PowerPoint Presentation

VisualBee.com
VisualBee.comVisualBee.com
PowerPoint Presentation
PowerPoint Presentation
สารบัญ
• ที่มาและ
ความสาคัญ
•วัตถุประสงค์
บทที่ ๑
• เอกสารประกอบ
(เอกสารที่เกี่ยวข้อง)
บทที่ ๒
• อุปกรณ์
• วิธีการศึกษา
บทที่ ๓
•ผลการศึกษา
บทที่ ๔
• สรุป
• อภิปราย
•ผลที่ได้รับ
• ข้อเสนอแนะ
บทที่ ๕
PowerPoint Presentation
ที่มาและความสาคัญ
วัตถุประสงค์
เราต้องเรียนรู้เกี่ยวกับชนิดของคา เพื่อให้พูด อ่าน เขียนได้ถูกต้อง สามารถ
สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย ถูกกาลเทศะ ทาให้เราใช้ชีวิตแต่ละวันได้คล่องตัว เราจึง
ทาการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อรู้จักชนิดของคาได้ถูกต้อง และมีตัวอย่างมาอธิบายให้ผู้อื่น
เข้าใจได้มากขึ้น
๑. รู้จักชนิดของคา
๒. รู้ความหมายของคาแต่ละชนิด
๓. รู้หน้าที่ของคา
๔. วิเคราะห์ชนิดของคาจากตัวอย่างนิทานได้
บทที่ ๒
เอกสารประกอบ (เอกสารที่เกี่ยวข้อง)
อ้างอิง http://www.fungdham.com/fable/fable09.html
บทที่ ๓
อุปกรณ์และวิธีการศึกษา
1. วิเคราะห์ที่มาและความสาคัญในการศึกษา
2. สืบค้นเอกสารทั้งหนังสือแบบเรียน แบบฝึกหัด และ สื่อมัลติมีเดีย
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง ชนิดของคา จากอินเตอร์เน็ต
3. สรุปเนื้อหาลงในภาคผนวก
4. หาตัวอย่างนิทาน
5. วิเคราะห์ของคา และ ยกตัวอย่างที่ให้ในนิทานออกมา
6. สรุปความรู้ที่ได้รับ
อุปกรณ์
วิธีการศึกษา
1. หนังสือ แบบฝึกหัด และ คอมพิวเตอร์
2. เครื่องเขียน
บทที่ ๔
ผลการศึกษา
คามีทั้งหมด ๗ ชนิด ได้แก่ คานาม คาสรรพนาม คากริยา คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาสันธาน คาอุทาน
คานาม คือ คาที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ พืช สิ่งของ สถานที่ สภาพ อาการ ลักษณะ ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิต
หรือสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม มีหน้าที่ เป็นประธาน กรรม และ สามารถใช้
เป็นส่วนขยายในประโยคได้ด้วย
คาสรรพนาม คือ คาที่ใช้แทนคานาม เพื่อจะได้ไม่ต้องกล่าวคานามนั้นซ้าอีก ทาหน้าที่เหมือนคานาม
คากริยา คือ คาแสดงอาการ การกระทา หรือบอกสภาพของนาม ทาหน้าที่เป็นภาคแสดง และ สามารถ
ใช้เป็นส่วนขยาย และ ใช้เหมือนคานามได้ด้วย
คาวิเศษณ์ คือ คาที่ใช้ประกอบหรือขยายคาอื่น ๆ เพื่อให้ได้ใจความชัดเจนและละเอียดมากขึ้น
คาบุพบท คือ คาที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคาหรือประโยค เพื่อให้ทราบว่าคาหรือกลุ่มคาที่ตามหลังคา
บุพบทนั้นเกี่ยวข้องกับกลุ่มคาข้างหน้าในประโยคในลักษณะใด
คาสันธาน คือ คาที่ใช้เชื่อมประโยค หรือข้อความกับข้อความ เพื่อทาให้ประโยคนั้นรัดกุม กระชับและ
สละสลวย
คาอุทาน คือ คาที่แสดงอารมณ์ของผู้พูด
ชนิด ความหมาย และ หน้าที่ของคา
บทที่ ๔ (ต่อ)
วิเคราะห์ชนิดของคาจากตัวอย่างนิทานเรื่องที่ ๑
คนเลี้ยงเเพะ
ขณะที่พาฝูงเเพะของตนไปหลบพายุในถ้า คนเลี้ยงเเพะก็พบ ฝูงเเพะป่าหลบอยู่ในถ้าด้วย
เช่นกัน "ฝูงเเพะป่านี้เป็นฝูงใหญ่ มีเเพะมากกว่าฝูงเเพะของเราหลายเท่านัก เราน่าจะเอาเเพะป่าฝูงใหญ่ไป
เลี้ยง เเทนฝูงเดิมดีกว่า"เมื่อคนเลี้ยงเเพะคิดได้ดังนั้นเเล้วก็นาเอาใบไม้ที่เตรียมมาไว้ให้ ฝูงเเพะเดิม ของตน
ไปให้ฝูงเเพะป่ากินจนหมดครั้นเมื่อพายุสงบลง ฝูงเเพะป่าก็วิ่งออกจากถ้าเข้าป่าไป ฝูงเเพะเดิมของตนไป
ให้ฝูงเเพะป่ากินจนหมดครั้นเมื่อพายุสงบลง ฝูงเเพะป่าก็วิ่งออกจากถ้าเข้าป่าไป ฝูงเเพะเดิมก็ตายกันหมด
เพราะอดอาหารคนเลี้ยงเเพะจึงได้เเต่นั่งร้องไห้ให้เพื่อนบ้านหัวเราะเยาะต่อไป
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
เห็นเเก่มิตรใหม่จนทอดทิ้งมิตรเก่า ก็จะไม่ได้ใครเลย
อ้างอิง http://www.fungdham.com/fable/fable09.html
สีที่ตัวอักษร คานาม คาสรรพนาม คากริยา คำบุพบท คาสันธาน คาวิเศษณ์ คาอุทาน
บทที่ ๔ (ต่อ)
วิเคราะห์ชนิดของคาจากตัวอย่างนิทานเรื่องที่ ๒
กบกับหนู
หนูเเก่ตัวหนึ่งเดินทางเเรมรอนมาจนถึงลาธารที่ชายป่า หนูต้องการจะข้ามไปยังฝั่งตรงข้ามจึงเข้าไป
หาเจ้ากบ ตัวน้อยที่ริมลาธาร เเล้วเอ่ยขอให้กบช่วยพาข้าม ลาธาร เเล้วเอ่ยขอให้กบช่วยพาข้ามลาธารด้วย
กบน้อยมองหนูเเล้วปฏิเสธอย่างสุภาพว่า" โธ่ ฉันน่ะตัวเล็กพอๆ กับท่าน เเล้วจะพาท่านข้ามไปได้
