SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทนํา
Where is the literature which gives expression to Nature? He would
be a poet who could impress the winds and streams into his service, to
speak for him; who nailed words to their primitive senses, as farmers drive
down stakes in the spring, which the frost has heaved; who derived his
words as often as he used them, —transplanted them to his page with
earth adhering to their roots; whose words were so true and fresh and
natural that they would appear to expand like the buds at the approach
of spring, though they lay half smothered between two musty leaves in
a library,—aye, to bloom and bear fruit there, after their kind, annually,
for the faithful reader, in sympathy with surrounding Nature. (1980: 120)
ไหนเลาคือวรรณกรรมที่อาจแสดงออกถึงธรรมชาติไดอยางหมดจด
สิ้นเชิง ถามีอยู คนผูนั้นคงจะเปนกวีซึ่งอาจพึ่งพาชวงใชสายลมและธารนํ้าให
ชวยพูดแทนเขาได เขาคือผูที่ตอกตรึงถอยคําลงในความหมายปฐมกาลของ
มัน ดุจดังที่ชาวไรตอกหลักซึ่งถูกนํ้าคางแข็งทําใหโยกคลอนใหแนนอีกครั้งใน
ฤดูใบไมผลิ เขาคือผูที่จะใชถอยคําอยางตรงตามความหมายดั้งเดิมทุกครั้งที่
2 พินิจปญหาสิ่งแวดลอมผานมุมมอง
วรรณกรรมอเมริกันรวมสมัย
ใช ปลูกมันไวในหนากระดาษ กลบดินที่โคนตนใหมันหยั่งรากลง ถอยคําของ
กวีเชนนี้จะเต็มเปยมดวยความจริง สดใหม และเปนธรรมชาติคลายดังจะ
แตกตาผลิใบใหมขึ้นทุกครั้งเมื่อฤดูใบไมผลิใกลมาเยือน แมวาที่จริงแลวมัน
จะถูกซุกซอนบดบังอยูในระหวางกระดาษปกเกา ๆ อับ ๆ สองแผนในหอง
สมุดก็ตาม มันจะออกดอกเบงบานและติดผลขึ้นตามชนิดเผาพันธุของมันขึ้น
ที่นั่นทุกป ปรากฏขึ้นแกใจของนักอานผูสัตยซื่อผูซึ่งรักในธรรมชาติ (141)
(ถอดความโดย พจนา จันทรสันติ)
เฮนรี เดวิด ทอโร (Henry David Thoreau) นักประพันธชาวอเมริกัน
ในคริสตศตวรรษที่ 19 รจนาขอความขางตนไวในความเรียงเรื่อง “การ
เดิน” (“Walking”) ซึ่งตีพิมพใน ค.ศ. 1862 ในนัยแรก ขอความนี้สื่อถึงความ
ปรารถนาของทอโรที่จะเห็นวรรณกรรม ซึ่งมิเพียงนําเสนอธรรมชาติอยาง
สัตยซื่อ แตยังใหโอกาสแกธรรมชาติในการเอื้อนเอยถอยคํา เพื่อแสดงตนให
มนุษยไดประจักษ ในนัยที่สอง ขอความนี้สะทอนใหเห็นความคิดของทอโรตอ
คุณลักษณะของกวีในอุดมคติ กลาวคือกวีที่แทจริงสามารถหลอหลอมตัวตน
ของเขาเขาเปนหนึ่งเดียวกันธรรมชาติ รอยเรียงธรรมชาติใหกลายเปนถอยคํา
ที่ “พูดแทน” กวีได และถายทอดความหมายของธรรมชาติผานภาษาที่เปน
ธรรมชาติ เพื่อจะ “ปลูก” ถอยคําเหลานี้ลงในหนากระดาษใหเปนเสมือนตน
ออนที่จะผลิดอกออกใบในหัวใจของผูอานที่รักธรรมชาติเฉกเชนกัน
เมื่อพิจารณางานเขียนของทอโรในบริบททางภูมิปญญาอเมริกันใน
คริสตศตวรรษที่ 19 จะเขาใจไดวา แนวคิดของเขาที่วาดวยธรรมชาติ กวี
และวรรณกรรม ไดรับอิทธิพลจากนักคิดนักเขียนกลุมทรานเซ็นเด็นทัลลิสต
(Transcendentalists) ซึ่งมี ราลฟ วัลโด เอเมอรสัน (Ralph Waldo Emerson)
เปนสมาชิกสําคัญ นักคิดกลุมนี้เชื่อในความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของสรรพ
3บทนํา
สิ่ง มีความศรัทธาเปนอยางยิ่งตอทั้งธรรมชาติ และจิตวิญญาณของมนุษย
ในฐานะที่เปนงานรังสรรคและที่สถิตแหงพระผูเปนเจา ธรรมชาติสําหรับ
นักคิดกลุมนี้มิไดหมายถึงธรรมชาติในเชิงกายภาพเทานั้น แตยังหมายรวม
ถึงธรรมชาติในเชิงจิตวิญญาณที่เชื่อมโยงมนุษยใหกลับคืนสูบานเกิดที่แท
นั่นคือความเปนหนึ่งเดียวกับพระเจา เอเมอรสันกลาวไวในความเรียงเรื่อง
“ธรรมชาติ” (Nature) ซึ่งตีพิมพใน ค.ศ. 1836 วา นอกเหนือจากคุณูปการ
อื่น ๆ ที่ธรรมชาติจะยังใหแกมนุษย เชน การใหประโยชนในเชิงกายภาพใน
ลักษณะที่เปนวัสดุใชสอย หรือเปนแหลงกําเนิดของภาษาที่มนุษยใช คุณูปการ
สูงสุดของธรรมชาติคือการพัฒนาจิตวิญญาณของมนุษยใหมีความเปน
เอกภาพกับพระผูเปนเจาและสรรพสิ่ง ทั้งนี้ การหยั่งรูธรรมชาติในระดับนี้
มิไดเกิดจากการรับรูผานคําบอกเลา การอาน หรือการคิดตามหลักตรรกะ
หากเปนญาณทัศนะที่จะปรากฏแจงขึ้นเอง เปนประสบการณโดยตรงใหจิตที่
พิสุทธิ์แลวไดสัมผัส สวนกวีถือเปนผูที่มีความสามารถในการหยั่งรูอันพิเศษ
นี้และถายทอดความยิ่งใหญของธรรมชาติไดอยางหมดจดงดงาม
นักอนุรักษธรรมชาติหัวรุนแรงสมัยใหมอาจวิจารณวา แนวคิดที่วาดวย
ความสัมพันธของมนุษยกับธรรมชาติของกลุมทรานเซ็นเด็นทัลลิสตนี้ยังคงถือ
