อารยธรรมอินเดีย

อารยธรรมอินเดีย
อ.ปรางค์สุวรรณ ศักดิ์โสภณกุล
อารยธรรมอินเดีย
อินเดีย เป็นต้นสายธารทางวัฒนธรรมของชาติตะวันออก (ชนชาติในทวีป
เอเชีย) หลายชาติ เป็นแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของโลก บางทีเรียกว่า
“แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ” (Indus Civilization)
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคโลหะของอินเดียเริ่มเมื่อผู้คนรู้จักใช้ทองแดงและ
สาริด เมื่อประมาณ 2,500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช และรู้จักใช้เหล็กในเวลาต่อมา พบ
หลักฐานเป็นซากเมืองโบราณ 2 แห่ง ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าสินธุ คือ
Mohenjodaro
เมืองโมเฮนโจดาโร ทางตอนใต้ของประเทศปากีสถาน
Harappa
เมืองฮารัปปา ในแคว้นปันจาป ประเทศปากีสถานในปัจจุบัน
สมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ
สมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ (ประมาณ 2,500-1,500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช) ถือว่าเป็น
สมัยอารยธรรม “กึ่งก่อนประวัติศาสตร์” เพราะมีการค้นพบหลักฐานจารึกเป็นตัวอักษรโบราณ
แล้วแต่ยังไม่มีผู้ใดอ่านออก และไม่แน่ใจว่าเป็นตัวอักษรหรือภาษาเขียนจริงหรือไม่
ศูนย์กลางความเจริญอยู่ที่เมืองโมเฮนโจดาโร และเมืองฮารัปปา ริมฝั่งแม่น้าสินธุประเทศ
ปากีสถานในปัจจุบัน สันนิษฐานว่าเป็นอารยธรรมของชนพื้นเมืองเดิม ที่เรียกว่า “ทราวิฑ” หรือ
พวกดราวิเดียน (Dravidian)
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาสตร์
สมัยพระเวท (ประมาณ 1,500-600 ปีก่อนคริสต์ศักราช ) เป็นอารยธรรมของชนเผ่าอิน
โด-อารยัน ซึ่งอพยพมาจากเอเชียกลาง เข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าสินธุและคงคา
โดยขับไล่ชนพื้น เมืองทราวิฑให้ถอยร่นลงไปทางตอนใต้ของอินเดีย
สมัยพระเวทแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของศาสนาพราหมณ์ หลักฐานที่ทาให้ทราบ
เรื่องราวของยุคสมัยนี้ คือ “คัมภีร์พระเวท” ซึ่งเป็นบทสวดของพวกพราหมณ์ นอกจากนี้ยังมีบท
ประพันธ์มหากาพย์ที่ยิ่งใหญ่อีก 2 เรื่อง คือ มหากาพย์รามายณะและมหาภารตะ บางทีจึงเรียกว่า
เป็นยุคมหากาพย์
สมัยจักรวรรดิ
สมัยจักรวรรดิมคธ ตั้งอยู่บริเวณภาคตะวันออกของลุ่มน้าคงคา กษัตริย์ที่มี
ชื่อเสียงของมคธ 2 พระองค์ คือ พระเจ้าพิมพิสาร และพระเจ้าอชาตศัตรู
ในระบอบการปกครอง กษัตริย์มีพระราชอานาจสูงสุด มีขุนนางข้าราชการ
เป็นผู้ช่วย 3 ฝ่าย คือ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายตุลาการ และฝ่ายการทหาร รวมเรียกว่า มหา
มาตระ
สิ่งที่แสดงถึงอารยธรรมอันรุ่งเรืองของจักรวรรดิมคธคือ พระพุทธศาสนา
ซึ่งได้รับการอุปถัมภ์จากพระเจ้าพิมพิสารและพระเจ้าอชาตศัตรูเป็นอย่างมาก
จักรวรรดิมคธกลายเป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา ส่งผลให้พระพุทธศาสนา
ยิ่งได้รับการเผยแผ่ไปอย่างกว้างไกล ขณะเดียวกันศาสนาพราหมณ์ก็กาลังเสื่อม
ลง
สมัยจักรวรรดิ
สมัยจักรวรรดิเมารยะ (Maurya) ประมาณ
321-184 ปี ก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าจันทรคุปต์ปฐม
กษัตริย์ราชวงศ์เมารยะได้รวบรวมแว่นแคว้นใน
ดินแดนชมพูทวีปให้เป็นปึกแผ่นภายใต้จักรวรรดิที่
ยิ่งใหญ่เป็นครั้งแรกของอินเดีย
สมัยราชวงศ์เมารยะ พระพุทธศาสนาได้รับการ
อุปถัมภ์ให้เจริญรุ่งเรือง โดยเฉพาะในสมัยพระเจ้า
อโศกมหาราช(Asoka) ได้เผยแพร่พระพุทธศาสนา
ไปยังดินแดนทั้งใกล้และไกลรวมทั้งดินแดนใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งเผยแพร่เข้าสู่
แผ่นดินไทยในยุคสมัยที่ยังเป็นอาณาจักรทวารวดี
สมัยจักรวรรดิ
สมัยราชวงศ์กุษาณะ (ประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ.320) พวกกุษาณะ
(Kushana) เป็น ชนต่างชาติที่เข้ามารุกรานและตั้งอาณาจักรปกครองอินเดียทางตอนเหนือ
กษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ คือ พระเจ้ากนิษกะ รัชสมัยของพระองค์อินเดียมีความเจริญรุ่งเรืองทางด้าน
ศิลปวิทยาการแขนงต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านการแพทย์
นอกจากนั้นยังทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา (นิกายมหายาน) ให้เจริญรุ่งเรือง โดยจัดส่ง
สมณทูตไปเผยแพร่พระศาสนายังจีนและทิเบต มีการสร้างพระพุทธรูปที่มีศิลปะงดงาม และ
สร้างเจดีย์ใหญ่ที่เมืองเปชะวาร์
สมัยจักรวรรดิ
สมัยจักรวรรดิคุปตะ (Gupta) ประมาณ ค.ศ.320-550 พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 1 ต้น
ราชวงศ์คุปตะได้ทรงรวบรวมอินเดียให้เป็นจักรวรรดิอีกครั้งหนึ่ง ได้ชื่อว่าเป็นยุคทอง
ของอินเดีย มีความเจริญรุ่งเรืองในทุก ๆ ด้าน ทั้งด้านศิลปวัฒนธรรม การเมือง การ
ปกครอง ปรัชญาและศาสนา ตลอดจนการค้าขายกับต่างประเทศ
สมัยหลังราชวงศ์คุปตะ หรือยุคกลางของอินเดีย (ค.ศ.550 – 1206) เป็นยุคที่
จักรวรรดิแตกแยกเป็นแคว้นหรืออาณาจักรจานวนมากต่างมีราชวงศ์แยกปกครองกันเอง
สมัยสุลต่านแห่งเดลฮี หรืออาณาจักรเดลฮี (ค.ศ.1206-1526) เป็นยุคที่พวกมุสลิม
เข้ามาปกครองอินเดีย มีสุลต่านเป็นผู้ปกครองที่เมืองเดลฮี
สมัยจักรวรรดิ
สมัยจักรวรรดิโมกุล (Mughul) ประมาณ ค.ศ.1526 – 1858 พระเจ้าบาบูร์ ผู้ก่อตั้ง
ราชวงศ์โมกุลได้รวบรวมอินเดียให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้งหนึ่ง ได้ชื่อว่าเป็นจักรวรรดิอิสลามและ
เป็นราชวงศ์สุดท้ายของอินเดีย โดยอินเดียตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษในปี ค.ศ. 1858
กษัตริย์ราชวงศ์โมกุลที่ยิ่งใหญ่ คือ พระเจ้าอักบาร์มหาราช (Akbar) ทรงทะนุบารุง
อินเดียให้มีความเจริญรุ่งเรืองในทุก ๆ ด้าน และในสมัยของชาห์ เจฮัน (Shah Jahan) ทรง
สร้าง “ทัชมาฮัล” (Taj Mahal) ซึ่งเป็นอนุสรณ์แห่งความรัก เป็นงานสถาปัตยกรรมที่
ผสมผสานศิลปะอินเดียและเปอร์เซียที่มีความงดงามยิ่ง
Taj Mahal
• ระบบวรรณะ คัมภีร์พระเวทแบ่งคนออกเป็น 4 วรรณะ ได้แก่
1.วรรณะพราหมณ์ คือ ผู้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เชื่อว่ากาเนิดมาจากปากของพระพรหม
2.วรรณะกษัตริย์ทาหน้าที่ปกป้องประชาชนและเป็นผู้นารัฐ เชื่อว่ากาเนิดมาจากหน้าอกของพระ
พรหม
3.วรรณะแพศย์คือ ผู้ประกอบพาณิชกรรม เกษตรกรรม ซึ่งเป็นวรรณะของคนส่วนใหญ่ในสังคม
เชื่อว่ากาเนิดมาจากมือของพระพรหม
4.วรรณะศูทร คือ กรรมกร เชื่อว่ากาเนิดมาจากเท้าของพระพรหม
- ถ้ามีการแต่งงานข้ามวรรณะ บุตรที่เกิดมาจะกลายเป็น“จัณฑาล”ซึ่งเป็นที่รังเกียจของทุกวรรณะ
• ปรัชญาและลัทธิของสังคมอินเดีย
อินเดียเป็นแหล่งกาเนิดศาสนาสาคัญ ได้แก่ พระพุทธศาสนา และศาสนาเชน ซึ่ง
หลักคาสอนเป็นผลมาจากการไตร่ตรองเพื่อหาแนวทางการดาเนินชีวิตส่วนศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู หลักคาสอนมาจากการสร้างปรัชญาสนับสนุนความศรัทธาที่มีต่อพระเจ้า
ชาวอินเดียมีความเชื่อและปฏิบัติตามหลักศาสนาอย่างเคร่งครัด จึงมีวิถีชีวิต ค่านิยม
และแนวคิดสัมพันธ์กับศาสนาอย่างใกล้ชิด
• เทพเจ้าของอินเดีย
ในตอนต้นชาวอารยันนับถือเทพเจ้าที่มีอิทธิพลต่อ
ชีวิตมนุษย์เช่น ดวงอาทิตย์ฝน พายุภายหลังเกิดระบบ ชน
ชั้นขึ้นได้มีการนับถือเทพเจ้า3 องค์หรือพระตรีมูรติ ได้แก่
1.พระพรหม เชื่อว่าเป็นผู้สร้างโลกและทุกสรรพสิ่ง
2.พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ เป็นเทพผู้รักษาคุ้มครองโลก
3.พระอิศวร หรือพระศิวะเป็นเทพเจ้าสูงสุดและเป็นเทพผู้
ทาลาย
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูในบางนิกายมีความเชื่อเรื่อง
การทารุณโหดร้ายเช่น การบูชายัญ
• สถาปัตยกรรม
- ซากเมืองฮารับปาและโมเฮนโจดาโร สมัยอารยธรรมลุ่ม
แม่น้าสินธุ แสดงถึงการวางผังเมืองอย่างดีและ
สาธารณูปโภคซึ่งเน้นประโยชน์ใช้สอยมากกว่าความ
สวยงาม
- ในสมัยราชวงศ์เมารยะ มีการสร้างสถูป เสาหิน เช่น
พระสถูปที่สาญจี
- สมัยราชวงศ์กุษาณะ เกิดศิลปะขึ้น 3 แบบ คือ คันธา
ระ มถุรา และอมราวดี
