SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
Télécharger pour lire hors ligne
4



      ระบบนิ เวศ หมายถึง หน่ วยของความสัมพันธ์ของสิงมีชวตในแหล่งทีอยูแหล่งใดแหล่งหนึง มา
                                                         ีิ              ่
จากรากศัพท์ในภาษากรีก 2 คํา คือO ikos แปลว่า บ้าน, ทีอยูอาศัย,แหล่งทีอยูของสิงมีชวต Logos
                                                       ่               ่         ีิ
แปลว่า เหตุผล, ความคิด

  •   สิงมีชวต (Organism)หมายถึง สิงทีต้องใช้พลังงานในการดํารงชีวต
            ีิ                                                      ิ
  •   ประชากร (Population)หมายถึง สิงมีชวตทังหมดทีเป็ นชนิดเดียวกัน อาศัยอยูในแหล่งทีอยู่
                                           ีิ                                   ่
      เดียวกัน ณ ช่วงเวลาเดียวกัน
  •   กลุ่มสิงมีชวต (Community) หมายถึง สิงมีชวตต่างๆ หลายชนิด มาอาศัยอยูรวมกันในบริเวณใด
                 ีิ                             ีิ                            ่
      บริเวณหนึง โดยสิงมีชวตนันๆ มีความสัมพันธ์กนโดยตรงหรือโดยทางอ้อม
                            ีิ                     ั
  •   โลกของสิงมีชวต (Biosphere) หมายถึง ระบบนิเวศหลายๆ ระบบนิเวศมารวมกัน
                    ีิ
  •   แหล่งทีอยู่ (Habitat)หมายถึง แหล่งทีอยูอาศัยของกลุ่มสิงมีชวตต่างๆ ทังบนบกและในนํ า
                                              ่                 ีิ
  •   สิงแวดล้อม (Environment)หมายถึง สิงทีมีผลต่อการดํารงชีวตของสิงมีชวต
                                                                ิ          ีิ




          4                    9 .3/4            2555                                 หน้า 1
4.1



           What about in?




      4   9 .3/4      2555   หน้า 2
( ecosystem structure)



     โครงสร้างของระบบนิเวศน์ ประกอบด้วย ส่วนทีมีชวต และ ส่วนทีไม่มชวต ซึงในการศึกษาจะ
                                                       ีิ                 ี ีิ
วิเคราะห์ขอมูลเกียวกับ ชนิด ปริมาณ สัดส่วน การกระจาย
          ้
      ส่วนที มีชีวิต( Bioptic component) ได้แก่ พืช สัตว์ และมนุ ษย์ ซึงแบ่งตามลําดับขันในการ
บริโภค ( trophic level) ได้เป็ น 3 ระดับ คือ
        1.ผูผลิต ( producers) ส่วนมากคือพืชทีสังเคราะห์แสงได้ และสิงมีชวตทีผลิตอาหารเองได้ (
            ้                                                             ีิ
autotroph) เช่น แบคทีเรีย

        2.ผูบริโภค (consumers) คือสิงมีชวตทีไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ดวยตนเอง
            ้                                   ีิ                        ้
(heterotroph) ดํารงชีวตอยู่ดวยการกิน สิงมีชวตอืน ได้แก่สตว์ต่าง ๆ ซึงแบ่งเป็ นขัน ๆ
                       ิ      ้                    ีิ         ั
         ดังนี ผูบริโภคขันที 1 : สัตว์กนพืช (herbivores)
                 ้                      ิ
                                    : สัตว์กนสัตว์ (carnivores)
                                            ิ
                                    : สัตว์กนทังสัตว์และพืช (omnivores)
                                              ิ

       3. ผูยอยสลาย ( decomposers) ได้แก่ รา แบคทีเรีย/จุลนทรีย์ อาศัยอาหารจากสิงมีชวตอืนที
            ้่                                            ิ                         ีิ
       ตายไปแล้ว โดยการย่อยสลาย สารประกอบเชิงซ้อนเหล่านัน (อินทรียสาร) เสียก่อนแล้ว จึงดูด
                                                                      ์
       ซึมส่วนทีย่อยสลายได้ไปใช้เป็ นสารอาหารบางส่วน ส่วนทีเหลือ จะปลดปล่อยออกไปสู่ดนเป็ น
                                                                                       ิ
       ประโยชน์แก่ผผลิตต่อไป
                    ู้

   ส่วนทีไม่มีชีวิต ( Abiotic component) ได้แก่ ส่วนทีไม่มชวต แบ่งออกเป็ น
                                                          ี ีิ
               1. อนินทรียสาร เช่น คาร์บอน คาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม
                           ์
   นําและออกซิเจน เป็ นต้น
               2. อินทรียสาร เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ฮิวมัส เป็ นต้น สารอินทรียเหล่านี เป็ น
                         ์                                                            ์
   สิงจําเป็ นต่อชีวต
                    ิ
               3. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น แสง อุณหภูม ิ ความชืน อากาศ ความเป็ นกรด-เบส
   ความเค็ม ความชืน ทีอยูอาศัย เป็ นต้น
                             ่




           4                      9 .3/4              2555                                    หน้า 3
4.2


         What about in?




  4   9 .3/4      2555    หน้า 4
สิงมีชวตในระดับต่างๆมีความสําคัญแบบเป็ นอาหารซึงกันและกัน [food relationship] เริมจาก
           ีิ
ผูผลิตเป็ นอาหารผูบริโภค และผูบริโภคเป็ นอาหารซึงกันและกัน ผูยอสลายได้รบพลังงานจากอาหาร
  ้                ้             ้                             ้่        ั
เป็ นอันดับสุดท้าย นันคือ สิงมีชวตในระยะต่างๆต่างมีการกินไปเป็ นทอดๆ เรียกว่า ห่วงโซ่อาหาร
                                ีิ
[food chain ] หัวลูกศรจะชีไปยังผูกนเสมอโดย
                                   ้ ิ
    ผูบริโภคอันดับที 1 คือ กินพืชโดยตรง
      ้
    ผูบริโภคอันดับที 2 คือ กินพืชเป็ นอาหาร
      ้
                             ผูบริโภคอันดับที 3 คือ กินสัตว์เป็ นอาหาร
                               ้




                                 สายใยอาหาร (Food Web)
           หมายถึง ห่วงโซ่อาหารหลาย ๆ ห่วงโซ่ ทีมีความคาบเกียวหรือสัมพันธ์กน นันคือ ใน
                                                                           ั
ธรรมชาติการกินต่อกันเป็ นทอด ๆ ในโซ่อาหาร จะมีความซับซ้อนกันมากขึน คือ มีการกินกันอย่าง
ไม่เป็ นระเบียบ
ตัวอย่าง เช่ น




        4                     9 .3/4             2555                               หน้า 5
จากแผนภาพสายใยอาหารด้านบน จะสังเกตเห็นได้ว่า ต้นข้าวทีเป็ น ผูผลิตในระบบ
                                                                                   ้
นิเวศน์นน สามารถถูกสัตว์หลายประเภทบริโภคได้ คือ มีทง วัว ตักแตน ไก่ และ ผึง และ สัตว์ที
          ั                                             ั
เป็ นผูบริโภคลําดับที 1 เหล่านัน ก็สามารถจะเป็ นเหยือของสัตว์อน และ ยังเป็ นผูบริโภคสัตว์อน ได้
       ้                                                      ื               ้           ื
เช่นกัน อาทิเช่น ไก่ สามารถจะบริโภคตักแตนได้ และในขณะเดียวกัน ไก่กมโอกาสทีจะถูกงู
                                                                         ็ ี
บริโภคได้เช่นกัน




       4                      9 .3/4              2555                                    หน้า 6
4.3


    What about in?




