SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ และศรีสะเกษ ๓ จังหวัดในเขตพื้นที่      
อีสานใต้ตั้งอยู่บริเวณฝั่งใต้แม่น�้ำมูลลงไปถึงทิวเขาพนมดงรัก เนื่องด้วย
มีแม่น�้ำสายเล็กไหลผ่าน เช่น ล�ำน�้ำพลับพลา ล�ำน�้ำเตา กอปรกับมี
อาณาเขตติดต่อประเทศกัมพูชา ท�ำให้มีผู้คนชาวกัมพูชาเดินทาง       
เคลื่อนย้ายไปมาและตั้งหลักแหล่งเป็นชุมชนตามบริเวณใกล้ฝั่งล�ำน�้ำ       
ดังกล่าวมาตั้งแต่โบราณ ดังปรากฏร่องรอยชุมชนชาวกัมพูชาเก่าแก่        
อายุตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์เรื่อยมาถึงปัจจุบัน
บทน�ำ
ภาพแผนที่ภาคอีสานแสดง ๓ จังหวัดในเขตพื้นที่อีสานใต้ (พื้นที่สีเทา)
ส่วนที่ติดกับราชอาณาจักรกัมพูชา
ที่มา : คณะผู้เขียน ๒๐ เมษายน ๒๕๕๕
สาธารณรัฐ
ประชาธิปไตย
ประชาชนลาว
ราชอาณาจักรกัมพูชา
2
บทน�ำ
	 เนื่องจากกลุ่มคนในแถบนี้ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขะแมร์  
หรือแขมร์ หรือที่เรียกตนเองว่า “คแมลือ” ที่แปลว่าเขมรสูง (เรียกกลุ่ม
ชาวกัมพูชาที่อยู่ในราชอาณาจักรกัมพูชาว่า “คแมกรอม” (เขมรต�่ำ))
และมีกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ อาศัยปะปนร่วมด้วย เช่น ส่วย กูย เยอ             
ลาว ศิลปวัฒนธรรมในแถบนี้จึงเป็นกลุ่มวัฒนธรรมที่ประกอบด้วยกลุ่ม
วัฒนธรรมหลากหลาย โดยมีวัฒนธรรมเขมรเป็นวัฒนธรรมกระแสหลัก
ที่เข้มแข็งมั่นคง
	 กล่าวเฉพาะวัฒนธรรมดนตรีในเขตพื้นที่อีสานใต้ที่เกี่ยวข้องกับ
วิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์แขมร์ มีทั้งมรดกวัฒนธรรมดนตรีที่สืบทอดจาก
บรรพบุรุษที่มาจากถิ่นเดิม และวัฒนธรรมดนตรีที่มีพัฒนาการขึ้นใน
แถบนี้ ซึ่งต่างมีความสัมพันธ์กับพิธีกรรมความเชื่อและการจัดงาน
ประเพณีของผู้คนในสังคมอย่างแยกออกจากกันไม่ได้ ดังเช่นวงดนตรี
ในพิธี “บ็องบ็อด” และ “มะม็วด”๑
พิธีรักษาอาการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง
โดยใช้เสียงดนตรีเป็นสื่อ หรือวง “ตุ้มโมง” วงดนตรีดั้งเดิมที่ใช้บรรเลง
ในงานศพ
	 ๑
 ผู้เรียบเรียงหลายท่านในสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เขียน      
แตกต่างกัน เช่น มะม็วด มะม้วด มม็วด มม้วด มะม็วต แต่ส่วนใหญ่ใช้ค�ำว่า
“มะม็วด” ในหนังสือเล่มนี้จึงขอใช้ค�ำ “มะม็วด” ตลอดไป ยกเว้นการอ้างอิงจะ
ยังคงรูปแบบเดิมของผู้น�ำมาอ้างอิง
3
บทน�ำ
	 นอกเหนือจากนี้ ดนตรีในวิถีชีวิตที่มีความส�ำคัญอีกมิติหนึ่ง คือ
ดนตรีและการขับร้องเพื่อความบันเทิงใจ มักจัดให้มีขึ้นในงานประเพณี
ตามวาระโอกาส หรือใช้ประกอบการละเล่นหลังจากเหน็ดเหนื่อยจาก
การงาน เช่น “แคแร็ต” งานประเพณีเดือน ๕ ช่วงวันสงกรานต์ ชาว
ไทยเชื้อสายเขมรถือเป็น “ตอมธม” หรือวันหยุดใหญ่ เดือนที่ชาวบ้าน      
ต้องหยุดจากภาระงานต่าง ๆ เพราะเป็นช่วงเวลาแห่งการพักผ่อนและ
มีพิธีท�ำบุญที่วัด ซึ่งผู้คนในแถบนี้ส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา วัด  
จึงถือเป็นศูนย์รวมจิตใจและเป็นสถานที่จัดกิจกรรมงานบุญของชุมชน
โดยเมื่อถึงก�ำหนดงานบุญ ผู้อาวุโสจะจัดขบวนแห่ร้องร�ำท�ำเพลงไปทั่ว
ทั้งหมู่บ้าน เพื่อป่าวร้องให้ทุกคนร่วมใจไปท�ำบุญที่วัด ซึ่งภายในงาน       
จะจัดให้มีการละเล่นสนุกสนานหลายประเภท ได้แก่ เจรียง ปี่พาทย์-
เขมร มโหรีเขมร อาไย แกวนอ และโดยเฉพาะ “กันตรึม” จะได้รับ      
ความนิยมสูงสุด
ภาพพิธีโจลมะม็วด ณ บ้านดงมัน ต�ำบลคอโค อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์
โดยคณะครูพูน สามสี
ที่มา : คณะผู้เขียน ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๔๙
4
บทน�ำ
	 “กันตรึม”หรือ“โจ๊ะกันตรึม”วัฒนธรรมดนตรีและการขับร้อง
พื้นบ้านในกลุ่ม ๓ จังหวัดเขตพื้นที่อีสานใต้ มีความเชื่อและเล่าสืบ         
ต่อมาว่าได้รับการถ่ายทอดจากขอมโบราณค�ำว่า“กันตรึม”สันนิษฐาน
ว่ามาจากเสียง “โจ๊ะ-ตรึม-ตรึม” ของกลองกันตรึม หนึ่งในเครื่องดนตรี
หลักของวง เวลาตีมีเสียง “โจ๊ะ ตรึม ตรึม” จึงเป็นไปได้ว่าอาจเรียกชื่อ
วงตามเสียงกลองดังกล่าว (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและ
จดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอ�ำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, ๒๕๔๒ : ๑๕๔) นอกจากนี้วงกันตรึม       
ยังประกอบด้วยปี่อ้อ ๑ เลา ตรัวเอก ๑ คัน (เครื่องดนตรีประเภทสีที่