เอามนุษยเปนศูนยกลาง (anthropocentrism) และยังคงมองวาธรรมชาติเปน
สิ่งที่มนุษยมีสิทธิใชประโยชนไดอยูดี อยางไรก็ตาม การใหความสําคัญกับ
ธรรมชาติของนักเขียนอเมริกันกลุมนี้และของนักเขียนชาวยุโรปกลุมโรแมนติก
(Romanticists) ซึ่งเปนตนธารที่มีอิทธิพลตอภูมิปญญาอเมริกันนี้ ถือเปนจุด
เริ่มที่สําคัญอยางยิ่งในการสรางสรรควรรณกรรมที่มีเนื้อหาโดยตรงเกี่ยวกับ
ธรรมชาติและความสัมพันธที่มนุษยมีตอธรรมชาติ ซึ่งปรากฏใหเห็นเดนชัด
ในคริสตศตวรรษที่ 19 อันเปนชวงเวลาที่การปฏิวัติอุตสาหกรรมเริ่มสงผล
กระทบตอธรรมชาติ ชุมชนและความสัมพันธระหวางมนุษยดวยกัน ในบรรดา
4 พินิจปญหาสิ่งแวดลอมผานมุมมอง
วรรณกรรมอเมริกันรวมสมัย
นักเขียนกลุมทรานเซ็นเด็นทัลลิสต ทอโรไดรับความสนใจเปนอยางมากจาก
นักวิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศ ในนัยหนึ่ง งานเขียนของทอโรสะทอนความ
คิดของปราชญกลุมนี้ที่กาวขามการมองธรรมชาติในเชิงอรรถประโยชนวา
เปนเพียง “ทรัพยากร” ที่ใหความสะดวกสบายทางวัตถุแกมนุษยและหันมา
เนนคุณคาอันสูงสุดของธรรมชาติที่จะชวยใหมนุษยตระหนักถึงชีวิตในอีกมิติ
ที่มิใชวัตถุ ซึ่งคือมิติทางจิตวิญญาณ ความเปนหนึ่งเดียวกันของธรรมชาติ
พระเจา และมนุษย สวนอีกนัยหนึ่งซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับกระแสการ
อนุรักษสิ่งแวดลอมในโลกปจจุบัน วิธีคิดของทอโรแหวกออกไปจากกลุม
ทรานเซ็นเด็นทัลลิสต กลาวคือ ทอโรใหความสําคัญตอมิติทางกายภาพของ
ธรรมชาติพอ ๆ กับมิติทางจิตวิญญาณ ทอโรใชเวลาทั้งชีวิตอยูกับธรรมชาติ
ในฐานะที่เปนนักธรรมชาติวิทยาและนักรังวัด ความรูทางธรรมชาติวิทยาที่
ทอโรสั่งสมจากการเฝาศึกษาธรรมชาติเปนที่ประจักษในงานเขียนในชวงหลัง
ของเขา เชน ความเรียงเรื่อง “Natural History of Massachusetts” (1842)
“The Succession of Forest Trees” (1860) หรือ “Wild Apples” (1860) งาน
เขียนเหลานี้สะทอนใหเห็นสํานึกและความหวงใยที่ทอโรมีตอสิ่งแวดลอม
โดยเฉพาะอยางยิ่ง ธรรมชาติที่กําลังแปรเปลี่ยนไปอันเปนผลมาจากความ
กาวหนาทางเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ดวยเหตุนี้ นักวิชาการจํานวนไม
นอยจึงยกยองทอโรวาเปนหนึ่งในผูบุกเบิกกระแสการอนุรักษธรรมชาติใน
วงวรรณกรรมอเมริกัน ลอเรนซ บิวเอลล (Lawrence Buell) ขนานนามทอโร
ไววาเปนเทพผูพิทักษ (“patron saint”) แหงงานเขียนเชิงสิ่งแวดลอมของ
อเมริกา (1995: 115)
นอกเหนือจากความเรียงขนาดยาวเรื่อง “วอลเดน” (Walden) (1854)
ซึ่งทอโรใชเสียงเพรียกของโลกธรรมชาติปลุกใหผูอานชาวอเมริกันในคริสต
ศตวรรษที่ 19 ฟนตื่นจากการหลับใหลภายใตมนตสะกดของสังคมวัตถุนิยม
หันมาทดลองใชชีวิตเรียบงายสมถะ แตสูงสงดวยคุณธรรมและความคิด
5บทนํา
ที่จะแสวงหาความหมายที่แทจริงของชีวิตตามแนวทางแหงปจเจกบุคคล
ความเรียงเรื่อง “การเดิน” ซึ่งเปนงานในชวงหลังและเปนที่มาของขอความ
ที่ยกมาเมื่อเริ่ม “บทนํา” สะทอนใหเห็นความหวงใยที่ทอโรมีตอธรรมชาติ
แวดลอมอยางชัดเจน ทอโรเชื้อเชิญใหผูอาน “เดิน” เขามาสูปาดงพงไพร
(“wilderness”) เพื่อแสวงหาสิ่งที่เขาเรียกวา “wildness”1
ซึ่งดํารงอยูทั้งในปา
และภายในใจที่ยังไมถูกแปดเปอนไปดวยวัตถุนิยม สําหรับทอโรแลว “wild-
ness” นี้ถือเปนรากฐานของการอนุรักษโลก ดังที่เขากลาวไวในประโยคที่ได
กลายเปนหลักการและคําขวัญของกลุมอนุรักษธรรมชาติในปจจุบันวา “[I]n
wildness is the preservation of the world” (1980: 112) ในความเรียงเรื่อง
นี้ ทอโรยังไดกลาวถึงปญหาสิ่งแวดลอมไวอยางตรงไปตรงมา เชน การตัด
1
คําวา “wildness” นี้ พจนา จันทรสันติ แปลวา “ความเถื่อนดิบ” (134, 135) ผูเขียนเลือกที่จะ
ไมแปลคํานี้เปนภาษาไทย คําวา “wildness” ที่ ทอโรใชนั้นเปนคําที่นักวิชาการพยายามตีความ
และทําความเขาใจอยางกวางขวาง ตัวอยางที่สําคัญคือ ความเรียงเรื่อง “The Etiquette of
Freedom” ที่สไนเดอรประพันธไวในหนังสือชื่อ The Practice of the Wild (1990: 3-24) ใน
บทความนี้ สไนเดอรวิพากษความหมายของคําวา “wild” ที่ใหไวในพจนานุกรมวา สะทอน
มุมมองที่ใชมนุษยเปนศูนยกลาง เชน หากใชบรรยายสัตว จะหมายความวาไมเชื่อง ที่ไมได
ถูกเลี้ยงใหเชื่อง (“not tame, undomesticated”) หากใชบรรยายพืช จะหมายความวา ไมได
มาจากการเพาะปลูก (“not cultivated”) หรือหากใชบรรยายผืนแผนดิน จะหมายความวา
ที่ไมมีผูอาศัยอยู ที่ไมมีการเพาะปลูก (“uninhabited, uncultivated”) (1990: 19) สไนเดอร
เสนอใหมองคําวา “wild” จากรากฐานของความเปนจริงของสภาพ “wildness” ตัวอยาง