- ในสมัยมุสลิม ศิลปะอินเดียจะผสมกับเปอร์เซีย เช่น ทัช
มาฮาล
• ประติมากรรม
- รุ่นแรกๆอยู่ในสมัยเมารยะ เป็นประติมากรรมลอยตัวขนาดใหญ่
แข็งกระด้าง และมีภาพสลักนูนต่าพุทธประวัติ
- พระพุทธรูปสมัยแรก คือ แบบคันธาระ ได้รับอิทธิพลจากกรีก
- พระพุทธรูปของศิลปะมถุรา ได้อิทธิพลจากคันธาระผสมกับ
ศิลปะพื้นเมือง คล้ายแบบคันธาระ แต่จะมีพระเศียรเกลี้ยง
พระพักตร์กลม จีวรบางกว่าแบบคันธาระและแนบสนิทกับลาตัว
- พระพุทธรูปในศิลปะอมราวดี เป็นแบบผสมอิทธิพลกรีก
พระพักตร์ยาว มีพระเกตุมาลาชัดเจน มีขมวดพระเกศา
ครองจีวรหนาและมักห่มเฉียง
- สมัยคุปตะ เป็นศิลปะที่แสดงถึงอินเดียอย่างแท้จริง เช่น
พระพุทธรูปปางปรินิพพานในถ้าอชันตะ แต่ในสมัยหลังคุปตะ
ประติมากรรมถูกสร้างตามกฎเกณฑ์มากขึ้น และไม่ค่อยเป็น
ธรรมชาติ
• จิตรกรรม
- จิตรกรรมสมัยเมารยะส่วนใหญ่สูญหายหมดแล้ว และ
ศิลปะอมราวดี ซึ่งเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนัง แสดงให้
เห็นถึงความงดงามอ่อนช้อย แต่ก็มีการลบเลือนไปมาก
- ยุครุ่งเรืองที่สุดของจิตรกรรมอินเดีย คือ สมัยคุปตะ
และหลังสมัยคุปตะ พบงานจิตรกรรมที่ ผนังถ้าอชันตะ
เป็นภาพเขียนในพระพุทธศาสนาแสดงถึงชาดกต่างๆ
ที่งดงามมาก ความสามารถในการวาดเส้นและการอาศัย
เงามืดบริเวณขอบภาพ ทาให้ภาพแลดูเคลื่อนไหวให้
ความรู้สึกสมจริง
• นาฏศิลป์และสังคีตศิลป์ เป็นศิลปะชั้นสูง และเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมเพื่อบูชาพระเจ้า
- นาฏศิลป์เกี่ยวกับการฟ้อนรามีต้นกาเนิดจากวัดราชสานัก และท้องถิ่น เช่น
ภารตนาฏยัม
- สังคีตศิลป์หรือการดนตรี มีบทสวดสรรเสริญเทพเจ้าเป็นแบบแผนการร้องที่เก่าแก่ที่สุด
ในสังคีตศิลป์ของอินเดียแบ่งเป็นดนตรีศาสนา ดนตรีในราชสานัก และดนตรีท้องถิ่น
เครื่องดนตรีสาคัญ คือ วีณาหรือพิณ ใช้สาหรับดีด เวณุหรือขลุ่ย และกลอง
• วรรณกรรมเริ่มจากเป็นบทสวดและท่องจาสืบต่อกันมา โดยวรรณกรรมอินเดียจะเน้นไปทาง
ศาสนา แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ
1.วรรณกรรมภาษาพระเวท ประกอบด้วย ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอาถรรพเวท
2.วรรณกรรมตันติสันสกฤต มักเป็นร้อยกรองที่เรียกว่า โศลก เรื่องสาคัญคือ มหาภารตะ และ
รามายณะ และยังมีบทละครที่มีชื่อเสียง เรื่องศกุนตลา
3.วรรณกรรมสันสกฤตฺผสม ใช้เขียนหลักธรรมทางพุทธศาสนา งานที่มีชื่อเสียงคือ พุทธจริต
4.วรรณกรรมภาษาอื่นๆ ได้แก่ ภาษาบาลี ใช้เขียนหลักธรรมทางศาสนาพุทธนิกายเถรวาท เช่น
พระไตรปิฎก
• ภาษาศาสตร์ ชาวอินเดียให้ความสนใจด้านภาษามาก มีการ
แต่งหนังสือศัพทานุกรม(โกศะ)ขึ้นหลายเล่ม เมื่อมุสลิมเติร์กเข้า
ปกครอง ได้นาเอาภาษาสันสกฤต ภาษาอารบิก และภาษาเปอร์
เชีย มาผสมกันเป็นภาษาใหม่ เรียกว่า ภาษาอูรดู ซึ่งเป็นภาษาที่
มุสลิมในอินเดียใช้พูดกันในปัจจุบัน
• ธรรมศาสตร์และนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์มีพื้นฐานมาจาก
ธรรมสูตรซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์พระเวท โดยมีหนังสือเล่ม
แรกที่รวบรวมกฎและหน้าที่เกี่ยวกับฆราวาส คือ
มานวธรรมศาสตร์ หรือ มนูสมฤติ ส่วนนิติศาสตร์หรือ
อรรถศาสตร์ ว่าด้วยการเมืองการปกครอง และการบริหาร
บ้านเมืองให้มั่งคั่ง โดยมีอรรถศาสตร์ของเกาฎิลยะ เป็นงาน
เขียนที่เกี่ยวกับการเมืองการปกครองที่สาคัญ
• แพทยศาสตร์ หลักฐานทางประวัติศาสตร์บ่งบอกว่าการแพทย์ของอินเดียมีมานานแล้ว และยังมี
หนังสือหลายเล่มกล่าวถึงวิชาการแพทย์เช่น อรรถศาสตร์ ระบุถึงการใช้ยาพิษต่างๆ
• ชโยติษ (ดาราศาสตร์ โหราศาสตร์ คณิตศาสตร์)เป็นศาสตร์ที่ใช้ประกอบพิธีกรรม โดยฤกษ์ยาม
เป็นสิ่งสาคัญมาก จึงต้องอาศัยในเรื่องของดาราศาสตร์ โหราศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพื่อ
คานวณหาตาแหน่งของดวงดาวต่างๆ นอกจากนี้ชาวอินเดียยังเป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์เลขศูนย์
ทาให้เกิดหลักหน่วย สิบ ร้อย พัน ใช้ในการคานวณอีกด้วย
1 sur 24