ใช้ในวงกันตรึม ลักษณะคล้ายซอด้วงและซออู้ของภาคกลาง) ขลุ่ย ๑
เลา ฉิ่ง ๑ คู่ และเครื่องก�ำกับจังหวะอื่น ๆ
	 การเล่นกันตรึมแต่เดิมไม่มีการฟ้อนร�ำ ภายหลังเมื่อมีผู้คิดน�ำ       
การฟ้อนร�ำเข้าแสดงร่วมกับกันตรึมบทร�ำจึงเป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่ง
เท่านั้น เพราะแท้ที่จริงการเล่นกันตรึมจะให้ความส�ำคัญแก่ผู้ร้อง เสียง
และความไพเราะของดนตรี กล่าวคือ ผู้ร้องฝ่ายชายและหญิงต้องมี       
ลีลาและปฏิภาณโต้ตอบเป็นอย่างดี เสียงตรัวต้องไพเราะแจ่มใส เสียง
กลองกันตรึมมีความทุ้มหนัก และส�ำเนียงปี่อ้อต้องคมคายชัดเจน โดย
เสียงดนตรีทั้งหมดจะเล่นคลอกับเสียงผู้ร้อง   
	 ลักษณะการเล่นกันตรึมในอดีต เจ้าภาพจะจัดให้เล่นบนบ้าน       
โดยมีแขกหรือผู้ร่วมงานล้อมวงนั่งชมโดยรอบ ต่อมามีการพัฒนาปลูก
โรงแสดงหรือสร้างเวทียกพื้นสูงโดยเฉพาะ และจัดให้ผู้เล่นนั่งเป็นวง       
อยู่กลางเวที   
	 ภาษาที่ใช้ร้องประกอบการเล่นกันตรึม คือ ภาษาถิ่นกัมพูชา ซึ่ง
เป็นภาษาที่ผู้คนในแถบนี้ใช้สื่อสารในชีวิตประจ�ำวัน ส่วนเพลงร้องได้  
รับอิทธิพลจากเพลงปฏิพากย์ของกัมพูชา เช่น เพลงปรบเกอย อาไย
5
บทน�ำ
อมตูก เจรียง บทร้องไม่นิยมร้องเป็นเรื่องราว หากแต่ศิลปินมักคิด
บทร้องให้เหมาะสมกับงานนั้น ๆ หรือร้องบทเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ เช่น บท
เกี้ยวพาราสี บทพรรณนา บทร�ำพึงร�ำพัน ฯลฯ สะท้อนให้เห็นการ       
ด�ำรงชีวิตในสังคมเกษตรกรรม ทั้งการประกอบอาชีพ การเลือกคู่ครอง
ตลอดจนลัทธิความเชื่อของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยเชื้อสายเขมร   
	 หากศึกษาวิวัฒนาการวงกันตรึมตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันจะพบว่า
กันตรึมมีวิวัฒนาการตามสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม เพราะแต่
เดิมมีส่วนสัมพันธ์กับพิธีกรรมความเชื่อและงานประเพณีในเขตพื้นที่
อีสานใต้อย่างแนบแน่น เช่น บรรเลงประกอบการเซ่นสรวงในพิธีทรง
เจ้าเข้าผี  แต่ปัจจุบันนอกเหนือจากการสร้างบรรยากาศความศักดิ์สิทธิ์
ด้วยเสียงดนตรีในพิธีกรรมนั้นๆกันตรึมยังขยายบทบาทการรับใช้สังคม  
เพื่อความบันเทิงทั่วไปทั้งงานมงคลและงานอวมงคลอีกด้วย
	 ในปัจจุบันวงดนตรีและเพลงลูกทุ่งครองตลาดความนิยมจาก
ประชาชน เป็นเหตุให้ศิลปินต้องปรับรูปโฉมกันตรึมตามกระแสสังคม
โดยรับอิทธิพลวัฒนธรรมจากภายนอกเข้าผสมผสาน มุ่งเน้นความ
สนุกสนานและความพอใจของผู้ฟังเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นเครื่องดนตรี
ท่วงท�ำนอง บทร้อง รวมถึงการแต่งกาย
	 ด้านเครื่องดนตรี แต่เดิมกลองกันตรึมใช้หนังงูขึ้นหน้า ต่อมา       
ภายหลังเปลี่ยนมาใช้ผ้าใบ สายซอเปลี่ยนจากสายไหมเป็นสายลวด
คันชักซอเปลี่ยนจากหางม้าเป็นเส้นเอ็น หรือติดตั้งระบบไฟฟ้าเข้ากับ     
ตรัวเพื่อเพิ่มขีดความดังของเสียง ทั้งยังน�ำเครื่องดนตรีสมัยใหม่เข้า
ประสมวง เช่น กลองชุด ทอมบา อิเล็กโทน กีตาร์เบส กีตาร์ไฟฟ้า
	 บทเพลงที่ใช้เล่นเน้นความบันเทิงใจ จังหวะเร็วลีลาเร้าอารมณ์
ทั้งยังน�ำเพลงลูกทุ่งหรือหมอล�ำเล่นสลับเพื่อไม่ให้ผู้ฟังเบื่อหน่าย การ
แสดงมีทั้งเต้นและร�ำ การแต่งกายเปลี่ยนจากชุดพื้นเมืองเป็นนุ่ง
6
รองศาสตราจารย์ ดร.ข�ำคม พรประสิทธิ์
กระโปรงสั้น เรื่องที่ใช้แสดงเป็นเรื่องวัยรุ่นหนุ่มสาว รวมถึงภาษาที่ใช้
เปลี่ยนไปตามสภาพสังคม วงกันตรึมที่นิยมในปัจจุบันจึงเป็นกันตรึม
ประยุกต์ ซึ่งได้พัฒนาเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจบันเทิง สนองตอบความ
ต้องการตลาดผู้ฟังและการด�ำรงอาชีพของศิลปิน   
	 อย่างไรก็ตาม ยังมีกลุ่มศิลปินและผู้ฟังจ�ำนวนไม่น้อยที่ยังเล่น
และนิยมฟังกันตรึมในแบบแผนดั้งเดิม ซึ่งปัจจุบันจุดมุ่งหมายและ
โอกาสเล่นกันตรึมสามารถสรุปได้ ๓ ประการ คือ ประการแรก เป็น       
การเล่นตามความเชื่อทางไสยศาสตร์ของผู้คนในท้องถิ่น ประการที่      
สอง เป็นการเล่นเพื่อเฉลิมฉลองในงานมงคลต่าง ๆ ประการสุดท้าย
เป็นการเล่นเพื่อรักษาและส่งเสริมศิลปะพื้นบ้านไม่ให้สูญหาย กล่าว    
ได้ว่า “กันตรึมเป็นวัฒนธรรมที่แสดงเอกลักษณ์และวิถีชีวิตผู้คนใน       
ท้องถิ่นอีสานใต้ได้เป็นอย่างดี”
วัฒนธรรมการบรรเลงกันตรึม
	 กันตรึมเป็นวัฒนธรรมการแสดงดนตรีของชาวไทยเชื้อสายเขมร