อย่างไรกันล่ะจ๊ะ "เเต่หนูไม่ยอม กลับอ้างว่าตนเป็นสัตว์ผู้อาวุโสกว่า ถ้ากบ ไม่ช่วยตนก็จะไปป่าวประกาศ
ให้สรรพสัตว์ทั้งหลายรู้ถึง ความใจดาของกบเมื่อถูกขู่เข็ญเช่นนั้นกบจึงต้องจายอมให้หนูเอาเท้าผูก กับเท้า
ของตนเเล้วก็พาว่ายข้ามลาธาร เเต่ทว่าพอว่ายไปได้เเค่ครึ่งทางเท่านั้นกบก็เริ่มหมดเเรง ก่อนที่ทั้งคู่จะ
จมน้าตาย เหยี่ยวตัวหนึ่งก็โฉบลงมาจิกเอา ทั้งกบเเละหนูไปกิน
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
คิดประโยชน์จากผู้ที่ไม่สามารถให้ได้ ย่อมมีเเต่เสียหาย
สีที่ตัวอักษร คานาม คาสรรพนาม คากริยา คำบุพบท คาสันธาน คาวิเศษณ์ คาอุทาน
บทที่ ๔ (ต่อ)
วิเคราะห์ชนิดของคาจากตัวอย่างนิทานเรื่องที่ ๓
ชาวนากับสิงโต
ชำวนำคนหนึ่งเลี้ยงเเกะกับเเพะไว้หลายสิบตัว วันหนึ่ง มีสิงโตตัวใหญ่
พลัดหลงเข้าไปในอาณาบริเวณบ้าน ของชาวนา เขาจึงรีบปิดประตูรั้วไว้เพื่อมิให้ สิงโต ออกไป จาก
บริเวณบ้านได้เมื่อสิงโตถูกขังเช่นนั้นก็มิได้เดือดเนื้อร้อนใจนัก เมื่อ มันหิว มันก็จับเเพะกับเเกะกินเป็น
อาหารอย่างอิ่มหนา สาราญใจ ชาวนาเห็นเเพะกับเเกะของตนถูกจับกินไปหลายตัวจึง รีบ เปิดประตูรั้วที่
ล้อมรอบบ้านไว้เพื่อปล่อยให้สิงโต กลับออกไปเป็นอิสระได้ "โธ่ไม่น่าเลยเรา" ชาวนานั่งคร่าครวญ
เสียดาย เเพะกับ เเกะ ของตน เมียของชำวนำจึงได้เเต่สมน้าหน้า ที่สามีอยากเเกล้งขังสิงโตไว้ในบ้านดีนัก
นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
อย่าเลี้ยงสัตว์ดุร้าย เเละ โจร ไว้ในบ้ำนเป็นอันขำด
สีที่ตัวอักษร คานาม คาสรรพนาม คากริยา คำบุพบท คาสันธาน คาวิเศษณ์ คาอุทาน
บทที่ ๔ (ต่อ)
วิเคราะห์ชนิดของคาจากตัวอย่างนิทานเรื่องที่ ๔
ผู้ใหญ่ช่างสอน
เด็กน้อยคนหนึ่งพลัดตกลงไปในเเม่น้าจึงร้องตะโกนขึ้นว่า"ช่วยด้วย! ช่วยด้วย!
ว่ายน้าไม่เป็น ช่วยหนูด้วย"ขณะนั้นมีผู้ใหญ่คนหนึ่งเดินผ่านมาพอดี เมื่อได้ยินเสียงร้อง ของเด็กจึงไปที่
ริมฝั่งเเม่น้าเเล้วอบรมสั่งสอนว่า"หนูช่างซุกซนเหลือเกินนะ ถ้ารู้ตัวว่าว่ายน้าไม่เป็นเเล้วมาเล่น ริมน้า
ทาไม ไม่คิดหรือว่าถ้าตกลงไปใครจะมาช่วย"เด็กน้อยพยายามตะโกนตอบว่า
"คุณน้าจ๋า ช่วยหนูขึ้นไปก่อนเเล้วค่อยอบรมได้หรือไม่"
นิทำนเรื่องนี้สอนให้รู้ว่ำ
ช่วยเเก้ปัญหาให้เขาได้เสียก่อน เเล้วค่อยสั่งสอนเขา ดีกว่าสั่งสอนหรือซ้าเติมคนที่กาลังประสบปัญหา
สีที่ตัวอักษร คานาม คาสรรพนาม คากริยา คำบุพบท คาสันธาน คาวิเศษณ์ คาอุทาน
บทที่ ๕
สรุป
อภิปราย
เราพบคาชนิดต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน และได้วิเคราะห์คาต่าง ๆ ใน
นิทาน และได้รู้เกี่ยวกับคาต่าง ๆ ทั้ง ๗ ชนิด พบว่าคามีหลายชนิด
ย่อยอีก เช่นคานามมี อีก ๕ ชนิดย่อย ซึ่งจะแตกต่างไปตามหน้าที่
คาทุกชนิดมีความสาคัญ ประกอบกันเป็นประโยค หรือ เชื่อมต่อ
คาและประโยค ทาให้เราเข้าใจ เนื้อหาที่อ่าน พูด และ เขียนได้
ชัดเจนขึ้น
บทที่ ๕ (ต่อ)
ผลที่ได้รับ
ข้อเสนอแนะ
๑. ได้รู้จักชนิดของคา
๒. ได้รู้ความหมายของคาแต่ละชนิด
๓. ได้รู้หน้าที่ของคา
๔. เข้าใจวิธีการใช้คาแต่ละชนิดจากตัวอย่างนิทานได้
๑. เราควรใช้คาให้ถูกต้อง
๒. เราควรทาความเข้าใจกับคาชนิดต่าง ๆ
หน้ำ ๗หน้ำ ๖หน้ำ ๒ หน้ำ ๓ หน้ำ ๔ หน้ำ ๕หน้ำ ๑
คานาม
•ความหมายของ
คานาม
•ชนิดของ
คานาม
•หน้าที่ของ
คานาม
คาสรรพนาม คากริยา คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาสันธาน คาอุทาน
•ความหมายของ
คาสรรพนาม
•ชนิดของคา
สรรพนาม
•หน้าที่ของคา
สรรพนาม
•ความหมาย
ของคากริยา
•ชนิดของ
คากริยา
•หน้าที่ของ
คากริยา
•ความหมาย
ของคาวิเศษณ์
•ชนิดของคา
วิเศษณ์
•หน้าที่ของคา
วิเศษณ์
•ความหมาย
ของคาบุพบท
•ชนิดของคา
บุพบท
•หน้าที่ของคา
บุพบท
•ความหมาย
ของคาสันธาน
•ชนิดของ
คาสันธาน
•หน้าที่ของ
คาสันธาน
•ความหมาย
ของคาอุทาน
•ชนิดของคา
อุทาน
•หน้าที่ของคา
อุทาน
คำนำมหมำยถึง คำที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ พืช สิ่งของ สถำนที่ สภำพ
อาการ ลักษณะ ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิต หรือสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม และ
นามธรรม เช่นคาว่า คน ปลา ตะกร้า ไก่ ประเทศไทย จังหวัดพิจิตร การ
ออกกาลังกาย การศึกษา ความดี ความงาม กอไผ่ กรรมกร ฝูง ตัว เป็นต้น
• ความหมายของคานาม
ชนิดของคานาม