Recommandé

2.2 อารยธรรมอินเดีย par
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
12.1K vues69 diapositives
อารยธรรมอินเดีย par
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
4.6K vues24 diapositives
อารยธรรมอินเดีย par
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย Gain Gpk
8.3K vues83 diapositives
อารยธรรมจีน par
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
17.7K vues20 diapositives
อารยธรรมอินเดีย par
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียHercule Poirot
5.8K vues48 diapositives
อารยธรรมจีน par
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน Pannaray Kaewmarueang
8.9K vues67 diapositives

Contenu connexe

Tendances

ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ par
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
10K vues10 diapositives
อารยธรรมอินเดีย par
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียPannaray Kaewmarueang
3.4K vues50 diapositives
3.4 อารยธรรมกรีก par
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีกJitjaree Lertwilaiwittaya
11.8K vues55 diapositives
อารยธรรมจีน par
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนInfinity FonFn
7.1K vues29 diapositives
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย) par
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
11.8K vues33 diapositives
ศาสนาอิสลาม par
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
8.9K vues14 diapositives

Tendances(20)

อารยธรรมจีน par Infinity FonFn
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
Infinity FonFn7.1K vues
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย) par พัน พัน
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน11.8K vues
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10) par mintmint2540
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
mintmint25406.1K vues
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์ par 6091429
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
609142919.3K vues
ศาสนาสากล par ThanaponSuwan
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
ThanaponSuwan1.5K vues
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา par primpatcha
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha14.2K vues
อารยธรรมจีนPdf par kruchangjy
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdf
kruchangjy33.8K vues
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf par Kunnai- เบ้
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdfสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์-pdf
Kunnai- เบ้1.4K vues
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ par Supicha Ploy
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
Supicha Ploy6.4K vues
ภูมิศาสตร์ par koorimkhong
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
koorimkhong76.7K vues
ศาสนาซิกข์ par Padvee Academy
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy36.2K vues

En vedette

อารยธรรมอินเดียโบราณ par
อารยธรรมอินเดียโบราณอารยธรรมอินเดียโบราณ
อารยธรรมอินเดียโบราณPikcolo Pik
9.8K vues14 diapositives
อารยธรรมอินเดีย par
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียGain Gpk
15.1K vues83 diapositives
อารยธรรมอียิปต์ par
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ Pikcolo Pik
4.1K vues49 diapositives
อารยธรรมจีน par
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนKetsuro Yuki
9.1K vues59 diapositives
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค par
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาคอิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค6091429
12.7K vues11 diapositives
การตั้งอาณาจักร par
การตั้งอาณาจักรการตั้งอาณาจักร
การตั้งอาณาจักรPikcolo Pik
2K vues4 diapositives