กันตรึมมี ๒ ความหมาย คือ ความหมายแรกหมายถึงกลอง ซึ่งใช้       
บรรเลงคู่กับการเจรียง(ร้อง)ความหมายที่สองหมายถึงวงดนตรี เครื่อง
ดนตรีหลัก ๆ ในวงกันตรึมประกอบด้วยกลองกันตรึม ซอ (ตรัว) ปี่อ้อ
ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
	 กลองกันตรึม เครื่องดนตรีที่ถือเป็นเอกลักษณ์ของวงกันตรึม        
มีลักษณะคล้ายโทน หุ่นท�ำด้วยไม้หรือดินเหนียว ขึงหน้ากลองด้วย           
หนังสัตว์หรือผ้าใบ ที่มาของชื่อกลองมาจากเสียงที่ตีดังขึ้นคล้ายค�ำว่า
“กันตรึม” กลองกันตรึมท�ำหน้าที่ควบคุมจังหวะของวง สุ้มเสียงของ      
กลองกันตรึมท�ำให้เกิดความรู้สึกเร้าใจ สร้างความสนุกสนาน นอกจากนี้
7
วัฒนธรรมการบรรเลงกันตรึม
กลองกันตรึมยังน�ำมาประกอบการขับร้องที่เรียกว่า “เจรียง”๒
ด้วย      
เช่นกัน
	 ๒
 ในหนังสือสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน อธิบายว่า เจรียง         
หมายถึง ขับร้อง ลักษณะการขับร้องคล้ายคลึงกับการเล่นหมอล�ำหรือการเล่น
เพลงโคราช (เจริญชัย ชนไพโรจน์, ๒๕๔๒ : ๑๒๗๔-๑๒๗๕) ส�ำหรับการเจรียง        
ที่ใช้ในวงกันตรึมโปรดดูในหัวข้อ “ประเภทของบทเพลง บทร้อง และท�ำนอง
เพลง”
ภาพกลองกันตรึม
ที่มา : คณะผู้เขียน ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๒
8
รองศาสตราจารย์ ดร.ข�ำคม พรประสิทธิ์
	 - โจ๊ะ - -	 กัน ติง - เทิ่ง
	 ครูบุญถึง ปานะโปย (สัมภาษณ์, ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๙) ศิลปิน
กันตรึม จังหวัดบุรีรัมย์ อธิบายถึงเสียงที่เกิดจากการตีกลองกันตรึม         
ว่ามีจ�ำนวน ๓ เสียงหลัก อันได้แก่
	 เสียง “โจ๊ะ” คือ เสียงตีที่ขอบกลองโดยไม่ใช้มืออุดที่ก้นกลอง
	 เสียง “ครึ่ม” คือ เสียงที่ตีแล้วปล่อยกลางหน้ากลอง
	 เสียง “ติง” คือ เสียงตีที่กึ่งกลางของหน้ากลองโดยใช้มืออุดที่       
ก้นกลอง
	 ครูค�ำเรียบ สุทันรัมย์ ผู้เชี่ยวชาญการตีกลองกันตรึม กล่าวว่า  
“กลองกันตรึมนั้นมีหลายเสียง แต่เสียงที่ใช้อยู่เป็นประจ�ำมีเสียงโจ๊ะ
กัน ติง เทิ่ง” (ค�ำเรียบ สุทันรัมย์, สัมภาษณ์, ๑๖ มิถุนายน ๒๕๔๙)
	 ตัวอย่างเสียงหน้าทับที่ใช้ตีประกอบการเล่นกันตรึมของครู           
ค�ำเรียบ สุทันรัมย์ ดังนี้
	 เสียง “โจ๊ะ” คือ เสียงตีที่ขอบกลองโดยไม่ใช้มืออุดที่ก้นกลอง
	 เสียง “กัน” คือ เสียงแตะที่ขอบกลองเบา เป็นเสียงขัดขณะตี      
หน้าทับ
	 เสียง “ติง” คือ เสียงตีที่กึ่งกลางของหน้ากลองโดยใช้มืออุดที่       
ก้นกลอง
	 เสียง “เทิ่ง” คือ เสียงตีที่กึ่งกลางของหน้ากลองโดยไม่ใช้มืออุด
ที่ก้นกลอง
9
วัฒนธรรมการบรรเลงกันตรึม
	 แบบที่ ๑	 - โจ๊ะ - -	 ติงโจ๊ะ - ครึ่ม
	 แบบที่ ๒	 - โจ๊ะ - - 	 กันติ๊ง - เทิ่ง
	 ทั้งนี้การอธิบายเสียงของกลองเป็นเรื่องการเรียนรู้เฉพาะตน        
ของศิลปิน ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีความแตกต่างกันในการถ่ายทอดเสียง          
เช่น มี ๓ เสียงบ้าง ๔ เสียงบ้าง ดังที่ปรากฏในหนังสือกันตรึมเล่มนี้
เนื่องจาก “กลองกันตรึม” เป็นเครื่องดนตรีหลักของ “วงกันตรึม”
โอกาสในการแสดงจึงปรากฏทั้งในงานมงคลเช่นงานบวชงานแต่งงาน
งานขึ้นบ้านใหม่ ฯลฯ งานอวมงคล ตลอดจนการบรรเลงประกอบพิธี      
โจลมะม้วดซึ่งเป็นพิธีกรรมทางไสยศาสตร์ (คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว.,
๒๕๔๑ : ๔๐๑)
	 ตัวอย่างภาษากลองกันตรึมของจังหวัดบุรีรัมย์
	 แบบที่ ๑	 - โจ๊ะ - -	 คะครึม - ครึม
	 แบบที่ ๒	 - โจ๊ะ - -	 - กัน - ตรึม
	 ตัวอย่างภาษากลองกันตรึมของจังหวัดสุรินทร์
10
รองศาสตราจารย์ ดร.ข�ำคม พรประสิทธิ์
	 นอกจากนี้การบรรเลงวงกันตรึมในบางพื้นที่ของจังหวัดศรีสะเกษ
ใช้กลองกันตรึมประสมวงจ�ำนวน ๔ ใบ โดยเพิ่มกลองใบที่ขึงหน้ากลอง
ตึงกว่ากลองกันตรึมทั่วไป ๑ ใบ เมื่อบรรเลงจะมีเสียงดังคล้ายกับค�ำว่า
“ป๊ะ” และอีก ๑ ใบ คือกลองที่มีหน้ากลองหย่อนกว่า เมื่อตีจะออก  
เสียงเป็น “ทั่ง” ดังตัวอย่างกระสวนจังหวะกลองของระบ�ำกะโน้บ            
ติงต็อง๓
ต่อไปนี้
	 จังหวะนับ	 ๑	 ๒	 ๑	 ๒	 ๑	 ๒	 ๑	 ๒	 ๑
	 จังหวะฉิ่ง	 -	 ฉิ่ง	 ฉับ	 ฉิ่ง	 ฉับ	 ฉิ่ง	 ฉับ	 ฉิ่ง	 ฉับ
	จังหวะกลอง	 -	ป๊ะ	ป๊ะ	 ทั่ง	ป๊ะ	ป๊ะ	 ทั่ง	ป๊ะ	ป๊ะ	 ทั่ง	ป๊ะ	ป๊ะ	 ทั่ง
	 ๓
 ระบ�ำกะโน้บติงต็อง หมายถึง ระบ�ำตั๊กแตนต�ำข้าว
ภาพครูพูน สามสี ขณะตีกลองกันตรึม
ที่มา : คณะผู้เขียน ๑๘ มิถุนายน ๒๕๔๙