4          9 .3/4    2555   หน้า 7
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ งมีชีวิต

ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตในระบบนิเวศ แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะคือ
                         ีิ

1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตชนิดเดียวกัน
                            ีิ
2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตต่างชนิดกัน
                            ีิ

  เพือให้งายต่อความเข้าใจ จึงมีการใช้เครืองหมายต่อไปนีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิงมีชวตที
          ่                                                                             ีิ
                                           อาศัยรวมกัน
                                                            ่
                          + หมายถึง การได้ประโยชน์จากอีกฝายหนึง
                                                          ี ่
                            - หมายถึง การเสียประโยชน์ให้อกฝายหนึง
                        0 หมายถึง การไม่ได้ประโยชน์ แต่กไม่เสียประโยชน์
                                                        ็

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ งมีชีวิตในระบบนิ เวศแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทใหญ่ คือ

       1. การได้รบประโยชน์ ร่วมกัน (mutualism) เป็ นการอยูรวมกันของสิงมีชวต 2 ชนิดทีได้
                 ั                                       ่่              ีิ
ประโยชน์ดวยกันทังสองชนิดใช้ สัญลักษณ์ +, + เช่น
          ้
  • แมลงกับดอกไม้ แมลงดูดนําหวานจากดอกไม้เป็ นอาหาร และดอกไม้กมแมลงช่วยผสมเกสร
                                                                 ็ ี

          2. ภาวะอิ งอาศัยหรือภาวะเกือกูล (commensalism) เป็ นการอยูรวมกันของสิงมีชวตโดย
                                                                     ่่            ีิ
    ่                         ่
ทีฝายหนึงได้ประโยชน์ส่วนอีกฝายหนึง ไม่ได้ประโยชน์แต่กไม่เสียประโยชน์ (+,0) เช่น
                                                     ็
   • ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามอาศัยอยูใกล้ตวปลาฉลามและกินเศษอาหารจากปลาฉลาม ซึงปลา
                                        ่    ั
ฉลามจะไม่ได้ประโยชน์ แต่กไม่เสียประโยชน์
                            ็

          3. ฝ่ ายหนึ งได้ประโยชน์ และอีกฝ่ ายหนึ งเสียประโยชน์ ใช้สญลักษณ์ +, - ซึงแบ่งเป็ น 2
                                                                    ั
แบบ คือ
                                                              ่
           1) การล่าเหยือ (predation) เป็ นความสัมพันธ์ โดยมีฝายหนึงเป็ นผูล่า (predator) และอีก
                                                                             ้
               ่                                                ่
              ฝายหนึงเป็ นเหยือ (prey) หรือเป็ นอาหารของอีกฝาย เช่น งูกบกบ ั
                                                                         ่
           2) ภาวะปรสิต (parasitism) เป็ นความสัมพันธ์ของสิงมีชวตทีมีฝายหนึงเป็ นผู้
                                                                  ีิ
                                                         ่
              เบียดเบียน เรียกว่า ปรสิต(parasite)และอีกฝายหนึงเป็ นเจ้าของบ้าน (host)


           4                     9 .3/4             2555                                   หน้า 8
• ต้นกาฝากเช่น ฝอยทองทีขึนอยู่บนต้นไม้ใหญ่ จะดูดนําและอาหารจากต้นไม้ใหญ่
                 • หมัด เห็บ ไร พยาธิต่าง ๆ ทีอาศัยอยูกบร่างกายคนและสัตว์
                                                      ่ ั
                 • เชือโรคต่าง ๆ ทีทําให้เกิดโรคกับคนและสัตว์

        นอกจากนียังมีความสัมพันธ์แบบภาวะมีการย่อยสลาย (saprophytism) ใช้สญญลักษณ์ +, 0
                                                                               ั
เป็ นการดํารงชีพของกลุ่มผูยอย - สลายสารอินทรีย์ เช่น เห็ด รา แบคทีเรีย และจุลนทรีย์
                          ้ ่                                                ิ




          4                    9 .3/4            2555                                หน้า 9
4.4
What in it ?




       4       9 .3/4   2555   หน้า 10
วัฏจักรของนํา หมายถึง การหมุนเวียนเปลียนแปลงของนําซึงเป็ นปรากฎการณ์ทเกิดขึนเองตามธรรมชาติ
                                                                                ี
      โดยเริมต้นจากนําในแหล่งนํ าต่าง ๆ เช่น ทะเล มหาสมุทร แม่นํา ลําคลองหนอง บึง ทะเลสาบ
      จากการคายนําของพืช จากการขับถ่ายของเสียของสิงมีชวต และจากกิจกรรมต่าง ๆ ทีใช้ในการดํารงชีวตของ
                                                           ีิ                                  ิ
      มนุ ษย์ ระเหยขึนไปในบรรยากาศ กระทบความเย็นควบแน่ นเป็ นละอองนําเล็ก ๆ เป็ นก้อนเมฆ ตกลงมาเป็ น
      ฝนหรือลูกเห็บสู่พนดินไหลลงสู่แหล่งนําต่าง ๆ หมุนเวียนอยูเช่นนีเรือยไป
                       ื                                      ่




       ตัวการทีทําให้เกิ ดการหมุนเวียนของนํา
1. ความร้อนจากดวงอาทิ ตย์ ทําให้เกิดการระเหยของนําจากแหล่งนําต่าง ๆ กลายเป็ นไอนํ าขึนสู่บรรยากาศ
2. กระแสลม ช่วยทําให้นําระเหยกลายเป็ นไอได้เร็วขึน
                                                      ั
3. มนุษย์และสัตว์ ขับถ่ายของเสียออกมาในรูปของเหงือ ปสสาวะ และลมหายใจออกกลายเป็ นไอนํ าสู่
บรรยากาศ
4. พืช รากต้นไม้เปรียบเหมือนฟองนํา มีความสามารถในการดูดนํ าจากดินจํานวนมากขึนไปเก็บไว้ในส่วต่าง ๆ
ทังยอด กิง ใบ ดอก ผล และลําต้น แล้วคายนํ าสู่บรรยากาศ ไอเหล่านีจะควบแต่นและรวมกันเป็ นเมฆและตกลงมา
เป็ นฝนต่อไป




             4                    9 .3/4           2555                               หน้า 11
วัฏจักรคาร์บอน (Carbon cycle)

       คาร์บอน (Carbon) เป็ นธาตุทมีอยูในสารประกอบอินทรียเคมีทุกชนิด ดังนันวัฏจักรคาร์บอนมัก
                                   ี ่                     ์
ไปสัมพันธ์กบวัฏจักรอืน ๆในระบบนิเวศ คาร์บอน เป็ นองค์ประกอบสําคัญอย่างหนึงของ
            ั
สารอินทรียสารในสิงมีชวต เช่น คาร์โบไฮเดรด โปรตีน ไขมัน วิตามิน
          ์           ีิ