เชน หากใชบรรยายสัตว จะหมายถึง สัตวที่มีชีวิตอยางเสรีในระบบของธรรมชาติ (“free
agents, each with its own endowments, living within natural systems”) หากใชบรรยาย
พืช จะหมายถึง ที่สามารถแพรพันธุและเติบโตไดดวยตนเองอยางสอดคลองกับคุณสมบัติ
ที่มีมาแตกําเนิด (“self-propagating, self-maintaining, flourishing in accord with innate
qualities”) สวนผืนแผนดินที่ “wild” หมายถึง สถานที่พืชพันธุสัตว และสิ่งมีชีวิตอยาง ๆ ที่
มีมาแตดั้งเดิมสามารถดํารงอยูในสภาวะที่มีปฏิสัมพันธตอกันอยางสมบูรณ และหมายรวม
ถึง รูปแบบของผืนแผนดินที่เปนผลมาจากปจจัยตามธรรมชาติที่ไมใชนํ้ามือมนุษย (“a place
where the original and potential vegetation and fauna are intact and in full interaction
and the landforms are entirely the result of nonhuman forces”) (1990: 9-10) เปนตน
6 พินิจปญหาสิ่งแวดลอมผานมุมมอง
วรรณกรรมอเมริกันรวมสมัย
ไมทําลายปา การบุกเบิกผืนปาเพื่อทําการเกษตร หรือสัตวปาที่ลดจํานวนลง
ความเรียงเรื่อง “การเดิน” ยังนําเสนอความปรารถนาของทอโรที่จะแสวงหา
วรรณกรรมที่กวีสามารถเอยถอยคําแทนธรรมชาติได ดังที่เขาประกาศไวใน
ประโยคแรกของความเรียงวา “I wish to speak a word for Nature....” (93)
(“ขาพเจาอยากจะเอยถอยคํา [แทน] ธรรมชาติ...”) (113) เสียงเรียกรองนี้
สะทอนใหเห็นความสัมพันธของวรรณกรรมและสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยาง
ยิ่งบทบาทของวรรณกรรมที่จะเปนกระบอกเสียงใหกับสิ่งแวดลอม อีกทั้งบม
เพาะและหลอเลี้ยงตนออนแหงนิเวศสํานึกในใจของผูอาน สําหรับประเด็น
สุดทาย ความเรียงเรื่อง “การเดิน” สะทอนใหเห็นฉันทาคติของทอโรที่มีตอ
ทวีปอเมริกาในฐานะที่เปนดินแดนที่ยังอุดมดวยปาดงพงไพร และยังปลอด
จากการรุกรานของอารยธรรมทั้งหลาย เชนเดียวกับนักเขียนชาวอเมริกัน
ผูอื่นในคริสตศตวรรษที่ 19 ทอโรสรางอัตลักษณของความเปนอเมริกันที่มี
รากฐานอยูบนธรรมชาติอันยิ่งใหญที่ยังรักษาความเปนปาดงพงพีไวไดอยาง
ที่ประเทศในยุโรปซึ่งแมจะรุมรวยดวยวัฒนธรรมอันเกาแก ไมสามารถจะ
สรรหามาเทียบได
ผูเขียน2
ขอใชความเรียงเรื่อง “การเดิน” นี้ เปดประเด็นสําคัญ 3
ประการซึ่งเปนพื้นฐานของหนังสือ พินิจปญหาสิ่งแวดลอมผานมุมมอง
วรรณกรรมรวมสมัย คือ 1) การวิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศ (ecocriticism)
2) วรรณกรรมสิ่งแวดลอม (environmental literature) และ 3) ความคิดเรื่อง
ธรรมชาติและกระแสการอนุรักษธรรมชาติในวัฒนธรรมอเมริกัน
2
ในหนังสือเลมนี้ ผูเขียนใชคําวา “ผูเขียน” เพื่อหมายถึงตนเอง และใชคําวา “นักประพันธ”
หรือ “ผูประพันธ” เพื่อสื่อถึงศิลปนที่สรรคสรางตัวบทวรรณกรรม
7บทนํา
การวิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศ
ในหนังสือชื่อ The Ecocriticism Reader: Landmarks in Literary Ecology
(1996) เชอริลล กล็อตเฟลตี (Cheryll Glotfelty) เลาถึงที่มาของการศึกษา
ความสัมพันธระหวางวรรณคดีกับสิ่งแวดลอม ไววา การศึกษาในสาขานี้
เริ่มตนอยางจริงจังในชวงกลางทศวรรษ 1980 เริ่มตั้งแตการตีพิมพหนังสือ
Teaching Environmental Literature: Materials, Methods, Resources ใน ค.ศ.
1985 โดย เฟรดเดอริก โอ. เวจ (Frederick O. Waage) ซึ่งเปนบรรณาธิการ
รวบรวมงานของนักวิชาการ 19 คน ดวยจุดมุงหมายที่จะบมเพาะสํานึกสิ่ง
แวดลอมในวงการวรรณกรรมศึกษา วารสารทางวิชาการที่มีชื่อเสียงหลาย
ฉบับเริ่มตีพิมพวารสารฉบับพิเศษที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับประเด็นสิ่งแวดลอมใน
วรรณกรรมโดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยหลายแหงเพิ่มรายวิชาทางวรรณกรรม
ไวในหลักสูตรสิ่งแวดลอมศึกษา และใน ค.ศ. 1990 มหาวิทยาลัยเนวาดา
วิทยาเขตรีโน (University of Nevada at Reno) ริเริ่มเปดรับอาจารยเขาทํางาน
ในสาขาวรรณกรรมและสิ่งแวดลอมเปนครั้งแรก นอกจากนั้น สาขาวิชานี้
เริ่มปรากฏอยูในหัวขอของการประชุมสัมมนาทางวิชาการตาง ๆ ที่สําคัญ
คือ การประชุมครั้งพิเศษของสมาคม Modern Language Association (MLA)
เรื่อง “Ecocriticism: The Greening of Literary Studies” ใน ค.ศ. 1992 ที่มี
แฮรอลด ฟรอมม (Harold Fromm) เปนหัวหอกดําเนินการ และการสัมมนา
ของ American Literature Association เรื่อง “American Nature Writing: New
Contexts, New Approaches” ในปเดียวกัน โดยมี เกล็นน เอ. เลิฟ (Glenn A.
