SlideShare a Scribd company logo
1 of 238
พระไตรปิฎกภาษาไทย                        ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๔๕ เล่ม (ปกสีฟ้า)                                     ทั้งออนไลน์และออฟไลน์                    ที่มาของข้อมูล : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ มจร.                                      MCUTRAI Version 1.0                       พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑                       พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม                                         พระวินัยปิฎก                                       จูฬวรรค ภาค ๑                                        ___________                   ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น                                           ๑. กัมมขันธกะ                                           ๑. ตัชชนียกรรม                          เรื่องภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ[๑] สมัยนั้น พระผูมีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อาราม                      ้ของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี ครั้งนั้น พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ๑ ก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า “ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขันพวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่า และสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน” ทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไปเชิงอรรถ :๑ ปณฺฑุกโลหิตกา ตามศัพท์แปลว่า พระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ แต่ในที่นี้ ท่านหมายเอาพวกภิกษุผู้เป็นนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ (วิ.อ. ๓/๑/๒๕๑, สารตฺถ.ฏีกา ๓/๑/๔๓๗){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมบรรดาภิกษุผู้มักน้อยสันโดษ มีความละอาย มีความระมัดระวัง ใฝ่การศึกษาตำาหนิ ประณาม โพนทะนาว่า “ไฉน พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะจึงก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า‘ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน พวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่า และสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่า
กลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน’ ดังนี้เล่า ทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ทีเกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป”                           ่ทรงประชุมสงฆ์สอบถาม[๒] ครั้งนั้น ภิกษุเหล่านั้น ได้นำาเรื่องนี้ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ ลำาดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมสงฆ์เพราะเรื่องนี้เป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกษุทั้งหลาย ทราบว่า พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน พวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่า และสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน’ ดังนี้ทำาให้ ความบาดหมางที่ยังไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป จริงหรือ”ภิกษุเหล่านั้นทูลรับว่า “จริง พระพุทธเจ้าข้า”พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงตำาหนิว่า “ภิกษุทั้งหลาย การกระทำาของโมฆบุรุษเหล่านั้นไม่สมควร ไม่คล้อยตาม ไม่เหมาะสม ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควร{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมทำาเลย ภิกษุทั้งหลาย ไฉนโมฆบุรุษทั้งหลายจึงก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน พวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่า และสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอย เป็นฝ่ายพวกท่าน’ดังนี้เล่า ทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป ภิกษุทั้งหลาย การกระทำาอย่างนี้มิได้ทำาคนที่ยังไม่เลื่อมใสให้เลื่อมใส หรือทำาคนที่เลื่อมใสอยู่แล้วให้เลื่อมใสยิ่งขึ้นได้เลย ที่จริงกลับจะ ทำาให้คนที่ไม่เลื่อมใส ก็ไม่เลื่อมใสไปเลย คนที่เลื่อมใสอยู่บางพวกก็จะกลายเป็นอื่นไป”ทรงรับสั่งให้ลงตัชชนียกรรมครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคทรงตำาหนิพวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะโดยประการต่าง ๆ แล้ว จึงตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก บำารุงยากมักมาก ไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย บำารุงง่าย มักน้อย สันโดษ ความขัดเกลา ความกำาจัดกิเลส อาการน่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยประการต่าง ๆ ทรงแสดงธรรมีกถาให้เหมาะสม ให้คล้อยตามกับเรื่องนั้นแล้วรับสั่งกับภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกษุทั้งหลายถ้าเช่นนั้น สงฆ์จงลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ”วิธีลงตัชชนียกรรมและกรรมวาจาภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงลงตัชชนียกรรมอย่างนี้ คือ เบื้องต้นพึงโจทพวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ครั้นแล้วให้ภิกษุเหล่านั้นให้การแล้วจึงปรับอาบัติ ครั้นปรับอาบัติแล้ว ภิกษุผู้ฉลาดสามารถพึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจาว่า
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๓ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม[๓] “ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาวก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมางก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ภิกษุรปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน                     ูพวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่า และสามารถกว่าภิกษุนั้นอย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน’ ทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ทีเกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป ถ้าสงฆ์พร้อมกันแล้ว พึง                         ่ลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ นี่เป็นญัตติท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า“ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน พวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่า และสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน” ทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป สงฆ์ลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงแม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้าพวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน พวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่าและสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน’{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๔ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป สงฆ์ลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงแม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้าพวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุ พวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน พวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่าและสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน’
ทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป สงฆ์ลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงตัชชนียกรรมสงฆ์ลงแล้วแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะสงฆ์เห็นด้วย เพราะเหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าขอถือเอาความนิ่งนั้นเป็นมติอย่างนี้”อธัมมกัมมทวาทสกะว่าด้วยตัชชนียกรรมที่ไม่ชอบธรรม ๑๒ หมวดหมวดที่ ๑[๔] ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ ทีจัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบ                                                   ่ด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๕ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม๑. ลงลับหลัง๑ ๒. ลงโดยไม่สอบถาม๓. ไม่ลงตามปฏิญญาภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                            ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๑)หมวดที่ ๒ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะไม่ต้องอาบัติ ๒. ลงเพราะอาบัติที่เป็นอเทสนาคามินี๒๓. ลงเพราะอาบัติที่แสดงแล้วภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๒)หมวดที่ ๓ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่โจทก่อนแล้วจึงลง ๒. ไม่ให้จำาเลยให้การก่อนแล้วจึงลง๓. ไม่ปรับอาบัติก่อนแล้วจึงลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                            ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๓)เชิงอรรถ :๑ ลงลับหลัง หมายถึงลงโดยที่สงฆ์ ธรรมวินัยและบุคคลไม่อยู่พร้อมหน้ากัน (วิ.อ. ๓/๔/๒๕๑)๒ อาบัติที่เป็นอเทสนาคามินี ได้แก่ อาบัติปาราชิกและอาบัติสังฆาทิเสส (วิ.อ. ๓/๔/๒๕๑) ที่ชื่อว่าอเทสนา-คามินี เพราะเป็นอาบัติที่ไม่อาจพ้นได้ด้วยการแสดง
