SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
Télécharger pour lire hors ligne
Hypothesis Testing
การตั้งสมมติฐาน
n ความหมายของสมมติฐาน (Hypothesis)
n ขอความหรือคำอธิบายเฉพาะที่ผูวิจัยคาดคะเนคำตอบตอคำถาม
ในการวิจัย โดยอาศัยแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวของ หรือ
ประสบการณ
n ขอความหรือขอสมมติซึ่งผูวิจัยคาดไวเกี่ยวกับคุณลักษณะของ
ตัวแปร หรือความสัมพันธของ 2 ตัวแปรขึ้นไป
n เปนขอสมมติชั่วคราวเพื่อเปนแนวทางในการคนควาหาขอเท็จจริง
n ขอสมมติฐานการวิจัยนั้น อาจจะถูกตอง หรืออาจจะผิดก็ได
n ถาไดรับการพิสูจนวาเปนความจริง หรือตรงกับขอเท็จจริง สมมติฐาน
นั้นก็จะกลายเปนคำอธิบายที่ถูกตอง
ประเภทของสมมติฐาน
n สมมติฐานการวิจัย
n ขอความที่แสดงถึงความ
สัมพันธของตัวแปรที่
ศึกษา
nสมมติฐานทางสถิติ
n ขอความที่เขียนเพื่อใชใน
การทดสอบสมมติฐานการ
วิจัย
n เขียนในรูปสัญลักษณทาง
คณิตศาสตรเกี่ยวกับคา
พารามิเตอรของประชากร
แหลงที่มาของสมมติฐาน
n จากประสบการณของผูวิจัย
n จากความรูของผูวิจัย
n จากเหตุและผล
n จากการเปรียบเทียบ
n จากความเชื่อหรือหลักปรัชญา
n จากขอคนพบของผูอื่น
n จากทฤษฎีและหลักการ
การเขียนสมมติฐาน
n เขียนใหอยูในรูปของความสัมพันธระหวางตัวแปร 2 ตัว
n คาดคะเนเกี่ยวกับความสัมพันธ หรือการเปรียบเทียบ เชน
n ปริมาณผูใชบริการรถไฟฟาขนสงมวลชนของสถานีผกผันกับระยะ
หางของสถานีจากศูนยกลางเมือง
n ปริมาณผูใชสวนสาธารณะขึ้นอยูกับปริมาณของตนไมใหญที่ใหรม
เงา
n สัญลักษณแสดงคาพารามิเตอร
µ (มิว) : คาเฉลี่ย
p (โรว) : สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ
σ (ซิกมา) : สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
σ2 (ซิกมา สแควร) : ความแปรปรวน
สมมติฐานทางสถิติ
n สมมติฐานไรนัยสำคัญ
n สมมติฐานที่กำหนดวาเทา
กัน ไมแตกตางกัน
หรือเทากับศูนย
n สมมติฐานศูนย
n สัญลักษณ H0
n สมมติฐานทางเลือก
n สมมติฐานที่ตรงขามกับ
สมมติฐานไรนัยสำคัญ
n สมมติฐานที่มีไวใหเลือก
n สัญลักษณ H1 , Ha
n เขียนได 2 ลักษณะ คือ
n แบบระบุทิศทาง
n แบบไมระบุทิศทาง
ตัวอยางการตั้งสมมติฐาน
n เรื่อง ผลตอบแทนจากการปลูกแตงโมในภาคเหนือ
n วัตถุประสงค เพื่อศึกษาเปรียบเทียบตนทุนผลผลิตและผลตอบแทน
จากการปลูกแตงโมในระหวางฤดูฝนและฤดูหนาว ในภาคเหนือ
n ตัวแปรอิสระ ฤดูกาล
n ตัวแปรตาม ตนทุน ผลผลิต
n สมมติฐานการวิจัย 1
แตงโมที่ปลูกในฤดูที่แตกตางกัน จะใชตนทุนสำหรับการลงทุน
ปลูกแตงโมที่แตกตางกัน
สมมติฐานทางสถิติ
Z H0 : Z µ1Z= µ2
Z H1Z:Z µ1Z≠ µ2