        วัฏจักรคาร์บอน หมายถึง การทีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากกอากาศถูกนําเข้าสู่สงมีชวต
                                                                                ิ ีิ
หรือออกจากสิงมีชวตคืนสู่บรรยากาศ และนํ าอีกหมุนเวียนกันไปเช่นนีไม่มทสินสุดโดย
                 ีิ                                                ี ี
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในบรรยากาศและนํ าถูกนําเข้าสู่สงมีชวต
                                                          ิ ีิ
ผ่านกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงของพืช (CO2) จะถูกเปลียนเป็ นอินทรียสารทีมีพลังงานสะสมอยู่
                          ้
ต่อมาสารอินทรียสารทีพืชสะสมไว้บางส่วนถูกถ่ายทอดไปยังผูบริโภคในระบบต่าง ๆ โดยการกิน
                                                       ้
CO2 ออกจากสิงมีชวตคืนสู่บรรยากาศและนํ าได้หลายทาง ได้แก่
                    ีิ

         1.การหายใจของพืชและสัตว์ เพือให้ได้พลังงานออกมาใช้ ทําให้คาร์บอนทีอยูในรูปของอินทรีย
                                                                              ่
สารถูกปลดปล่อยออกมาเป็ นอิสระในรูปของ CO2
         2.การย่อยสลายสิงขับถ่ายของสัตว์และซากพืชซากสัตว์ ทําให้คาร์บอนทีอยูในรูปของ
                                                                            ่
อาหารถูกปลดปล่อยออกมาเป็ นอิสระในรูปของ CO2
         3.การเผ่าไหม้ของถ่านหิน นํ ามัน และคาร์บอเนต เกิดจากการทับถมของ
ซากพืชซากสัตว์เป็ นเวลานาน
วัฏจักรของคาร์บอนสัมพันธ์กบวัฏจักรนํ าเสมอ ความสมดุลของ CO2 ในอากาศ
                          ั
เกิดจากการแลกเปลียนของ CO2 ในอากาศกับนํา ถ้าในอากาศ CO2มากเกินไป
ก็จะมีการละลายอยูในรูปของ H2CO3
                  ่
(กรดคาร์บอนิก) ดังสมาการต่อไปนี
CO2+H2O                         H2CO3




             4                   9 .3/4            2555                                หน้า 12
ปัจจัยต่างๆ ที มีความสัมพันธ์ต่อระบบนิ เวศ

    แสง ยังมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกหากินของสัตว์ต่างๆ สัตว์ส่วนใหญ่จะออกหากินเวลา
กลางวัน แต่กมสตว์อกหลายชนิดทีออกหากินเวลากลางคืน เช่น ค้างคาว นกฮูก เป็ นต้น
            ็ ีั ี

       อุณหภูมิ สิงมีชวตแต่ละชนิดจะดํารงชีวตอยูได้ในอุณหภูมประมาณ 10 – 30 องศาเซลเซียส ใน
                      ีิ                   ิ ่             ิ
ทีมีอุณหภูมสงมากหรือ - อุณหภูมตํามากจะมีสงมีชวตอาศัยอยูน้อยทังชนิดและจํานวน หรืออาจไม่ม ี
            ิู                    ิ          ิ ีิ            ่
สิงมีชวตอยูได้เลย เช่นแถบขัวโลก และบริเวณทะเลทราย ในแหล่งนําทีอุณหภูมไม่ค่อยเปลียนแปลง
       ีิ ่                                                           ิ

       แต่สงมีชวตก็มการปรับตัว เช่น ในบางฤดูกาลมีสตว์และพืชหลายชนิดต้องพักตัวหรือจําศีล เพือ
           ิ ีิ ี                                 ั
หลีกเลียงการเปลียนแปลง ดังกล่าว สัตว์ประเภทอพยพไปสู่ถนใหม่ทมีอุณหภูมเิ หมาะสมเป็ นการ
                                                        ิ     ี
ชัวคราวในบางฤดู เช่น นกนางแอ่นอพยพจากประเทศจีน มาหากินในประเทศไทยในช่วงฤดูหนาว
และอาจเลยไปถึงมาเลเซียราวเดือนกันยายนทุกปี

        สิงมีชวตจะมีรปร่างลักษณะหรือสีทสัมพันธ์กบอุณหภูมของแหล่งทีอยูเฉพาะแตกต่างกันไปด้วย
              ีิ      ู                ี         ั      ิ           ่
เช่น สุนขในประเทศทีมีอากาศหนาว จะเป็ นพันธุทมีขนยาวปุกปุย แต่ในแถบร้อนจะเป็ นพันธุขนเกรียน
         ั                                   ์ ี                                  ์
ต้นไม้เมืองหนาวก็มเี ฉพาะ เช่น ปาสน จะอยูในเขตหนาวแตกต่างจากพืชในป่าดิบชืนในเขตร้อน
                                ่        ่

          แร่ธาตุต่างๆ จะมีอยูในอากาศทีห่อหุมโลก อยูในดินและละลายอยูในนํ า แร่ธาตุทสําคัญ
                              ่             ้      ่               ่               ี
ได้แก่ ออกซิเจน คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และแร่ธาตุอนๆ เป็ นสิงจําเป็ นที
                                                                       ื
ทุกชีวตต้องการในกระบวนการดํารงชีพ แต่สงมีชวตแต่ละชนิดต้องการแร่ธาตุเหล่านีในปริมาณที
      ิ                                 ิ ีิ
แตกต่างกัน และระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีแร่ธาตุต่างๆ เป็ นองค์ประกอบในปริมาณทีแตกต่างกัน

      ความชืนในบรรยากาศจะแตกต่างกันไปในแต่ละภูมภาคของโลก และยังเปลียนเแปลงไปตาม
                                                   ิ
ฤดูกาล ความชืนมีผลต่อการระเหยของนํ าออกจากร่างกายของสิงมีชวต ทําให้จากัดชนิดและการ
                                                          ีิ        ํ
กระจายของสิงมีชวตในแหล่งทีอยูดวย
               ีิ           ่ ้




          4                     9 .3/4            2555                                หน้า 13
4.5




      4   9 .3/4   2555   หน้า 14
ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) หมายถึง การมีสงมีชวตนานาชนิด นานาพันธุใน
                                                                ิ ีิ                       ์
ระบบนิเวศอันเป็ นแหล่งทีอยูอาศัย ซึงมีมากมายและแตกต่างกันทัวโลก หรือง่ายๆ คือ การทีมีชนิดพันธุ์
                           ่
(Species) สายพันธุ์ (Genetic) และระบบนิเวศ (Ecosystem) ทีแตกต่างหลากหลายบนโลก

       ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหว่างสายพันธุ์
ระหว่างชนิดพันธุ์ และระหว่างระบบนิเวศ

         ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์ ทีเห็นได้ชดเจนทีสุด คือ ความแตกต่างระหว่าง
                                                              ั
พันธุพชและสัตว์ต่างๆ ทีใช้ในการเกษตร ความแตกต่างหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ทําให้สามารถ
     ์ ื
เลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว ตามทีต้องการได้ หากไม่มความหลากหลายของสายพันธุต่างๆ
                                                            ี                           ์
แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตําปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็ นได้ ความแตกต่างทีมีอยูในสายพันธุต่างๆ ยัง
                                                                          ่          ์
ช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุปศุสตว์ เพือให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาดได้ เช่น ไก่
                                     ์ ั
พันธุเนือ ไก่พนธุไข่ดก วัวพันธุนม และวัวพันธุเนือ เป็ นต้น
      ์       ั ์              ์             ์