PowerPoint Presentation
ความหมายของคาสรรพนาม
ความหมายของคาสรรพนาม
คาสรรพนาม หมายถึง คาที่ใช้แทนคานามที่กล่าวถึง
มาแล้ว เพื่อจะได้ไม่ต้องกล่าวคานามนั้นซ้าอีก เช่นคา
ว่า ฉัน เรา ดิฉัน กระผม กู คุณ ท่าน ใต้เท้า เขา มัน สิ่ง
ใด ผู้ใด นี่ นั่น อะไร ใคร บ้าง เป็นต้น
ชนิดของคาสรรพนาม
PowerPoint Presentation
หน้าที่ของคาสรรพนาม
ความหมายของคากริยา
ความหมายของคากริยา
คำกริยำ หมำยถึง คำแสดงอำกำร กำรกระทำ หรือบอกสภำพของ
คานามหรือคาสรรพนาม เพื่อให้ได้ความ เช่นคาว่า กิน เดิน นั่ง นอน เล่น
จับ เขียน อ่าน เป็น คือ ถูก คล้าย เป็นต้น
ชนิดของคากริยา
คากริยาแบ่งเป็น ๕ ชนิด
๑. อกรรมกริยา คือ คากริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับก็ได้ความสมบูรณ์ เข้าใจได้ เช่น
- เขา"ยืน"อยู่ - น้อง"นอน"
๒. สกรรมกริยา คือ คากริยาที่ต้องมีกรรมมารับ เพราะคากริยานี้ไม่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง เช่น
- ฉัน "กิน"ข้าว (ข้าวเป็นกรรมที่มารับคาว่ากิน)
- เขา"เห็น"นก (นกเป็นกรรมที่มารับคาว่าเห็น)
๓. วิกตรรถกริยา คือ คากริยาที่ไม่มีความหมายในตัวเอง ใช้ตามลาพังแล้วไม่ได้ความต้องมีคาอื่นมาประกอบ
จึงจะได้ความ คากริยาพวกนี้คือ เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ เช่น
- เขา"เป็น"นักเรียน - เขา"คือ"ครูของฉันเอง
๔. กริยานุเคราะห์ คือ คากริยาที่ทาหน้าที่ช่วยคากริยาสาคัญในประโยคให้มีความหมายชัดเจนขึ้น ได้แก่คา
ว่า จง กาลัง จะ ย่อม คง ยัง ถูก นะ เถอะ เทอญ ฯลฯ เช่น
- นายดา"จะ"ไปโรงเรียน - เขา"ถูก"ตี
๕. กริยาสภาวมาลา คือ คากริยาที่ทาหน้าที่เป็นคานามจะเป็นประธาน กรรม หรือบทขยายของประโยคก็
ได้ เช่น
- "นอน"หลับเป็นการพักผ่อนที่ดี (นอน เป็นคากริยาที่เป็นประธานของประโยค)
- ฉันชอบไป"เที่ยว"กับเธอ (เที่ยว เป็นคากริยาที่เป็นกรรมของประโยค)
หน้าที่ของคากริยา
หน้าที่ของคากริยามีดังนี้คือ
๑. ทาหน้าที่เป็นตัวแสดงในภาคแสดงของประโยค เช่น
- ขนมวางอยู่บนโต๊ะ - นักเรียนอ่านหนังสือทุกวัน
๒. ทาหน้าที่ขยายคานาม เช่น
- วันเดินทางของเขาคือวันพรุ่งนี้ ("เดินทาง" เป็นคากริยาที่ไปขยายคานาม "วัน")
๓. ทาหน้าที่ขยายกริยา เช่น
- เด็กคนนั้นนั่งดูนก ("ดู" เป็นคากริยาที่ไปขยายคากริยา "นั่ง")
๔. ทาหน้าที่เหมือนคานาม เช่น -
ออกกาลังกายทุกวันทาให้ร่างกายแข็งแรง ("ออกกาลังกาย" เป็นคากริยา ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค)
- เด็กชอบเดินเร็วๆ ("เดิน" เป็นคากริยา ทาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค)
ความหมายของคาวิเศษณ์
คาวิเศษณ์ หมายถึง คาที่ใช้ประกอบหรือขยายคานาม สรรพนาม คากริยา หรือคา
วิเศษณ์ เพื่อให้ได้ใจความชัดเจนและละเอียดมากขึ้น เช่น
คนอ้วนกินจุ
("อ้วน" เป็นคาวิเศษณ์ที่ขยายคานาม "คน" "จุ" เป็นคาวิเศษณ์ที่ขยายคากริยา "กิน"
เขาร้องเพลงได้ไพเราะ
("ไพเราะ" เป็นคาวิเศษณ์ที่ขยายคากริยา "ร้องเพลง")
เขาร้องเพลงได้ไพเราะมาก
("มาก" เป็นคาวิเศษณ์ที่ขยายคาวิเศษณ์ "ไพเราะ")
ชนิดของคาวิเศษณ์
คำวิเศษณ์แบ่งออกเป็น ๑๐ ชนิด ดังนี้
๑. ลักษณะวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่บอกลักษณะต่างๆเช่น บอกชนิด สี ขนาด สัณฐาน กลิ่น รส บอกความรู้สึก เช่น ดี ชั่ว ใหญ่
ขาว ร้อน เย็น หอม หวาน กลม แบน เป็นต้น เช่น
- น้าร้อนอยูในกระติกสีขาว
- จานใบใหญ่ราคาแพงกว่าจานใบเล็ก
๒. กาลวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์บอกเวลา เช่น เช้า สาย บ่าย เย็น อดีต อนาคต เป็นต้น เช่น
- พรุ่งนี้เป็นวันเกิดของคุณแม่
- เขามาโรงเรียนสาย
๓. สถานวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์บอกสถานที่ เช่น ใกล้ไกล บน ล่าง เหนือ ใต้ ซ้าย ขวา เป็นต้น เช่น
- บ้านฉันอยู่ไกลตลาด
- นกอยู่บนต้นไม้
๔. ประมาณวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์บอกจานวน หรือปริมาณ เช่น หนึ่ง สอง สาม มาก น้อย บ่อย หลาย บรรดา ต่าง บ้าง เป็น
ต้น เช่น
- เขามีเงินห้าบาท
- เขามาหาฉันบ่อยๆ
๕. ประติเษธวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่แสดงความปฏิเสธ หรือไม่ยอมรับ เช่น ไม่ ไม่ใช่ มิ มิใช่ ไม่ได้ หามิได้ เป็นต้น เช่น
- เขามิได้มาคนเดียว
- ของนี้ไม่ใช่ของฉัน ฉันจึงรับไว้ไม่ได้