เมื่อ µ1 คือ ตนทุนในการปลูกแตงโมในฤดูฝน
Z µ2 คือ ตนทุนในการปลูกแตงโมในฤดูหนาว
n สมมติฐานการวิจัย 2
แตงโมที่ปลูกในฤดูที่แตกตางกันจะใหผลผลิตแตงโมที่แตกตางกัน
สมมติฐานทางสถิติ
Z H0 : Z µ1Z= µ2
Z H1Z:Z µ1Z≠ µ2
เมื่อ Z µ1 คือ ผลผลิตในการปลูกแตงโมในฤดูฝน
Z µ2 คือ ผลผลิตในการปลูกแตงโมในฤดูหนาว
n
ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน
1. กำหนดสมมติฐานทางสถิติเพื่อทดสอบ
2. เลือกสถิติที่จะนำมาใชในการทดสอบ
3. กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ หรือระดับความเชื่อมั่น
4. กำหนดขอบเขตวิกฤติ
5. คำนวณคาสถิติที่ใชในการทดสอบ
6. สรุปผลการทดสอบ
คาสถิติในการพิสูจนสมมติฐาน
n ระดับนัยสำคัญ (Level of Significance): ความนาจะเปนในการ
ปฏิเสธสมมติฐานศูนยที่เปนจริง ใชสัญลักษณ .......... โดยทั่วไปจะ
กำหนดที่ระดับ 0.01 ,0.05, 0.10
n ระดับความเชื่อมั่น (Level of Confidence): ความนาจะเปนในการ
ยอมรับสมมติฐานศูนย เทากับ 1- ระดับนัยสำคัญ
n ระดับนัยสำคัญ 0.01 จะมีระดับความเชื่อมั่น 99 %
n ขอบเขตวิกฤติ (Critical Region): ขอบเขตการปฏิเสธสมมติฐานศูนย
จะกำหนดตามระดับนัยสำคัญ
n คาวิกฤติ (Critical Value): คาที่แสดงขอบเขตวิกฤติ ซึ่งเปนจุดแบง
ระหวางขอบเขตยอมรับกับขอบเขตวิกฤติ
ความผิดพลาดในการทดสอบสมมติฐาน
n ในการทดสอบสมมติฐาน ตองอาศัยขอมูลที่ไดจากตัวอยาง (Sample)
มาสรุปผลการทดสอบ เพื่ออางอิงถึงประชากร (Population) ถา
ตัวอยางที่สุมมามีคุณสมบัติใกลเคียงกับประชากร ก็ทำใหการตัดสินใจ
มีโอกาสถูกตองมาก ถาตัวอยางที่สุมมามีคุณสมบัติตางไปจาก
ประชากรมาก ก็ทำใหการตัดสินใจผิดพลาดไดมาก
n ดังนั้น ขั้นตอนตัดสินใจยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน จึงอาจเกิดความ
ผิดพลาดไดเสมอ และบางครั้งรายแรง
n ความผิดพลาดมีอยู 2 แบบคือ
1. Type I Error
2. Type II Error
ความผิดพลาดในการทดสอบสมมติฐาน
สถานการณที่แทจริง
การตัดสินใจจากการพิสูจนสมมติฐานการตัดสินใจจากการพิสูจนสมมติฐาน
สถานการณที่แทจริง
ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0
H0 เปนจริง ไมเกิดความผิดพลาด
เกิดความผิดพลาด
Type I Error
H0 เปนเท็จ
เกิดความผิดพลาด
Type II Error
ไมเกิดความผิดพลาด
ตัวอยาง 1 (หางเดียว ดานขวา)
n บริษัทประกันภัยไดศึกษาอัตราเบี้ยประกัน ไดคาเฉลี่ยอยูที่ $1,800
แตบริษัทคิดวาคาเฉลี่ยที่แทจริงควรสูงกวานี้ จึงทำการสุมขอมูลจาก
การเคลมที่เกิดขึ้นมา 40 กรณี และคำนวณคาเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง
ไดเปน $1,950 และคา Standard Deviation $500 ถากำหนดคา
∝=0.05 ใหหาวาบริษัทควรพิจารณาอัตราเบี้ยประกันที่แตกตางจาก
$1,800 หรือไม
1. กำหนดสมมติฐานทางสถิติเพื่อทดสอบ
n H0 : µ≤1800
n H1 : µ>1800
2. เลือกสถิติที่จะนำมาใชในการทดสอบ
Z =
= 1950
= 1800
σ = 500
n = 40
3. กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ หรือระดับความเชื่อมั่น
∝=0.05
4. กำหนดขอบเขตวิกฤติที่จะปฏิเสธ H0
Z > 1.65
5. คำนวณคาสถิติที่ใชในการทดสอบ
6. สรุปผลการทดสอบ คา Z (1.897) > 1.65 จึงปฏิเสธ H0 หมายถึง
คาเฉลี่ยเบี้ยประกันจริงอยูที่ >1800
x
€
µ
€
Z =
x − µ
σ / n
=
1950 −1840
500/ 40
=1.897
1.65
0.05
1.897
ตัวอยาง 2 (หางเดียว ดานซาย)
n มหาวิทยาลัยมีนโยบายสนับสนุนใหคนหยุดการนำรถสวนตัวมาที่
วิทยาเขต โดยแจงขอมูลวาผูคนใชเวลาโดยเฉลี่ย 30 นาทีในการวน
หาที่จอดรถ แตมีคนที่ไมเชื่อจะใชเวลานานอยางที่แสดงในขอมูลดัง
กลาวและทำการศึกษาจากการที่ตนนำรถเขามาจอดในวิทยาเขต
จำนวน 5 ครั้ง และพบวาคาเฉลี่ยในการวนหาที่จอดรถของเขาคือ
20 นาที σ= 6 นาที ตองการจะพิสูจนวาขอโตแยงนี้ถูกตองหรือไม
โดยกำหนดให ∝=0.10
1. สมมติฐานทางสถิติเพื่อทดสอบ
n H0 : µ≥30
n H1 : µ<30
2. เลือกสถิติที่จะนำมาใชในการทดสอบ
Z =
= 20
= 30
σ = 6
n = 5
3. กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ หรือระดับความเชื่อมั่น
∝=0.10
4. กำหนดขอบเขตวิกฤติที่จะปฏิเสธ H0
Z < -1.28
5. คำนวณคาสถิติที่ใชในการทดสอบ
6. สรุปผลการทดสอบ คา Z (-3.727) < -1.28 จึงปฏิเสธ H0 หมาย
ถึงขอโตแยงถูกตองที่วาคาเฉลี่ยของเวลาที่วนหาที่จอดรถไมถึง 30
นาที
x
€
µ
€
Z =
x − µ
σ / n
=
20 − 30
6/ 5
= −3.727
-1.28
0.10
-3.727
ตัวอยาง 3 (สองหาง)
n จากการสำรวจใบเสร็จรับเงินจากรานคา 40 ใบ มีคาเฉลี่ย =
137.00 บาท และ σ= 30.20 บาท ตองการจะพิสูจนวาคาเฉลี่ย
ของการจับจายซื้อของแตละครั้งโดยเฉลี่ยแตกตางกับคาเฉลี่ยที่เคย
ประมาณไวที่ 150.00 บาท (∝=0.01)
1. สมมติฐานทางสถิติเพื่อทดสอบ
n H0 : µ=150
n H1 : µ≠150
€
x
2. เลือกสถิติที่จะนำมาใชในการทดสอบ
Z =
= 137
= 150
σ = 30.2
n = 40
3. กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ หรือระดับความเชื่อมั่น
∝=0.01
4. กำหนดขอบเขตวิกฤติที่จะปฏิเสธ H0
|Z| > 2.58
5. คำนวณคาสถิติที่ใชในการทดสอบ
6. สรุปผลการทดสอบ คา |Z| (|-2.722|) > 2.58 จึงปฏิเสธ H0 หมาย
ถึงคาเฉลี่ยตอใบเสร็จไมใช 150 บาท
x
€
µ
-2.58
0.005
-2.722
€
Z =
x − µ
σ / n
=
137 −150
30.2/ 40
= −2.722
2.58
0.005