En vedette(19)

อารยธรรมอินเดียโบราณ par Pikcolo Pik
อารยธรรมอินเดียโบราณอารยธรรมอินเดียโบราณ
อารยธรรมอินเดียโบราณ
Pikcolo Pik9.8K vues
อารยธรรมอินเดีย par Gain Gpk
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
Gain Gpk15.1K vues
อารยธรรมอียิปต์ par Pikcolo Pik
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์
Pikcolo Pik4.1K vues
อารยธรรมจีน par Ketsuro Yuki
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
Ketsuro Yuki9.1K vues
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค par 6091429
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาคอิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
609142912.7K vues
การตั้งอาณาจักร par Pikcolo Pik
การตั้งอาณาจักรการตั้งอาณาจักร
การตั้งอาณาจักร
Pikcolo Pik2K vues
อารยธรรมตะวันตก par Chanapa Youngmang
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
Chanapa Youngmang10.3K vues
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557) par Heritagecivil Kasetsart
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก par Anchalee BuddhaBucha
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก par 6091429
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกอิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
60914291.3K vues
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้) par Heritagecivil Kasetsart
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
ศิลปะตะวันออก (ของวันนี้)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557) par Heritagecivil Kasetsart
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมอินเดีย par Ppor Elf'ish
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
Ppor Elf'ish2.6K vues
อารยธรรมกรีก โรมัน par Jungko
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมัน
Jungko6.1K vues
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ par Napatrapee Puttarat
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะอารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ
อารยธรรมจีนโบราณนะจ๊ะ

Similaire à อารยธรรมอินเดีย

#อารยธรรมอินเดีย par
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดียPpor Elf'ish
872 vues21 diapositives
งานนำเสนอ1 par
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
618 vues15 diapositives
ศาสนาพราหมณ์ par
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์นายวินิตย์ ศรีทวี
9.3K vues46 diapositives
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูบทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูDnnaree Ny
6.9K vues133 diapositives
004 ancient indian พัชรพร par
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพรAniwat Suyata
1K vues11 diapositives
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์ par
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์NisachonKhaoprom
73 vues13 diapositives

Similaire à อารยธรรมอินเดีย(20)

#อารยธรรมอินเดีย par Ppor Elf'ish
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย
Ppor Elf'ish872 vues
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par Dnnaree Ny
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูบทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
บทที่ ๒ ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Dnnaree Ny6.9K vues
004 ancient indian พัชรพร par Aniwat Suyata
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
Aniwat Suyata1K vues
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์ par NisachonKhaoprom
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาตร์
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10 par mintmint2540
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint25401K vues
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10 par mintmint2540
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
mintmint25408.6K vues
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10 par mintmint2540
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint2540534 vues
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10 par mintmint2540
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
mintmint25401K vues
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2 par teacherhistory
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
teacherhistory3.8K vues
จังหวัดปราจีนบุรี par KKloveyou
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
KKloveyou347 vues
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย par Padvee Academy
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy11.6K vues

