพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง ๒. จงรักศัตรูและอธิษฐานเพื่อเขา ไม่แบ่งแยกดุจแสงอาทิตย์ ๓. อย่าเป็นข้าสองเจ้าบ่าวสองนาย เพราะจะเกิดความลําเอียง
  • 26. ๔. อย่าสะสมทรัพย์ไว้ในโลกนี้เท่านัน ้ จงสะสมไว้ในสวรรค์ เพราะใจจะอยู่ กับทรัพย์สมบัติด้วย ๕. อย่าวิตกว่าจะเอาอะไรดื่มกิน...แสวงหาดินแดนของ พระเจ้าก่อนแล้วพระเจ้าจะเพิ่มเติมทุกสิ่งให้เอง ๖. จงปฏิบัติอย่างที่ทานต้องการให้ผู้อื่นปฏิบัติต่อท่าน ่ ๗. จงเข้าทางประตูแคบ (สู้ชีวิต) ซึงพาไปสู่สวรรค์ได้ ่ ความลําบากสร้างคน ความสะดวกสบายทําลายคน
  • 27. ศาสนาคริสต์ เน้นเรื่องความรัก เพียงมีความรักตนเอง รักบุคคลอื่นเหมือนที่รักตนเอง และรักพระเจ้าอย่างแท้จริง เชื่อมั่นว่า ชีวิตจะประสบสุขที่พึงประสงค์ โลกพ้นจากความเลวร้าย วุ่นวายต่างๆได้
  • 28. สัญลักษณ์แห่งศาสนาคริสต์ “ ไม้กางเขน ” • ไม้กางเขนเป็นเครื่องมือ สําหรับประหาร ชีวิตนักโทษในปาเลสไตน์ สมัยโบราณนักโทษที่ถูกตัดสินประหารชีวิตจะ ถูกตรึงเข้ากับไม้กางเขนแล้วยกขึ้นตั้งให้ตากแดด ไว้จนกว่าจะตายไปด้วยความร้อนและความหิว กระหาย อย่างทุกข์ทรมาน
  • 29. สัญลักษณ์แห่งศาสนาคริสต์ “ กางเขน ” • พระเยซูผู้เสียสละ ผู้ไถ่บาปให้แก่มวลมนุษยชาติ อย่างไม่เห็นแก่ตัว รักและให้อภัยแก่ผู้ทําร้าย พระองค์ พระองค์ไม่ต่อสู้และห้ามผู้อื่นตอบโต้ “ไม้กางเขนจึงเป็นสัญลักษณ์แห่งการเสียสละ อันยิ่งใหญ่นิรนดรของ พระเยซู” ั
  • 32. การยอมจํานนในกฎระเบียบที่พระเจ้าทรง ประทานไว้ มีหลักปฏิบัติ ดังนี้ เมื่อพบกันกล่าวว่า “อัสลามูอาลัยกุม” ตอบรับว่า “อาลัยกุมมุสลาม” แล้วยื่นมือสัมผัสกัน
  • 33. ๑. ศรัทธาในองค์พระอัลเลาะฮ์เจ้า ๒. ศรัทธาในเหล่ามลาอิกะฮ์ ผู้เป็นเทพบริวาร ๓. ศรัทธาในคัมภีร์ อัลกุรอาน ๔. ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต (นบี) ๕. ศรัทธาในวันพิพากษาและโลกหน้า ๖. ศรัทธาในกฎสภาวการณ์ทุกสิ่งที่พระเจ้าสร้าง
  • 35. คือ การแสดงความเคารพต่อพระเจ้า ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ก่อนนอน เพื่อให้จิตอยู่ใกล้พระเจ้าตลอด * ด้วยยืน ก้ม กราบ เป็นศาสนกิจประจําวันที่สําคัญ ของศาสนาอิสลาม
  • 36. * ก่อนละหมาดต้องอาบน้ําละหมาดทุกครั้ง แต่ในกรณีที่ไม่มีน้ํา ใช้ฝุ่นดินที่สะอาดแทนได้ * กระทําวันละ 5 เวลาเช้าตรู่ สาย บ่าย เย็น และก่อนนอน เพื่อให้จิตอยู่ใกล้พระเจ้าตลอด