         ความหลากหลายระหว่างชนิดพันธุ์ สามารถพบเห็นได้โดยทัวไปถึงความแตกต่างระหว่างพืช
และสัตว์แต่ละชนิด ไม่ว่าจะเป็ นสัตว์ทอยูใกล้ตว เช่น สุนข แมว จิงจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และ
                                       ี ่    ั        ั
                                        ่ ่
นกกระจอก เป็ นต้น หรือสิงมีชวตทีอยูในปาเขาลําเนาไพร เช่น เสือ ช้าง กวาง กระจง เก้ง ลิง ชะนี หมี
                              ีิ
และวัวแดง เป็ นต้น พืนทีธรรมชาติเป็ นแหล่งทีอยูอาศัยของสิงมีชวตทีแตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุ ษย์
                                                ่             ีิ
ได้นําเอาสิงมีชวตมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม น้อยกว่าร้อยละ 5 ของสิงมีชวต
               ีิ                                                                          ีิ
ทังหมด ในความเป็ นจริงพบว่ามนุ ษย์ได้ใช้พชเป็ นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชมีท่อลําเลียง
                                            ื
(อังกฤษ: vascular plant) ทีมีอยูทงหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทังๆ ทีประมาณร้อยละ 25 ของพืชทีมี
                                 ่ ั
ท่อลําเลียงนีสามารถนํ ามาบริโภคได้ สําหรับชนิดพันธุสตว์นน มนุ ษย์ได้นําเอาสัตว์เลียงมาเพือใช้
                                                    ์ ั ั
ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์มกระดูกสันหลังทังหมดทีมีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP
                                     ี
1995)

       ความหลากหลายระหว่างระบบนิเวศเป็ นความหลากหลายทางชีวภาพซึงซับซ้อน สามารถเห็น
                                                   ่                 ่
ได้จากความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศประเภทต่างๆ เช่น ปาดงดิบ ทุ่งหญ้า ปาชายเลน ทะเลสาบ บึง
หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศทีมนุ ษย์สร้างขึน เช่น ทุ่งนา อ่างเก็บนํา หรือ



           4                     9 .3/4            2555                                 หน้า 15
แม้กระทังชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี สิงมีชวตก็ต่างชนิดกัน และมีสภาพการอยูอาศัย
                                                      ีิ                            ่
แตกต่างกัน

          ความแตกต่างหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทําให้โลกมีถนทีอยูอาศัยเหมาะสมสําหรับ
                                                               ิ      ่
สิงมีชวตชนิดต่างๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดํารงชีวตของมนุ ษย์แตกต่างกัน หรือ
       ีิ                                                           ิ
                                                                                  ่
อีกนัยหนึงให้ 'บริการทางสิงแวดล้อม' (environmental service) ต่างกันด้วย อาทิเช่น ปาไม้ทําหน้าทีดูด
ซับนํ า ไม่ให้เกิดนํ าท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทําหน้าทีเก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจน
บริเวณปากอ่าวตืนเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝงจากกระแสลมและคลืนด้วย เป็ นต้น
                                                             ั




           4                      9 .3/4             2555                                  หน้า 16
4.6




 4    9 .3/4   2555   หน้า 17
ประชากร (population) หมายถึง กลุ่มของสิงมีชวตทีเป็ นชนิดเดียวกัน อาศัยอยูในบริเวณ
                                               ีิ                       ่
เดียวกัน ในช่วงเวลาหนึง ซึงในแต่ละบริเวณจะมีจานวนประชากรทีแตกต่างกัน
                                             ํ

ขนาดของประชากร
       ในแหล่งทีอยูแต่ละแห่งจะมีจานวนกลุ่มสิงมีชวต หรือจํานวนประชากรแตกต่างกันไป
                  ่              ํ              ีิ
                                                                       ั
การศึกษาขนาด หรือลักษณะ ความหนาแน่ นของประชากรในแหล่งทีอยูหนึงๆ มีปจจัยดังภาพ
                                                                ่




ประชากรที มีขนาดคงที

อัตราการเกิ ด + อัตรการอพยพเข้า = อัตราการตาย + อัตราการตาย


ประชากรที มีขนาดเพิ มขึน



อัตราการเกิ ด + อัตรการอพยพเข้า > อัตราการตาย + อัตราการตาย


          4                    9 .3/4           2555                                หน้า 18
ประชากรที มีขนาดลดลง

อัตราการเกิ ด + อัตรการอพยพเข้า < อัตราการตาย + อัตราการตาย



ปัญหาที เกิ ดจากการเพิ มจํานวนประชากร

      การเพิมขึนของจํานวนประชากร ในขณะทีพืนทีของประเทศยังคงเท่าเดิม ทําให้สดส่วนจํานวน
                                                                           ั
                                         ั
ประชากรต่อหน่ วยพืนที เพิมขึน ทําให้เกิดปญหาต่าง ๆ ได้แก่

การขาดแคลนพืนทีอยูอาศัย จึงเกิดการขยายชุมชนเมืองออกไปสู่ชนบท ซึงเป็ นแหล่งเพาะปลูกทางการ
                        ่
เกษตร อันอุดมสมบูรณ์ พืนทีทางการเกษตรลดลง เพาะพืนทีชนบททีอุดมสมบูรณ์ เป็ นแหล่งอู่ขาวอู่นํา
                                                                                      ้
                                          ั
แหล่งผลิตทางการเกษตร ความต้องการปจจัยสีเพิมขึน ได้แก่ อาหาร ทีอยูอาศัย ยารักษาโรค และ
                                                                     ่
                ั
เครืองนุ่ งห่ม ปจจัยสีเหล่านีได้มาจากทรัพยากรธรรมชาติ เมือประชากรเพิมมากขึนต้องเสาะหา
ทรัพยากรธรรมชาติให้ได้มากขึน เพิมการผลิตผล ผลิตให้ได้มากและรวดเร็วโดยอาศัยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทําให้ประดิษฐ์คดค้นเครืองมือ
                                                                        ิ
เครืองจักร และกรรมวิธการ ทําการเกษตรกรรม สมัยใหม่ ตลอดจนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดย
                          ี
เปลียนแปลงกระบวนการผลิต ทีทํากันในครอบครัวเป็ นการผลิตในระดับ อุตสาหกรรมผลจาก
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทําให้ทรัพยากรธรรมชาติถูกนํามาใช้อย่างมากมาย และรวดเร็วจนทําให้
ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ แร่ธาตุ นํามันเชือเพลิง มีปริมาณลดน้องลงไปมาก ผลกระทบต่อ
สิงแวดล้อม ทําให้สภาพแวดล้อมเสือมโทรมและเป็ นพิษ เกินกว่าธรรมชาติ จะแก้ไขและบําบัดให้
กลับคืนมาเหมือนเดิมได้




           4                     9 .3/4            2555                              หน้า 19

Contenu connexe

Tendances

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศSaran Srimee
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศPoonyawee Pimman
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3Tatthep Deesukon
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศgasine092
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศKru NoOk
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3kkrunuch
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย4315609
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศGreen Greenz
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์supornp13
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 

Tendances (18)

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
ใบความรู้ที่ 3.1
ใบความรู้ที่ 3.1ใบความรู้ที่ 3.1
ใบความรู้ที่ 3.1
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 

Similaire à ระบบนิเวศน์

Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Khaojaoba Apple
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2chirapa
 
ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957Myundo
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverssusera700ad
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 

Similaire à ระบบนิเวศน์ (20)

Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
File
FileFile
File
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
สิ่งแวดล้อมจากเน็ท
สิ่งแวดล้อมจากเน็ทสิ่งแวดล้อมจากเน็ท
สิ่งแวดล้อมจากเน็ท
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 

Plus de Tin Savastham

ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpoint
ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpointศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpoint
ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpointTin Savastham
 
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นTin Savastham
 
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรปการเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรปTin Savastham
 