Love) เปนประธานการสัมมนา ยิ่งไปกวานั้น ในปนี้ นักวิชาการชาวอเมริกัน
จากหลากหลายสาขาวิชารวมกันกอตั้งสมาคมการศึกษาวรรณกรรมและสิ่ง
แวดลอม (Association of the Study of Literature and the Environment หรือ
ชื่อยอวา ASLE) เปนครั้งแรก โดยมีปณิธานที่จะ “สนับสนุนการแลกเปลี่ยน
8 พินิจปญหาสิ่งแวดลอมผานมุมมอง
วรรณกรรมอเมริกันรวมสมัย
ขอมูลและความคิดที่เกี่ยวกับวรรณกรรมซึ่งมีเนื้อหาวาดวยความสัมพันธ
ของมนุษยและโลกธรรมชาติ” และสงเสริมใหมี “งานเขียนประเภท nature
writing การศึกษาวรรณกรรมสิ่งแวดลอมทั้งแนวทางการวิจารณดั้งเดิม และ
แนวทางใหม ๆ และการวิจัยเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมในลักษณะสหสาขาวิชา”
และใน ค.ศ. 1993 แพทริก ดี. เมอรฟ (Patrick D. Murphy) ดําเนินการกอ
ตั้งวารสารของสมาคม ชื่อ ISLE: Interdisciplinary Studies in Literature and
Environment ซึ่งตีพิมพตั้งแตนั้นเปนตนมา (Glotfelty and Fromm xvii - xviii)
หนังสือ The Ecocriticism Reader: Landmarks in Literary Ecology ซึ่งมี
กล็อตเฟลตี และฟรอมม เปนบรรณาธิการ นับเปนหมุดหมายสําคัญของการ
เริ่มตนแนวทางการศึกษาวรรณกรรมเชิงนิเวศ หนังสือเลมนี้รวบรวมบทความ
ที่เปนแนวคิด ทฤษฎี และตัวอยางการวิเคราะหวรรณกรรมสิ่งแวดลอมของ
นักวิชาการ 25 คน ซึ่งจะกลายเปนนักวิชาการที่มีบทบาทสําคัญในแวดวง
การศึกษาในสาขานี้ในเวลาตอมา กล็อตเฟลตีอธิบายความหมายของการ
วิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศ3
ไววา
[E]cocriticism is the study of the relationship between literature
and the physical environment. Just as feminist criticism examines
language and literature from a gender-conscious perspective, and
Marxist criticism brings an awareness of modes of production and
economic class to its reading of texts, ecocriticism takes an earth-
centered approach to literary studies. (xviii)
3
กล็อตเฟลตี ชี้แจงวาคําวา “ecocriticism”นั้น วิลเลียม รุกเคิรต (William Rueckert) เปนผู
ริเริ่มใชเปนครั้งแรกใน ค.ศ. 1978 ในบทความชื่อ “Literature and Ecology: An Experi-
ment in Ecocriticism” (ซึ่งเปนบทความหนึ่งใน The Ecocriticism Reader) สําหรับรุกเคิรต
แลว “ecocriticism” มีความหมายที่คอนขางจํากัด กลาวคือ “การประยุกตความคิดดาน
นิเวศวิทยามาใชในการศึกษาวรรณคดี” (xx)
9บทนํา
การวิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศคือการศึกษาความสัมพันธของ
วรรณกรรมกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ในขณะที่การวิจารณแนวสตรี
นิยมวิเคราะห ภาษาและวรรณกรรมจากมุมมองเรื่องเพศสถานะ การ
วิจารณแนวมารกซิสตอานวรรณกรรมโดยมุงความสนใจไปที่ประเด็น
วิธีการผลิตและชนชั้นทางเศรษฐกิจ การวิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศ
นํามุมมองที่ใหความสําคัญกับโลกกายภาพมาศึกษาวรรณกรรม
ดวยการวิเคราะหแนวนี้มีความเห็นวาวัฒนธรรมของมนุษยและโลกทาง
กายภาพมีความเชื่อมโยงกันและมีผลกระทบตอกันและกัน จึงมุงศึกษาความ
สัมพันธของโลกทางกายภาพกับภาษาและวรรณกรรม ซึ่งถือเปนผลผลิตทาง
วัฒนธรรมที่สําคัญ กลาวอีกนัยหนึ่ง ตามที่ เกร็ก การรารด (Greg Garrard)
ขยายความไวในหนังสือชื่อ Ecocriticism (2004) ก็คือปญหาสิ่งแวดลอมนั้น
จะตองนํามาศึกษาวิเคราะหกันทั้งในเชิงวิทยาศาสตรและวัฒนธรรม การ
วิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศเปนการวิเคราะหปญหาสิ่งแวดลอมในมิติของ
วัฒนธรรมที่ผูกโยงกับจุดมุงหมายทางการเมืองและจริยธรรมที่จะอนุรักษ
สิ่งแวดลอม (3) นอกจากนั้นแลว การวิจารณเชิงนิเวศยังไดขยายขอบเขต
ของทฤษฎีวรรณคดีออกไปอีก กลาวคือ ทฤษฎีวรรณคดีโดยทั่วไปศึกษา
ความสัมพันธของผูเขียน ตัวบท และโลก โดย “โลก” มักหมายถึง สังคม
มนุษย แตการวิจารณเชิงนิเวศขยายความหมายของ “โลก” ใหครอบคลุมถึง
โลกธรรมชาติและโลกทางกายภาพทั้งหมด (Glotfelty xix) เลิฟ นักวิชาการ
อีกทานหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญในการรวมวางรากฐานใหกับการวิจารณใน
แนวทางนี้ ไดตั้งขอสังเกตไวในบทความชื่อ “Revaluing Nature: Toward an
Ecological Criticism” วา การศึกษาวรรณกรรมที่ผานมาใหความสําคัญกับ
ความรูสึกนึกคิดของมนุษย (“ego-consciousness”) เปนอยางมาก จนอาจ
10 พินิจปญหาสิ่งแวดลอมผานมุมมอง
วรรณกรรมอเมริกันรวมสมัย
เรียกไดวาเปนการศึกษาที่ถือเอามนุษยเปนศูนยกลาง และเรียกรองใหนัก
วิชาการในวงการวรรณคดีศึกษาหันมาสนใจโลกธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอม
(“eco-consciousness”) กันอยางจริงจัง เพื่อสรางสํานึกสิ่งแวดลอมและ
รวมกันพิจารณาปญหาสิ่งแวดลอม ซึ่งถือเปนปญหาสําคัญหนึ่งในยุคนี้ (ใน
Glotfelty 225-240)
อนึ่ง การกอตัวขึ้นและการพัฒนาของวงการการวิจารณเชิงนิเวศมี
รากฐานอยูบนความตระหนักและความหวงใยของนักวิชาการสาขามนุษยศาสตร
ตอความรุนแรงของวิกฤติสิ่งแวดลอม นักวิชาการเหลานี้ตองการที่จะใชความ
รูและความเชี่ยวชาญในสาขาของตนใหเปนประโยชนในการรวมแกไขปญหา
สิ่งแวดลอม กล็อตเฟลตีตั้งคําถามที่จุดประกายในการสรางสํานึกใหกับนัก