More Related Content

What's hot

ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีThaweekoon Intharachai
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษาengtivaporn
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
ระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดีระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดีพัน พัน
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยพัน พัน
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวดบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวดฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากลTua Acoustic
 
คีตกวีเอกของโลก
คีตกวีเอกของโลกคีตกวีเอกของโลก
คีตกวีเอกของโลกleemeanshun minzstar
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลPasit Suwanichkul
 

What's hot (20)

ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
Music
MusicMusic
Music
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดีระบำโบราณคดี
ระบำโบราณคดี
 
ละคร
ละครละคร
ละคร
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวดบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 
คีตกวีเอกของโลก
คีตกวีเอกของโลกคีตกวีเอกของโลก
คีตกวีเอกของโลก
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O netข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
 

Viewers also liked

品モノラボ #9 MFT2014出展ネタ出し&バンド結成ワークショップ
品モノラボ #9 MFT2014出展ネタ出し&バンド結成ワークショップ品モノラボ #9 MFT2014出展ネタ出し&バンド結成ワークショップ
品モノラボ #9 MFT2014出展ネタ出し&バンド結成ワークショップTsubasa Yumura
 
WebCamp: Project Management Day: Как не потерпеть неудачу и вырасти в первые ...
WebCamp: Project Management Day: Как не потерпеть неудачу и вырасти в первые ...WebCamp: Project Management Day: Как не потерпеть неудачу и вырасти в первые ...
WebCamp: Project Management Day: Как не потерпеть неудачу и вырасти в первые ...GeeksLab Odessa
 
Engineering manager_ Routing Development
Engineering manager_ Routing DevelopmentEngineering manager_ Routing Development
Engineering manager_ Routing DevelopmentPhanindra Nath (indra)
 
Архангельск герой воинской славы (куликовой элины 9а)
Архангельск герой воинской славы (куликовой элины 9а)Архангельск герой воинской славы (куликовой элины 9а)
Архангельск герой воинской славы (куликовой элины 9а)Максим Муромцев
 
98 universitarios cántabros recibirán una Beca Santander de prácticas remuner...
98 universitarios cántabros recibirán una Beca Santander de prácticas remuner...98 universitarios cántabros recibirán una Beca Santander de prácticas remuner...
98 universitarios cántabros recibirán una Beca Santander de prácticas remuner...BANCO SANTANDER
 
952700678723 cc1085941109c
952700678723 cc1085941109c952700678723 cc1085941109c
952700678723 cc1085941109cPATTY K
 
9.3 Group 6 Apps for Good Competition Entry 2015
9.3 Group 6 Apps for Good Competition Entry 20159.3 Group 6 Apps for Good Competition Entry 2015
9.3 Group 6 Apps for Good Competition Entry 2015scorkery
 
9.3 Group 6
9.3 Group 69.3 Group 6
9.3 Group 6scorkery
 
9800301 04 8080-8085_assembly_language_programming_manual_may81
9800301 04 8080-8085_assembly_language_programming_manual_may819800301 04 8080-8085_assembly_language_programming_manual_may81
9800301 04 8080-8085_assembly_language_programming_manual_may81satolina
 
захід 9 клас
захід 9 класзахід 9 клас
захід 9 класnatalibio
 
9.3 Group 3 Apps for Good Competition Entry 2015
9.3 Group 3 Apps for Good Competition Entry 20159.3 Group 3 Apps for Good Competition Entry 2015
9.3 Group 3 Apps for Good Competition Entry 2015scorkery
 
제5회 이그나이트 광주 9.김명일 초등교사가 들여다본 아이와 부모의 감정
제5회 이그나이트 광주 9.김명일 초등교사가 들여다본 아이와 부모의 감정제5회 이그나이트 광주 9.김명일 초등교사가 들여다본 아이와 부모의 감정
제5회 이그나이트 광주 9.김명일 초등교사가 들여다본 아이와 부모의 감정daesung choi
 