ตอนแรกสังคม
ตอนแรกสังคมตอนแรกสังคม
ตอนแรกสังคมTin Savastham
 
บทที่ 1 เรื่อง ระบบสมการ
บทที่  1 เรื่อง ระบบสมการบทที่  1 เรื่อง ระบบสมการ
บทที่ 1 เรื่อง ระบบสมการTin Savastham
 
ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์
ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์
ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ Tin Savastham
 
ไดโอด และ ตัวต้านทาน
ไดโอด และ ตัวต้านทานไดโอด และ ตัวต้านทาน
ไดโอด และ ตัวต้านทานTin Savastham
 
ไดโอด และ ความต้านทาน
ไดโอด และ ความต้านทานไดโอด และ ความต้านทาน
ไดโอด และ ความต้านทานTin Savastham
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Tin Savastham
 

Plus de Tin Savastham (9)

ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpoint
ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpointศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpoint
ศิลปะการแสดงญี่ปุน powerpoint
 
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่นศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
ศิลปะการแสดงของญีุ่ป่น
 
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรปการเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
การเผยแพร่ศาสนาในทวีปยุโรป
 
ตอนแรกสังคม
ตอนแรกสังคมตอนแรกสังคม
ตอนแรกสังคม
 
บทที่ 1 เรื่อง ระบบสมการ
บทที่  1 เรื่อง ระบบสมการบทที่  1 เรื่อง ระบบสมการ
บทที่ 1 เรื่อง ระบบสมการ
 
ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์
ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์
ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์
 
ไดโอด และ ตัวต้านทาน
ไดโอด และ ตัวต้านทานไดโอด และ ตัวต้านทาน
ไดโอด และ ตัวต้านทาน
 
ไดโอด และ ความต้านทาน
ไดโอด และ ความต้านทานไดโอด และ ความต้านทาน
ไดโอด และ ความต้านทาน
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 