Contenu connexe

En vedette

ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติguestaecfb
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1wilailukseree
 
Population
PopulationPopulation
Populationkungfoy
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 
Reporting a one-way anova
Reporting a one-way anovaReporting a one-way anova
Reporting a one-way anovaKen Plummer
 
Reporting a single linear regression in apa
Reporting a single linear regression in apaReporting a single linear regression in apa
Reporting a single linear regression in apaKen Plummer
 

En vedette (6)

ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
ตัวอย่างการเขียนสมมติฐานทางสถิติ
 
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
สถิติและคอมพิวเตอร์ 1
 
Population
PopulationPopulation
Population
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
Reporting a one-way anova
Reporting a one-way anovaReporting a one-way anova
Reporting a one-way anova
 
Reporting a single linear regression in apa
Reporting a single linear regression in apaReporting a single linear regression in apa
Reporting a single linear regression in apa
 

Plus de Thana Chirapiwat

Introduction to Statistics: Descriptive Statistics
Introduction to Statistics: Descriptive StatisticsIntroduction to Statistics: Descriptive Statistics
Introduction to Statistics: Descriptive StatisticsThana Chirapiwat
 
Inferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & RegressionInferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & RegressionThana Chirapiwat
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยThana Chirapiwat
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015Thana Chirapiwat
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015Thana Chirapiwat
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015Thana Chirapiwat
 
History & Theory of City Planning
History & Theory of City PlanningHistory & Theory of City Planning
History & Theory of City PlanningThana Chirapiwat
 

Plus de Thana Chirapiwat (15)

265201 architectural news
265201 architectural news265201 architectural news
265201 architectural news
 
Introduction to Statistics: Descriptive Statistics
Introduction to Statistics: Descriptive StatisticsIntroduction to Statistics: Descriptive Statistics
Introduction to Statistics: Descriptive Statistics
 
Inferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & RegressionInferential Statistics & Regression
Inferential Statistics & Regression
 
Presenting data
Presenting dataPresenting data
Presenting data
 
Participatory Methods
Participatory MethodsParticipatory Methods
Participatory Methods
 
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัยการอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
การอภิปรายและสรุปผลการวิจัย
 
Slide presentation
Slide presentationSlide presentation
Slide presentation
 
georeference
georeferencegeoreference
georeference
 
GIS data structure
GIS data structureGIS data structure
GIS data structure
 
Land suitability analysis
Land suitability analysisLand suitability analysis
Land suitability analysis
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 09092015
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
 
History & Theory of City Planning
History & Theory of City PlanningHistory & Theory of City Planning
History & Theory of City Planning
 