วิชาการที่ศึกษาวรรณคดีไววา “พวกเราในฐานะอาจารยสอนวรรณคดีจะนํา
ความรูความสามารถที่เรามีอยูมาชวยกันพื้นฟูสิ่งแวดลอมไดอยางไรบาง”
และชี้เห็นใหวาอันที่จริงแลว ปญหาสิ่งแวดลอมที่สังคมโลกกําลังเผชิญอยู
นั้นสวนใหญเปนผลมาจากการกระทําของมนุษยเอง (xxi) กล็อตเฟลตียัง
ไดอางถึงนักประวัติศาสตรชื่อ โดนัลด วอรสเตอร (Donald Worster) ที่ได
ตั้งขอสังเกตไวอยางนาสนใจวา รากเหงาของปญหาสิ่งแวดลอมนั้นไมไดอยู
ที่ปญหาที่มาจาก “ระบบนิเวศทางธรรมชาติ” แตอยูที่ “ระบบจริยธรรม”
ของมวลมนุษยชาติตางหาก การแกไขปญหาจึงจําเปนที่ยอนกลับไปทําความ
เขาใจกับระบบจริยธรรมของเราเองกอน วอรสเตอรยอมรับวา นักวิชาการ
ในสาขามนุษยศาสตร เชน นักประวัติศาสตร นักวรรณคดี นักมานุษยวิทยา
หรือนักปรัชญา “ไมสามารถเขาไปพื้นฟูสิ่งแวดลอมได” แตอาจจะมีสวน
ชวย “สรางความเขาใจใหเกิดขึ้นได” (xxi) การวิจารณเชิงนิเวศจึงเปนความ
พยายาม “สรางความเขาใจ” ที่เกี่ยวกับทัศนคติ ความเชื่อ ความคิดที่มนุษย
มีตอตนเอง ธรรมชาติ และความสัมพันธของตนกับธรรมชาติแวดลอม ที่มี

More Related Content

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740335481

  • 1. บทนํา Where is the literature which gives expression to Nature? He would be a poet who could impress the winds and streams into his service, to speak for him; who nailed words to their primitive senses, as farmers drive down stakes in the spring, which the frost has heaved; who derived his words as often as he used them, —transplanted them to his page with earth adhering to their roots; whose words were so true and fresh and natural that they would appear to expand like the buds at the approach of spring, though they lay half smothered between two musty leaves in a library,—aye, to bloom and bear fruit there, after their kind, annually, for the faithful reader, in sympathy with surrounding Nature. (1980: 120) ไหนเลาคือวรรณกรรมที่อาจแสดงออกถึงธรรมชาติไดอยางหมดจด สิ้นเชิง ถามีอยู คนผูนั้นคงจะเปนกวีซึ่งอาจพึ่งพาชวงใชสายลมและธารนํ้าให ชวยพูดแทนเขาได เขาคือผูที่ตอกตรึงถอยคําลงในความหมายปฐมกาลของ มัน ดุจดังที่ชาวไรตอกหลักซึ่งถูกนํ้าคางแข็งทําใหโยกคลอนใหแนนอีกครั้งใน ฤดูใบไมผลิ เขาคือผูที่จะใชถอยคําอยางตรงตามความหมายดั้งเดิมทุกครั้งที่
  • 2. 2 พินิจปญหาสิ่งแวดลอมผานมุมมอง วรรณกรรมอเมริกันรวมสมัย ใช ปลูกมันไวในหนากระดาษ กลบดินที่โคนตนใหมันหยั่งรากลง ถอยคําของ กวีเชนนี้จะเต็มเปยมดวยความจริง สดใหม และเปนธรรมชาติคลายดังจะ แตกตาผลิใบใหมขึ้นทุกครั้งเมื่อฤดูใบไมผลิใกลมาเยือน แมวาที่จริงแลวมัน จะถูกซุกซอนบดบังอยูในระหวางกระดาษปกเกา ๆ อับ ๆ สองแผนในหอง สมุดก็ตาม มันจะออกดอกเบงบานและติดผลขึ้นตามชนิดเผาพันธุของมันขึ้น ที่นั่นทุกป ปรากฏขึ้นแกใจของนักอานผูสัตยซื่อผูซึ่งรักในธรรมชาติ (141) (ถอดความโดย พจนา จันทรสันติ) เฮนรี เดวิด ทอโร (Henry David Thoreau) นักประพันธชาวอเมริกัน ในคริสตศตวรรษที่ 19 รจนาขอความขางตนไวในความเรียงเรื่อง “การ เดิน” (“Walking”) ซึ่งตีพิมพใน ค.ศ. 1862 ในนัยแรก ขอความนี้สื่อถึงความ ปรารถนาของทอโรที่จะเห็นวรรณกรรม ซึ่งมิเพียงนําเสนอธรรมชาติอยาง สัตยซื่อ แตยังใหโอกาสแกธรรมชาติในการเอื้อนเอยถอยคํา เพื่อแสดงตนให มนุษยไดประจักษ ในนัยที่สอง ขอความนี้สะทอนใหเห็นความคิดของทอโรตอ คุณลักษณะของกวีในอุดมคติ กลาวคือกวีที่แทจริงสามารถหลอหลอมตัวตน ของเขาเขาเปนหนึ่งเดียวกันธรรมชาติ รอยเรียงธรรมชาติใหกลายเปนถอยคํา ที่ “พูดแทน” กวีได และถายทอดความหมายของธรรมชาติผานภาษาที่เปน ธรรมชาติ เพื่อจะ “ปลูก” ถอยคําเหลานี้ลงในหนากระดาษใหเปนเสมือนตน ออนที่จะผลิดอกออกใบในหัวใจของผูอานที่รักธรรมชาติเฉกเชนกัน เมื่อพิจารณางานเขียนของทอโรในบริบททางภูมิปญญาอเมริกันใน คริสตศตวรรษที่ 19 จะเขาใจไดวา แนวคิดของเขาที่วาดวยธรรมชาติ กวี และวรรณกรรม ไดรับอิทธิพลจากนักคิดนักเขียนกลุมทรานเซ็นเด็นทัลลิสต (Transcendentalists) ซึ่งมี ราลฟ วัลโด เอเมอรสัน (Ralph Waldo Emerson) เปนสมาชิกสําคัญ นักคิดกลุมนี้เชื่อในความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของสรรพ
  • 3. 3บทนํา สิ่ง มีความศรัทธาเปนอยางยิ่งตอทั้งธรรมชาติ และจิตวิญญาณของมนุษย ในฐานะที่เปนงานรังสรรคและที่สถิตแหงพระผูเปนเจา ธรรมชาติสําหรับ นักคิดกลุมนี้มิไดหมายถึงธรรมชาติในเชิงกายภาพเทานั้น แตยังหมายรวม ถึงธรรมชาติในเชิงจิตวิญญาณที่เชื่อมโยงมนุษยใหกลับคืนสูบานเกิดที่แท นั่นคือความเปนหนึ่งเดียวกับพระเจา เอเมอรสันกลาวไวในความเรียงเรื่อง “ธรรมชาติ” (Nature) ซึ่งตีพิมพใน ค.