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๖ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมหมวดที่ ๔ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงลับหลัง ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                            ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๔)หมวดที่ ๕ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงโดยไม่สอบถาม ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๕)หมวดที่ ๖ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่ลงตามปฏิญญา ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๖){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๗ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมหมวดที่ ๗ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะไม่ต้องอาบัติ ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                            ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๗)หมวดที่ ๘ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                          ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะอาบัตที่เป็นอเทสนาคามินี ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม                 ิ๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลง
ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๘)หมวดที่ ๙ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะอาบัตที่แสดงแล้ว ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม                 ิ๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๙){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๘ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมหมวดที่ ๑๐ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่โจทก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                            ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๑๐)หมวดที่ ๑๑ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่ให้จำาเลยให้การก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                            ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๑๑)หมวดที่ ๑๒ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่ปรับอาบัติก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                            ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๑๒)อธัมมกัมมทวาทสกะ จบ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๙ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมธัมมกัมมทวาทสกะว่าด้วยตัชชนียกรรมที่ชอบธรรม ๑๒ หมวด
หมวดที่ ๑[๕] ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ ทีจัดว่าเป็นกรรมชอบ                                                ่ด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ลงต่อหน้า ๒. ลงโดยสอบถามก่อน๓. ลงตามปฏิญญาภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๑)หมวดที่ ๒ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ลงเพราะต้องอาบัติ ๒. ลงเพราะอาบัติที่เป็นเทสนาคามินี๑๓. ลงเพราะอาบัติทยังไม่ได้แสดง                  ี่ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๒)หมวดที่ ๓ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                          ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือเชิงอรรถ :๑ อาบัติทเป็นเทสนาคามินี ได้แก่ อาบัตเบา ๕ อย่าง (คือ ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฏ          ี่                         ิทุพภาสิต) (วิ.อ. ๓/๔๗๕/๕๒๘){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๐ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม๑. โจทก่อนแล้วจึงลง ๒. ให้จำาเลยให้การก่อนแล้วจึงลง๓. ปรับอาบัติก่อนแล้วจึงลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                            ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๓)หมวดที่ ๔ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ลงต่อหน้า ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๔)หมวดที่ ๕ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                          ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ลงโดยสอบถามก่อน ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลง
ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๕)หมวดที่ ๖ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                          ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๑ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม๑. ลงตามปฏิญญา ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                            ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๖)หมวดที่ ๗ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ลงเพราะต้องอาบัติ ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๗)หมวดที่ ๘ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ลงเพราะอาบัตที่เป็นเทสนาคามินี ๒. ลงโดยชอบธรรม                 ิ๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๘)หมวดที่ ๙ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                          ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๒ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม๑. ลงเพราะอาบัตที่ยังไม่ได้แสดง ๒. ลงโดยชอบธรรม                 ิ๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                            ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๙)
หมวดที่ ๑๐ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. โจทก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๑๐)หมวดที่ ๑๑ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                           ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ให้จำาเลยให้การก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                            ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๑๑)หมวดที่ ๑๒ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น                                                          ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๓ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม๑. ปรับอาบัติก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น                            ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๑๒)ธัมมกัมมทวาทสกะ จบอากังขมานฉักกะว่าด้วยสงฆ์มุ่งหวังจะลงตัชชนียกรรม ๖ หมวดหมวดที่ ๑[๖] ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๓ คือ๑. ก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาวก่ออธิกรณ์ในสงฆ์๒. โง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้๑๓. อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควรภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๓เหล่านี้แล (๑)หมวดที่ ๒ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง คือ