  • 37. 3. การถือศีลอด การถือศีลอดในเดือนรอมฎอน (เดือน ๙) คือการ บังคับตนงดจากการดื่มกิน หรือจิตใฝ่ต่ํา ตั้งแต่ ตะวันขึ้น จนถึงตะวันตกดิน เมื่อตะวันลับฟ้าไป แล้วก็ทาน เพียงการยังชีพเท่านั้น 4. การทําซากาต หมายถึง การบริจาคทรัพย์ เครื่องอุปโภคบริโภคของ ตน เพื่อแบ่งปันให้บุคคลอื่นในทุกรอบปี เป็นการ กระทําให้สะอาดบริสทธิ์ปราศจากมลทิน ุ
  • 38. คือ การไปแสวงบุญที่นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ใช้เวลา 2 สัปดาห์ ในรอบปี โดยการเดินรอบวิหารกาบะ จูบหินดําก้อนใหญ่
  • 39. สัญลักษณ์แห่งศาสนาอิสลาม “พระจันทร์เสี้ยวกับดาว เกิดขึ้นในยุคอาณาจักร อ๊อตโตมานเตอร์กเรืองอํานาจ ดาว เป็นสิ่งที่มแสงสว่างในตัว และเป็นเครือง ี ่ บ่งบอก ทิศทางในยามค่ําคืน ทําให้ไม่หลงทิศทาง ชีวิต จึงควรที่จะมีแสงสว่าง (ปัญญา) เป็นเครื่องส่องทางเดิน จะได้ไม่เกิดอันตรายผิดทิศหลงทาง
  • 40. สัญลักษณ์แห่งศาสนาอิสลาม “พระจันทร์เสี้ยวกับดาว เดือน เป็นสิ่งสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ มายังโลกในยามค่ําคืน และยังมีมืดมีสว่าง เหมือน เป็นการบ่งบอกชีวิตมีสว่างมีมืด ต้องรู้จักปรับตัว และทําใจ ใช้ชีวิตอย่างไม่ประมาท
  • 41. * การเข้าสุนัต หมายถึง การเข้าสู่ชีวิตตามแบบอย่างของ ท่านนบีฯ โดยการขลิบหนังหุ่มปลายอวัยวะเพศชาย เพือ ่ ความสะอาด * มีภรรยาได้ ๔ คน ด้วยความยุติธรรม เสมอภาค ในทุกคน * มีอาชีพสุจริต ไม่คดโกง ทุจริตทรัพย์สินของคนอื่น หรือฟอกเงิน
  • 42. • พระอัลเลาะฮ์ไม่รักคนเนรคุณชอบทําบาป • มีเมตตา ระงับความโกรธได้ ให้อภัยผู้อื่น ไม่ฆ่าตัวเอง • นมัสการพระอัลเลาะฮ์ และไม่สร้างสิ่งใด มาเป็นภาคีพระองค์ • จงทําดีกับผู้ให้กําเนิด ญาติ ลูกกําพร้า คนอนาถา เพื่อนบ้านทั้งใกล้ไกล
  • 45. พระเจ้าคือสัจธรรม คือผู้สร้างและสถิตย์ในทุกสิ่ง พระเจ้าปราศจากความกลัว ปราศจากภัยอันตราย พระเจ้าเป็นอมตะ เหนือการเกิดและการตาย พระเจ้าเป็นผู้ที่พร้อมสมบูรณ์ในพระองค์เอง พระนามว่า อกาลปุรุข เป้าหมาย คือ การมีสภาวะรวมเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า
  • 46. * คันด้า เป็นเครื่องหมายเกียรติยศของชาวซิกข์ คือ 1. ผม (เกศา) ไว้ผมโดยไม่ตัด ญาติผู้ใหญ่ที่เคารพ เช่นบิดามารดาตายจึงตัด
  • 47. 2. หวี (กังฆะ) จําเป็นสําหรับการรักษาเกศาให้ สะอาดและเรียบร้อย 3. กางเกงในขาสั้น (กะแช่ร่า) เป็นสัญลักษณ์ แห่งความว่องไว ปราดเปรียว สะดวก
  • 48. 4. กําไลเหล็ก (การ่า) มีพันธะผูกพันกับองค์ พระศาสดาความผูกพันต่อหมู่คณะและการ เป็นมิตรความรู้สึกของความเป็นพี่น้อง 5. ดาบ (กิรปาน) เป็นเครื่องหมายของความกล้าหาญ และการผจญภัยเป็นการแสดงออกถึงความเชื่อมั่นใน ตัวเอง และพร้อมทีจะปกป้องเกียรติของตนและผู้อื่น ่