ศ. 1836 วา นอกเหนือจากคุณูปการ อื่น ๆ ที่ธรรมชาติจะยังใหแกมนุษย เชน การใหประโยชนในเชิงกายภาพใน ลักษณะที่เปนวัสดุใชสอย หรือเปนแหลงกําเนิดของภาษาที่มนุษยใช คุณูปการ สูงสุดของธรรมชาติคือการพัฒนาจิตวิญญาณของมนุษยใหมีความเปน เอกภาพกับพระผูเปนเจาและสรรพสิ่ง ทั้งนี้ การหยั่งรูธรรมชาติในระดับนี้ มิไดเกิดจากการรับรูผานคําบอกเลา การอาน หรือการคิดตามหลักตรรกะ หากเปนญาณทัศนะที่จะปรากฏแจงขึ้นเอง เปนประสบการณโดยตรงใหจิตที่ พิสุทธิ์แลวไดสัมผัส สวนกวีถือเปนผูที่มีความสามารถในการหยั่งรูอันพิเศษ นี้และถายทอดความยิ่งใหญของธรรมชาติไดอยางหมดจดงดงาม นักอนุรักษธรรมชาติหัวรุนแรงสมัยใหมอาจวิจารณวา แนวคิดที่วาดวย ความสัมพันธของมนุษยกับธรรมชาติของกลุมทรานเซ็นเด็นทัลลิสตนี้ยังคงถือ เอามนุษยเปนศูนยกลาง (anthropocentrism) และยังคงมองวาธรรมชาติเปน สิ่งที่มนุษยมีสิทธิใชประโยชนไดอยูดี อยางไรก็ตาม การใหความสําคัญกับ ธรรมชาติของนักเขียนอเมริกันกลุมนี้และของนักเขียนชาวยุโรปกลุมโรแมนติก (Romanticists) ซึ่งเปนตนธารที่มีอิทธิพลตอภูมิปญญาอเมริกันนี้ ถือเปนจุด เริ่มที่สําคัญอยางยิ่งในการสรางสรรควรรณกรรมที่มีเนื้อหาโดยตรงเกี่ยวกับ ธรรมชาติและความสัมพันธที่มนุษยมีตอธรรมชาติ ซึ่งปรากฏใหเห็นเดนชัด ในคริสตศตวรรษที่ 19 อันเปนชวงเวลาที่การปฏิวัติอุตสาหกรรมเริ่มสงผล กระทบตอธรรมชาติ ชุมชนและความสัมพันธระหวางมนุษยดวยกัน ในบรรดา
  • 4. 4 พินิจปญหาสิ่งแวดลอมผานมุมมอง วรรณกรรมอเมริกันรวมสมัย นักเขียนกลุมทรานเซ็นเด็นทัลลิสต ทอโรไดรับความสนใจเปนอยางมากจาก นักวิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศ ในนัยหนึ่ง งานเขียนของทอโรสะทอนความ คิดของปราชญกลุมนี้ที่กาวขามการมองธรรมชาติในเชิงอรรถประโยชนวา เปนเพียง “ทรัพยากร” ที่ใหความสะดวกสบายทางวัตถุแกมนุษยและหันมา เนนคุณคาอันสูงสุดของธรรมชาติที่จะชวยใหมนุษยตระหนักถึงชีวิตในอีกมิติ ที่มิใชวัตถุ ซึ่งคือมิติทางจิตวิญญาณ ความเปนหนึ่งเดียวกันของธรรมชาติ พระเจา และมนุษย สวนอีกนัยหนึ่งซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับกระแสการ อนุรักษสิ่งแวดลอมในโลกปจจุบัน วิธีคิดของทอโรแหวกออกไปจากกลุม ทรานเซ็นเด็นทัลลิสต กลาวคือ ทอโรใหความสําคัญตอมิติทางกายภาพของ ธรรมชาติพอ ๆ กับมิติทางจิตวิญญาณ ทอโรใชเวลาทั้งชีวิตอยูกับธรรมชาติ ในฐานะที่เปนนักธรรมชาติวิทยาและนักรังวัด ความรูทางธรรมชาติวิทยาที่ ทอโรสั่งสมจากการเฝาศึกษาธรรมชาติเปนที่ประจักษในงานเขียนในชวงหลัง ของเขา เชน ความเรียงเรื่อง “Natural History of Massachusetts” (1842) “The Succession of Forest Trees” (1860) หรือ “Wild Apples” (1860) งาน เขียนเหลานี้สะทอนใหเห็นสํานึกและความหวงใยที่ทอโรมีตอสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่ง ธรรมชาติที่กําลังแปรเปลี่ยนไปอันเปนผลมาจากความ กาวหนาทางเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ดวยเหตุนี้ นักวิชาการจํานวนไม นอยจึงยกยองทอโรวาเปนหนึ่งในผูบุกเบิกกระแสการอนุรักษธรรมชาติใน วงวรรณกรรมอเมริกัน ลอเรนซ บิวเอลล (Lawrence Buell) ขนานนามทอโร ไววาเปนเทพผูพิทักษ (“patron saint”) แหงงานเขียนเชิงสิ่งแวดลอมของ อเมริกา (1995: 115) นอกเหนือจากความเรียงขนาดยาวเรื่อง “วอลเดน” (Walden) (1854) ซึ่งทอโรใชเสียงเพรียกของโลกธรรมชาติปลุกใหผูอานชาวอเมริกันในคริสต ศตวรรษที่ 19 ฟนตื่นจากการหลับใหลภายใตมนตสะกดของสังคมวัตถุนิยม หันมาทดลองใชชีวิตเรียบงายสมถะ แตสูงสงดวยคุณธรรมและความคิด
  • 5. 5บทนํา ที่จะแสวงหาความหมายที่แทจริงของชีวิตตามแนวทางแหงปจเจกบุคคล ความเรียงเรื่อง “การเดิน” ซึ่งเปนงานในชวงหลังและเปนที่มาของขอความ ที่ยกมาเมื่อเริ่ม “บทนํา” สะทอนใหเห็นความหวงใยที่ทอโรมีตอธรรมชาติ แวดลอมอยางชัดเจน ทอโรเชื้อเชิญใหผูอาน “เดิน” เขามาสูปาดงพงไพร (“wilderness”) เพื่อแสวงหาสิ่งที่เขาเรียกวา “wildness”1 ซึ่งดํารงอยูทั้งในปา และภายในใจที่ยังไมถูกแปดเปอนไปดวยวัตถุนิยม สําหรับทอโรแลว “wild- ness” นี้ถือเปนรากฐานของการอนุรักษโลก ดังที่เขากลาวไวในประโยคที่ได กลายเปนหลักการและคําขวัญของกลุมอนุรักษธรรมชาติในปจจุบันวา “[I]n wildness is the preservation of the world” (1980: 112) ในความเรียงเรื่อง นี้ ทอโรยังไดกลาวถึงปญหาสิ่งแวดลอมไวอยางตรงไปตรงมา เชน การตัด 1 คําวา “wildness” นี้ พจนา จันทรสันติ แปลวา “ความเถื่อนดิบ” (134, 135) ผูเขียนเลือกที่จะ ไมแปลคํานี้เปนภาษาไทย คําวา “wildness” ที่ ทอโรใชนั้นเปนคําที่นักวิชาการพยายามตีความ และทําความเขาใจอยางกวางขวาง ตัวอยางที่สําคัญคือ ความเรียงเรื่อง “The Etiquette of Freedom” ที่สไนเดอรประพันธไวในหนังสือชื่อ The Practice of the Wild (1990: 3-24) ใน บทความนี้ สไนเดอรวิพากษความหมายของคําวา “wild” ที่ใหไวในพจนานุกรมวา สะทอน มุมมองที่ใชมนุษยเปนศูนยกลาง เชน หากใชบรรยายสัตว จะหมายความวาไมเชื่อง ที่ไมได ถูกเลี้ยงใหเชื่อง (“not tame, undomesticated”) หากใชบรรยายพืช จะหมายความวา ไมได มาจากการเพาะปลูก (“not cultivated”) หรือหากใชบรรยายผืนแผนดิน จะหมายความวา ที่ไมมีผูอาศัยอยู ที่ไมมีการเพาะปลูก (“uninhabited, uncultivated”) (1990: 19) สไนเดอร เสนอใหมองคําวา “wild” จากรากฐานของความเปนจริงของสภาพ “wildness” ตัวอยาง เชน หากใชบรรยายสัตว จะหมายถึง สัตวที่มีชีวิตอยางเสรีในระบบของธรรมชาติ (“free agents, each with its own endowments, living within natural systems”) หากใชบรรยาย พืช จะหมายถึง ที่สามารถแพรพันธุและเติบโตไดดวยตนเองอยางสอดคลองกับคุณสมบัติ ที่มีมาแตกําเนิด (“self-propagating, self-maintaining, flourishing in accord with innate qualities”) สวนผืนแผนดินที่ “wild” หมายถึง สถานที่พืชพันธุสัตว และสิ่งมีชีวิตอยาง ๆ ที่ มีมาแตดั้งเดิมสามารถดํารงอยูในสภาวะที่มีปฏิสัมพันธตอกันอยางสมบูรณ และหมายรวม ถึง รูปแบบของผืนแผนดินที่เปนผลมาจากปจจัยตามธรรมชาติที่ไมใชนํ้ามือมนุษย (“a place where the original and potential vegetation and fauna are intact and in full interaction and the landforms are entirely the result of nonhuman forces”) (1990: 9-10) เปนตน