Urban Geography
Urban GeographyUrban Geography
Urban Geography
 

Hypothesis testing

  • 2. การตั้งสมมติฐาน n ความหมายของสมมติฐาน (Hypothesis) n ขอความหรือคำอธิบายเฉพาะที่ผูวิจัยคาดคะเนคำตอบตอคำถาม ในการวิจัย โดยอาศัยแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวของ หรือ ประสบการณ n ขอความหรือขอสมมติซึ่งผูวิจัยคาดไวเกี่ยวกับคุณลักษณะของ ตัวแปร หรือความสัมพันธของ 2 ตัวแปรขึ้นไป n เปนขอสมมติชั่วคราวเพื่อเปนแนวทางในการคนควาหาขอเท็จจริง n ขอสมมติฐานการวิจัยนั้น อาจจะถูกตอง หรืออาจจะผิดก็ได n ถาไดรับการพิสูจนวาเปนความจริง หรือตรงกับขอเท็จจริง สมมติฐาน นั้นก็จะกลายเปนคำอธิบายที่ถูกตอง
  • 3. ประเภทของสมมติฐาน n สมมติฐานการวิจัย n ขอความที่แสดงถึงความ สัมพันธของตัวแปรที่ ศึกษา nสมมติฐานทางสถิติ n ขอความที่เขียนเพื่อใชใน การทดสอบสมมติฐานการ วิจัย n เขียนในรูปสัญลักษณทาง คณิตศาสตรเกี่ยวกับคา พารามิเตอรของประชากร
  • 4. แหลงที่มาของสมมติฐาน n จากประสบการณของผูวิจัย n จากความรูของผูวิจัย n จากเหตุและผล n จากการเปรียบเทียบ n จากความเชื่อหรือหลักปรัชญา n จากขอคนพบของผูอื่น n จากทฤษฎีและหลักการ
  • 5. การเขียนสมมติฐาน n เขียนใหอยูในรูปของความสัมพันธระหวางตัวแปร 2 ตัว n คาดคะเนเกี่ยวกับความสัมพันธ หรือการเปรียบเทียบ เชน n ปริมาณผูใชบริการรถไฟฟาขนสงมวลชนของสถานีผกผันกับระยะ หางของสถานีจากศูนยกลางเมือง n ปริมาณผูใชสวนสาธารณะขึ้นอยูกับปริมาณของตนไมใหญที่ใหรม เงา n สัญลักษณแสดงคาพารามิเตอร µ (มิว) : คาเฉลี่ย p (โรว) : สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ σ (ซิกมา) : สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ2 (ซิกมา สแควร) : ความแปรปรวน
  • 6. สมมติฐานทางสถิติ n สมมติฐานไรนัยสำคัญ n สมมติฐานที่กำหนดวาเทา กัน ไมแตกตางกัน หรือเทากับศูนย n สมมติฐานศูนย n สัญลักษณ H0 n สมมติฐานทางเลือก n สมมติฐานที่ตรงขามกับ สมมติฐานไรนัยสำคัญ n สมมติฐานที่มีไวใหเลือก n สัญลักษณ H1 , Ha n เขียนได 2 ลักษณะ คือ n แบบระบุทิศทาง n แบบไมระบุทิศทาง
  • 7. ตัวอยางการตั้งสมมติฐาน n เรื่อง ผลตอบแทนจากการปลูกแตงโมในภาคเหนือ n วัตถุประสงค เพื่อศึกษาเปรียบเทียบตนทุนผลผลิตและผลตอบแทน จากการปลูกแตงโมในระหวางฤดูฝนและฤดูหนาว ในภาคเหนือ n ตัวแปรอิสระ ฤดูกาล n ตัวแปรตาม ตนทุน ผลผลิต n สมมติฐานการวิจัย 1 แตงโมที่ปลูกในฤดูที่แตกตางกัน จะใชตนทุนสำหรับการลงทุน ปลูกแตงโมที่แตกตางกัน สมมติฐานทางสถิติ Z H0 : Z µ1Z= µ2 Z H1Z:Z µ1Z≠ µ2 เมื่อ µ1 คือ ตนทุนในการปลูกแตงโมในฤดูฝน Z µ2 คือ ตนทุนในการปลูกแตงโมในฤดูหนาว