  • 49. ศาสนาซิกข์ เกิดขึ้นท่ามกลาง ความขัดแย้งของฮินดูกับอิสลามจึงมี การรวมคําสอนที่เห็นว่าเหมาะสม ดังนี้ 1. ความสามัคคี 2. ความเสมอภาค 3.ศรัทธา 4. ความรัก ภักดี
  • 50. ๑. ตื่นแต่เช้า ก่อนรุ่งอรุณอย่างน้อยครึ่งชั่วโมง ๒. ตื่นแล้วสวดมนต์ชําระจิตใจให้สะอาด ๓. ประกอบอาชีพสุจริต 4. แบ่งส่วนรายได้ช่วยสังคม สาธารณะกุศล 5. เว้นจากสิ่งเสพติด ของมึนเมาและประพฤติ ผิดประเวณี
  • 51. ศาสนาอเทวนิยม เน้นการกระทําของมนุษย์ เพื่อเข้าถึงความจริงของโลกและชีวิต ด้วยตัวของมนุษย์เอง
  • 53. การดําเนินชีวิต ตามหลักศาสนาเต๋า “เต๋า” เป็นอุดมคติของชีวิต เป็นวิถีแห่ง ธรรมชาติอยู่กับความบริสุทธิ์ ปราศจากความ เส แสร้งอยู่ด้วยความว่างปราศจากความยึดติดสอน ให้ดําเนินชีวิตอย่างเรียบง่ายผสานกับธรรมชาติ * ทําตนให้เหมือนน้ํา รู้จักพอ รู้จักละ รู้จักวาง
  • 54. หลักการดําเนินชีวิต 1. การรู้จักตัวเองอย่างถูกต้อง 2. การรู้จักเอาชนะตัวเอง 3. การรู้จักพอด้วยตัวเอง 4. ยึดถือเต๋าเป็นอุดมคติ
  • 55. ขุมทรัพย์ของเล่าจื๊อ 3 ประการ ความรักที่แท้จริง ทําให้เกิดความ กล้าหาญ การรู้จักมัธยัสถ์ ทําให้เกิดความ อุดมสมบูรณ์ ความอ่อนน้อมถ่อมตน ไม่แข็งกระด้าง
  • 56. หยิน หยาง ความมืด ความสว่าง ความเชื่องช้า หรือ หยุดพักอยู่กับที่ ความเคลื่อนไหว ความตาย การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต อารมณ์ผันผวนปรวนแปร ความเศร้าหมอง อารมณ์มั่นคง จิตใจปลอดโปร่งใส โลก , พระจันทร์ พระอาทิตย์ ความหนาวเย็น อ่อนนุ่ม พลังทีแข็งแกร่ง ความร้อน ่ ความไม่ดี ความเศร้าหมอง ความอบอุ่น ดําเนินชีวิตอย่างเฉื่อยชาเบื่อหน่าย ดําเนินชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ และมีชีวิตชีวา
  • 58. การดําเนินชีวิต ตามหลักศาสนาขงจื๊อ จริยธรรมของขงจื๊อ อยู่ในแนวของมนุษยนิยม อยู่กันด้วยความรัก ผสานกันทั้งร่างกายและจิตใจ แสวงหาความมั่งคั่งร่ํารวยได้ แต่อย่าละเมิดคุณธรรมที่เป็นหลักจริยศาสตร์สําคัญ
  • 59. หลักจริยศาสตร์สําคัญ จงรักมนุษย์หรือมีมนุษยธรรม 1. ไม่เห็นแก่ตัว 2. มีความจริงใจ 3. มีความขยัน 4. มีความเมตตากรุณา 5. มีความสุภาพอ่อนโยน เป็นสุภาพชน
  • 60. *กษัตริย์หรือรัฐบาล ควรมีเมตตาซื่อสัตย์สุจริต ต่อขุนนางหรือประชาชน ๆ มีความจงรักภักดี *บิดามารดามีเมตตาต่อบุตรๆ มีความกตัญํู กตเวที *สามีภรรยาพึงมีความรักใคร่และซือสัตย์ต่อกัน ่ *ญาติพี่น้องพึงมีความปรองดองรักใคร่กัน *เพื่อนพึงมีความรักใคร่จริงใจต่อกัน