ระบบนิเวศน์

  • 1. 4 ระบบนิ เวศ หมายถึง หน่ วยของความสัมพันธ์ของสิงมีชวตในแหล่งทีอยูแหล่งใดแหล่งหนึง มา ีิ ่ จากรากศัพท์ในภาษากรีก 2 คํา คือO ikos แปลว่า บ้าน, ทีอยูอาศัย,แหล่งทีอยูของสิงมีชวต Logos ่ ่ ีิ แปลว่า เหตุผล, ความคิด • สิงมีชวต (Organism)หมายถึง สิงทีต้องใช้พลังงานในการดํารงชีวต ีิ ิ • ประชากร (Population)หมายถึง สิงมีชวตทังหมดทีเป็ นชนิดเดียวกัน อาศัยอยูในแหล่งทีอยู่ ีิ ่ เดียวกัน ณ ช่วงเวลาเดียวกัน • กลุ่มสิงมีชวต (Community) หมายถึง สิงมีชวตต่างๆ หลายชนิด มาอาศัยอยูรวมกันในบริเวณใด ีิ ีิ ่ บริเวณหนึง โดยสิงมีชวตนันๆ มีความสัมพันธ์กนโดยตรงหรือโดยทางอ้อม ีิ ั • โลกของสิงมีชวต (Biosphere) หมายถึง ระบบนิเวศหลายๆ ระบบนิเวศมารวมกัน ีิ • แหล่งทีอยู่ (Habitat)หมายถึง แหล่งทีอยูอาศัยของกลุ่มสิงมีชวตต่างๆ ทังบนบกและในนํ า ่ ีิ • สิงแวดล้อม (Environment)หมายถึง สิงทีมีผลต่อการดํารงชีวตของสิงมีชวต ิ ีิ 4 9 .3/4 2555 หน้า 1
  • 2. 4.1 What about in? 4 9 .3/4 2555 หน้า 2
  • 3. ( ecosystem structure) โครงสร้างของระบบนิเวศน์ ประกอบด้วย ส่วนทีมีชวต และ ส่วนทีไม่มชวต ซึงในการศึกษาจะ ีิ ี ีิ วิเคราะห์ขอมูลเกียวกับ ชนิด ปริมาณ สัดส่วน การกระจาย ้ ส่วนที มีชีวิต( Bioptic component) ได้แก่ พืช สัตว์ และมนุ ษย์ ซึงแบ่งตามลําดับขันในการ บริโภค ( trophic level) ได้เป็ น 3 ระดับ คือ 1.ผูผลิต ( producers) ส่วนมากคือพืชทีสังเคราะห์แสงได้ และสิงมีชวตทีผลิตอาหารเองได้ ( ้ ีิ autotroph) เช่น แบคทีเรีย 2.ผูบริโภค (consumers) คือสิงมีชวตทีไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ดวยตนเอง ้ ีิ ้ (heterotroph) ดํารงชีวตอยู่ดวยการกิน สิงมีชวตอืน ได้แก่สตว์ต่าง ๆ ซึงแบ่งเป็ นขัน ๆ ิ ้ ีิ ั ดังนี ผูบริโภคขันที 1 : สัตว์กนพืช (herbivores) ้ ิ : สัตว์กนสัตว์ (carnivores) ิ : สัตว์กนทังสัตว์และพืช (omnivores) ิ 3. ผูยอยสลาย ( decomposers) ได้แก่ รา แบคทีเรีย/จุลนทรีย์ อาศัยอาหารจากสิงมีชวตอืนที ้่ ิ ีิ ตายไปแล้ว โดยการย่อยสลาย สารประกอบเชิงซ้อนเหล่านัน (อินทรียสาร) เสียก่อนแล้ว จึงดูด ์ ซึมส่วนทีย่อยสลายได้ไปใช้เป็ นสารอาหารบางส่วน ส่วนทีเหลือ จะปลดปล่อยออกไปสู่ดนเป็ น ิ ประโยชน์แก่ผผลิตต่อไป ู้ ส่วนทีไม่มีชีวิต ( Abiotic component) ได้แก่ ส่วนทีไม่มชวต แบ่งออกเป็ น ี ีิ 1. อนินทรียสาร เช่น คาร์บอน คาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ์ นําและออกซิเจน เป็ นต้น 2. อินทรียสาร เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ฮิวมัส เป็ นต้น สารอินทรียเหล่านี เป็ น ์ ์ สิงจําเป็ นต่อชีวต ิ 3. สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น แสง อุณหภูม ิ ความชืน อากาศ ความเป็ นกรด-เบส ความเค็ม ความชืน ทีอยูอาศัย เป็ นต้น ่ 4 9 .3/4 2555 หน้า 3
  • 4. 4.2 What about in? 4 9 .3/4 2555 หน้า 4
  • 5. สิงมีชวตในระดับต่างๆมีความสําคัญแบบเป็ นอาหารซึงกันและกัน [food relationship] เริมจาก ีิ ผูผลิตเป็ นอาหารผูบริโภค และผูบริโภคเป็ นอาหารซึงกันและกัน ผูยอสลายได้รบพลังงานจากอาหาร ้ ้ ้ ้่ ั เป็ นอันดับสุดท้าย นันคือ สิงมีชวตในระยะต่างๆต่างมีการกินไปเป็ นทอดๆ เรียกว่า ห่วงโซ่อาหาร ีิ [food chain ] หัวลูกศรจะชีไปยังผูกนเสมอโดย ้ ิ ผูบริโภคอันดับที 1 คือ กินพืชโดยตรง ้ ผูบริโภคอันดับที 2 คือ กินพืชเป็ นอาหาร ้ ผูบริโภคอันดับที 3 คือ กินสัตว์เป็ นอาหาร ้ สายใยอาหาร (Food Web) หมายถึง ห่วงโซ่อาหารหลาย ๆ ห่วงโซ่ ทีมีความคาบเกียวหรือสัมพันธ์กน นันคือ ใน ั ธรรมชาติการกินต่อกันเป็ นทอด ๆ ในโซ่อาหาร จะมีความซับซ้อนกันมากขึน คือ มีการกินกันอย่าง ไม่เป็ นระเบียบ ตัวอย่าง เช่ น 4 9 .3/4 2555 หน้า 5
  • 6. จากแผนภาพสายใยอาหารด้านบน จะสังเกตเห็นได้ว่า ต้นข้าวทีเป็ น ผูผลิตในระบบ ้ นิเวศน์นน สามารถถูกสัตว์หลายประเภทบริโภคได้ คือ มีทง วัว ตักแตน ไก่ และ ผึง และ สัตว์ที ั ั เป็ นผูบริโภคลําดับที 1 เหล่านัน ก็สามารถจะเป็ นเหยือของสัตว์อน และ ยังเป็ นผูบริโภคสัตว์อน ได้ ้ ื ้ ื เช่นกัน อาทิเช่น ไก่ สามารถจะบริโภคตักแตนได้ และในขณะเดียวกัน ไก่กมโอกาสทีจะถูกงู ็ ี บริโภคได้เช่นกัน 4 9 .3/4 2555 หน้า 6
  • 7. 4.3 What about in? 4 9 .3/4 2555 หน้า 7
  • 8. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตในระบบนิเวศ แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะคือ ีิ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตชนิดเดียวกัน ีิ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิงมีชวตต่างชนิดกัน ีิ เพือให้งายต่อความเข้าใจ จึงมีการใช้เครืองหมายต่อไปนีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มสิงมีชวตที ่ ีิ อาศัยรวมกัน ่ + หมายถึง การได้ประโยชน์จากอีกฝายหนึง ี ่ - หมายถึง การเสียประโยชน์ให้อกฝายหนึง 0 หมายถึง การไม่ได้ประโยชน์ แต่กไม่เสียประโยชน์ ็ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ งมีชีวิตในระบบนิ เวศแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทใหญ่ คือ 1. การได้รบประโยชน์ ร่วมกัน (mutualism) เป็ นการอยูรวมกันของสิงมีชวต 2 ชนิดทีได้ ั ่่ ีิ ประโยชน์ดวยกันทังสองชนิดใช้ สัญลักษณ์ +, + เช่น ้ • แมลงกับดอกไม้ แมลงดูดนําหวานจากดอกไม้เป็ นอาหาร และดอกไม้กมแมลงช่วยผสมเกสร ็ ี 2. ภาวะอิ งอาศัยหรือภาวะเกือกูล (commensalism) เป็ นการอยูรวมกันของสิงมีชวตโดย ่่ ีิ ่ ่ ทีฝายหนึงได้ประโยชน์ส่วนอีกฝายหนึง ไม่ได้ประโยชน์แต่กไม่เสียประโยชน์ (+,0) เช่น ็ • ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามอาศัยอยูใกล้ตวปลาฉลามและกินเศษอาหารจากปลาฉลาม ซึงปลา ่ ั ฉลามจะไม่ได้ประโยชน์ แต่กไม่เสียประโยชน์ ็ 3. ฝ่ ายหนึ งได้ประโยชน์ และอีกฝ่ ายหนึ งเสียประโยชน์ ใช้สญลักษณ์ +, - ซึงแบ่งเป็ น 2 ั แบบ คือ ่ 1) การล่าเหยือ (predation) เป็ นความสัมพันธ์ โดยมีฝายหนึงเป็ นผูล่า (predator) และอีก ้ ่ ่ ฝายหนึงเป็ นเหยือ (prey) หรือเป็ นอาหารของอีกฝาย เช่น งูกบกบ ั ่ 2) ภาวะปรสิต (parasitism) เป็ นความสัมพันธ์ของสิงมีชวตทีมีฝายหนึงเป็ นผู้ ีิ ่ เบียดเบียน เรียกว่า ปรสิต(parasite)และอีกฝายหนึงเป็ นเจ้าของบ้าน (host) 4 9 .3/4 2555 หน้า 8