๖. ประติชญาวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่ใช้แสดงการขานรับหรือโต้ตอบเช่น ครับ ขอรับ ค่ะ เป็นต้น เช่น
- คุณครับมีคนมาหาขอรับ
- คุณครูขา สวัสดีค่ะ
๗. นิยมวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่บอกความชี้เฉพาะ เช่น นี้ นั่น โน่น ทั้งนี้ ทั้งนั้น แน่นอน เป็นต้น เช่น
- บ้านนั้นไม่มีใคราอยู่
- เขาเป็นคนขยันแน่ๆ
๘. อนิยมวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่บอกความไม่ชี้เฉพาะเช่น ใด อื่น ไหน อะไร ใคร ฉันใด เป็นต้น เช่น
- เธอจะมาเวลาใดก็ได้
- คุณจะนั่งเก้าอื้ตัวไหนก็ได้
๙. ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์แสดงคาถามหรือแสดงความสงสัย เช่น ใด ไร ไหน อะไร สิ่งใด ทาไม เป็นต้น เช่น
- เสื้อตัวนี้ราคาเท่าไร
- เขาจะมาเมื่อไร
๑๐. ประพันธวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมคาหรือประโยคให้มีความเกี่ยวข้องกัน เช่นคาว่า ที่ ซึ่ง อัน อย่าง ที่ว่า เพื่อ
ว่า ให้ เป็นต้น เช่น
- เขาทางานหนักเพื่อว่าเขาจะได้มีเงินมาก
- เขาทาความดี อัน หาที่สุดมิได้
หน้าที่ของคาวิเศษณ์
๑. ทาหน้าที่ขยายคานาม เช่น
- คนอ้วนกินจุ ( "อ้วน" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคานาม "คน")
- ตารวจหลายคนจับโจรผู้ร้าย ("หลาย" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคานาม "ตารวจ")
๒. ทาหน้าที่ขยายคาสรรพนาม เช่น
- เราทั้งหมดช่วยกันทางานให้เรียบร้อย ("ทั้งหมด" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคาสรรพนาม "เรา")
- ฉันเองเป็นคนพูด ( "เอง" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคาสรรพนาม "ฉัน")
๓. ทาหน้าที่ขยายคากริยา เช่น
- คนแก่เดินช้า ( "ช้า" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคากริยา "เดิน")
- นักกีฬาว่ายน้าเก่ง ( "เก่ง" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคากริยา "ว่ายน้า")
๔. ทาหน้าที่ขยายคาวิเศษณ์ เช่น
- ลมพัดแรงมาก ("มาก" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคาวิเศษณ์ "แรง")
- สมชายร้องเพลงเพราะจริง ("จริง" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคาวิเศษณ์ "เพราะ")
๕. ทาหน้าที่เป็นตัวแสดงในภาคแสดง เช่น
- เธอสูงกว่าคนอื่น
- ขนมนี้อร่อยดี
ความหมายของคาบุพบท
คาบุพบท หมายถึง คาที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคาหรือประโยค เพื่อให้ทราบว่าคา
หรือกลุ่มคาที่ตามหลังคาบุพบทนั้นเกี่ยวข้องกับกลุ่มคาข้างหน้าในประโยคในลักษณะ
ใด เช่น กับ แก่ แต่ ต่อ ด้วย โดย ตาม ข้าง ถึง จาก ใน บน ใต้ สิ้น สาหรับ นอก
เพื่อ ของ เกือบ ตั้งแต่ แห่ง ที่ เป็นต้น เช่น
เขามาแต่เช้า
บ้านของคุณน่าอยู่จริง
คุณครูให้รางวัลแก่ฉัน
เขาให้รางวัลเฉพาะคนที่สอบได้ที่หนึ่ง
ชนิดของคาบุพบท
คาบุพบทแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด
๑. คาบุพบทที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคาต่อคา คือ ความสัมพันธ์ระหว่างคานามกับคานาม คาสรรพนามกับคานาม คานามกับคากริยา คา
สรรพนามกับคาสรรพนาม คาสรรพนามกับคากริยา คากริยากับคานาม คากริยากับคาสรรพนาม คากริยากับคากริยา เพื่อบอกสถานการให้
ชัดเจน เช่น
๑.๑ บอกสถานภาพความเป็นเจ้าของ เช่น
- พ่อซื้อสวนของนายทองคา (นามกับนาม)
๑.๒ บอกความเกี่ยวข้อง เช่น
- เขาเห็นแก่กิน (กริยากับกริยา)
๑.๓ บอกการให้และบอกความประสงค์ เช่น
- คุณครูให้รางวัลแก่ฉัน (นามกับสรรพนาม)
๑.๔ บอกเวลา เช่น
- เขามาตั้งแต่เช้า (กริยากับนาม)
๑.๕ บอกสถานที่ เช่น
- เขามาจากต่างจังหวัด (กริยากับนาม)
๑.๖ บอกความเปรียบเทียบ เช่น
- พี่หนักกว่าฉัน (กริยากับสรรพนาม)
๒. คาบุพบทที่ไม่มีความสัมพันธ์กับคาอื่น ส่วนมากจะอยู่ต้นประโยค ใช้เป็นการทักทาย มักใช้ในคาประพันธ์ เช่นคาว่า ดูก่อน ข้าแต่ ดูกร คา
เหล่านี้ใช้นาหน้าคาสรรพนามหรือคานาม เช่น
- ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย
- ข้าแต่ท่านทั้งหลายโปรดฟังข้าพเจ้า
หน้าที่ของคาบุพบท
๑. ทาหน้าที่นาหน้านาม เช่น
- หนังสือของพ่อหาย - เขาไปกับเพื่อน
๒. ทาหน้าที่นาหน้าสรรพนาม เช่น
- ปากกาของฉันอยู่ที่เขา - ฉันชอบอยู่ใกล้เธอ
๓. ทาหน้าที่นาหน้ากริยา เช่น
- เขากินเพื่ออยู่ - เขาทางานกระทั่งตาย
๔. ทาหน้าที่นาหน้าประโยค เช่น
