SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
นวัตกรรมการศึกษา 
ประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
การเรียนรู้ตามทฤษฎี 
ของบรูเนอร์(Bruner)
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์(Bruner) 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (learning theory) การเรียนรู้คือกระบวนการที่ทา 
ให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้จากการได้ยิน 
การสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การเรียนรู้ของเด็กและผู้ใหญ่จะ 
ต่างกัน เด็กจะเรียนรู้ด้วยการเรียนในห้อง การซักถาม ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ด้วย 
ประสบการณ์ที่มีอยู่ แต่การเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอน 
นา เสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ดังนั้น ผู้สอนจะต้อง 
พิจารณาเลือกรูปแบบการสอน รวมทั้งการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์(Bruner) 
 ความรู้ถูกสร้างหรือหล่อหลอมโดยประสบการณ์ 
 ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน 
 ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่างๆ 
 ผู้เรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง 
 ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง 
 เนื้อหาควรถูกสร้างในภาพรวม 
 ทฤษฎีการเรียนรู้ (บรูเนอร์)
ทฤษฎีการเรียนรู้ 
ทฤษฎีการเรียนรู้เกิดจากแนวคิดของนักปรัชญาหรือปรัชญา 
การศึกษา ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ 
1.กลุ่มสารถนิยม 
สารัตถนิยม(Essentialism)มาจากภาษาละตินว่า Essentia หมายถึง 
สาระ หรือ เนื้อหาที่เป็นหลัก เป็นแก่น เป็นสิ่งสาคัญปรัชญาสารัตถนิยม 
ในทางการศึกษา คือ ปรัชญาที่ยึดเนื้อหา (Subject Matter) เป็นหลักสา คัญ 
ของการศึกษาและเนื้อหาที่สา คัญนั้นก็ต้องเน้นเนื้อหาที่ได้มาจากมรดกทาง 
วัฒนธรรม ที่ควรได้รับการถ่ายทอดต่อไป
2. กลุ่มนิรันดรนิยม (Perennialism) 
แนวความคิดหลักทางการศึกษาของสัจวิทยานิยม ได้แก่ความเชื่อ 
ที่ว่า หลักการของความรู้ จะต้องมีลักษณะจีรังยั่งยืนอย่างแท้จริง คงที่ ไม่ 
เปลี่ยนแปลง ซึ่งเราควรอนุรักษ์และถ่ายทอดให้ใช้ได้ในปัจจุบันและ 
อนาคต
3. กลุ่มพิพัฒนาการนิยม 
พิพัฒนาการนิยมเชื่อว่าการศึกษาคือชีวิตไม่ใช่เป็นการเตรียมตัวเพื่อ 
ชีวิต หมายความว่า การที่จะให้ได้มาซึ่งความรู้ก็โดยการลงมือกระทา จริง ๆ 
ที่จะก่อให้เกิดประสบการณ์กับผู้เรียน กิจกรรมการเรียนการสอนจึงมุ่งการ 
พัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาไปพร้อม ๆ กัน สามารถ 
ปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข 
4. กลุ่มปฏิรูปนิยม 
ปฏิรูปนิยม เชื่อว่า การศึกษาคือการจัดประสบการณ์ ที่ส่งเสริมให้นา 
ความรู้ มาช่วยแก้ปัญหาสังคมและสร้างสรรค์สังคมใหม่ เชื่อว่า การศึกษามี 
ความสัมพันธ์กับสังคมอย่างแยกไม่ออก
5. กลุ่มอัถภาวนิยม 
ในการจัดการศึกษาเพื่อมุ่งให้ผู้เรียนมีเสรีภาพอย่างเต็มที่โดยไม่ก้าว 
ก่ายเสรีภาพของผู้อื่นมุ่งให้ผู้เรียนเป็นตัวของตัวเองในการกาหนดความ 
เป็นอยู่ของตนเองให้ได้มากที่สุด มุ่งให้ผู้เรียนเติบโตด้วยความสุข เรียนรู้ 
ชีวิตและสังคมอย่างมีความสุข มุ่งให้เด็กรู้จักตนเองและเข้าใจตนเอง มุ่งให้ 
ผู้เรียนพัฒนาตนเองอย่างเต็มที่
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ 