Viewers also liked (20)

файл 9 сынып
файл 9 сыныпфайл 9 сынып
файл 9 сынып
 
Magnetic toothpaste and toothbrush
Magnetic toothpaste and toothbrush Magnetic toothpaste and toothbrush
Magnetic toothpaste and toothbrush
 
品モノラボ #9 MFT2014出展ネタ出し&バンド結成ワークショップ
品モノラボ #9 MFT2014出展ネタ出し&バンド結成ワークショップ品モノラボ #9 MFT2014出展ネタ出し&バンド結成ワークショップ
品モノラボ #9 MFT2014出展ネタ出し&バンド結成ワークショップ
 
WebCamp: Project Management Day: Как не потерпеть неудачу и вырасти в первые ...
WebCamp: Project Management Day: Как не потерпеть неудачу и вырасти в первые ...WebCamp: Project Management Day: Как не потерпеть неудачу и вырасти в первые ...
WebCamp: Project Management Day: Как не потерпеть неудачу и вырасти в первые ...
 
9 а, 9-б литература
9 а, 9-б литература9 а, 9-б литература
9 а, 9-б литература
 
днз 9
днз 9днз 9
днз 9
 
Engineering manager_ Routing Development
Engineering manager_ Routing DevelopmentEngineering manager_ Routing Development
Engineering manager_ Routing Development
 
Архангельск герой воинской славы (куликовой элины 9а)
Архангельск герой воинской славы (куликовой элины 9а)Архангельск герой воинской славы (куликовой элины 9а)
Архангельск герой воинской славы (куликовой элины 9а)
 
98 universitarios cántabros recibirán una Beca Santander de prácticas remuner...
98 universitarios cántabros recibirán una Beca Santander de prácticas remuner...98 universitarios cántabros recibirán una Beca Santander de prácticas remuner...
98 universitarios cántabros recibirán una Beca Santander de prácticas remuner...
 
952700678723 cc1085941109c
952700678723 cc1085941109c952700678723 cc1085941109c
952700678723 cc1085941109c
 
9.3 Group 6 Apps for Good Competition Entry 2015
9.3 Group 6 Apps for Good Competition Entry 20159.3 Group 6 Apps for Good Competition Entry 2015
9.3 Group 6 Apps for Good Competition Entry 2015
 
Μαθηματικά της φύσης και της ζωής»
Μαθηματικά της φύσης και της ζωής»Μαθηματικά της φύσης και της ζωής»
Μαθηματικά της φύσης και της ζωής»
 
л 9
л 9л 9
л 9
 
9.3 Group 6
9.3 Group 69.3 Group 6
9.3 Group 6
 
9800301 04 8080-8085_assembly_language_programming_manual_may81
9800301 04 8080-8085_assembly_language_programming_manual_may819800301 04 8080-8085_assembly_language_programming_manual_may81
9800301 04 8080-8085_assembly_language_programming_manual_may81
 
захід 9 клас
захід 9 класзахід 9 клас
захід 9 клас
 
9.3 Group 3 Apps for Good Competition Entry 2015
9.3 Group 3 Apps for Good Competition Entry 20159.3 Group 3 Apps for Good Competition Entry 2015
9.3 Group 3 Apps for Good Competition Entry 2015
 
제5회 이그나이트 광주 9.김명일 초등교사가 들여다본 아이와 부모의 감정
제5회 이그나이트 광주 9.김명일 초등교사가 들여다본 아이와 부모의 감정제5회 이그나이트 광주 9.김명일 초등교사가 들여다본 아이와 부모의 감정
제5회 이그나이트 광주 9.김명일 초등교사가 들여다본 아이와 부모의 감정
 
991734539
991734539991734539
991734539
 
98 1-20
98 1-2098 1-20
98 1-20
 

Similar to 9789740331445

พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจPata_tuo
 
วิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxวิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxssuser5334dc
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีleemeanxun
 
งานคอมโฟน
งานคอมโฟนงานคอมโฟน
งานคอมโฟนChatika Ruankaew
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านJakkrit Supokam
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
การเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลงการเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลงMahidol University
 

Similar to 9789740331445 (20)

พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจ
 
วิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptxวิชาดนตรี.pptx
วิชาดนตรี.pptx
 
ภาษา
ภาษาภาษา
ภาษา
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
 
TeST
TeSTTeST
TeST
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
งานคอมโฟน
งานคอมโฟนงานคอมโฟน
งานคอมโฟน
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้าน
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
การเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลงการเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลง
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740331445