  • 9. • ต้นกาฝากเช่น ฝอยทองทีขึนอยู่บนต้นไม้ใหญ่ จะดูดนําและอาหารจากต้นไม้ใหญ่ • หมัด เห็บ ไร พยาธิต่าง ๆ ทีอาศัยอยูกบร่างกายคนและสัตว์ ่ ั • เชือโรคต่าง ๆ ทีทําให้เกิดโรคกับคนและสัตว์ นอกจากนียังมีความสัมพันธ์แบบภาวะมีการย่อยสลาย (saprophytism) ใช้สญญลักษณ์ +, 0 ั เป็ นการดํารงชีพของกลุ่มผูยอย - สลายสารอินทรีย์ เช่น เห็ด รา แบคทีเรีย และจุลนทรีย์ ้ ่ ิ 4 9 .3/4 2555 หน้า 9
  • 10. 4.4 What in it ? 4 9 .3/4 2555 หน้า 10
  • 11. วัฏจักรของนํา หมายถึง การหมุนเวียนเปลียนแปลงของนําซึงเป็ นปรากฎการณ์ทเกิดขึนเองตามธรรมชาติ ี โดยเริมต้นจากนําในแหล่งนํ าต่าง ๆ เช่น ทะเล มหาสมุทร แม่นํา ลําคลองหนอง บึง ทะเลสาบ จากการคายนําของพืช จากการขับถ่ายของเสียของสิงมีชวต และจากกิจกรรมต่าง ๆ ทีใช้ในการดํารงชีวตของ ีิ ิ มนุ ษย์ ระเหยขึนไปในบรรยากาศ กระทบความเย็นควบแน่ นเป็ นละอองนําเล็ก ๆ เป็ นก้อนเมฆ ตกลงมาเป็ น ฝนหรือลูกเห็บสู่พนดินไหลลงสู่แหล่งนําต่าง ๆ หมุนเวียนอยูเช่นนีเรือยไป ื ่ ตัวการทีทําให้เกิ ดการหมุนเวียนของนํา 1. ความร้อนจากดวงอาทิ ตย์ ทําให้เกิดการระเหยของนําจากแหล่งนําต่าง ๆ กลายเป็ นไอนํ าขึนสู่บรรยากาศ 2. กระแสลม ช่วยทําให้นําระเหยกลายเป็ นไอได้เร็วขึน ั 3. มนุษย์และสัตว์ ขับถ่ายของเสียออกมาในรูปของเหงือ ปสสาวะ และลมหายใจออกกลายเป็ นไอนํ าสู่ บรรยากาศ 4. พืช รากต้นไม้เปรียบเหมือนฟองนํา มีความสามารถในการดูดนํ าจากดินจํานวนมากขึนไปเก็บไว้ในส่วต่าง ๆ ทังยอด กิง ใบ ดอก ผล และลําต้น แล้วคายนํ าสู่บรรยากาศ ไอเหล่านีจะควบแต่นและรวมกันเป็ นเมฆและตกลงมา เป็ นฝนต่อไป 4 9 .3/4 2555 หน้า 11
  • 12. วัฏจักรคาร์บอน (Carbon cycle) คาร์บอน (Carbon) เป็ นธาตุทมีอยูในสารประกอบอินทรียเคมีทุกชนิด ดังนันวัฏจักรคาร์บอนมัก ี ่ ์ ไปสัมพันธ์กบวัฏจักรอืน ๆในระบบนิเวศ คาร์บอน เป็ นองค์ประกอบสําคัญอย่างหนึงของ ั สารอินทรียสารในสิงมีชวต เช่น คาร์โบไฮเดรด โปรตีน ไขมัน วิตามิน ์ ีิ วัฏจักรคาร์บอน หมายถึง การทีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากกอากาศถูกนําเข้าสู่สงมีชวต ิ ีิ หรือออกจากสิงมีชวตคืนสู่บรรยากาศ และนํ าอีกหมุนเวียนกันไปเช่นนีไม่มทสินสุดโดย ีิ ี ี แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในบรรยากาศและนํ าถูกนําเข้าสู่สงมีชวต ิ ีิ ผ่านกระบวนการสังเคราะห์ดวยแสงของพืช (CO2) จะถูกเปลียนเป็ นอินทรียสารทีมีพลังงานสะสมอยู่ ้ ต่อมาสารอินทรียสารทีพืชสะสมไว้บางส่วนถูกถ่ายทอดไปยังผูบริโภคในระบบต่าง ๆ โดยการกิน ้ CO2 ออกจากสิงมีชวตคืนสู่บรรยากาศและนํ าได้หลายทาง ได้แก่ ีิ 1.การหายใจของพืชและสัตว์ เพือให้ได้พลังงานออกมาใช้ ทําให้คาร์บอนทีอยูในรูปของอินทรีย ่ สารถูกปลดปล่อยออกมาเป็ นอิสระในรูปของ CO2 2.การย่อยสลายสิงขับถ่ายของสัตว์และซากพืชซากสัตว์ ทําให้คาร์บอนทีอยูในรูปของ ่ อาหารถูกปลดปล่อยออกมาเป็ นอิสระในรูปของ CO2 3.การเผ่าไหม้ของถ่านหิน นํ ามัน และคาร์บอเนต เกิดจากการทับถมของ ซากพืชซากสัตว์เป็ นเวลานาน วัฏจักรของคาร์บอนสัมพันธ์กบวัฏจักรนํ าเสมอ ความสมดุลของ CO2 ในอากาศ ั เกิดจากการแลกเปลียนของ CO2 ในอากาศกับนํา ถ้าในอากาศ CO2มากเกินไป ก็จะมีการละลายอยูในรูปของ H2CO3 ่ (กรดคาร์บอนิก) ดังสมาการต่อไปนี CO2+H2O H2CO3 4 9 .3/4 2555 หน้า 12
  • 13. ปัจจัยต่างๆ ที มีความสัมพันธ์ต่อระบบนิ เวศ แสง ยังมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกหากินของสัตว์ต่างๆ สัตว์ส่วนใหญ่จะออกหากินเวลา กลางวัน แต่กมสตว์อกหลายชนิดทีออกหากินเวลากลางคืน เช่น ค้างคาว นกฮูก เป็ นต้น ็ ีั ี อุณหภูมิ สิงมีชวตแต่ละชนิดจะดํารงชีวตอยูได้ในอุณหภูมประมาณ 10 – 30 องศาเซลเซียส ใน ีิ ิ ่ ิ ทีมีอุณหภูมสงมากหรือ - อุณหภูมตํามากจะมีสงมีชวตอาศัยอยูน้อยทังชนิดและจํานวน หรืออาจไม่ม ี ิู ิ ิ ีิ ่ สิงมีชวตอยูได้เลย เช่นแถบขัวโลก และบริเวณทะเลทราย ในแหล่งนําทีอุณหภูมไม่ค่อยเปลียนแปลง ีิ ่ ิ แต่สงมีชวตก็มการปรับตัว เช่น ในบางฤดูกาลมีสตว์และพืชหลายชนิดต้องพักตัวหรือจําศีล เพือ ิ ีิ ี ั หลีกเลียงการเปลียนแปลง ดังกล่าว สัตว์ประเภทอพยพไปสู่ถนใหม่ทมีอุณหภูมเิ หมาะสมเป็ นการ ิ ี ชัวคราวในบางฤดู เช่น นกนางแอ่นอพยพจากประเทศจีน มาหากินในประเทศไทยในช่วงฤดูหนาว และอาจเลยไปถึงมาเลเซียราวเดือนกันยายนทุกปี สิงมีชวตจะมีรปร่างลักษณะหรือสีทสัมพันธ์กบอุณหภูมของแหล่งทีอยูเฉพาะแตกต่างกันไปด้วย ีิ ู ี ั ิ ่ เช่น สุนขในประเทศทีมีอากาศหนาว จะเป็ นพันธุทมีขนยาวปุกปุย แต่ในแถบร้อนจะเป็ นพันธุขนเกรียน ั ์ ี ์ ต้นไม้เมืองหนาวก็มเี ฉพาะ เช่น ปาสน จะอยูในเขตหนาวแตกต่างจากพืชในป่าดิบชืนในเขตร้อน ่ ่ แร่ธาตุต่างๆ จะมีอยูในอากาศทีห่อหุมโลก อยูในดินและละลายอยูในนํ า แร่ธาตุทสําคัญ ่ ้ ่ ่ ี ได้แก่ ออกซิเจน คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และแร่ธาตุอนๆ เป็ นสิงจําเป็ นที ื ทุกชีวตต้องการในกระบวนการดํารงชีพ แต่สงมีชวตแต่ละชนิดต้องการแร่ธาตุเหล่านีในปริมาณที ิ ิ ีิ แตกต่างกัน และระบบนิเวศแต่ละระบบจะมีแร่ธาตุต่างๆ เป็ นองค์ประกอบในปริมาณทีแตกต่างกัน ความชืนในบรรยากาศจะแตกต่างกันไปในแต่ละภูมภาคของโลก และยังเปลียนเแปลงไปตาม ิ ฤดูกาล ความชืนมีผลต่อการระเหยของนํ าออกจากร่างกายของสิงมีชวต ทําให้จากัดชนิดและการ ีิ ํ กระจายของสิงมีชวตในแหล่งทีอยูดวย ีิ ่ ้ 4 9 .3/4 2555 หน้า 13