เน้นที่พัฒนาการเกี่ยวกับความสามารถในการรับรู้และความเข้าใจ 
ของผู้เรียนโดยนา หลักการพัฒนาทางสติปัญญาของเพียเจต์มาเป็นพื้นฐาน 
ในการพัฒนาของตนเองบรูเนอร์เชื่อว่า ครูสามารถช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนเกิด 
ความพร้อมได้ โดยไม่ต้องรอเวลา ซึ่งสามารถที่จะสอนได้ในทุกช่วงของ 
อายุ ขั้นตอนพัฒนาการทางปัญญาของบรูเนอร์มี 3 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นท1ี่Enactive representation 
(แรกเกิด - 2 ขวบ) 
เด็กจะแสดงการพัฒนาทางสมอง หรือทางปัญญาด้วยการกระทา 
และยังคงดาเนินต่อไปเรื่อยๆตลอดชีวิต วิธีการเรียนรู้ในขั้นนี้จะเป็นการ 
แสดงออกด้วยการกระทา เรียกว่า Enactive mode จะเป็นวิธีการปฏิสัมพันธ์ 
กับสิ่งแวดล้อม โดยการสัมผัส จับต้องด้วยมือ ผลัก ดึง รวมถึงการใช้ปาก 
กับวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัว สิ่งที่สา คัญเด็กจะต้องลงมือกระทา ด้วยตนเอง
ขั้นที่2 Iconic representation 
ในขั้นพัฒนาการทางความคิด จะเกิดจากการมองเห็น และการใช้ 
ประสาทสัมผัสแล้ว เด็กสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ต่างๆเหล่านั้นด้วย 
การมีภาพในใจ แทน พัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจจะเพิ่มตามอายุเด็กที่ 
โตขึ้นก็จะสามารถสร้างภาพในใจได้มากขึ้น วิธีการเรียนรู้ในขั้นนี้ เรียกว่า 
Iconic mode เมื่อเด็กสามารถที่จะสร้างจินตนาการ หรือ มโนภาพ 
(Imagery) ในใจได้ เด็กจะสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆในโลกได้ด้วย Iconic 
mode ดังนั้นในการเรียนการสอน เด็กสามารถที่จะเรียนรู้โดยการใช้ภาพ 
แทนของการสมัผัสจากของจริง
ขั้นท3ี่ Symbolic representation 
ในขั้นพัฒนาการทางความคิดที่ผู้ เรียนสามารถถ่ายทอด 
ประสบการณ์หรือเหตุการณ์ต่างๆโดยใช้สัญลักษณ์ หรือ ภาษา บรูเนอร์ถือ 
ว่าการพัฒนาในขั้นนี้เป็น ขั้นสูงสุด ของพัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจ 
เช่น การคิดเชิงเหตุผล หรือการแก้ปัญหา และเชื่อว่า การพัฒนาการทาง 
ความรู้ความเข้าใจจะควบคู่ไปกับภาษา วิธีการเรียนรู้ในขั้นนี้เรียกว่า 
Symbolic mode ซึ่งผู้เรียนจะใช้ในการเรียนได้เมื่อมี ความสามารถที่จะ 
เข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรม หรือความคิดรวบยอดที่ซับซ้อน
บรูเนอร์กล่าวว่า คนทุกคนมีพัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจ หรือ 
การรู้คิด โดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า Acting, Imagine และ Symbolizing 
ซึ่งอยู่ใน ขั้นพัฒนาการทางปัญญาคือ Enactive, Iconic และ Symbolic 
representation ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดชีวิต มิใช่เกิดขึ้นช่วงใด 
ช่วงหนึ่งของชีวิตเท่านั้น
แหล่งอ้างอิง 
 http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/cognitive/pages/re3.htm 
 http://pirun.ku.ac.th/~g4786027/download/content/content1/content12/c 
ontent121/content121.1/content121.1.1.doc 
 http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/cognitive/pages/bruner.htm 
 http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/cognitive/pages/re1.html 
 http://www.oknation.net/blog/print.php?id=132971
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11