  • 62. การดําเนินชีวิต ตามหลักศาสนาพุทธ สอนให้บุคคลพึ่งตนเอง ด้วยการกระทํา ของตนเอง (อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ) ทําดี ได้ดี ทําชั่ว ได้ชั่ว จึงมีคํากล่าวว่า ความดีไม่มีขาย ถ้าอยากได้ต้องทําเอง ทําดีถึงทีสุดและไม่ยึดติด จิตจะถึงเป้าหมาย ่ คือ นิพพาน หมายถึงภาวะจิตที่สงบเย็นไร้จากความทุกข์
  • 63. การดําเนินชีวิตของชาวพุทธ อริยมรรค มีองค์ 8 ไตรสิกขา 1. สัมมาทิฐิ เห็นถูกต้องตามจริง 1. ปัญญาสิกขา การศึกษาฝึกฝน 2. สัมมาสังกัปปะ ความดําริชอบ ปัญญาให้เห็นทุกสิ่งตามจริง 3. สัมมาวาจา การพูดชอบ 2. ศีลสิกขา การฝึกปฏิบัติอยู่ 4. สัมมากัมมันตะ การทํางานชอบ อย่างปกติ มีความรักให้แก่กัน 5. สัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตชอบ และกัน ไม่เบียดเบียนกัน 6. สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ 3. จิตสิกขา ฝึกจิตให้สงบมีความ 7. สัมมาสติ การระลึกชอบ มั่นคงเพื่อให้เกิดปัญญา 8. สัมมาสมาธิ มีจิตตั้งมั่นชอบ
  • 64. สัปปุริสธรรม ธรรมสําหรับการพัฒนาตนสู่ความเป็นผู้เจริญ 1.ธัมมัญํุตา ความเป็นผู้รู้จักเหตุ 2.อัตถัญํุตา ความเป็นผู้รู้จักผล 3.อัตตัญํุตา ความเป็นผู้รู้จักตนเอง 4.วมัตตัญํุตา ความเป็นผู้รู้จักประมาณ
  • 65. สัปปุริสธรรม ธรรมสําหรับการพัฒนาตนสูความเป็นผู้เจริญ ่ 5.กาลัญํุตา ความเป็นผู้รู้จักกาลเวลา 6.ปริสัญํุตา ความเป็นผู้รู้จักชุมชน สังคม 7.ปุคคลปโรปรัญํุตา เป็นผู้รู้จักบุคคลอื่นๆ
  • 66. หลักมนุษยธรรม เบญจศีล เบญจธรรม ๑. เว้นจากการเบียดเบียนทําลายชีวิตสัตว์ ๑. มีเมตตา ๒. เว้นจากการลักทรัพย์ ๒. มีสัมมาอาชีพ ๓. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ๓. สังวรในกาม ๔. เว้นจากการพูดเท็จ ๔. มีสัจจะ ๕. เว้นจากการดื่มสุรา และของมึนเมา ๕. มีสติสัมปชัญญะ
  • 67. หลักเศรษฐกิจ หลักประโยชน์ปัจจุบัน ตระกูลมั่นคง ๑. ขยันในการแสวงหาทรัพย์ ๑. แสวงหาของที่หาย ๒. รู้จักเก็บออมรักษาทรัพย์ ๒. ซ่อมแซมของที่ชํารุด ๓. รู้จักคบเพื่อนที่ดีงาม ๓. รู้จักประมาณการใช้จ่าย ๔. ใช้จ่ายเหมาะสมกับฐานะ ๔. มอบอํานาจให้ผู้มีศีล
  • 68. อบายมุข ๖ ปากทางแห่งความเสื่อมความฉิบหาย ๑ ๒ ๓ ดื่มสุรา ยาเสพติด เที่ยวกลางคืน เที่ยวดูการเล่น มีความเสื่อม ดังนี้ มีความเสื่อม ดังนี้ มีความเสื่อม ดังนี้ เสียทรัพย์ ไม่รักตัว เสียทรัพย์ เสียสุขภาพ ไม่รักครอบครัว เสียงาน เสียคนทะเลาะวิวาท เสีย ไม่รักษาทรัพย์ เสียเวลา ความดีไม่ละอาย เสีย เป็นที่ระแวงของคนอื่น เสียตัวได้ง่าย สติปัญญา และมักถูกใส่ความ เสียตัว เสียชีวิตได้