อารยธรรมอินเดีย

  • 2. อารยธรรมอินเดีย อินเดีย เป็นต้นสายธารทางวัฒนธรรมของชาติตะวันออก (ชนชาติในทวีป เอเชีย) หลายชาติ เป็นแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของโลก บางทีเรียกว่า “แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ” (Indus Civilization)
  • 4. อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคโลหะของอินเดียเริ่มเมื่อผู้คนรู้จักใช้ทองแดงและ สาริด เมื่อประมาณ 2,500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช และรู้จักใช้เหล็กในเวลาต่อมา พบ หลักฐานเป็นซากเมืองโบราณ 2 แห่ง ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าสินธุ คือ
  • 7. สมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ สมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้าสินธุ (ประมาณ 2,500-1,500 ปี ก่อนคริสต์ศักราช) ถือว่าเป็น สมัยอารยธรรม “กึ่งก่อนประวัติศาสตร์” เพราะมีการค้นพบหลักฐานจารึกเป็นตัวอักษรโบราณ แล้วแต่ยังไม่มีผู้ใดอ่านออก และไม่แน่ใจว่าเป็นตัวอักษรหรือภาษาเขียนจริงหรือไม่ ศูนย์กลางความเจริญอยู่ที่เมืองโมเฮนโจดาโร และเมืองฮารัปปา ริมฝั่งแม่น้าสินธุประเทศ ปากีสถานในปัจจุบัน สันนิษฐานว่าเป็นอารยธรรมของชนพื้นเมืองเดิม ที่เรียกว่า “ทราวิฑ” หรือ พวกดราวิเดียน (Dravidian)
  • 8. อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาสตร์ สมัยพระเวท (ประมาณ 1,500-600 ปีก่อนคริสต์ศักราช ) เป็นอารยธรรมของชนเผ่าอิน โด-อารยัน ซึ่งอพยพมาจากเอเชียกลาง เข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าสินธุและคงคา โดยขับไล่ชนพื้น เมืองทราวิฑให้ถอยร่นลงไปทางตอนใต้ของอินเดีย สมัยพระเวทแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของศาสนาพราหมณ์ หลักฐานที่ทาให้ทราบ เรื่องราวของยุคสมัยนี้ คือ “คัมภีร์พระเวท” ซึ่งเป็นบทสวดของพวกพราหมณ์ นอกจากนี้ยังมีบท ประพันธ์มหากาพย์ที่ยิ่งใหญ่อีก 2 เรื่อง คือ มหากาพย์รามายณะและมหาภารตะ บางทีจึงเรียกว่า เป็นยุคมหากาพย์
  • 9. สมัยจักรวรรดิ สมัยจักรวรรดิมคธ ตั้งอยู่บริเวณภาคตะวันออกของลุ่มน้าคงคา กษัตริย์ที่มี ชื่อเสียงของมคธ 2 พระองค์ คือ พระเจ้าพิมพิสาร และพระเจ้าอชาตศัตรู ในระบอบการปกครอง กษัตริย์มีพระราชอานาจสูงสุด มีขุนนางข้าราชการ เป็นผู้ช่วย 3 ฝ่าย คือ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายตุลาการ และฝ่ายการทหาร รวมเรียกว่า มหา มาตระ สิ่งที่แสดงถึงอารยธรรมอันรุ่งเรืองของจักรวรรดิมคธคือ พระพุทธศาสนา ซึ่งได้รับการอุปถัมภ์จากพระเจ้าพิมพิสารและพระเจ้าอชาตศัตรูเป็นอย่างมาก จักรวรรดิมคธกลายเป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา ส่งผลให้พระพุทธศาสนา ยิ่งได้รับการเผยแผ่ไปอย่างกว้างไกล ขณะเดียวกันศาสนาพราหมณ์ก็กาลังเสื่อม ลง
  • 10. สมัยจักรวรรดิ สมัยจักรวรรดิเมารยะ (Maurya) ประมาณ 321-184 ปี ก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าจันทรคุปต์ปฐม กษัตริย์ราชวงศ์เมารยะได้รวบรวมแว่นแคว้นใน ดินแดนชมพูทวีปให้เป็นปึกแผ่นภายใต้จักรวรรดิที่ ยิ่งใหญ่เป็นครั้งแรกของอินเดีย สมัยราชวงศ์เมารยะ พระพุทธศาสนาได้รับการ อุปถัมภ์ให้เจริญรุ่งเรือง โดยเฉพาะในสมัยพระเจ้า อโศกมหาราช(Asoka) ได้เผยแพร่พระพุทธศาสนา ไปยังดินแดนทั้งใกล้และไกลรวมทั้งดินแดนใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งเผยแพร่เข้าสู่ แผ่นดินไทยในยุคสมัยที่ยังเป็นอาณาจักรทวารวดี
  • 11. สมัยจักรวรรดิ สมัยราชวงศ์กุษาณะ (ประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ.320) พวกกุษาณะ (Kushana) เป็น ชนต่างชาติที่เข้ามารุกรานและตั้งอาณาจักรปกครองอินเดียทางตอนเหนือ กษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ คือ พระเจ้ากนิษกะ รัชสมัยของพระองค์อินเดียมีความเจริญรุ่งเรืองทางด้าน ศิลปวิทยาการแขนงต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านการแพทย์ นอกจากนั้นยังทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา (นิกายมหายาน) ให้เจริญรุ่งเรือง โดยจัดส่ง สมณทูตไปเผยแพร่พระศาสนายังจีนและทิเบต มีการสร้างพระพุทธรูปที่มีศิลปะงดงาม และ สร้างเจดีย์ใหญ่ที่เมืองเปชะวาร์