  • 8. n สมมติฐานการวิจัย 2 แตงโมที่ปลูกในฤดูที่แตกตางกันจะใหผลผลิตแตงโมที่แตกตางกัน สมมติฐานทางสถิติ Z H0 : Z µ1Z= µ2 Z H1Z:Z µ1Z≠ µ2 เมื่อ Z µ1 คือ ผลผลิตในการปลูกแตงโมในฤดูฝน Z µ2 คือ ผลผลิตในการปลูกแตงโมในฤดูหนาว n
  • 9. ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน 1. กำหนดสมมติฐานทางสถิติเพื่อทดสอบ 2. เลือกสถิติที่จะนำมาใชในการทดสอบ 3. กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ หรือระดับความเชื่อมั่น 4. กำหนดขอบเขตวิกฤติ 5. คำนวณคาสถิติที่ใชในการทดสอบ 6. สรุปผลการทดสอบ
  • 10. คาสถิติในการพิสูจนสมมติฐาน n ระดับนัยสำคัญ (Level of Significance): ความนาจะเปนในการ ปฏิเสธสมมติฐานศูนยที่เปนจริง ใชสัญลักษณ .......... โดยทั่วไปจะ กำหนดที่ระดับ 0.01 ,0.05, 0.10 n ระดับความเชื่อมั่น (Level of Confidence): ความนาจะเปนในการ ยอมรับสมมติฐานศูนย เทากับ 1- ระดับนัยสำคัญ n ระดับนัยสำคัญ 0.01 จะมีระดับความเชื่อมั่น 99 % n ขอบเขตวิกฤติ (Critical Region): ขอบเขตการปฏิเสธสมมติฐานศูนย จะกำหนดตามระดับนัยสำคัญ n คาวิกฤติ (Critical Value): คาที่แสดงขอบเขตวิกฤติ ซึ่งเปนจุดแบง ระหวางขอบเขตยอมรับกับขอบเขตวิกฤติ
  • 11. ความผิดพลาดในการทดสอบสมมติฐาน n ในการทดสอบสมมติฐาน ตองอาศัยขอมูลที่ไดจากตัวอยาง (Sample) มาสรุปผลการทดสอบ เพื่ออางอิงถึงประชากร (Population) ถา ตัวอยางที่สุมมามีคุณสมบัติใกลเคียงกับประชากร ก็ทำใหการตัดสินใจ มีโอกาสถูกตองมาก ถาตัวอยางที่สุมมามีคุณสมบัติตางไปจาก ประชากรมาก ก็ทำใหการตัดสินใจผิดพลาดไดมาก n ดังนั้น ขั้นตอนตัดสินใจยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน จึงอาจเกิดความ ผิดพลาดไดเสมอ และบางครั้งรายแรง n ความผิดพลาดมีอยู 2 แบบคือ 1. Type I Error 2. Type II Error
  • 12. ความผิดพลาดในการทดสอบสมมติฐาน สถานการณที่แทจริง การตัดสินใจจากการพิสูจนสมมติฐานการตัดสินใจจากการพิสูจนสมมติฐาน สถานการณที่แทจริง ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H0 H0 เปนจริง ไมเกิดความผิดพลาด เกิดความผิดพลาด Type I Error H0 เปนเท็จ เกิดความผิดพลาด Type II Error ไมเกิดความผิดพลาด
  • 13. ตัวอยาง 1 (หางเดียว ดานขวา) n บริษัทประกันภัยไดศึกษาอัตราเบี้ยประกัน ไดคาเฉลี่ยอยูที่ $1,800 แตบริษัทคิดวาคาเฉลี่ยที่แทจริงควรสูงกวานี้ จึงทำการสุมขอมูลจาก การเคลมที่เกิดขึ้นมา 40 กรณี และคำนวณคาเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง ไดเปน $1,950 และคา Standard Deviation $500 ถากำหนดคา ∝=0.05 ใหหาวาบริษัทควรพิจารณาอัตราเบี้ยประกันที่แตกตางจาก $1,800 หรือไม 1. กำหนดสมมติฐานทางสถิติเพื่อทดสอบ n H0 : µ≤1800 n H1 : µ>1800