- เขามาตั้งแต่ฉันตื่นนอน - เขาพูดเสียงดังกับคนไข้
๕. ทาหน้าที่นาหน้าคาวิเศษณ์ เช่น
- เขาต้องมาหาฉันโดยเร็ว - เขาเลวสิ้นดี
ความหมายของคาสันธาน
ความหมายของคาสันธาน
คำสันธำน หมำยถึง คำที่ใช้เชื่อมประโยค หรือข้อควำมกับข้อควำม เพื่อทำให้
ประโยคนั้นรัดกุม กระชับและสละสลวย เช่นคาว่า และ แล้ว จึง แต่ หรือ เพราะ เหตุ
เพราะ เป็นต้น เช่น
- เขาอยากเรียนหนังสือเก่งๆ แต่เขาไม่ชอบอ่านหนังสือ
- เขามาโรงเรียนสายเพราะฝนตกหนัก
ชนิดของคาสันธาน
คาสันธานแบ่งเป็น ๔ ชนิด ดังนี้
๑. คาสันธานที่เชื่อมความคล้อยตามกัน ได้แก่คาว่า และ ทั้ง...และ ทั้ง...ก็ ครั้น...ก็ ครั้น...จึง ก็ดี เมื่อ...ก็ว่า พอ...แล้ว
เช่น
- ทั้งพ่อและแม่ของผมเป็นคนใต้
- พอทาการบ้านเสร็จแล้วฉันก็นอน
๒. คาสันธานที่เชื่อมความขัดแย้งกัน เช่นคาว่า แต่ แต่ว่า กว่า...ก็ ถึง...ก็ เป็นต้น เช่น
- ผมต้องการพูดกับเขา แต่เขาไม่ยอมพูดกับผม
- กว่าเราจะเรียนจบเพื่อนๆ ก็ทางานหมดแล้ว
๓. คาสันธานที่เชื่อมข้อมความให้เลือก ได้แก่คาว่า หรือ หรือไม่ ไม่...ก็ หรือไม่ก็ ไม่เช่นนั้น มิฉะนั้น...ก็ เป็นต้น เช่น
- นักเรียนชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์หรือภาษาไทย
- เธอคงไปซื้อของหรือไม่ก็ไปดูหนัง
๔ คาสันธานที่เชื่อมความที่เป็นเหตุเป็นผล ได้แก่คาว่า เพราะ เพราะว่า ฉะนั้น...จึง ดังนั้น เหตุเพราะ เหตุว่า เพราะฉะนั้น...
จึง เป็นต้น เช่น
- นักเรียนมาโรงเรียนสายเพราะฝนตกหนัก
- เพราะวาสนาไม่ออกกาลังกายเธอจึงอ้วนมาก
หน้าที่ของคาสันธาน
หน้าที่ของคาสันธาน มีดังนี้คือ
๑. เชื่อมประโยคกับประโยต เช่น
- เขามีเงินมากแต่เขาก็หาความสุขไม่ได้
- พ่อทางานหนักเพื่อส่งเสียให้ลูกๆได้เรียนหนังสือ
- ฉันอยากได้รองเท้าที่ราคาถูกและใช้งานได้นาน
๒. เชื่อมคากับคาหรือกลุ่มคา เช่น
- สมชายลาบากเมื่อแก่
- เธอจะสู้ต่อไปหรือยอมแพ้
- ฉันเห็นนายกรัฐมนตรีและภริยา
๓. เชื่อมข้อความกับข้อความ เช่น
- ชาวต่างชาติเข้ามาอยู่เมืองไทย เขาขยันหมั่นเพียรไม่ยอมให้เวลาผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์เขาจึงร่ารวย จน
เกือบจะซื้อแผ่นดินไทยได้ทั้งหมดแล้ว เพราะฉะนั้นขอให้พี่น้องชาวไทยทั้งหลายจงตื่นเถิด จงพากันขยันทางานทุกชนิดเพื่อจะได้
รักษาผืนแผ่นดินของไทยไว้
ความหมายของคาอุทาน
คาอุทาน หมายถึง คาที่แสดงอารมณ์ของผู้พูดในขณะที่
ตกใจ ดีใจ เสียใจ ประหลาดใจ หรืออาจจะเป็นคาที่ใช้เสริม
คาพูด เช่นคาว่า อุ๊ย เอ๊ะ ว้าย โธ่ อนิจจา อ๋อ เป็นต้น เช่น
- เฮ้อ! ค่อยยังชั่วที่เขาปลอดภัย
- เมื่อไรเธอจะตัดผมตัดเผ้าเสียทีจะได้ดูเรียบร้อย
ชนิดของคาอุทาน
คำอุทำนแบ่งเป็น ๒ ชนิด ดังนี้
๑. คาอุทานบอกอาการ เป็นคาอุทานที่แสดงอารมณ์ และความรู้สึกของผู้พูด เช่น
ตกใจ ใช้คำว่ำ วุ้ย ว้ำย แหม ตำยจริง
ประหลำดใจ ใช้คำว่ำ เอ๊ะ หือ หำ
รับรู้ เข้ำใจ ใช้คำว่ำ เออ อ้อ อ๋อ
เจ็บปวด ใช้คำว่ำ โอ๊ย โอย อุ๊ย
สงสำร เห็นใจ ใช้คำว่ำ โธ๋ โถ พุทโธ่ อนิจจำ
ร้องเรียก ใช้คำว่ำ เฮ้ย เฮ้ นี่
โล่งใจ ใช้คำว่ำ เฮอ เฮ้อ
โกรธเคือง ใช้คำว่ำ ชิชะ แหม
๒. คาอุทานเสริมบท เป็นคาอุทานที่ใช้เป็นคาสร้อยหรือคาเสริมบทต่างๆ คาอุทานประเภทนี้บางคาเสริมคาที่ไม่มีความหมายเพื่อยืด
เสียงให้ยาวออกไป บางคาก็เพื่อเน้นคาให้กระชับหนักแน่น เช่น
- เดี๋ยวนี้มือไม้ฉันมันสั่นไปหมด
- หนังสือหนังหาเดี๋ยวนี้ราคาแพงมาก
- พ่อแม่ไม่ใช่หัวหลักหัวตอนะ
หน้าที่ของคาอุทาน
๑. ทาหน้าที่แสดงความรู้สึกของผู้พูด เช่น
- ตายจริง! ฉันลืมเอากระเป๋ าสตางค์มา
- โธ่! เธอคงจะหนาวมากละซิ
- เอ๊ะ! ใครกันที่นาดอกไม้มาวางไว้ที่โต๊ะของฉัน
๒. ทาหน้าที่เพิ่มน้าหนักของคา ซึ่งได้แก่คาอุทานเสริมบท เช่น
- ทาเสร็จเสียทีจะได้หมดเรื่องหมดราวกันไป
- เมื่อไรเธอจะหางงหางานทาเสียที
- เธอเห็นฉันเป็นหัวหลักหัวตอหรืออย่างไร
๓. ทาหน้าที่ประกอบข้อความในคาประพันธ์ เช่น
- แมวเอ๋ยแมวเหมียว
- มดเอ๋ยมดแดง
- กอ เอ๋ย กอไก่
ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์โฟกัส. แบบฝึกหลักภาษาไทย ป.5
เล่ม 1.กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจากัดสินทวีกิจ
พริ้นติ้ง, .
นีรนุช อินกองงาม. ชนิดของคา.
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/ph
ichit/neeranuch_i/sec01p011.html วันที่ดาวโหลด 17
ธันวาคม 2554, 2547.
1 sur 39