  • 12. สมัยจักรวรรดิ สมัยจักรวรรดิคุปตะ (Gupta) ประมาณ ค.ศ.320-550 พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 1 ต้น ราชวงศ์คุปตะได้ทรงรวบรวมอินเดียให้เป็นจักรวรรดิอีกครั้งหนึ่ง ได้ชื่อว่าเป็นยุคทอง ของอินเดีย มีความเจริญรุ่งเรืองในทุก ๆ ด้าน ทั้งด้านศิลปวัฒนธรรม การเมือง การ ปกครอง ปรัชญาและศาสนา ตลอดจนการค้าขายกับต่างประเทศ สมัยหลังราชวงศ์คุปตะ หรือยุคกลางของอินเดีย (ค.ศ.550 – 1206) เป็นยุคที่ จักรวรรดิแตกแยกเป็นแคว้นหรืออาณาจักรจานวนมากต่างมีราชวงศ์แยกปกครองกันเอง สมัยสุลต่านแห่งเดลฮี หรืออาณาจักรเดลฮี (ค.ศ.1206-1526) เป็นยุคที่พวกมุสลิม เข้ามาปกครองอินเดีย มีสุลต่านเป็นผู้ปกครองที่เมืองเดลฮี
  • 13. สมัยจักรวรรดิ สมัยจักรวรรดิโมกุล (Mughul) ประมาณ ค.ศ.1526 – 1858 พระเจ้าบาบูร์ ผู้ก่อตั้ง ราชวงศ์โมกุลได้รวบรวมอินเดียให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้งหนึ่ง ได้ชื่อว่าเป็นจักรวรรดิอิสลามและ เป็นราชวงศ์สุดท้ายของอินเดีย โดยอินเดียตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษในปี ค.ศ. 1858 กษัตริย์ราชวงศ์โมกุลที่ยิ่งใหญ่ คือ พระเจ้าอักบาร์มหาราช (Akbar) ทรงทะนุบารุง อินเดียให้มีความเจริญรุ่งเรืองในทุก ๆ ด้าน และในสมัยของชาห์ เจฮัน (Shah Jahan) ทรง สร้าง “ทัชมาฮัล” (Taj Mahal) ซึ่งเป็นอนุสรณ์แห่งความรัก เป็นงานสถาปัตยกรรมที่ ผสมผสานศิลปะอินเดียและเปอร์เซียที่มีความงดงามยิ่ง
  • 15. • ระบบวรรณะ คัมภีร์พระเวทแบ่งคนออกเป็น 4 วรรณะ ได้แก่ 1.วรรณะพราหมณ์ คือ ผู้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เชื่อว่ากาเนิดมาจากปากของพระพรหม 2.วรรณะกษัตริย์ทาหน้าที่ปกป้องประชาชนและเป็นผู้นารัฐ เชื่อว่ากาเนิดมาจากหน้าอกของพระ พรหม 3.วรรณะแพศย์คือ ผู้ประกอบพาณิชกรรม เกษตรกรรม ซึ่งเป็นวรรณะของคนส่วนใหญ่ในสังคม เชื่อว่ากาเนิดมาจากมือของพระพรหม 4.วรรณะศูทร คือ กรรมกร เชื่อว่ากาเนิดมาจากเท้าของพระพรหม - ถ้ามีการแต่งงานข้ามวรรณะ บุตรที่เกิดมาจะกลายเป็น“จัณฑาล”ซึ่งเป็นที่รังเกียจของทุกวรรณะ
  • 16. • ปรัชญาและลัทธิของสังคมอินเดีย อินเดียเป็นแหล่งกาเนิดศาสนาสาคัญ ได้แก่ พระพุทธศาสนา และศาสนาเชน ซึ่ง หลักคาสอนเป็นผลมาจากการไตร่ตรองเพื่อหาแนวทางการดาเนินชีวิตส่วนศาสนา พราหมณ์-ฮินดู หลักคาสอนมาจากการสร้างปรัชญาสนับสนุนความศรัทธาที่มีต่อพระเจ้า ชาวอินเดียมีความเชื่อและปฏิบัติตามหลักศาสนาอย่างเคร่งครัด จึงมีวิถีชีวิต ค่านิยม และแนวคิดสัมพันธ์กับศาสนาอย่างใกล้ชิด
  • 17. • เทพเจ้าของอินเดีย ในตอนต้นชาวอารยันนับถือเทพเจ้าที่มีอิทธิพลต่อ ชีวิตมนุษย์เช่น ดวงอาทิตย์ฝน พายุภายหลังเกิดระบบ ชน ชั้นขึ้นได้มีการนับถือเทพเจ้า3 องค์หรือพระตรีมูรติ ได้แก่ 1.พระพรหม เชื่อว่าเป็นผู้สร้างโลกและทุกสรรพสิ่ง 2.พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ เป็นเทพผู้รักษาคุ้มครองโลก 3.พระอิศวร หรือพระศิวะเป็นเทพเจ้าสูงสุดและเป็นเทพผู้ ทาลาย ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูในบางนิกายมีความเชื่อเรื่อง การทารุณโหดร้ายเช่น การบูชายัญ
  • 18. • สถาปัตยกรรม - ซากเมืองฮารับปาและโมเฮนโจดาโร สมัยอารยธรรมลุ่ม แม่น้าสินธุ แสดงถึงการวางผังเมืองอย่างดีและ สาธารณูปโภคซึ่งเน้นประโยชน์ใช้สอยมากกว่าความ สวยงาม - ในสมัยราชวงศ์เมารยะ มีการสร้างสถูป เสาหิน เช่น พระสถูปที่สาญจี - สมัยราชวงศ์กุษาณะ เกิดศิลปะขึ้น 3 แบบ คือ คันธา ระ มถุรา และอมราวดี - ในสมัยมุสลิม ศิลปะอินเดียจะผสมกับเปอร์เซีย เช่น ทัช มาฮาล