๑. มีสีลวิบัติในอธิสีล ๒. มีอาจารวิบัติในอัชฌาจาร๓. มีทฏฐิวิบติในอติทิฏฐิ๒       ิ      ัเชิงอรรถ :๑ ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ คือ เว้นจากการกำาหนดอาบัติ หมายถึงต้องอาบัติไม่มีขอบเขต (วิ.อ. ๓/๔๐๗/๒๔๒)๒ มีสีลวิบัติในอธิสีล คือ ต้องอาบัติปาราชิก หรืออาบัติสังฆาทิเสสมีอาจารวิบัติในอัชฌาจาร คือ ต้องอาบัติที่เหลืออีก ๕ มีถุลลัจจัยเป็นต้นมีทิฏฐิวิบัติในอติทิฏฐิ คือ ประกอบด้วยความเห็นว่า โลกเที่ยง โลกไม่เที่ยง โลกมีที่สุด โลกไม่มีที่สุดเป็นต้น (วิ.อ. ๓/๘๔/๔๘-๔๙, (แปล) ดู.ที.สี. ๙/๕๓/๒๑){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๔ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์๓ เหล่านี้แล (๒)หมวดที่ ๓ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุที่ประกอบด้วยองค์๓ อีกอย่างหนึ่ง คือ๑. กล่าวติเตียนพระพุทธเจ้า ๒. กล่าวติเตียนพระธรรม๓. กล่าวติเตียนพระสงฆ์ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์๓ เหล่านี้แล (๓)หมวดที่ ๔ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุ ๓ รูป คือ๑. รูปหนึ่งก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์๒. รูปหนึ่งโง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้๓. รูปหนึ่งอยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควรภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุ ๓ รูปเหล่านี้แล(๔)หมวดที่ ๕ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุอื่นอีก ๓ รูป คือ๑. รูปหนึ่งมีสีลวิบัติในอธิสีล ๒. รูปหนึ่งมีอาจารวิบัติในอัชฌาจาร๓. รูปหนึ่งมีทิฏฐิวิบติในอติทิฏฐิ                      ัภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุ ๓ รูปเหล่านี้แล(๕){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๕ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมหมวดที่ ๖
ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุอื่นอีก ๓ รูป คือ๑. รูปหนึ่งกล่าวติเตียนพระพุทธเจ้า ๒. รูปหนึ่งกล่าวติเตียนพระธรรม๓. รูปหนึ่งกล่าวติเตียนพระสงฆ์ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุ ๓ รูปเหล่านี้แล (๖)อากังขมานฉักกะ จบอัฏฐารสวัตตะว่าด้วยวัตร ๑๘ ข้อในตัชชนียกรรม[๗] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมพึงประพฤติชอบ การประพฤติชอบในเรื่องนั้น ดังนี้๑. ไม่พึงให้อุปสมบท ๒. ไม่พึงให้นิสัย๓. ไม่พึงใช้สามเณรอุปัฏฐาก ๔. ไม่พึงรับแต่งตั้งเป็นผู้สั่งสอนภิกษุณี๕. แม้ได้รบแต่งตั้งแล้วก็ไม่พึงสั่ง ๖. ไม่พึงต้องอาบัติที่เป็นเหตุให้ถูกสงฆ์          ัสอนภิกษุณี ลงตัชชนียกรรมอีก๗. ไม่พึงต้องอาบัติอื่นทำานองเดียวกัน ๘. ไม่พึงต้องอาบัติที่เลวทรามกว่านั้น๙. ไม่พึงตำาหนิกรรม ๑๐. ไม่พึงตำาหนิภิกษุผู้ทำากรรม๑๑. ไม่พึงงดอุโบสถแก่ปกตัตตภิกษุ๑ ๑๒. ไม่พึงงดปวารณาแก่ปกตัตตภิกษุ๑๓. ไม่พึงทำาการไต่สวน ๑๔. ไม่พึงเริ่มอนุวาทาธิกรณ์๑๕. ไม่พึงขอโอกาสภิกษุอื่น ๑๖. ไม่พึงโจทภิกษุอื่น๑๗. ไม่พึงให้ภิกษุอื่นให้การ ๑๘. ไม่พึงชักชวนกันก่อความทะเลาะอัฏฐารสวัตตะในตัชชนียกรรม จบเชิงอรรถ :๑ ปกตัตตภิกษุ ได้แก่ ภิกษุผู้มีศีลและอาจาระเสมอกับภิกษุทั้งหลาย หรือภิกษุโดยปกติที่ไม่ถูกลงโทษหรือไม่ต้องอาบัติปาราชิก (วิ.อ. ๓/๓๙๔/๒๔๐,๗๕/๒๕๖,๑๐๒/๒๗๒){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๖ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมนัปปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรม[๘] ครั้งนั้น สงฆ์ได้ลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ พวกเธอถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้เข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วกล่าวว่า “พวกกระผมถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ พวกกระผมจะปฏิบัติอย่างไร”ภิกษุทั้งหลายจึงนำาเรื่องนี้ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย ถ้าอย่างนั้น สงฆ์จงระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะเถิด”หมวดที่ ๑ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ๑. ให้อุปสมบท ๒. ให้นิสัย
๓. ใช้สามเณรอุปฏฐาก ๔. รับแต่งตั้งเป็นผู้สั่งสอนภิกษุณี                ั๕. แม้ได้รบแต่งตั้งแล้วก็ยังสั่งสอนภิกษุณี           ัภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรม แก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕เหล่านี้แล (๑)หมวดที่ ๒ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ อีกอย่างหนึ่ง คือ๑. ต้องอาบัติที่เป็นเหตุให้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม๒. ต้องอาบัติอื่นทำานองเดียวกัน๓. ต้องอาบัติที่เลวทรามกว่านั้น{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๗ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม๔. ตำาหนิกรรม๕. ตำาหนิภิกษุผู้ทำากรรมภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ เหล่านี้แล (๒)หมวดที่ ๓ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ คือ๑. งดอุโบสถแก่ปกตัตตภิกษุ๒. งดปวารณาแก่ปกตัตตภิกษุ๓. ทำาการไต่สวน๔. เริ่มอนุวาทาธิกรณ์๕. ขอโอกาสภิกษุอื่น๖. โจทภิกษุอื่น๗. ให้ภิกษุอื่นให้การ๘. ชักชวนกันก่อความทะเลาะภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ เหล่านี้แล (๓)นัปปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ จบปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมหมวดที่ ๑[๙] ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ๑. ไม่ให้อุปสมบท ๒. ไม่ให้นิสัย๓. ไม่ใช้สามเณรอุปฏฐาก ๔. ไม่รับแต่งตั้งเป็นผู้สั่งสอนภิกษุณี                    ั๕. แม้ได้รบแต่งตั้งแล้วก็ไม่สั่งสอนภิกษุณี           ั{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๘ }
พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ เหล่านี้แล (๑)หมวดที่ ๒ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ อีกอย่างหนึ่งคือ๑. ไม่ต้องอาบัติที่เป็นเหตุให้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมอีก๒. ไม่ต้องอาบัติอื่นทำานองเดียวกัน๓. ไม่ต้องอาบัติที่เลวทรามกว่านั้น๔. ไม่ตำาหนิกรรม๕. ไม่ตำาหนิภิกษุผู้ทำากรรมภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ เหล่านี้แล (๒)หมวดที่ ๓ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ คือ๑. ไม่งดอุโบสถแก่ปกตัตตภิกษุ๒. ไม่งดปวารณาแก่ปกตัตตภิกษุ๓. ไม่ทำาการไต่สวน๔. ไม่เริ่มอนุวาทาธิกรณ์๕. ไม่ขอโอกาสภิกษุอื่น๖. ไม่โจทภิกษุอื่น๗. ไม่ให้ภิกษุอื่นให้การ๘. ไม่ชักชวนกันก่อความทะเลาะภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ เหล่านี้แล (๓)ปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ จบ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๙ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๑. ตัชชนียกรรมวิธีระงับตัชชนียกรรมและกรรมวาจา[๑๐] ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมอย่างนี้ คือ พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มอุตตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึ่งกราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษาทั้งหลาย นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า “ท่านผู้เจริญ พวกกระผมถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ พวกกระผมจึงขอระงับตัชชนียกรรม”พึงขอแม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯพึงขอแม้ครั้งที่ ๓ ฯลฯภิกษุผู้ฉลาดสามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจาว่า“ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะเหล่านี้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ขอระงับตัชชนียกรรม ถ้าสงฆ์พร้อมกันแล้ว พึงระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ นี่เป็นญัตติ
ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะเหล่านี้ ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม สงฆ์ระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะแล้ว ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงแม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ฯลฯท่านรูปใดเห็นด้วยกับการระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงแม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะเหล่านี้ ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒๐ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๒. นิยสกรรมกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม สงฆ์ระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะแล้ว ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปนั้นพึงนิ่งท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงตัชชนียกรรมสงฆ์ระงับแล้วแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะสงฆ์เห็นด้วย เพราะเหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าขอถือเอาความนิ่งนั้นเป็นมติอย่างนี้”ตัชชนียกรรมที่ ๑ จบ๒. นิยสกรรมเรื่องภิกษุเสยยสกะ[๑๑] สมัยนั้น ท่านพระเสยยสกะเป็นผู้โง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ ชอบอยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควรทั้ง ๆ ที่พวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาส ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัตและอัพภานอยู่บรรดาภิกษุผู้มักน้อยสันโดษ ฯลฯ พากันตำาหนิ ประณาม โพนทะนาว่า“ไฉนภิกษุเสยยสกะ ผู้โง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควร ทั้ง ๆ ที่พวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาส ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัตและอัพภานอยู่เล่า” แล้วจึงนำาเรื่องนี้ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบทรงประชุมสงฆ์สอบถามลำาดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมสงฆ์เพราะเรื่องนี้เป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกษุทั้งหลาย ทราบว่า ภิกษุเสยยสกะเป็นคนโง่เขลาไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลี{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒๑ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๒. นิยสกรรมกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควร ทั้ง ๆ ทีพวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาส ชักเข้าหาอาบัติเดิม                               ่