Recommandé

สุดปลายฝัน par
สุดปลายฝันสุดปลายฝัน
สุดปลายฝันB'Ben Rattanarat
264 vues25 diapositives
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด par
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดกฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดVisanu Euarchukiati
1.1K vues22 diapositives
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562 par
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562Visanu Euarchukiati
7K vues25 diapositives
โครงงานประเภททฤษฏี par
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
40K vues10 diapositives
การเขียนเนื้อเพลง par
การเขียนเนื้อเพลงการเขียนเนื้อเพลง
การเขียนเนื้อเพลงMahidol University
2.5K vues30 diapositives
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา par
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
19.6K vues20 diapositives

Contenu connexe

Tendances

ภาษาไทย ต้น par
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นกลุ่มงาน วิชาการ
1.2K vues9 diapositives
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร par
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรkruthai40
475 vues4 diapositives
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน par
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
433.7K vues82 diapositives
คำในภาษาไทย par
คำในภาษาไทยคำในภาษาไทย
คำในภาษาไทยSiraporn Boonyarit
429 vues50 diapositives
ภาษาไทย ปลาย par
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายกลุ่มงาน วิชาการ
6.4K vues9 diapositives
กุหลาบประกาษิต par
กุหลาบประกาษิตกุหลาบประกาษิต
กุหลาบประกาษิตKanjana ZuZie NuNa
1K vues26 diapositives

Tendances(19)

กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร par kruthai40
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
kruthai40475 vues
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน par Rawinnipha Joy
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
Rawinnipha Joy433.7K vues
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ par sripayom
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
sripayom3.9K vues
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม par Watcharapol Wiboolyasarin
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
งานนำเสนอ1 par MilkOrapun
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
MilkOrapun577 vues
เน็ตพูด par panneem
เน็ตพูดเน็ตพูด
เน็ตพูด
panneem5K vues
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน par apiradee037
ลักษณะของนิทานพื้นบ้านลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
apiradee03789.2K vues
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว par Thunyalak Thumphila
ภาษาจีนง่ายนิดเดียวภาษาจีนง่ายนิดเดียว
ภาษาจีนง่ายนิดเดียว
สารพันเลือกสรรตีความ par พัน พัน
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน17.5K vues
การเขียนเรียงความ par monnawan
การเขียนเรียงความการเขียนเรียงความ
การเขียนเรียงความ
monnawan5.9K vues

Similaire à PowerPoint Presentation

แบบเรียนชนิดของคำ par
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำLadawan Munchit
32K vues21 diapositives
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์ par
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
24K vues7 diapositives
ชนิดของคำ par
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำAnupong Juntakong
758 vues9 diapositives
(การทำข้อสอบ Reading passage) par
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)pingpingmum
50.6K vues55 diapositives
Mainidea par
MainideaMainidea
Mainideaนัท ดี
7.6K vues8 diapositives
นักแต่งเพลง par
นักแต่งเพลงนักแต่งเพลง
นักแต่งเพลงNing Rommanee
4.8K vues12 diapositives

Similaire à PowerPoint Presentation(20)

แบบเรียนชนิดของคำ par Ladawan Munchit
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
Ladawan Munchit32K vues
(การทำข้อสอบ Reading passage) par pingpingmum
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
pingpingmum50.6K vues
นักแต่งเพลง par Ning Rommanee
นักแต่งเพลงนักแต่งเพลง
นักแต่งเพลง
Ning Rommanee4.8K vues
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6 par thaneerat
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
thaneerat32.2K vues
หนังสืออ้างอิง... par krujee
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
krujee3K vues
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย... par 0894239045
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
089423904512.6K vues
อิศรญาณตอ.. par phornphan1111
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
phornphan111118.8K vues
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 par Junior Lahtum
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
Junior Lahtum1.1K vues
นิราศพระบาท1 52 par panneem
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
panneem1.1K vues
นิราศพระบาท1 52 par panneem
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
panneem4.7K vues
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar] par Panuwat Beforetwo
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
Panuwat Beforetwo150.7K vues

Plus de VisualBee.com

Homenagem para luiz e marcos (shared using VisualBee) par
Homenagem para luiz e marcos 
 (shared using VisualBee)Homenagem para luiz e marcos 
 (shared using VisualBee)
Homenagem para luiz e marcos (shared using VisualBee)VisualBee.com
2.4K vues7 diapositives
PowerPoint Presentation (shared using VisualBee) par
PowerPoint Presentation (shared using VisualBee)PowerPoint Presentation (shared using VisualBee)
PowerPoint Presentation (shared using VisualBee)VisualBee.com
1.6K vues1 diapositive
PowerPoint Presentation (shared using http://VisualBee.com). (shared using Vi... par
PowerPoint Presentation (shared using http://VisualBee.com). (shared using Vi...PowerPoint Presentation (shared using http://VisualBee.com). (shared using Vi...
PowerPoint Presentation (shared using http://VisualBee.com). (shared using Vi...VisualBee.com
2.3K vues44 diapositives
The bible and I (shared using VisualBee) par
The bible and I (shared using VisualBee)The bible and I (shared using VisualBee)
The bible and I (shared using VisualBee)VisualBee.com
981 vues44 diapositives
bb bb b par
bb bb bbb bb b
bb bb bVisualBee.com
987 vues4 diapositives
bb (shared using VisualBee) par
bb  
(shared using VisualBee)bb  
(shared using VisualBee)
bb (shared using VisualBee)VisualBee.com
788 vues4 diapositives

Plus de VisualBee.com(20)

Homenagem para luiz e marcos (shared using VisualBee) par VisualBee.com
Homenagem para luiz e marcos 
 (shared using VisualBee)Homenagem para luiz e marcos 
 (shared using VisualBee)
Homenagem para luiz e marcos (shared using VisualBee)
VisualBee.com2.4K vues
PowerPoint Presentation (shared using VisualBee) par VisualBee.com
PowerPoint Presentation (shared using VisualBee)PowerPoint Presentation (shared using VisualBee)
PowerPoint Presentation (shared using VisualBee)
VisualBee.com1.6K vues
PowerPoint Presentation (shared using http://VisualBee.com). (shared using Vi... par VisualBee.com
PowerPoint Presentation (shared using http://VisualBee.com). (shared using Vi...PowerPoint Presentation (shared using http://VisualBee.com). (shared using Vi...
PowerPoint Presentation (shared using http://VisualBee.com). (shared using Vi...
VisualBee.com2.3K vues
The bible and I (shared using VisualBee) par VisualBee.com
The bible and I (shared using VisualBee)The bible and I (shared using VisualBee)
The bible and I (shared using VisualBee)
VisualBee.com981 vues
Chua nhat III mua Thuong Nien - Nam C par VisualBee.com
Chua nhat III mua Thuong Nien - Nam CChua nhat III mua Thuong Nien - Nam C
Chua nhat III mua Thuong Nien - Nam C
VisualBee.com638 vues
Diapositive 1 (shared using http://VisualBee.com). par VisualBee.com
Diapositive 1 (shared using http://VisualBee.com).Diapositive 1 (shared using http://VisualBee.com).
Diapositive 1 (shared using http://VisualBee.com).
VisualBee.com375 vues