Contenu connexe

Tendances

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้April1904
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดนวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดTum'Tim Chanjira
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Supeii Akw
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาEye E'mon Rattanasiha
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubelya035
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมNut Kung
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismคน ขี้เล่า
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
คอนสตรัคติวัสต์
คอนสตรัคติวัสต์คอนสตรัคติวัสต์
คอนสตรัคติวัสต์Eye E'mon Rattanasiha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
ออซูเบล
ออซูเบลออซูเบล
ออซูเบลsanniah029
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยNaree50
 

Tendances (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดนวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
พุทธิปัญญา
พุทธิปัญญาพุทธิปัญญา
พุทธิปัญญา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubel
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
คอนสตรัคติวัสต์
คอนสตรัคติวัสต์คอนสตรัคติวัสต์
คอนสตรัคติวัสต์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
ออซูเบล
ออซูเบลออซูเบล
ออซูเบล
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
Original ausubel
Original ausubelOriginal ausubel
Original ausubel
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอย
 

Similaire à นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11

กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษาAdoby Milk Pannida
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมSup's Tueng
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมSup's Tueng
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
ออซ เบล New
ออซ เบล Newออซ เบล New
ออซ เบล Newmakusoh026
 
ออซ เบล New
ออซ เบล Newออซ เบล New
ออซ เบล Newsaleehah053
 

Similaire à นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11 (20)

กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
การเรียนรู้
การเรียนรู้การเรียนรู้
การเรียนรู้
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ออซ เบล New
ออซ เบล Newออซ เบล New
ออซ เบล New
 