  • 19. • ประติมากรรม - รุ่นแรกๆอยู่ในสมัยเมารยะ เป็นประติมากรรมลอยตัวขนาดใหญ่ แข็งกระด้าง และมีภาพสลักนูนต่าพุทธประวัติ - พระพุทธรูปสมัยแรก คือ แบบคันธาระ ได้รับอิทธิพลจากกรีก - พระพุทธรูปของศิลปะมถุรา ได้อิทธิพลจากคันธาระผสมกับ ศิลปะพื้นเมือง คล้ายแบบคันธาระ แต่จะมีพระเศียรเกลี้ยง พระพักตร์กลม จีวรบางกว่าแบบคันธาระและแนบสนิทกับลาตัว - พระพุทธรูปในศิลปะอมราวดี เป็นแบบผสมอิทธิพลกรีก พระพักตร์ยาว มีพระเกตุมาลาชัดเจน มีขมวดพระเกศา ครองจีวรหนาและมักห่มเฉียง - สมัยคุปตะ เป็นศิลปะที่แสดงถึงอินเดียอย่างแท้จริง เช่น พระพุทธรูปปางปรินิพพานในถ้าอชันตะ แต่ในสมัยหลังคุปตะ ประติมากรรมถูกสร้างตามกฎเกณฑ์มากขึ้น และไม่ค่อยเป็น ธรรมชาติ
  • 20. • จิตรกรรม - จิตรกรรมสมัยเมารยะส่วนใหญ่สูญหายหมดแล้ว และ ศิลปะอมราวดี ซึ่งเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนัง แสดงให้ เห็นถึงความงดงามอ่อนช้อย แต่ก็มีการลบเลือนไปมาก - ยุครุ่งเรืองที่สุดของจิตรกรรมอินเดีย คือ สมัยคุปตะ และหลังสมัยคุปตะ พบงานจิตรกรรมที่ ผนังถ้าอชันตะ เป็นภาพเขียนในพระพุทธศาสนาแสดงถึงชาดกต่างๆ ที่งดงามมาก ความสามารถในการวาดเส้นและการอาศัย เงามืดบริเวณขอบภาพ ทาให้ภาพแลดูเคลื่อนไหวให้ ความรู้สึกสมจริง
  • 21. • นาฏศิลป์และสังคีตศิลป์ เป็นศิลปะชั้นสูง และเป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมเพื่อบูชาพระเจ้า - นาฏศิลป์เกี่ยวกับการฟ้อนรามีต้นกาเนิดจากวัดราชสานัก และท้องถิ่น เช่น ภารตนาฏยัม - สังคีตศิลป์หรือการดนตรี มีบทสวดสรรเสริญเทพเจ้าเป็นแบบแผนการร้องที่เก่าแก่ที่สุด ในสังคีตศิลป์ของอินเดียแบ่งเป็นดนตรีศาสนา ดนตรีในราชสานัก และดนตรีท้องถิ่น เครื่องดนตรีสาคัญ คือ วีณาหรือพิณ ใช้สาหรับดีด เวณุหรือขลุ่ย และกลอง
  • 22. • วรรณกรรมเริ่มจากเป็นบทสวดและท่องจาสืบต่อกันมา โดยวรรณกรรมอินเดียจะเน้นไปทาง ศาสนา แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ 1.วรรณกรรมภาษาพระเวท ประกอบด้วย ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอาถรรพเวท 2.วรรณกรรมตันติสันสกฤต มักเป็นร้อยกรองที่เรียกว่า โศลก เรื่องสาคัญคือ มหาภารตะ และ รามายณะ และยังมีบทละครที่มีชื่อเสียง เรื่องศกุนตลา 3.วรรณกรรมสันสกฤตฺผสม ใช้เขียนหลักธรรมทางพุทธศาสนา งานที่มีชื่อเสียงคือ พุทธจริต 4.วรรณกรรมภาษาอื่นๆ ได้แก่ ภาษาบาลี ใช้เขียนหลักธรรมทางศาสนาพุทธนิกายเถรวาท เช่น พระไตรปิฎก
  • 23. • ภาษาศาสตร์ ชาวอินเดียให้ความสนใจด้านภาษามาก มีการ แต่งหนังสือศัพทานุกรม(โกศะ)ขึ้นหลายเล่ม เมื่อมุสลิมเติร์กเข้า ปกครอง ได้นาเอาภาษาสันสกฤต ภาษาอารบิก และภาษาเปอร์ เชีย มาผสมกันเป็นภาษาใหม่ เรียกว่า ภาษาอูรดู ซึ่งเป็นภาษาที่ มุสลิมในอินเดียใช้พูดกันในปัจจุบัน • ธรรมศาสตร์และนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์มีพื้นฐานมาจาก ธรรมสูตรซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์พระเวท โดยมีหนังสือเล่ม แรกที่รวบรวมกฎและหน้าที่เกี่ยวกับฆราวาส คือ มานวธรรมศาสตร์ หรือ มนูสมฤติ ส่วนนิติศาสตร์หรือ อรรถศาสตร์ ว่าด้วยการเมืองการปกครอง และการบริหาร บ้านเมืองให้มั่งคั่ง โดยมีอรรถศาสตร์ของเกาฎิลยะ เป็นงาน เขียนที่เกี่ยวกับการเมืองการปกครองที่สาคัญ
  • 24. • แพทยศาสตร์ หลักฐานทางประวัติศาสตร์บ่งบอกว่าการแพทย์ของอินเดียมีมานานแล้ว และยังมี หนังสือหลายเล่มกล่าวถึงวิชาการแพทย์เช่น อรรถศาสตร์ ระบุถึงการใช้ยาพิษต่างๆ • ชโยติษ (ดาราศาสตร์ โหราศาสตร์ คณิตศาสตร์)เป็นศาสตร์ที่ใช้ประกอบพิธีกรรม โดยฤกษ์ยาม เป็นสิ่งสาคัญมาก จึงต้องอาศัยในเรื่องของดาราศาสตร์ โหราศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพื่อ คานวณหาตาแหน่งของดวงดาวต่างๆ นอกจากนี้ชาวอินเดียยังเป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์เลขศูนย์ ทาให้เกิดหลักหน่วย สิบ ร้อย พัน ใช้ในการคานวณอีกด้วย