  • 1. จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ และศรีสะเกษ ๓ จังหวัดในเขตพื้นที่ อีสานใต้ตั้งอยู่บริเวณฝั่งใต้แม่น�้ำมูลลงไปถึงทิวเขาพนมดงรัก เนื่องด้วย มีแม่น�้ำสายเล็กไหลผ่าน เช่น ล�ำน�้ำพลับพลา ล�ำน�้ำเตา กอปรกับมี อาณาเขตติดต่อประเทศกัมพูชา ท�ำให้มีผู้คนชาวกัมพูชาเดินทาง เคลื่อนย้ายไปมาและตั้งหลักแหล่งเป็นชุมชนตามบริเวณใกล้ฝั่งล�ำน�้ำ ดังกล่าวมาตั้งแต่โบราณ ดังปรากฏร่องรอยชุมชนชาวกัมพูชาเก่าแก่ อายุตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์เรื่อยมาถึงปัจจุบัน บทน�ำ ภาพแผนที่ภาคอีสานแสดง ๓ จังหวัดในเขตพื้นที่อีสานใต้ (พื้นที่สีเทา) ส่วนที่ติดกับราชอาณาจักรกัมพูชา ที่มา : คณะผู้เขียน ๒๐ เมษายน ๒๕๕๕ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา
  • 2. 2 บทน�ำ เนื่องจากกลุ่มคนในแถบนี้ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขะแมร์ หรือแขมร์ หรือที่เรียกตนเองว่า “คแมลือ” ที่แปลว่าเขมรสูง (เรียกกลุ่ม ชาวกัมพูชาที่อยู่ในราชอาณาจักรกัมพูชาว่า “คแมกรอม” (เขมรต�่ำ)) และมีกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ อาศัยปะปนร่วมด้วย เช่น ส่วย กูย เยอ ลาว ศิลปวัฒนธรรมในแถบนี้จึงเป็นกลุ่มวัฒนธรรมที่ประกอบด้วยกลุ่ม วัฒนธรรมหลากหลาย โดยมีวัฒนธรรมเขมรเป็นวัฒนธรรมกระแสหลัก ที่เข้มแข็งมั่นคง กล่าวเฉพาะวัฒนธรรมดนตรีในเขตพื้นที่อีสานใต้ที่เกี่ยวข้องกับ วิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์แขมร์ มีทั้งมรดกวัฒนธรรมดนตรีที่สืบทอดจาก บรรพบุรุษที่มาจากถิ่นเดิม และวัฒนธรรมดนตรีที่มีพัฒนาการขึ้นใน แถบนี้ ซึ่งต่างมีความสัมพันธ์กับพิธีกรรมความเชื่อและการจัดงาน ประเพณีของผู้คนในสังคมอย่างแยกออกจากกันไม่ได้ ดังเช่นวงดนตรี ในพิธี “บ็องบ็อด” และ “มะม็วด”๑ พิธีรักษาอาการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง โดยใช้เสียงดนตรีเป็นสื่อ หรือวง “ตุ้มโมง” วงดนตรีดั้งเดิมที่ใช้บรรเลง ในงานศพ ๑  ผู้เรียบเรียงหลายท่านในสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เขียน แตกต่างกัน เช่น มะม็วด มะม้วด มม็วด มม้วด มะม็วต แต่ส่วนใหญ่ใช้ค�ำว่า “มะม็วด” ในหนังสือเล่มนี้จึงขอใช้ค�ำ “มะม็วด” ตลอดไป ยกเว้นการอ้างอิงจะ ยังคงรูปแบบเดิมของผู้น�ำมาอ้างอิง
  • 3. 3 บทน�ำ นอกเหนือจากนี้ ดนตรีในวิถีชีวิตที่มีความส�ำคัญอีกมิติหนึ่ง คือ ดนตรีและการขับร้องเพื่อความบันเทิงใจ มักจัดให้มีขึ้นในงานประเพณี ตามวาระโอกาส หรือใช้ประกอบการละเล่นหลังจากเหน็ดเหนื่อยจาก การงาน เช่น “แคแร็ต” งานประเพณีเดือน ๕ ช่วงวันสงกรานต์ ชาว ไทยเชื้อสายเขมรถือเป็น “ตอมธม” หรือวันหยุดใหญ่ เดือนที่ชาวบ้าน ต้องหยุดจากภาระงานต่าง ๆ เพราะเป็นช่วงเวลาแห่งการพักผ่อนและ มีพิธีท�ำบุญที่วัด ซึ่งผู้คนในแถบนี้ส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา วัด จึงถือเป็นศูนย์รวมจิตใจและเป็นสถานที่จัดกิจกรรมงานบุญของชุมชน โดยเมื่อถึงก�ำหนดงานบุญ ผู้อาวุโสจะจัดขบวนแห่ร้องร�ำท�ำเพลงไปทั่ว ทั้งหมู่บ้าน เพื่อป่าวร้องให้ทุกคนร่วมใจไปท�ำบุญที่วัด ซึ่งภายในงาน จะจัดให้มีการละเล่นสนุกสนานหลายประเภท ได้แก่ เจรียง ปี่พาทย์- เขมร มโหรีเขมร อาไย แกวนอ และโดยเฉพาะ “กันตรึม” จะได้รับ ความนิยมสูงสุด ภาพพิธีโจลมะม็วด ณ บ้านดงมัน ต�ำบลคอโค อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ โดยคณะครูพูน สามสี ที่มา : คณะผู้เขียน ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๔๙
  • 4. 4 บทน�ำ “กันตรึม”หรือ“โจ๊ะกันตรึม”วัฒนธรรมดนตรีและการขับร้อง พื้นบ้านในกลุ่ม ๓ จังหวัดเขตพื้นที่อีสานใต้ มีความเชื่อและเล่าสืบ ต่อมาว่าได้รับการถ่ายทอดจากขอมโบราณค�ำว่า“กันตรึม”สันนิษฐาน ว่ามาจากเสียง “โจ๊ะ-ตรึม-ตรึม” ของกลองกันตรึม หนึ่งในเครื่องดนตรี หลักของวง เวลาตีมีเสียง “โจ๊ะ ตรึม ตรึม” จึงเป็นไปได้ว่าอาจเรียกชื่อ วงตามเสียงกลองดังกล่าว (คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและ จดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอ�ำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, ๒๕๔๒ : ๑๕๔) นอกจากนี้วงกันตรึม