ให้มานัตและอัพภานอยู่ จริงหรือ”ภิกษุเหล่านั้นทูลรับว่า “จริง พระพุทธเจ้าข้า”พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงตำาหนิว่า “ภิกษุทั้งหลาย การกระทำาของโมฆบุรุษนั้น ไม่สมควร ไม่คล้อยตาม ไม่เหมาะสม ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำาเลยภิกษุทั้งหลาย ไฉนภิกษุเสยยสกะ ผู้โง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควร ทั้ง ๆที่พวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาส ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัตและอัพภานอยู่เล่า การกระทำาอย่างนี้มิได้ทำาคนที่ยังไม่เลื่อมใสให้เลื่อมใส หรือทำาคนที่เลื่อมใสอยู่แล้วให้เลื่อมใสยิ่งขึ้นได้เลย ฯลฯ” ครันทรงตำาหนิแล้วจึงทรงแสดงธรรมีกถาแล้วรับสั่งกับภิกษุทั้งหลาย                       ้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น สงฆ์จงลงนิยสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะ โดยสั่งให้กลับไปถือนิสัยใหม่”วิธีลงนิยสกรรมและกรรมวาจาสงฆ์พึงลงนิยสกรรมอย่างนี้ คือ เบื้องต้นพึงโจทภิกษุเสยยสกะ ครั้นแล้วให้เธอให้การแล้วปรับอาบัติ ครันปรับอาบัติแล้ว ภิกษุผู้ฉลาดสามารถพึงประกาศให้                            ้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจาว่า[๑๒] “ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุเสยยสกะนี้โง่เขลา ไม่ฉลาดมีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ อยูคลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์                                       ่ที่ไม่สมควร ทั้ง ๆ ที่พวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาสชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัตและอัพภานอยู่ ถ้าสงฆ์พร้อมกันแล้ว พึงลงนิยสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะ โดยสั่งให้กลับไปถือนิสัยใหม่ นี่เป็นญัตติท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุเสยยสกะนี้โง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมากต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควรทั้ง ๆ ที่พวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาส ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัตและอัพภานอยู่{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒๒ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๒. นิยสกรรมสงฆ์ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะ โดยสั่งให้กลับไปถือนิสัยใหม่ ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการลงนิยสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะ โดยสั่งให้กลับ ไปถือนิสัยใหม่ ท่านรูปนั้น พึงนิ่งท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงแม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุเสยยสกะนี้โง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควร ทั้ง ๆ ที่พวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาสชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัตและอัพภานอยู่ สงฆ์ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะโดยสั่งให้กลับไปถือนิสัยใหม่ ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการลงนิยสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะโดยสั่งให้กลับไปถือนิสัยใหม่ ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงแม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ฯลฯท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงนิยสกรรม สงฆ์ลงแล้วแก่ภิกษุเสยยสกะ โดยสั่งให้กลับไปถือนิสัยใหม่ สงฆ์เห็นด้วย เพราะเหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าขอถือเอาความนิ่งนั้นเป็นมติอย่างนี้”
อธัมมกัมมทวาทสกะว่าด้วยนิยสกรรมที่ไม่ชอบธรรม ๑๒ หมวดหมวดที่ ๑[๑๓] ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ ที่จดว่าเป็นกรรมไม่ชอบ                                                   ัด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงลับหลัง ๒. ลงโดยไม่สอบถาม๓. ไม่ลงตามปฏิญญาภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม                                                         ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๑){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒๓ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๒. นิยสกรรมหมวดที่ ๒ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะไม่ต้องอาบัติ ๒. ลงเพราะอาบัติที่เป็นอเทสนาคามินี๓. ลงเพราะอาบัติที่แสดงแล้วภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม                                                         ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๒)หมวดที่ ๓ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่โจทก่อนแล้วจึงลง ๒. ไม่ให้จำาเลยให้การก่อนแล้วจึงลง๓. ไม่ปรับอาบัติก่อนแล้วจึงลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม                                                         ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๓)หมวดที่ ๔ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงลับหลัง ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม                                                         ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๔){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒๔ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๒. นิยสกรรมหมวดที่ ๕ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ
๑. ลงโดยไม่สอบถาม ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม                                                         ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๕)หมวดที่ ๖ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่ลงตามปฏิญญา ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม                                                         ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๖)หมวดที่ ๗ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะไม่ต้องอาบัติ ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม                                                         ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๗){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒๕ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๒. นิยสกรรมหมวดที่ ๘ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะอาบัตที่เป็น ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม                 ิอเทสนาคามินี๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม                                                         ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๘)หมวดที่ ๙ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะอาบัตที่แสดงแล้ว ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม                 ิ๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม                                                         ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๙)หมวดที่ ๑๐ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่โจทก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑

More Related Content

What's hot

Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tongsamut vorasan
 
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tongsamut vorasan
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tongsamut vorasan
 
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tongsamut vorasan
 
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tongsamut vorasan
 
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tongsamut vorasan
 
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tongsamut vorasan
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tongsamut vorasan
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
Chor Chang
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
Tongsamut vorasan
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tongsamut vorasan
 
รายงาน คอป. ฉบับเต็ม
รายงาน คอป. ฉบับเต็มรายงาน คอป. ฉบับเต็ม
รายงาน คอป. ฉบับเต็ม
Sanchai San
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
Tongsamut vorasan
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tongsamut vorasan
 
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tongsamut vorasan
 
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tongsamut vorasan
 
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tongsamut vorasan
 

What's hot (20)

Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
 
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
 
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
 
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
ติวOne tsocial
ติวOne tsocialติวOne tsocial
ติวOne tsocial
 
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
 
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
 
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
รายงาน คอป. ฉบับเต็ม
รายงาน คอป. ฉบับเต็มรายงาน คอป. ฉบับเต็ม
รายงาน คอป. ฉบับเต็ม
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
 
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai language
 
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
 

More from Tongsamut vorasan

เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
Tongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑

  • 1. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๔๕ เล่ม (ปกสีฟ้า) ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ ที่มาของข้อมูล : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ มจร. MCUTRAI Version 1.0 พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑ พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม พระวินัยปิฎก จูฬวรรค ภาค ๑ ___________ ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ๑. กัมมขันธกะ ๑. ตัชชนียกรรม เรื่องภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ[๑] สมัยนั้น พระผูมีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อาราม ้ของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี ครั้งนั้น พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ๑ ก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า “ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขันพวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่า และสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน” ทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไปเชิงอรรถ :๑ ปณฺฑุกโลหิตกา ตามศัพท์แปลว่า พระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ แต่ในที่นี้ ท่านหมายเอาพวกภิกษุผู้เป็นนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ (วิ.อ. ๓/๑/๒๕๑, สารตฺถ.ฏีกา ๓/๑/๔๓๗){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมบรรดาภิกษุผู้มักน้อยสันโดษ มีความละอาย มีความระมัดระวัง ใฝ่การศึกษาตำาหนิ ประณาม โพนทะนาว่า “ไฉน พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะจึงก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า‘ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน พวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่า และสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่า
  • 2. กลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน’ ดังนี้เล่า ทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ทีเกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป” ่ทรงประชุมสงฆ์สอบถาม[๒] ครั้งนั้น ภิกษุเหล่านั้น ได้นำาเรื่องนี้ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบ ลำาดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมสงฆ์เพราะเรื่องนี้เป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกษุทั้งหลาย ทราบว่า พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน พวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่า และสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน’ ดังนี้ทำาให้ ความบาดหมางที่ยังไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป จริงหรือ”ภิกษุเหล่านั้นทูลรับว่า “จริง พระพุทธเจ้าข้า”พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงตำาหนิว่า “ภิกษุทั้งหลาย การกระทำาของโมฆบุรุษเหล่านั้นไม่สมควร ไม่คล้อยตาม ไม่เหมาะสม ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควร{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมทำาเลย ภิกษุทั้งหลาย ไฉนโมฆบุรุษทั้งหลายจึงก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน พวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่า และสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอย เป็นฝ่ายพวกท่าน’ดังนี้เล่า ทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป ภิกษุทั้งหลาย การกระทำาอย่างนี้มิได้ทำาคนที่ยังไม่เลื่อมใสให้เลื่อมใส หรือทำาคนที่เลื่อมใสอยู่แล้วให้เลื่อมใสยิ่งขึ้นได้เลย ที่จริงกลับจะ ทำาให้คนที่ไม่เลื่อมใส ก็ไม่เลื่อมใสไปเลย คนที่เลื่อมใสอยู่บางพวกก็จะกลายเป็นอื่นไป”ทรงรับสั่งให้ลงตัชชนียกรรมครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคทรงตำาหนิพวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะโดยประการต่าง ๆ แล้ว จึงตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก บำารุงยากมักมาก ไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความเกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย บำารุงง่าย มักน้อย สันโดษ ความขัดเกลา ความกำาจัดกิเลส อาการน่าเลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยประการต่าง ๆ ทรงแสดงธรรมีกถาให้เหมาะสม ให้คล้อยตามกับเรื่องนั้นแล้วรับสั่งกับภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกษุทั้งหลายถ้าเช่นนั้น สงฆ์จงลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ”วิธีลงตัชชนียกรรมและกรรมวาจาภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงลงตัชชนียกรรมอย่างนี้ คือ เบื้องต้นพึงโจทพวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ครั้นแล้วให้ภิกษุเหล่านั้นให้การแล้วจึงปรับอาบัติ ครั้นปรับอาบัติแล้ว ภิกษุผู้ฉลาดสามารถพึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจาว่า
  • 3. {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๓ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม[๓] “ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาวก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมางก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ภิกษุรปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน ูพวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่า และสามารถกว่าภิกษุนั้นอย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน’ ทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ทีเกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป ถ้าสงฆ์พร้อมกันแล้ว พึง ่ลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ นี่เป็นญัตติท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า“ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน พวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่า และสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน” ทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป สงฆ์ลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงแม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้าพวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุพวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน พวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่าและสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน’{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๔ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป สงฆ์ลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงแม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้าพวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ด้วยตนเอง และพากันเข้าไปหาภิกษุ พวกอื่นที่ก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ แล้วกล่าวอย่างนี้ว่า ‘ภิกษุรูปนั้นอย่าได้เอาชนะพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงโต้ตอบให้แข็งขัน พวกท่านเป็นบัณฑิตกว่า เฉลียวฉลาดกว่า เป็นพหูสูตกว่าและสามารถกว่าภิกษุนั้น อย่ากลัวภิกษุนั้น แม้พวกกระผมจะคอยเป็นฝ่ายพวกท่าน’