  • 6. 6 พินิจปญหาสิ่งแวดลอมผานมุมมอง วรรณกรรมอเมริกันรวมสมัย ไมทําลายปา การบุกเบิกผืนปาเพื่อทําการเกษตร หรือสัตวปาที่ลดจํานวนลง ความเรียงเรื่อง “การเดิน” ยังนําเสนอความปรารถนาของทอโรที่จะแสวงหา วรรณกรรมที่กวีสามารถเอยถอยคําแทนธรรมชาติได ดังที่เขาประกาศไวใน ประโยคแรกของความเรียงวา “I wish to speak a word for Nature....” (93) (“ขาพเจาอยากจะเอยถอยคํา [แทน] ธรรมชาติ...”) (113) เสียงเรียกรองนี้ สะทอนใหเห็นความสัมพันธของวรรณกรรมและสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะอยาง ยิ่งบทบาทของวรรณกรรมที่จะเปนกระบอกเสียงใหกับสิ่งแวดลอม อีกทั้งบม เพาะและหลอเลี้ยงตนออนแหงนิเวศสํานึกในใจของผูอาน สําหรับประเด็น สุดทาย ความเรียงเรื่อง “การเดิน” สะทอนใหเห็นฉันทาคติของทอโรที่มีตอ ทวีปอเมริกาในฐานะที่เปนดินแดนที่ยังอุดมดวยปาดงพงไพร และยังปลอด จากการรุกรานของอารยธรรมทั้งหลาย เชนเดียวกับนักเขียนชาวอเมริกัน ผูอื่นในคริสตศตวรรษที่ 19 ทอโรสรางอัตลักษณของความเปนอเมริกันที่มี รากฐานอยูบนธรรมชาติอันยิ่งใหญที่ยังรักษาความเปนปาดงพงพีไวไดอยาง ที่ประเทศในยุโรปซึ่งแมจะรุมรวยดวยวัฒนธรรมอันเกาแก ไมสามารถจะ สรรหามาเทียบได ผูเขียน2 ขอใชความเรียงเรื่อง “การเดิน” นี้ เปดประเด็นสําคัญ 3 ประการซึ่งเปนพื้นฐานของหนังสือ พินิจปญหาสิ่งแวดลอมผานมุมมอง วรรณกรรมรวมสมัย คือ 1) การวิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศ (ecocriticism) 2) วรรณกรรมสิ่งแวดลอม (environmental literature) และ 3) ความคิดเรื่อง ธรรมชาติและกระแสการอนุรักษธรรมชาติในวัฒนธรรมอเมริกัน 2 ในหนังสือเลมนี้ ผูเขียนใชคําวา “ผูเขียน” เพื่อหมายถึงตนเอง และใชคําวา “นักประพันธ” หรือ “ผูประพันธ” เพื่อสื่อถึงศิลปนที่สรรคสรางตัวบทวรรณกรรม
  • 7. 7บทนํา การวิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศ ในหนังสือชื่อ The Ecocriticism Reader: Landmarks in Literary Ecology (1996) เชอริลล กล็อตเฟลตี (Cheryll Glotfelty) เลาถึงที่มาของการศึกษา ความสัมพันธระหวางวรรณคดีกับสิ่งแวดลอม ไววา การศึกษาในสาขานี้ เริ่มตนอยางจริงจังในชวงกลางทศวรรษ 1980 เริ่มตั้งแตการตีพิมพหนังสือ Teaching Environmental Literature: Materials, Methods, Resources ใน ค.ศ. 1985 โดย เฟรดเดอริก โอ. เวจ (Frederick O. Waage) ซึ่งเปนบรรณาธิการ รวบรวมงานของนักวิชาการ 19 คน ดวยจุดมุงหมายที่จะบมเพาะสํานึกสิ่ง แวดลอมในวงการวรรณกรรมศึกษา วารสารทางวิชาการที่มีชื่อเสียงหลาย ฉบับเริ่มตีพิมพวารสารฉบับพิเศษที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับประเด็นสิ่งแวดลอมใน วรรณกรรมโดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยหลายแหงเพิ่มรายวิชาทางวรรณกรรม ไวในหลักสูตรสิ่งแวดลอมศึกษา และใน ค.ศ. 1990 มหาวิทยาลัยเนวาดา วิทยาเขตรีโน (University of Nevada at Reno) ริเริ่มเปดรับอาจารยเขาทํางาน ในสาขาวรรณกรรมและสิ่งแวดลอมเปนครั้งแรก นอกจากนั้น สาขาวิชานี้ เริ่มปรากฏอยูในหัวขอของการประชุมสัมมนาทางวิชาการตาง ๆ ที่สําคัญ คือ การประชุมครั้งพิเศษของสมาคม Modern Language Association (MLA) เรื่อง “Ecocriticism: The Greening of Literary Studies” ใน ค.ศ. 1992 ที่มี แฮรอลด ฟรอมม (Harold Fromm) เปนหัวหอกดําเนินการ และการสัมมนา ของ American Literature Association เรื่อง “American Nature Writing: New Contexts, New Approaches” ในปเดียวกัน โดยมี เกล็นน เอ. เลิฟ (Glenn A. Love) เปนประธานการสัมมนา ยิ่งไปกวานั้น ในปนี้ นักวิชาการชาวอเมริกัน จากหลากหลายสาขาวิชารวมกันกอตั้งสมาคมการศึกษาวรรณกรรมและสิ่ง แวดลอม (Association of the Study of Literature and the Environment หรือ ชื่อยอวา ASLE) เปนครั้งแรก โดยมีปณิธานที่จะ “สนับสนุนการแลกเปลี่ยน