ยังประกอบด้วยปี่อ้อ ๑ เลา ตรัวเอก ๑ คัน (เครื่องดนตรีประเภทสีที่ ใช้ในวงกันตรึม ลักษณะคล้ายซอด้วงและซออู้ของภาคกลาง) ขลุ่ย ๑ เลา ฉิ่ง ๑ คู่ และเครื่องก�ำกับจังหวะอื่น ๆ การเล่นกันตรึมแต่เดิมไม่มีการฟ้อนร�ำ ภายหลังเมื่อมีผู้คิดน�ำ การฟ้อนร�ำเข้าแสดงร่วมกับกันตรึมบทร�ำจึงเป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่ง เท่านั้น เพราะแท้ที่จริงการเล่นกันตรึมจะให้ความส�ำคัญแก่ผู้ร้อง เสียง และความไพเราะของดนตรี กล่าวคือ ผู้ร้องฝ่ายชายและหญิงต้องมี ลีลาและปฏิภาณโต้ตอบเป็นอย่างดี เสียงตรัวต้องไพเราะแจ่มใส เสียง กลองกันตรึมมีความทุ้มหนัก และส�ำเนียงปี่อ้อต้องคมคายชัดเจน โดย เสียงดนตรีทั้งหมดจะเล่นคลอกับเสียงผู้ร้อง ลักษณะการเล่นกันตรึมในอดีต เจ้าภาพจะจัดให้เล่นบนบ้าน โดยมีแขกหรือผู้ร่วมงานล้อมวงนั่งชมโดยรอบ ต่อมามีการพัฒนาปลูก โรงแสดงหรือสร้างเวทียกพื้นสูงโดยเฉพาะ และจัดให้ผู้เล่นนั่งเป็นวง อยู่กลางเวที ภาษาที่ใช้ร้องประกอบการเล่นกันตรึม คือ ภาษาถิ่นกัมพูชา ซึ่ง เป็นภาษาที่ผู้คนในแถบนี้ใช้สื่อสารในชีวิตประจ�ำวัน ส่วนเพลงร้องได้ รับอิทธิพลจากเพลงปฏิพากย์ของกัมพูชา เช่น เพลงปรบเกอย อาไย
  • 5. 5 บทน�ำ อมตูก เจรียง บทร้องไม่นิยมร้องเป็นเรื่องราว หากแต่ศิลปินมักคิด บทร้องให้เหมาะสมกับงานนั้น ๆ หรือร้องบทเบ็ดเตล็ดต่าง ๆ เช่น บท เกี้ยวพาราสี บทพรรณนา บทร�ำพึงร�ำพัน ฯลฯ สะท้อนให้เห็นการ ด�ำรงชีวิตในสังคมเกษตรกรรม ทั้งการประกอบอาชีพ การเลือกคู่ครอง ตลอดจนลัทธิความเชื่อของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยเชื้อสายเขมร หากศึกษาวิวัฒนาการวงกันตรึมตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันจะพบว่า กันตรึมมีวิวัฒนาการตามสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม เพราะแต่ เดิมมีส่วนสัมพันธ์กับพิธีกรรมความเชื่อและงานประเพณีในเขตพื้นที่ อีสานใต้อย่างแนบแน่น เช่น บรรเลงประกอบการเซ่นสรวงในพิธีทรง เจ้าเข้าผี แต่ปัจจุบันนอกเหนือจากการสร้างบรรยากาศความศักดิ์สิทธิ์ ด้วยเสียงดนตรีในพิธีกรรมนั้นๆกันตรึมยังขยายบทบาทการรับใช้สังคม เพื่อความบันเทิงทั่วไปทั้งงานมงคลและงานอวมงคลอีกด้วย ในปัจจุบันวงดนตรีและเพลงลูกทุ่งครองตลาดความนิยมจาก ประชาชน เป็นเหตุให้ศิลปินต้องปรับรูปโฉมกันตรึมตามกระแสสังคม โดยรับอิทธิพลวัฒนธรรมจากภายนอกเข้าผสมผสาน มุ่งเน้นความ สนุกสนานและความพอใจของผู้ฟังเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นเครื่องดนตรี ท่วงท�ำนอง บทร้อง รวมถึงการแต่งกาย ด้านเครื่องดนตรี แต่เดิมกลองกันตรึมใช้หนังงูขึ้นหน้า ต่อมา ภายหลังเปลี่ยนมาใช้ผ้าใบ สายซอเปลี่ยนจากสายไหมเป็นสายลวด คันชักซอเปลี่ยนจากหางม้าเป็นเส้นเอ็น หรือติดตั้งระบบไฟฟ้าเข้ากับ ตรัวเพื่อเพิ่มขีดความดังของเสียง ทั้งยังน�ำเครื่องดนตรีสมัยใหม่เข้า ประสมวง เช่น กลองชุด ทอมบา อิเล็กโทน กีตาร์เบส กีตาร์ไฟฟ้า บทเพลงที่ใช้เล่นเน้นความบันเทิงใจ จังหวะเร็วลีลาเร้าอารมณ์ ทั้งยังน�ำเพลงลูกทุ่งหรือหมอล�ำเล่นสลับเพื่อไม่ให้ผู้ฟังเบื่อหน่าย การ แสดงมีทั้งเต้นและร�ำ การแต่งกายเปลี่ยนจากชุดพื้นเมืองเป็นนุ่ง
  • 6. 6 รองศาสตราจารย์ ดร.ข�ำคม พรประสิทธิ์ กระโปรงสั้น เรื่องที่ใช้แสดงเป็นเรื่องวัยรุ่นหนุ่มสาว รวมถึงภาษาที่ใช้ เปลี่ยนไปตามสภาพสังคม วงกันตรึมที่นิยมในปัจจุบันจึงเป็นกันตรึม ประยุกต์ ซึ่งได้พัฒนาเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจบันเทิง สนองตอบความ ต้องการตลาดผู้ฟังและการด�ำรงอาชีพของศิลปิน อย่างไรก็ตาม ยังมีกลุ่มศิลปินและผู้ฟังจ�ำนวนไม่น้อยที่ยังเล่น และนิยมฟังกันตรึมในแบบแผนดั้งเดิม ซึ่งปัจจุบันจุดมุ่งหมายและ โอกาสเล่นกันตรึมสามารถสรุปได้ ๓ ประการ คือ ประการแรก เป็น การเล่นตามความเชื่อทางไสยศาสตร์ของผู้คนในท้องถิ่น ประการที่ สอง เป็นการเล่นเพื่อเฉลิมฉลองในงานมงคลต่าง ๆ ประการสุดท้าย เป็นการเล่นเพื่อรักษาและส่งเสริมศิลปะพื้นบ้านไม่ให้สูญหาย กล่าว ได้ว่า “กันตรึมเป็นวัฒนธรรมที่แสดงเอกลักษณ์และวิถีชีวิตผู้คนใน ท้องถิ่นอีสานใต้ได้เป็นอย่างดี” วัฒนธรรมการบรรเลงกันตรึม กันตรึมเป็นวัฒนธรรมการแสดงดนตรีของชาวไทยเชื้อสายเขมร