  • 4. ทำาให้ความบาดหมางที่ยังไม่เกิด ก็เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้วก็ขยายลุกลามออกไป สงฆ์ลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงตัชชนียกรรมสงฆ์ลงแล้วแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะสงฆ์เห็นด้วย เพราะเหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าขอถือเอาความนิ่งนั้นเป็นมติอย่างนี้”อธัมมกัมมทวาทสกะว่าด้วยตัชชนียกรรมที่ไม่ชอบธรรม ๑๒ หมวดหมวดที่ ๑[๔] ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ ทีจัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบ ่ด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๕ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม๑. ลงลับหลัง๑ ๒. ลงโดยไม่สอบถาม๓. ไม่ลงตามปฏิญญาภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๑)หมวดที่ ๒ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะไม่ต้องอาบัติ ๒. ลงเพราะอาบัติที่เป็นอเทสนาคามินี๒๓. ลงเพราะอาบัติที่แสดงแล้วภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๒)หมวดที่ ๓ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่โจทก่อนแล้วจึงลง ๒. ไม่ให้จำาเลยให้การก่อนแล้วจึงลง๓. ไม่ปรับอาบัติก่อนแล้วจึงลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๓)เชิงอรรถ :๑ ลงลับหลัง หมายถึงลงโดยที่สงฆ์ ธรรมวินัยและบุคคลไม่อยู่พร้อมหน้ากัน (วิ.อ. ๓/๔/๒๕๑)๒ อาบัติที่เป็นอเทสนาคามินี ได้แก่ อาบัติปาราชิกและอาบัติสังฆาทิเสส (วิ.อ. ๓/๔/๒๕๑) ที่ชื่อว่าอเทสนา-คามินี เพราะเป็นอาบัติที่ไม่อาจพ้นได้ด้วยการแสดง
  • 5. {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๖ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมหมวดที่ ๔ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงลับหลัง ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๔)หมวดที่ ๕ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงโดยไม่สอบถาม ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๕)หมวดที่ ๖ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่ลงตามปฏิญญา ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๖){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๗ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมหมวดที่ ๗ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะไม่ต้องอาบัติ ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๗)หมวดที่ ๘ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะอาบัตที่เป็นอเทสนาคามินี ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม ิ๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลง
  • 6. ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๘)หมวดที่ ๙ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะอาบัตที่แสดงแล้ว ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม ิ๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๙){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๘ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมหมวดที่ ๑๐ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่โจทก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๑๐)หมวดที่ ๑๑ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่ให้จำาเลยให้การก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๑๑)หมวดที่ ๑๒ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่ปรับอาบัติก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๑๒)อธัมมกัมมทวาทสกะ จบ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๙ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมธัมมกัมมทวาทสกะว่าด้วยตัชชนียกรรมที่ชอบธรรม ๑๒ หมวด
  • 7. หมวดที่ ๑[๕] ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ ทีจัดว่าเป็นกรรมชอบ ่ด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ลงต่อหน้า ๒. ลงโดยสอบถามก่อน๓. ลงตามปฏิญญาภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๑)หมวดที่ ๒ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ลงเพราะต้องอาบัติ ๒. ลงเพราะอาบัติที่เป็นเทสนาคามินี๑๓. ลงเพราะอาบัติทยังไม่ได้แสดง ี่ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๒)หมวดที่ ๓ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือเชิงอรรถ :๑ อาบัติทเป็นเทสนาคามินี ได้แก่ อาบัตเบา ๕ อย่าง (คือ ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฏ ี่ ิทุพภาสิต) (วิ.อ. ๓/๔๗๕/๕๒๘){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๐ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม๑. โจทก่อนแล้วจึงลง ๒. ให้จำาเลยให้การก่อนแล้วจึงลง๓. ปรับอาบัติก่อนแล้วจึงลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๓)หมวดที่ ๔ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ลงต่อหน้า ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๔)หมวดที่ ๕ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ลงโดยสอบถามก่อน ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลง
  • 8. ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๕)หมวดที่ ๖ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๑ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม๑. ลงตามปฏิญญา ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๖)หมวดที่ ๗ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ลงเพราะต้องอาบัติ ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๗)หมวดที่ ๘ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ลงเพราะอาบัตที่เป็นเทสนาคามินี ๒. ลงโดยชอบธรรม ิ๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๘)หมวดที่ ๙ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๒ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม๑. ลงเพราะอาบัตที่ยังไม่ได้แสดง ๒. ลงโดยชอบธรรม ิ๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๙)
  • 9. หมวดที่ ๑๐ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. โจทก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๑๐)หมวดที่ ๑๑ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ๑. ให้จำาเลยให้การก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๑๑)หมวดที่ ๑๒ภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ทีจัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี คือ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๓ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม๑. ปรับอาบัติก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยชอบธรรม๓. สงฆ์พร้อมเพรียงกันลงภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมทีประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จัดว่าเป็น ่กรรมชอบด้วยธรรม เป็นกรรมชอบด้วยวินัย และระงับดี (๑๒)ธัมมกัมมทวาทสกะ จบอากังขมานฉักกะว่าด้วยสงฆ์มุ่งหวังจะลงตัชชนียกรรม ๖ หมวดหมวดที่ ๑[๖] ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๓ คือ๑. ก่อความบาดหมาง ก่อความทะเลาะ ก่อความวิวาท ก่อความอื้อฉาวก่ออธิกรณ์ในสงฆ์๒. โง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้๑๓. อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควรภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๓เหล่านี้แล (๑)หมวดที่ ๒ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง คือ