ออซ เบล New
ออซ เบล Newออซ เบล New
ออซ เบล New
 

นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11

  • 3. การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์(Bruner) ทฤษฎีการเรียนรู้ (learning theory) การเรียนรู้คือกระบวนการที่ทา ให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถเรียนได้จากการได้ยิน การสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยี การเรียนรู้ของเด็กและผู้ใหญ่จะ ต่างกัน เด็กจะเรียนรู้ด้วยการเรียนในห้อง การซักถาม ผู้ใหญ่มักเรียนรู้ด้วย ประสบการณ์ที่มีอยู่ แต่การเรียนรู้จะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอน นา เสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ดังนั้น ผู้สอนจะต้อง พิจารณาเลือกรูปแบบการสอน รวมทั้งการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน
  • 4. การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์(Bruner)  ความรู้ถูกสร้างหรือหล่อหลอมโดยประสบการณ์  ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน  ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่างๆ  ผู้เรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง  ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง  เนื้อหาควรถูกสร้างในภาพรวม  ทฤษฎีการเรียนรู้ (บรูเนอร์)
  • 5. ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้เกิดจากแนวคิดของนักปรัชญาหรือปรัชญา การศึกษา ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ 1.กลุ่มสารถนิยม สารัตถนิยม(Essentialism)มาจากภาษาละตินว่า Essentia หมายถึง สาระ หรือ เนื้อหาที่เป็นหลัก เป็นแก่น เป็นสิ่งสาคัญปรัชญาสารัตถนิยม ในทางการศึกษา คือ ปรัชญาที่ยึดเนื้อหา (Subject Matter) เป็นหลักสา คัญ ของการศึกษาและเนื้อหาที่สา คัญนั้นก็ต้องเน้นเนื้อหาที่ได้มาจากมรดกทาง วัฒนธรรม ที่ควรได้รับการถ่ายทอดต่อไป
  • 6. 2. กลุ่มนิรันดรนิยม (Perennialism) แนวความคิดหลักทางการศึกษาของสัจวิทยานิยม ได้แก่ความเชื่อ ที่ว่า หลักการของความรู้ จะต้องมีลักษณะจีรังยั่งยืนอย่างแท้จริง คงที่ ไม่ เปลี่ยนแปลง ซึ่งเราควรอนุรักษ์และถ่ายทอดให้ใช้ได้ในปัจจุบันและ อนาคต
  • 7. 3. กลุ่มพิพัฒนาการนิยม พิพัฒนาการนิยมเชื่อว่าการศึกษาคือชีวิตไม่ใช่เป็นการเตรียมตัวเพื่อ ชีวิต หมายความว่า การที่จะให้ได้มาซึ่งความรู้ก็โดยการลงมือกระทา จริง ๆ ที่จะก่อให้เกิดประสบการณ์กับผู้เรียน กิจกรรมการเรียนการสอนจึงมุ่งการ พัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาไปพร้อม ๆ กัน สามารถ ปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข 4. กลุ่มปฏิรูปนิยม ปฏิรูปนิยม เชื่อว่า การศึกษาคือการจัดประสบการณ์ ที่ส่งเสริมให้นา ความรู้ มาช่วยแก้ปัญหาสังคมและสร้างสรรค์สังคมใหม่ เชื่อว่า การศึกษามี ความสัมพันธ์กับสังคมอย่างแยกไม่ออก
  • 8. 5. กลุ่มอัถภาวนิยม ในการจัดการศึกษาเพื่อมุ่งให้ผู้เรียนมีเสรีภาพอย่างเต็มที่โดยไม่ก้าว ก่ายเสรีภาพของผู้อื่นมุ่งให้ผู้เรียนเป็นตัวของตัวเองในการกาหนดความ เป็นอยู่ของตนเองให้ได้มากที่สุด มุ่งให้ผู้เรียนเติบโตด้วยความสุข เรียนรู้ ชีวิตและสังคมอย่างมีความสุข มุ่งให้เด็กรู้จักตนเองและเข้าใจตนเอง มุ่งให้ ผู้เรียนพัฒนาตนเองอย่างเต็มที่
  • 9. ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ เน้นที่พัฒนาการเกี่ยวกับความสามารถในการรับรู้และความเข้าใจ ของผู้เรียนโดยนา หลักการพัฒนาทางสติปัญญาของเพียเจต์มาเป็นพื้นฐาน ในการพัฒนาของตนเองบรูเนอร์เชื่อว่า ครูสามารถช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนเกิด ความพร้อมได้ โดยไม่ต้องรอเวลา ซึ่งสามารถที่จะสอนได้ในทุกช่วงของ อายุ ขั้นตอนพัฒนาการทางปัญญาของบรูเนอร์มี 3 ขั้นตอน ดังนี้
  • 10. ขั้นท1ี่Enactive representation (แรกเกิด - 2 ขวบ) เด็กจะแสดงการพัฒนาทางสมอง หรือทางปัญญาด้วยการกระทา และยังคงดาเนินต่อไปเรื่อยๆตลอดชีวิต วิธีการเรียนรู้ในขั้นนี้จะเป็นการ แสดงออกด้วยการกระทา เรียกว่า Enactive mode จะเป็นวิธีการปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งแวดล้อม โดยการสัมผัส จับต้องด้วยมือ ผลัก ดึง รวมถึงการใช้ปาก กับวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัว สิ่งที่สา คัญเด็กจะต้องลงมือกระทา ด้วยตนเอง
  • 11. ขั้นที่2 Iconic representation ในขั้นพัฒนาการทางความคิด จะเกิดจากการมองเห็น และการใช้ ประสาทสัมผัสแล้ว เด็กสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ต่างๆเหล่านั้นด้วย การมีภาพในใจ แทน พัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจจะเพิ่มตามอายุเด็กที่ โตขึ้นก็จะสามารถสร้างภาพในใจได้มากขึ้น วิธีการเรียนรู้ในขั้นนี้ เรียกว่า Iconic mode เมื่อเด็กสามารถที่จะสร้างจินตนาการ หรือ มโนภาพ (Imagery) ในใจได้ เด็กจะสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆในโลกได้ด้วย Iconic mode ดังนั้นในการเรียนการสอน เด็กสามารถที่จะเรียนรู้โดยการใช้ภาพ แทนของการสมัผัสจากของจริง
  • 12. ขั้นท3ี่ Symbolic representation ในขั้นพัฒนาการทางความคิดที่ผู้ เรียนสามารถถ่ายทอด ประสบการณ์หรือเหตุการณ์ต่างๆโดยใช้สัญลักษณ์ หรือ ภาษา บรูเนอร์ถือ ว่าการพัฒนาในขั้นนี้เป็น ขั้นสูงสุด ของพัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจ เช่น การคิดเชิงเหตุผล หรือการแก้ปัญหา และเชื่อว่า การพัฒนาการทาง ความรู้ความเข้าใจจะควบคู่ไปกับภาษา วิธีการเรียนรู้ในขั้นนี้เรียกว่า Symbolic mode ซึ่งผู้เรียนจะใช้ในการเรียนได้เมื่อมี ความสามารถที่จะ เข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรม หรือความคิดรวบยอดที่ซับซ้อน
  • 13. บรูเนอร์กล่าวว่า คนทุกคนมีพัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจ หรือ การรู้คิด โดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า Acting, Imagine และ Symbolizing ซึ่งอยู่ใน ขั้นพัฒนาการทางปัญญาคือ Enactive, Iconic และ Symbolic representation ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดชีวิต มิใช่เกิดขึ้นช่วงใด ช่วงหนึ่งของชีวิตเท่านั้น
  • 14. แหล่งอ้างอิง  http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/cognitive/pages/re3.htm  http://pirun.ku.ac.th/~g4786027/download/content/content1/content12/c ontent121/content121.1/content121.1.1.doc  http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/cognitive/pages/bruner.htm  http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/cognitive/pages/re1.html  http://www.oknation.net/blog/print.php?id=132971