กันตรึมมี ๒ ความหมาย คือ ความหมายแรกหมายถึงกลอง ซึ่งใช้ บรรเลงคู่กับการเจรียง(ร้อง)ความหมายที่สองหมายถึงวงดนตรี เครื่อง ดนตรีหลัก ๆ ในวงกันตรึมประกอบด้วยกลองกันตรึม ซอ (ตรัว) ปี่อ้อ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ กลองกันตรึม เครื่องดนตรีที่ถือเป็นเอกลักษณ์ของวงกันตรึม มีลักษณะคล้ายโทน หุ่นท�ำด้วยไม้หรือดินเหนียว ขึงหน้ากลองด้วย หนังสัตว์หรือผ้าใบ ที่มาของชื่อกลองมาจากเสียงที่ตีดังขึ้นคล้ายค�ำว่า “กันตรึม” กลองกันตรึมท�ำหน้าที่ควบคุมจังหวะของวง สุ้มเสียงของ กลองกันตรึมท�ำให้เกิดความรู้สึกเร้าใจ สร้างความสนุกสนาน นอกจากนี้
  • 7. 7 วัฒนธรรมการบรรเลงกันตรึม กลองกันตรึมยังน�ำมาประกอบการขับร้องที่เรียกว่า “เจรียง”๒ ด้วย เช่นกัน ๒  ในหนังสือสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน อธิบายว่า เจรียง หมายถึง ขับร้อง ลักษณะการขับร้องคล้ายคลึงกับการเล่นหมอล�ำหรือการเล่น เพลงโคราช (เจริญชัย ชนไพโรจน์, ๒๕๔๒ : ๑๒๗๔-๑๒๗๕) ส�ำหรับการเจรียง ที่ใช้ในวงกันตรึมโปรดดูในหัวข้อ “ประเภทของบทเพลง บทร้อง และท�ำนอง เพลง” ภาพกลองกันตรึม ที่มา : คณะผู้เขียน ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๒
  • 8. 8 รองศาสตราจารย์ ดร.ข�ำคม พรประสิทธิ์ - โจ๊ะ - - กัน ติง - เทิ่ง ครูบุญถึง ปานะโปย (สัมภาษณ์, ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๙) ศิลปิน กันตรึม จังหวัดบุรีรัมย์ อธิบายถึงเสียงที่เกิดจากการตีกลองกันตรึม ว่ามีจ�ำนวน ๓ เสียงหลัก อันได้แก่ เสียง “โจ๊ะ” คือ เสียงตีที่ขอบกลองโดยไม่ใช้มืออุดที่ก้นกลอง เสียง “ครึ่ม” คือ เสียงที่ตีแล้วปล่อยกลางหน้ากลอง เสียง “ติง” คือ เสียงตีที่กึ่งกลางของหน้ากลองโดยใช้มืออุดที่ ก้นกลอง ครูค�ำเรียบ สุทันรัมย์ ผู้เชี่ยวชาญการตีกลองกันตรึม กล่าวว่า “กลองกันตรึมนั้นมีหลายเสียง แต่เสียงที่ใช้อยู่เป็นประจ�ำมีเสียงโจ๊ะ กัน ติง เทิ่ง” (ค�ำเรียบ สุทันรัมย์, สัมภาษณ์, ๑๖ มิถุนายน ๒๕๔๙) ตัวอย่างเสียงหน้าทับที่ใช้ตีประกอบการเล่นกันตรึมของครู ค�ำเรียบ สุทันรัมย์ ดังนี้ เสียง “โจ๊ะ” คือ เสียงตีที่ขอบกลองโดยไม่ใช้มืออุดที่ก้นกลอง เสียง “กัน” คือ เสียงแตะที่ขอบกลองเบา เป็นเสียงขัดขณะตี หน้าทับ เสียง “ติง” คือ เสียงตีที่กึ่งกลางของหน้ากลองโดยใช้มืออุดที่ ก้นกลอง เสียง “เทิ่ง” คือ เสียงตีที่กึ่งกลางของหน้ากลองโดยไม่ใช้มืออุด ที่ก้นกลอง
  • 9. 9 วัฒนธรรมการบรรเลงกันตรึม แบบที่ ๑ - โจ๊ะ - - ติงโจ๊ะ - ครึ่ม แบบที่ ๒ - โจ๊ะ - - กันติ๊ง - เทิ่ง ทั้งนี้การอธิบายเสียงของกลองเป็นเรื่องการเรียนรู้เฉพาะตน ของศิลปิน ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีความแตกต่างกันในการถ่ายทอดเสียง เช่น มี ๓ เสียงบ้าง ๔ เสียงบ้าง ดังที่ปรากฏในหนังสือกันตรึมเล่มนี้ เนื่องจาก “กลองกันตรึม” เป็นเครื่องดนตรีหลักของ “วงกันตรึม” โอกาสในการแสดงจึงปรากฏทั้งในงานมงคลเช่นงานบวชงานแต่งงาน งานขึ้นบ้านใหม่ ฯลฯ งานอวมงคล ตลอดจนการบรรเลงประกอบพิธี โจลมะม้วดซึ่งเป็นพิธีกรรมทางไสยศาสตร์ (คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว., ๒๕๔๑ : ๔๐๑) ตัวอย่างภาษากลองกันตรึมของจังหวัดบุรีรัมย์ แบบที่ ๑ - โจ๊ะ - - คะครึม - ครึม แบบที่ ๒ - โจ๊ะ - - - กัน - ตรึม ตัวอย่างภาษากลองกันตรึมของจังหวัดสุรินทร์
  • 10. 10 รองศาสตราจารย์ ดร.ข�ำคม พรประสิทธิ์ นอกจากนี้การบรรเลงวงกันตรึมในบางพื้นที่ของจังหวัดศรีสะเกษ ใช้กลองกันตรึมประสมวงจ�ำนวน ๔ ใบ โดยเพิ่มกลองใบที่ขึงหน้ากลอง ตึงกว่ากลองกันตรึมทั่วไป ๑ ใบ เมื่อบรรเลงจะมีเสียงดังคล้ายกับค�ำว่า “ป๊ะ” และอีก ๑ ใบ คือกลองที่มีหน้ากลองหย่อนกว่า เมื่อตีจะออก เสียงเป็น “ทั่ง” ดังตัวอย่างกระสวนจังหวะกลองของระบ�ำกะโน้บ ติงต็อง๓ ต่อไปนี้ จังหวะนับ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ จังหวะฉิ่ง - ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉิ่ง ฉับ จังหวะกลอง - ป๊ะ ป๊ะ ทั่ง ป๊ะ ป๊ะ ทั่ง ป๊ะ ป๊ะ ทั่ง ป๊ะ ป๊ะ ทั่ง ๓  ระบ�ำกะโน้บติงต็อง หมายถึง ระบ�ำตั๊กแตนต�ำข้าว ภาพครูพูน สามสี ขณะตีกลองกันตรึม ที่มา : คณะผู้เขียน ๑๘ มิถุนายน ๒๕๔๙