  • 14. 4.5 4 9 .3/4 2555 หน้า 14
  • 15. ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) หมายถึง การมีสงมีชวตนานาชนิด นานาพันธุใน ิ ีิ ์ ระบบนิเวศอันเป็ นแหล่งทีอยูอาศัย ซึงมีมากมายและแตกต่างกันทัวโลก หรือง่ายๆ คือ การทีมีชนิดพันธุ์ ่ (Species) สายพันธุ์ (Genetic) และระบบนิเวศ (Ecosystem) ทีแตกต่างหลากหลายบนโลก ความหลากหลายทางชีวภาพสามารถพิจารณาได้จากความหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ระหว่างชนิดพันธุ์ และระหว่างระบบนิเวศ ความหลากหลายทางชีวภาพระหว่างสายพันธุ์ ทีเห็นได้ชดเจนทีสุด คือ ความแตกต่างระหว่าง ั พันธุพชและสัตว์ต่างๆ ทีใช้ในการเกษตร ความแตกต่างหลากหลายระหว่างสายพันธุ์ ทําให้สามารถ ์ ื เลือกบริโภคข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว ตามทีต้องการได้ หากไม่มความหลากหลายของสายพันธุต่างๆ ี ์ แล้ว อาจจะต้องรับประทานส้มตําปูเค็มกับข้าวจ้าวก็เป็ นได้ ความแตกต่างทีมีอยูในสายพันธุต่างๆ ยัง ่ ์ ช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกสายพันธุปศุสตว์ เพือให้เหมาะสมตามความต้องการของตลาดได้ เช่น ไก่ ์ ั พันธุเนือ ไก่พนธุไข่ดก วัวพันธุนม และวัวพันธุเนือ เป็ นต้น ์ ั ์ ์ ์ ความหลากหลายระหว่างชนิดพันธุ์ สามารถพบเห็นได้โดยทัวไปถึงความแตกต่างระหว่างพืช และสัตว์แต่ละชนิด ไม่ว่าจะเป็ นสัตว์ทอยูใกล้ตว เช่น สุนข แมว จิงจก ตุ๊กแก กา นกพิราบ และ ี ่ ั ั ่ ่ นกกระจอก เป็ นต้น หรือสิงมีชวตทีอยูในปาเขาลําเนาไพร เช่น เสือ ช้าง กวาง กระจง เก้ง ลิง ชะนี หมี ีิ และวัวแดง เป็ นต้น พืนทีธรรมชาติเป็ นแหล่งทีอยูอาศัยของสิงมีชวตทีแตกต่างหลากหลาย แต่ว่ามนุ ษย์ ่ ีิ ได้นําเอาสิงมีชวตมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม น้อยกว่าร้อยละ 5 ของสิงมีชวต ีิ ีิ ทังหมด ในความเป็ นจริงพบว่ามนุ ษย์ได้ใช้พชเป็ นอาหารเพียง 3,000 ชนิด จากพืชมีท่อลําเลียง ื (อังกฤษ: vascular plant) ทีมีอยูทงหมดในโลกถึง 320,000 ชนิด ทังๆ ทีประมาณร้อยละ 25 ของพืชทีมี ่ ั ท่อลําเลียงนีสามารถนํ ามาบริโภคได้ สําหรับชนิดพันธุสตว์นน มนุ ษย์ได้นําเอาสัตว์เลียงมาเพือใช้ ์ ั ั ประโยชน์เพียง 30 ชนิด จากสัตว์มกระดูกสันหลังทังหมดทีมีในโลกประมาณ 50,000 ชนิด (UNEP ี 1995) ความหลากหลายระหว่างระบบนิเวศเป็ นความหลากหลายทางชีวภาพซึงซับซ้อน สามารถเห็น ่ ่ ได้จากความแตกต่างระหว่างระบบนิเวศประเภทต่างๆ เช่น ปาดงดิบ ทุ่งหญ้า ปาชายเลน ทะเลสาบ บึง หนอง ชายหาด แนวปะการัง ตลอดจนระบบนิเวศทีมนุ ษย์สร้างขึน เช่น ทุ่งนา อ่างเก็บนํา หรือ 4 9 .3/4 2555 หน้า 15
  • 16. แม้กระทังชุมชนเมืองของเราเอง ในระบบนิเวศเหล่านี สิงมีชวตก็ต่างชนิดกัน และมีสภาพการอยูอาศัย ีิ ่ แตกต่างกัน ความแตกต่างหลากหลายระหว่างระบบนิเวศ ทําให้โลกมีถนทีอยูอาศัยเหมาะสมสําหรับ ิ ่ สิงมีชวตชนิดต่างๆ ระบบนิเวศแต่ละประเภทให้ประโยชน์แก่การดํารงชีวตของมนุ ษย์แตกต่างกัน หรือ ีิ ิ ่ อีกนัยหนึงให้ 'บริการทางสิงแวดล้อม' (environmental service) ต่างกันด้วย อาทิเช่น ปาไม้ทําหน้าทีดูด ซับนํ า ไม่ให้เกิดนํ าท่วมและการพังทลายของดิน ส่วนป่าชายเลนทําหน้าทีเก็บตะกอนไม่ให้ไปทบถมจน บริเวณปากอ่าวตืนเขิน ตลอดจนป้องกันการกัดเซาะบริเวณชายฝงจากกระแสลมและคลืนด้วย เป็ นต้น ั 4 9 .3/4 2555 หน้า 16
  • 17. 4.6 4 9 .3/4 2555 หน้า 17
  • 18. ประชากร (population) หมายถึง กลุ่มของสิงมีชวตทีเป็ นชนิดเดียวกัน อาศัยอยูในบริเวณ ีิ ่ เดียวกัน ในช่วงเวลาหนึง ซึงในแต่ละบริเวณจะมีจานวนประชากรทีแตกต่างกัน ํ ขนาดของประชากร ในแหล่งทีอยูแต่ละแห่งจะมีจานวนกลุ่มสิงมีชวต หรือจํานวนประชากรแตกต่างกันไป ่ ํ ีิ ั การศึกษาขนาด หรือลักษณะ ความหนาแน่ นของประชากรในแหล่งทีอยูหนึงๆ มีปจจัยดังภาพ ่ ประชากรที มีขนาดคงที อัตราการเกิ ด + อัตรการอพยพเข้า = อัตราการตาย + อัตราการตาย ประชากรที มีขนาดเพิ มขึน อัตราการเกิ ด + อัตรการอพยพเข้า > อัตราการตาย + อัตราการตาย 4 9 .3/4 2555 หน้า 18
  • 19. ประชากรที มีขนาดลดลง อัตราการเกิ ด + อัตรการอพยพเข้า < อัตราการตาย + อัตราการตาย ปัญหาที เกิ ดจากการเพิ มจํานวนประชากร การเพิมขึนของจํานวนประชากร ในขณะทีพืนทีของประเทศยังคงเท่าเดิม ทําให้สดส่วนจํานวน ั ั ประชากรต่อหน่ วยพืนที เพิมขึน ทําให้เกิดปญหาต่าง ๆ ได้แก่ การขาดแคลนพืนทีอยูอาศัย จึงเกิดการขยายชุมชนเมืองออกไปสู่ชนบท ซึงเป็ นแหล่งเพาะปลูกทางการ ่ เกษตร อันอุดมสมบูรณ์ พืนทีทางการเกษตรลดลง เพาะพืนทีชนบททีอุดมสมบูรณ์ เป็ นแหล่งอู่ขาวอู่นํา ้ ั แหล่งผลิตทางการเกษตร ความต้องการปจจัยสีเพิมขึน ได้แก่ อาหาร ทีอยูอาศัย ยารักษาโรค และ ่ ั เครืองนุ่ งห่ม ปจจัยสีเหล่านีได้มาจากทรัพยากรธรรมชาติ เมือประชากรเพิมมากขึนต้องเสาะหา ทรัพยากรธรรมชาติให้ได้มากขึน เพิมการผลิตผล ผลิตให้ได้มากและรวดเร็วโดยอาศัยกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทําให้ประดิษฐ์คดค้นเครืองมือ ิ เครืองจักร และกรรมวิธการ ทําการเกษตรกรรม สมัยใหม่ ตลอดจนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดย ี เปลียนแปลงกระบวนการผลิต ทีทํากันในครอบครัวเป็ นการผลิตในระดับ อุตสาหกรรมผลจาก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทําให้ทรัพยากรธรรมชาติถูกนํามาใช้อย่างมากมาย และรวดเร็วจนทําให้ ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ แร่ธาตุ นํามันเชือเพลิง มีปริมาณลดน้องลงไปมาก ผลกระทบต่อ สิงแวดล้อม ทําให้สภาพแวดล้อมเสือมโทรมและเป็ นพิษ เกินกว่าธรรมชาติ จะแก้ไขและบําบัดให้ กลับคืนมาเหมือนเดิมได้ 4 9 .3/4 2555 หน้า 19