  • 69. อบายมุข ๖ ปากทางแห่งความเสื่อมความฉิบหาย ๔ ๕ ๖ เล่นการพนัน คบคนชั่วเป็นมิตร เกียจคร้านทํางาน มีความเสื่อม ดังนี้ มีความเสื่อม ดังนี้ ผู้มากด้วยข้ออ้าง ชนะย่อมก่อเวร ทาให้ตนเองพลอย หนาว ร้อน เย็น แพ้ก็เสียดายทรัพย์ เป็นเช่นนั้นไปด้วย ยังเช้าอยู่ ทรัพย์ย่อมฉิบหาย เช่น นักเลง เจ้าชู้ หิว กระหายเหลือเกินเดี๋ยว ไม่มีใครเชื่อคําพูด ติดยา โกง หลอกลวง ค่อยทําก็ได้ มักถูกดูหมิ่น ทาของปลอม จึงทําให้ฉิบหายด้วย หาคนจริงใจด้วยยาก เป็นผู้ร้ายต่างๆ ประการต่างๆ
  • 71. ธรรมค้ําจุนโลก ธรรมคุ้มครองโลก หรือพรหมวิหาร หรือเทวธรรม ๑. เมตตา ความรักต่อสัตว์โลก ๑. หิริ ความละอายใจ ทุกประเภท ไม่กล้าทาชั่ว ๒. กรุณา ความสงสารสัตว์โลกที่ มีทุกข์ ช่วยเหลือตามควร ๒. โอตตัปปะ ความ ๓. มุทิตา ความยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี เกรงกลัวต่อผลของ ไม่ริษยา ความชั่วที่จะติดตามมา ๔. อุเบกขา ความมีใจเป็นกลาง
  • 72. สัญลักษณ์แห่งศาสนาพุทธ เรียกว่า ธรรมจักร ประกอบด้วย ๓ ส่วน ซึ่งใช้แทนหลักธรรม คือ ดุม สิ่งที่อยูตรงกลาง เป็นเสมือนโพธิปักขิยธรรม เป็นธรรมอัน ่ เป็นฝักฝ่ายแห่งการตรัสรู้ กํา สิ่งที่เชื่อมระหว่างดุมกับกง ที่ใช้ทั่วไปกาจะมี ๘ ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ ๘ แต่บางครั้งจะเห็นมี ๑๒ หมายถึง ปฎิจจสมุปบาท ๑๒ กง เป็นฐานของล้อ เปรียบเป็นอริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และอริยมรรค
  • 74. แบบทดสอบ เทวนิยม 1. ในศาสนาฝ่ายเทวนิยม ได้แก่ศาสนาใดบ้าง นักเรียนชอบรูปแบบการดําเนินชีวิตของศาสนาใด อธิบาย 2. หลักศรัทธา 6 ของศาสนาอิสลาม กําหนดไว้อย่างไร
  • 75. แบบทดสอบ เทวนิยม 3. ท่านเชื่อในความมีอยู่ของพระเจ้าแต่ละ ศาสนาหรือไม่ เพราะเหตุใด 4. จงบอกสัญลักษณ์ของศาสนาฝ่ายเทวนิยม มาหนึ่งศาสนา พร้อมกับความหมายอันเป็น แนวจริยธรรมที่แฝงอยู่
  • 76. แบบทดสอบ เทวนิยม 5. วรรณะ 4 ของศาสนาพราหมณ์หมายถึงอะไรบ้าง 6. อาศรม 4 เป็นการดําเนินชีวิตของศาสนาใด กําหนดไว้อย่างไร 7. ศาสนาฝ่ายเทวนิยม เน้นเกี่ยวกับเรื่องใด 8. หลักจริยธรรมใหญ่ ของศาสนาซิกข์ รวมคําสอนไว้อย่างไร
  • 77. แบบทดสอบ อเทวนิยม 1. ในคัมภีร์ เต๋า กล่าวว่าให้ท้าตัวเหมือนน้า หมายความว่าอย่างไร คุณธรรมของน้ามีอะไรบ้าง 2. หยิน หยาง แตกต่างกันอย่างไร 3. สัญลักษณ์ของศาสนาพุทธ เกี่ยวข้อง กันอย่างไร
  • 78. แบบทดสอบ อเทวนิยม 4. การด้าเนินชีวิตของชาวพุทธเกี่ยวข้อง กับสิ่งใดบ้าง 5. จงเขียนแนวคิดในการด้าเนินชีวิตของตนเอง (ไม่น้อยกว่า 10 บรรทัด /หน้ากระดาษขนาด A 4 โดยประมาณ) 6. แนวคิดของมนุษยนิยม เกี่ยวกับเรื่องใด ยึดหลักจริยธรรมใดเป็นส้าคัญ