  • 8. 8 พินิจปญหาสิ่งแวดลอมผานมุมมอง วรรณกรรมอเมริกันรวมสมัย ขอมูลและความคิดที่เกี่ยวกับวรรณกรรมซึ่งมีเนื้อหาวาดวยความสัมพันธ ของมนุษยและโลกธรรมชาติ” และสงเสริมใหมี “งานเขียนประเภท nature writing การศึกษาวรรณกรรมสิ่งแวดลอมทั้งแนวทางการวิจารณดั้งเดิม และ แนวทางใหม ๆ และการวิจัยเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมในลักษณะสหสาขาวิชา” และใน ค.ศ. 1993 แพทริก ดี. เมอรฟ (Patrick D. Murphy) ดําเนินการกอ ตั้งวารสารของสมาคม ชื่อ ISLE: Interdisciplinary Studies in Literature and Environment ซึ่งตีพิมพตั้งแตนั้นเปนตนมา (Glotfelty and Fromm xvii - xviii) หนังสือ The Ecocriticism Reader: Landmarks in Literary Ecology ซึ่งมี กล็อตเฟลตี และฟรอมม เปนบรรณาธิการ นับเปนหมุดหมายสําคัญของการ เริ่มตนแนวทางการศึกษาวรรณกรรมเชิงนิเวศ หนังสือเลมนี้รวบรวมบทความ ที่เปนแนวคิด ทฤษฎี และตัวอยางการวิเคราะหวรรณกรรมสิ่งแวดลอมของ นักวิชาการ 25 คน ซึ่งจะกลายเปนนักวิชาการที่มีบทบาทสําคัญในแวดวง การศึกษาในสาขานี้ในเวลาตอมา กล็อตเฟลตีอธิบายความหมายของการ วิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศ3 ไววา [E]cocriticism is the study of the relationship between literature and the physical environment. Just as feminist criticism examines language and literature from a gender-conscious perspective, and Marxist criticism brings an awareness of modes of production and economic class to its reading of texts, ecocriticism takes an earth- centered approach to literary studies. (xviii) 3 กล็อตเฟลตี ชี้แจงวาคําวา “ecocriticism”นั้น วิลเลียม รุกเคิรต (William Rueckert) เปนผู ริเริ่มใชเปนครั้งแรกใน ค.ศ. 1978 ในบทความชื่อ “Literature and Ecology: An Experi- ment in Ecocriticism” (ซึ่งเปนบทความหนึ่งใน The Ecocriticism Reader) สําหรับรุกเคิรต แลว “ecocriticism” มีความหมายที่คอนขางจํากัด กลาวคือ “การประยุกตความคิดดาน นิเวศวิทยามาใชในการศึกษาวรรณคดี” (xx)
  • 9. 9บทนํา การวิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศคือการศึกษาความสัมพันธของ วรรณกรรมกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ในขณะที่การวิจารณแนวสตรี นิยมวิเคราะห ภาษาและวรรณกรรมจากมุมมองเรื่องเพศสถานะ การ วิจารณแนวมารกซิสตอานวรรณกรรมโดยมุงความสนใจไปที่ประเด็น วิธีการผลิตและชนชั้นทางเศรษฐกิจ การวิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศ นํามุมมองที่ใหความสําคัญกับโลกกายภาพมาศึกษาวรรณกรรม ดวยการวิเคราะหแนวนี้มีความเห็นวาวัฒนธรรมของมนุษยและโลกทาง กายภาพมีความเชื่อมโยงกันและมีผลกระทบตอกันและกัน จึงมุงศึกษาความ สัมพันธของโลกทางกายภาพกับภาษาและวรรณกรรม ซึ่งถือเปนผลผลิตทาง วัฒนธรรมที่สําคัญ กลาวอีกนัยหนึ่ง ตามที่ เกร็ก การรารด (Greg Garrard) ขยายความไวในหนังสือชื่อ Ecocriticism (2004) ก็คือปญหาสิ่งแวดลอมนั้น จะตองนํามาศึกษาวิเคราะหกันทั้งในเชิงวิทยาศาสตรและวัฒนธรรม การ วิจารณวรรณกรรมเชิงนิเวศเปนการวิเคราะหปญหาสิ่งแวดลอมในมิติของ วัฒนธรรมที่ผูกโยงกับจุดมุงหมายทางการเมืองและจริยธรรมที่จะอนุรักษ สิ่งแวดลอม (3) นอกจากนั้นแลว การวิจารณเชิงนิเวศยังไดขยายขอบเขต ของทฤษฎีวรรณคดีออกไปอีก กลาวคือ ทฤษฎีวรรณคดีโดยทั่วไปศึกษา ความสัมพันธของผูเขียน ตัวบท และโลก โดย “โลก” มักหมายถึง สังคม มนุษย แตการวิจารณเชิงนิเวศขยายความหมายของ “โลก” ใหครอบคลุมถึง โลกธรรมชาติและโลกทางกายภาพทั้งหมด (Glotfelty xix) เลิฟ นักวิชาการ อีกทานหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญในการรวมวางรากฐานใหกับการวิจารณใน แนวทางนี้ ไดตั้งขอสังเกตไวในบทความชื่อ “Revaluing Nature: Toward an Ecological Criticism” วา การศึกษาวรรณกรรมที่ผานมาใหความสําคัญกับ ความรูสึกนึกคิดของมนุษย (“ego-consciousness”) เปนอยางมาก จนอาจ
  • 10. 10 พินิจปญหาสิ่งแวดลอมผานมุมมอง วรรณกรรมอเมริกันรวมสมัย เรียกไดวาเปนการศึกษาที่ถือเอามนุษยเปนศูนยกลาง และเรียกรองใหนัก วิชาการในวงการวรรณคดีศึกษาหันมาสนใจโลกธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอม (“eco-consciousness”) กันอยางจริงจัง เพื่อสรางสํานึกสิ่งแวดลอมและ รวมกันพิจารณาปญหาสิ่งแวดลอม ซึ่งถือเปนปญหาสําคัญหนึ่งในยุคนี้ (ใน Glotfelty 225-240) อนึ่ง การกอตัวขึ้นและการพัฒนาของวงการการวิจารณเชิงนิเวศมี รากฐานอยูบนความตระหนักและความหวงใยของนักวิชาการสาขามนุษยศาสตร ตอความรุนแรงของวิกฤติสิ่งแวดลอม นักวิชาการเหลานี้ตองการที่จะใชความ รูและความเชี่ยวชาญในสาขาของตนใหเปนประโยชนในการรวมแกไขปญหา สิ่งแวดลอม กล็อตเฟลตีตั้งคําถามที่จุดประกายในการสรางสํานึกใหกับนัก วิชาการที่ศึกษาวรรณคดีไววา “พวกเราในฐานะอาจารยสอนวรรณคดีจะนํา ความรูความสามารถที่เรามีอยูมาชวยกันพื้นฟูสิ่งแวดลอมไดอยางไรบาง” และชี้เห็นใหวาอันที่จริงแลว ปญหาสิ่งแวดลอมที่สังคมโลกกําลังเผชิญอยู นั้นสวนใหญเปนผลมาจากการกระทําของมนุษยเอง (xxi) กล็อตเฟลตียัง ไดอางถึงนักประวัติศาสตรชื่อ โดนัลด วอรสเตอร (Donald Worster) ที่ได ตั้งขอสังเกตไวอยางนาสนใจวา รากเหงาของปญหาสิ่งแวดลอมนั้นไมไดอยู ที่ปญหาที่มาจาก “ระบบนิเวศทางธรรมชาติ” แตอยูที่ “ระบบจริยธรรม” ของมวลมนุษยชาติตางหาก การแกไขปญหาจึงจําเปนที่ยอนกลับไปทําความ เขาใจกับระบบจริยธรรมของเราเองกอน วอรสเตอรยอมรับวา นักวิชาการ ในสาขามนุษยศาสตร เชน นักประวัติศาสตร นักวรรณคดี นักมานุษยวิทยา หรือนักปรัชญา “ไมสามารถเขาไปพื้นฟูสิ่งแวดลอมได” แตอาจจะมีสวน ชวย “สรางความเขาใจใหเกิดขึ้นได” (xxi) การวิจารณเชิงนิเวศจึงเปนความ พยายาม “สรางความเขาใจ” ที่เกี่ยวกับทัศนคติ ความเชื่อ ความคิดที่มนุษย มีตอตนเอง ธรรมชาติ และความสัมพันธของตนกับธรรมชาติแวดลอม ที่มี