  • 10. ๑. มีสีลวิบัติในอธิสีล ๒. มีอาจารวิบัติในอัชฌาจาร๓. มีทฏฐิวิบติในอติทิฏฐิ๒ ิ ัเชิงอรรถ :๑ ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ คือ เว้นจากการกำาหนดอาบัติ หมายถึงต้องอาบัติไม่มีขอบเขต (วิ.อ. ๓/๔๐๗/๒๔๒)๒ มีสีลวิบัติในอธิสีล คือ ต้องอาบัติปาราชิก หรืออาบัติสังฆาทิเสสมีอาจารวิบัติในอัชฌาจาร คือ ต้องอาบัติที่เหลืออีก ๕ มีถุลลัจจัยเป็นต้นมีทิฏฐิวิบัติในอติทิฏฐิ คือ ประกอบด้วยความเห็นว่า โลกเที่ยง โลกไม่เที่ยง โลกมีที่สุด โลกไม่มีที่สุดเป็นต้น (วิ.อ. ๓/๘๔/๔๘-๔๙, (แปล) ดู.ที.สี. ๙/๕๓/๒๑){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๔ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์๓ เหล่านี้แล (๒)หมวดที่ ๓ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุที่ประกอบด้วยองค์๓ อีกอย่างหนึ่ง คือ๑. กล่าวติเตียนพระพุทธเจ้า ๒. กล่าวติเตียนพระธรรม๓. กล่าวติเตียนพระสงฆ์ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์๓ เหล่านี้แล (๓)หมวดที่ ๔ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุ ๓ รูป คือ๑. รูปหนึ่งก่อความบาดหมาง ฯลฯ ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์๒. รูปหนึ่งโง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้๓. รูปหนึ่งอยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควรภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุ ๓ รูปเหล่านี้แล(๔)หมวดที่ ๕ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุอื่นอีก ๓ รูป คือ๑. รูปหนึ่งมีสีลวิบัติในอธิสีล ๒. รูปหนึ่งมีอาจารวิบัติในอัชฌาจาร๓. รูปหนึ่งมีทิฏฐิวิบติในอติทิฏฐิ ัภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุ ๓ รูปเหล่านี้แล(๕){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๕ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมหมวดที่ ๖
  • 11. ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุอื่นอีก ๓ รูป คือ๑. รูปหนึ่งกล่าวติเตียนพระพุทธเจ้า ๒. รูปหนึ่งกล่าวติเตียนพระธรรม๓. รูปหนึ่งกล่าวติเตียนพระสงฆ์ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์เมื่อมุ่งหวัง พึงลงตัชชนียกรรมแก่ภิกษุ ๓ รูปเหล่านี้แล (๖)อากังขมานฉักกะ จบอัฏฐารสวัตตะว่าด้วยวัตร ๑๘ ข้อในตัชชนียกรรม[๗] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมพึงประพฤติชอบ การประพฤติชอบในเรื่องนั้น ดังนี้๑. ไม่พึงให้อุปสมบท ๒. ไม่พึงให้นิสัย๓. ไม่พึงใช้สามเณรอุปัฏฐาก ๔. ไม่พึงรับแต่งตั้งเป็นผู้สั่งสอนภิกษุณี๕. แม้ได้รบแต่งตั้งแล้วก็ไม่พึงสั่ง ๖. ไม่พึงต้องอาบัติที่เป็นเหตุให้ถูกสงฆ์ ัสอนภิกษุณี ลงตัชชนียกรรมอีก๗. ไม่พึงต้องอาบัติอื่นทำานองเดียวกัน ๘. ไม่พึงต้องอาบัติที่เลวทรามกว่านั้น๙. ไม่พึงตำาหนิกรรม ๑๐. ไม่พึงตำาหนิภิกษุผู้ทำากรรม๑๑. ไม่พึงงดอุโบสถแก่ปกตัตตภิกษุ๑ ๑๒. ไม่พึงงดปวารณาแก่ปกตัตตภิกษุ๑๓. ไม่พึงทำาการไต่สวน ๑๔. ไม่พึงเริ่มอนุวาทาธิกรณ์๑๕. ไม่พึงขอโอกาสภิกษุอื่น ๑๖. ไม่พึงโจทภิกษุอื่น๑๗. ไม่พึงให้ภิกษุอื่นให้การ ๑๘. ไม่พึงชักชวนกันก่อความทะเลาะอัฏฐารสวัตตะในตัชชนียกรรม จบเชิงอรรถ :๑ ปกตัตตภิกษุ ได้แก่ ภิกษุผู้มีศีลและอาจาระเสมอกับภิกษุทั้งหลาย หรือภิกษุโดยปกติที่ไม่ถูกลงโทษหรือไม่ต้องอาบัติปาราชิก (วิ.อ. ๓/๓๙๔/๒๔๐,๗๕/๒๕๖,๑๐๒/๒๗๒){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๖ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมนัปปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรม[๘] ครั้งนั้น สงฆ์ได้ลงตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ พวกเธอถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้เข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วกล่าวว่า “พวกกระผมถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้วกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ พวกกระผมจะปฏิบัติอย่างไร”ภิกษุทั้งหลายจึงนำาเรื่องนี้ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบพระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “ภิกษุทั้งหลาย ถ้าอย่างนั้น สงฆ์จงระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะเถิด”หมวดที่ ๑ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ๑. ให้อุปสมบท ๒. ให้นิสัย
  • 12. ๓. ใช้สามเณรอุปฏฐาก ๔. รับแต่งตั้งเป็นผู้สั่งสอนภิกษุณี ั๕. แม้ได้รบแต่งตั้งแล้วก็ยังสั่งสอนภิกษุณี ัภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรม แก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕เหล่านี้แล (๑)หมวดที่ ๒ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ อีกอย่างหนึ่ง คือ๑. ต้องอาบัติที่เป็นเหตุให้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรม๒. ต้องอาบัติอื่นทำานองเดียวกัน๓. ต้องอาบัติที่เลวทรามกว่านั้น{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๗ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรม๔. ตำาหนิกรรม๕. ตำาหนิภิกษุผู้ทำากรรมภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ เหล่านี้แล (๒)หมวดที่ ๓ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ คือ๑. งดอุโบสถแก่ปกตัตตภิกษุ๒. งดปวารณาแก่ปกตัตตภิกษุ๓. ทำาการไต่สวน๔. เริ่มอนุวาทาธิกรณ์๕. ขอโอกาสภิกษุอื่น๖. โจทภิกษุอื่น๗. ให้ภิกษุอื่นให้การ๘. ชักชวนกันก่อความทะเลาะภิกษุทั้งหลาย สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ เหล่านี้แล (๓)นัปปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ จบปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมหมวดที่ ๑[๙] ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ๑. ไม่ให้อุปสมบท ๒. ไม่ให้นิสัย๓. ไม่ใช้สามเณรอุปฏฐาก ๔. ไม่รับแต่งตั้งเป็นผู้สั่งสอนภิกษุณี ั๕. แม้ได้รบแต่งตั้งแล้วก็ไม่สั่งสอนภิกษุณี ั{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๘ }
  • 13. พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธะ] ๑. ตัชชนียกรรมภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ เหล่านี้แล (๑)หมวดที่ ๒ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ อีกอย่างหนึ่งคือ๑. ไม่ต้องอาบัติที่เป็นเหตุให้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมอีก๒. ไม่ต้องอาบัติอื่นทำานองเดียวกัน๓. ไม่ต้องอาบัติที่เลวทรามกว่านั้น๔. ไม่ตำาหนิกรรม๕. ไม่ตำาหนิภิกษุผู้ทำากรรมภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ เหล่านี้แล (๒)หมวดที่ ๓ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ คือ๑. ไม่งดอุโบสถแก่ปกตัตตภิกษุ๒. ไม่งดปวารณาแก่ปกตัตตภิกษุ๓. ไม่ทำาการไต่สวน๔. ไม่เริ่มอนุวาทาธิกรณ์๕. ไม่ขอโอกาสภิกษุอื่น๖. ไม่โจทภิกษุอื่น๗. ไม่ให้ภิกษุอื่นให้การ๘. ไม่ชักชวนกันก่อความทะเลาะภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมแก่ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ เหล่านี้แล (๓)ปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ จบ{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๑๙ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๑. ตัชชนียกรรมวิธีระงับตัชชนียกรรมและกรรมวาจา[๑๐] ภิกษุทั้งหลาย สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรมอย่างนี้ คือ พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มอุตตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึ่งกราบเท้าภิกษุผู้แก่พรรษาทั้งหลาย นั่งกระโหย่ง ประนมมือ กล่าวอย่างนี้ว่า “ท่านผู้เจริญ พวกกระผมถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ พวกกระผมจึงขอระงับตัชชนียกรรม”พึงขอแม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯพึงขอแม้ครั้งที่ ๓ ฯลฯภิกษุผู้ฉลาดสามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจาว่า“ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะเหล่านี้ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ขอระงับตัชชนียกรรม ถ้าสงฆ์พร้อมกันแล้ว พึงระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ นี่เป็นญัตติ