  • 14. 2. เลือกสถิติที่จะนำมาใชในการทดสอบ Z = = 1950 = 1800 σ = 500 n = 40 3. กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ หรือระดับความเชื่อมั่น ∝=0.05 4. กำหนดขอบเขตวิกฤติที่จะปฏิเสธ H0 Z > 1.65 5. คำนวณคาสถิติที่ใชในการทดสอบ 6. สรุปผลการทดสอบ คา Z (1.897) > 1.65 จึงปฏิเสธ H0 หมายถึง คาเฉลี่ยเบี้ยประกันจริงอยูที่ >1800 x € µ € Z = x − µ σ / n = 1950 −1840 500/ 40 =1.897 1.65 0.05 1.897
  • 15. ตัวอยาง 2 (หางเดียว ดานซาย) n มหาวิทยาลัยมีนโยบายสนับสนุนใหคนหยุดการนำรถสวนตัวมาที่ วิทยาเขต โดยแจงขอมูลวาผูคนใชเวลาโดยเฉลี่ย 30 นาทีในการวน หาที่จอดรถ แตมีคนที่ไมเชื่อจะใชเวลานานอยางที่แสดงในขอมูลดัง กลาวและทำการศึกษาจากการที่ตนนำรถเขามาจอดในวิทยาเขต จำนวน 5 ครั้ง และพบวาคาเฉลี่ยในการวนหาที่จอดรถของเขาคือ 20 นาที σ= 6 นาที ตองการจะพิสูจนวาขอโตแยงนี้ถูกตองหรือไม โดยกำหนดให ∝=0.10 1. สมมติฐานทางสถิติเพื่อทดสอบ n H0 : µ≥30 n H1 : µ<30
  • 16. 2. เลือกสถิติที่จะนำมาใชในการทดสอบ Z = = 20 = 30 σ = 6 n = 5 3. กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ หรือระดับความเชื่อมั่น ∝=0.10 4. กำหนดขอบเขตวิกฤติที่จะปฏิเสธ H0 Z < -1.28 5. คำนวณคาสถิติที่ใชในการทดสอบ 6. สรุปผลการทดสอบ คา Z (-3.727) < -1.28 จึงปฏิเสธ H0 หมาย ถึงขอโตแยงถูกตองที่วาคาเฉลี่ยของเวลาที่วนหาที่จอดรถไมถึง 30 นาที x € µ € Z = x − µ σ / n = 20 − 30 6/ 5 = −3.727 -1.28 0.10 -3.727
  • 17. ตัวอยาง 3 (สองหาง) n จากการสำรวจใบเสร็จรับเงินจากรานคา 40 ใบ มีคาเฉลี่ย = 137.00 บาท และ σ= 30.20 บาท ตองการจะพิสูจนวาคาเฉลี่ย ของการจับจายซื้อของแตละครั้งโดยเฉลี่ยแตกตางกับคาเฉลี่ยที่เคย ประมาณไวที่ 150.00 บาท (∝=0.01) 1. สมมติฐานทางสถิติเพื่อทดสอบ n H0 : µ=150 n H1 : µ≠150 € x
  • 18. 2. เลือกสถิติที่จะนำมาใชในการทดสอบ Z = = 137 = 150 σ = 30.2 n = 40 3. กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ หรือระดับความเชื่อมั่น ∝=0.01 4. กำหนดขอบเขตวิกฤติที่จะปฏิเสธ H0 |Z| > 2.58 5. คำนวณคาสถิติที่ใชในการทดสอบ 6. สรุปผลการทดสอบ คา |Z| (|-2.722|) > 2.58 จึงปฏิเสธ H0 หมาย ถึงคาเฉลี่ยตอใบเสร็จไมใช 150 บาท x € µ -2.58 0.005 -2.722 € Z = x − µ σ / n = 137 −150 30.2/ 40 = −2.722 2.58 0.005