  • 14. ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะเหล่านี้ ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว กลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม สงฆ์ระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะแล้ว ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงแม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ฯลฯท่านรูปใดเห็นด้วยกับการระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงแม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะเหล่านี้ ถูกสงฆ์ลงตัชชนียกรรมแล้ว{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒๐ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๒. นิยสกรรมกลับประพฤติชอบ หายเย่อหยิ่ง กลับตัวได้ ขอระงับตัชชนียกรรม สงฆ์ระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะแล้ว ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการระงับตัชชนียกรรมแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ ท่านรูปนั้นพึงนิ่งท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงตัชชนียกรรมสงฆ์ระงับแล้วแก่พวกภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะสงฆ์เห็นด้วย เพราะเหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าขอถือเอาความนิ่งนั้นเป็นมติอย่างนี้”ตัชชนียกรรมที่ ๑ จบ๒. นิยสกรรมเรื่องภิกษุเสยยสกะ[๑๑] สมัยนั้น ท่านพระเสยยสกะเป็นผู้โง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ ชอบอยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควรทั้ง ๆ ที่พวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาส ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัตและอัพภานอยู่บรรดาภิกษุผู้มักน้อยสันโดษ ฯลฯ พากันตำาหนิ ประณาม โพนทะนาว่า“ไฉนภิกษุเสยยสกะ ผู้โง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควร ทั้ง ๆ ที่พวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาส ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัตและอัพภานอยู่เล่า” แล้วจึงนำาเรื่องนี้ไปกราบทูลพระผู้มีพระภาคให้ทรงทราบทรงประชุมสงฆ์สอบถามลำาดับนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งให้ประชุมสงฆ์เพราะเรื่องนี้เป็นต้นเหตุ ทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกษุทั้งหลาย ทราบว่า ภิกษุเสยยสกะเป็นคนโง่เขลาไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลี{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒๑ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๒. นิยสกรรมกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควร ทั้ง ๆ ทีพวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาส ชักเข้าหาอาบัติเดิม ่
  • 15. ให้มานัตและอัพภานอยู่ จริงหรือ”ภิกษุเหล่านั้นทูลรับว่า “จริง พระพุทธเจ้าข้า”พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงตำาหนิว่า “ภิกษุทั้งหลาย การกระทำาของโมฆบุรุษนั้น ไม่สมควร ไม่คล้อยตาม ไม่เหมาะสม ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำาเลยภิกษุทั้งหลาย ไฉนภิกษุเสยยสกะ ผู้โง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควร ทั้ง ๆที่พวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาส ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัตและอัพภานอยู่เล่า การกระทำาอย่างนี้มิได้ทำาคนที่ยังไม่เลื่อมใสให้เลื่อมใส หรือทำาคนที่เลื่อมใสอยู่แล้วให้เลื่อมใสยิ่งขึ้นได้เลย ฯลฯ” ครันทรงตำาหนิแล้วจึงทรงแสดงธรรมีกถาแล้วรับสั่งกับภิกษุทั้งหลาย ้ว่า “ภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น สงฆ์จงลงนิยสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะ โดยสั่งให้กลับไปถือนิสัยใหม่”วิธีลงนิยสกรรมและกรรมวาจาสงฆ์พึงลงนิยสกรรมอย่างนี้ คือ เบื้องต้นพึงโจทภิกษุเสยยสกะ ครั้นแล้วให้เธอให้การแล้วปรับอาบัติ ครันปรับอาบัติแล้ว ภิกษุผู้ฉลาดสามารถพึงประกาศให้ ้สงฆ์ทราบด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจาว่า[๑๒] “ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุเสยยสกะนี้โง่เขลา ไม่ฉลาดมีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ อยูคลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ ่ที่ไม่สมควร ทั้ง ๆ ที่พวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาสชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัตและอัพภานอยู่ ถ้าสงฆ์พร้อมกันแล้ว พึงลงนิยสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะ โดยสั่งให้กลับไปถือนิสัยใหม่ นี่เป็นญัตติท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุเสยยสกะนี้โง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมากต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควรทั้ง ๆ ที่พวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาส ชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัตและอัพภานอยู่{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒๒ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๒. นิยสกรรมสงฆ์ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะ โดยสั่งให้กลับไปถือนิสัยใหม่ ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการลงนิยสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะ โดยสั่งให้กลับ ไปถือนิสัยใหม่ ท่านรูปนั้น พึงนิ่งท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงแม้ครั้งที่ ๒ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ภิกษุเสยยสกะนี้โง่เขลา ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก ต้องอาบัติกำาหนดไม่ได้ อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วยการคลุกคลีกับคฤหัสถ์ที่ไม่สมควร ทั้ง ๆ ที่พวกปกตัตตภิกษุก็ให้ปริวาสชักเข้าหาอาบัติเดิม ให้มานัตและอัพภานอยู่ สงฆ์ลงนิยสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะโดยสั่งให้กลับไปถือนิสัยใหม่ ท่านรูปใดเห็นด้วยกับการลงนิยสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะโดยสั่งให้กลับไปถือนิสัยใหม่ ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงแม้ครั้งที่ ๓ ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ฯลฯท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูปใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วงนิยสกรรม สงฆ์ลงแล้วแก่ภิกษุเสยยสกะ โดยสั่งให้กลับไปถือนิสัยใหม่ สงฆ์เห็นด้วย เพราะเหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าขอถือเอาความนิ่งนั้นเป็นมติอย่างนี้”
  • 16. อธัมมกัมมทวาทสกะว่าด้วยนิยสกรรมที่ไม่ชอบธรรม ๑๒ หมวดหมวดที่ ๑[๑๓] ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ ที่จดว่าเป็นกรรมไม่ชอบ ัด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงลับหลัง ๒. ลงโดยไม่สอบถาม๓. ไม่ลงตามปฏิญญาภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๑){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒๓ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๒. นิยสกรรมหมวดที่ ๒ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะไม่ต้องอาบัติ ๒. ลงเพราะอาบัติที่เป็นอเทสนาคามินี๓. ลงเพราะอาบัติที่แสดงแล้วภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๒)หมวดที่ ๓ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่โจทก่อนแล้วจึงลง ๒. ไม่ให้จำาเลยให้การก่อนแล้วจึงลง๓. ไม่ปรับอาบัติก่อนแล้วจึงลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๓)หมวดที่ ๔ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงลับหลัง ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๔){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒๔ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๒. นิยสกรรมหมวดที่ ๕ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ
  • 17. ๑. ลงโดยไม่สอบถาม ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๕)หมวดที่ ๖ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่ลงตามปฏิญญา ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๖)หมวดที่ ๗ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะไม่ต้องอาบัติ ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๗){ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๖ หน้า :๒๕ }พระวินัยปิฎก จูฬวรรค [๑. กัมมขันธกะ] ๒. นิยสกรรมหมวดที่ ๘ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะอาบัตที่เป็น ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม ิอเทสนาคามินี๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๘)หมวดที่ ๙ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ลงเพราะอาบัตที่แสดงแล้ว ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม ิ๓. สงฆ์แบ่งพวกกันลงภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ เหล่านี้แล ที่จดว่าเป็นกรรม ัไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี (๙)หมวดที่ ๑๐ภิกษุทั้งหลาย นิยสกรรมประกอบด้วยองค์ ๓ อีกอย่างหนึ่ง ที่จัดว่าเป็นกรรมไม่ชอบด้วยธรรม เป็นกรรมไม่ชอบด้วยวินัย และระงับไม่ดี คือ๑. ไม่โจทก่อนแล้วจึงลง ๒. ลงโดยไม่ชอบธรรม