PowerPoint Presentation

  • 3. สารบัญ • ที่มาและ ความสาคัญ •วัตถุประสงค์ บทที่ ๑ • เอกสารประกอบ (เอกสารที่เกี่ยวข้อง) บทที่ ๒ • อุปกรณ์ • วิธีการศึกษา บทที่ ๓ •ผลการศึกษา บทที่ ๔ • สรุป • อภิปราย •ผลที่ได้รับ • ข้อเสนอแนะ บทที่ ๕
  • 5. ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ เราต้องเรียนรู้เกี่ยวกับชนิดของคา เพื่อให้พูด อ่าน เขียนได้ถูกต้อง สามารถ สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย ถูกกาลเทศะ ทาให้เราใช้ชีวิตแต่ละวันได้คล่องตัว เราจึง ทาการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อรู้จักชนิดของคาได้ถูกต้อง และมีตัวอย่างมาอธิบายให้ผู้อื่น เข้าใจได้มากขึ้น ๑. รู้จักชนิดของคา ๒. รู้ความหมายของคาแต่ละชนิด ๓. รู้หน้าที่ของคา ๔. วิเคราะห์ชนิดของคาจากตัวอย่างนิทานได้
  • 7. บทที่ ๓ อุปกรณ์และวิธีการศึกษา 1. วิเคราะห์ที่มาและความสาคัญในการศึกษา 2. สืบค้นเอกสารทั้งหนังสือแบบเรียน แบบฝึกหัด และ สื่อมัลติมีเดีย สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง ชนิดของคา จากอินเตอร์เน็ต 3. สรุปเนื้อหาลงในภาคผนวก 4. หาตัวอย่างนิทาน 5. วิเคราะห์ของคา และ ยกตัวอย่างที่ให้ในนิทานออกมา 6. สรุปความรู้ที่ได้รับ อุปกรณ์ วิธีการศึกษา 1. หนังสือ แบบฝึกหัด และ คอมพิวเตอร์ 2. เครื่องเขียน
  • 8. บทที่ ๔ ผลการศึกษา คามีทั้งหมด ๗ ชนิด ได้แก่ คานาม คาสรรพนาม คากริยา คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาสันธาน คาอุทาน คานาม คือ คาที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ พืช สิ่งของ สถานที่ สภาพ อาการ ลักษณะ ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิต หรือสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม มีหน้าที่ เป็นประธาน กรรม และ สามารถใช้ เป็นส่วนขยายในประโยคได้ด้วย คาสรรพนาม คือ คาที่ใช้แทนคานาม เพื่อจะได้ไม่ต้องกล่าวคานามนั้นซ้าอีก ทาหน้าที่เหมือนคานาม คากริยา คือ คาแสดงอาการ การกระทา หรือบอกสภาพของนาม ทาหน้าที่เป็นภาคแสดง และ สามารถ ใช้เป็นส่วนขยาย และ ใช้เหมือนคานามได้ด้วย คาวิเศษณ์ คือ คาที่ใช้ประกอบหรือขยายคาอื่น ๆ เพื่อให้ได้ใจความชัดเจนและละเอียดมากขึ้น คาบุพบท คือ คาที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคาหรือประโยค เพื่อให้ทราบว่าคาหรือกลุ่มคาที่ตามหลังคา บุพบทนั้นเกี่ยวข้องกับกลุ่มคาข้างหน้าในประโยคในลักษณะใด คาสันธาน คือ คาที่ใช้เชื่อมประโยค หรือข้อความกับข้อความ เพื่อทาให้ประโยคนั้นรัดกุม กระชับและ สละสลวย คาอุทาน คือ คาที่แสดงอารมณ์ของผู้พูด ชนิด ความหมาย และ หน้าที่ของคา
  • 9. บทที่ ๔ (ต่อ) วิเคราะห์ชนิดของคาจากตัวอย่างนิทานเรื่องที่ ๑ คนเลี้ยงเเพะ ขณะที่พาฝูงเเพะของตนไปหลบพายุในถ้า คนเลี้ยงเเพะก็พบ ฝูงเเพะป่าหลบอยู่ในถ้าด้วย เช่นกัน "ฝูงเเพะป่านี้เป็นฝูงใหญ่ มีเเพะมากกว่าฝูงเเพะของเราหลายเท่านัก เราน่าจะเอาเเพะป่าฝูงใหญ่ไป เลี้ยง เเทนฝูงเดิมดีกว่า"เมื่อคนเลี้ยงเเพะคิดได้ดังนั้นเเล้วก็นาเอาใบไม้ที่เตรียมมาไว้ให้ ฝูงเเพะเดิม ของตน ไปให้ฝูงเเพะป่ากินจนหมดครั้นเมื่อพายุสงบลง ฝูงเเพะป่าก็วิ่งออกจากถ้าเข้าป่าไป ฝูงเเพะเดิมของตนไป ให้ฝูงเเพะป่ากินจนหมดครั้นเมื่อพายุสงบลง ฝูงเเพะป่าก็วิ่งออกจากถ้าเข้าป่าไป ฝูงเเพะเดิมก็ตายกันหมด เพราะอดอาหารคนเลี้ยงเเพะจึงได้เเต่นั่งร้องไห้ให้เพื่อนบ้านหัวเราะเยาะต่อไป นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า เห็นเเก่มิตรใหม่จนทอดทิ้งมิตรเก่า ก็จะไม่ได้ใครเลย อ้างอิง http://www.fungdham.com/fable/fable09.html สีที่ตัวอักษร คานาม คาสรรพนาม คากริยา คำบุพบท คาสันธาน คาวิเศษณ์ คาอุทาน
  • 10. บทที่ ๔ (ต่อ) วิเคราะห์ชนิดของคาจากตัวอย่างนิทานเรื่องที่ ๒ กบกับหนู หนูเเก่ตัวหนึ่งเดินทางเเรมรอนมาจนถึงลาธารที่ชายป่า หนูต้องการจะข้ามไปยังฝั่งตรงข้ามจึงเข้าไป หาเจ้ากบ ตัวน้อยที่ริมลาธาร เเล้วเอ่ยขอให้กบช่วยพาข้าม ลาธาร เเล้วเอ่ยขอให้กบช่วยพาข้ามลาธารด้วย กบน้อยมองหนูเเล้วปฏิเสธอย่างสุภาพว่า" โธ่ ฉันน่ะตัวเล็กพอๆ กับท่าน เเล้วจะพาท่านข้ามไปได้ อย่างไรกันล่ะจ๊ะ "เเต่หนูไม่ยอม กลับอ้างว่าตนเป็นสัตว์ผู้อาวุโสกว่า ถ้ากบ ไม่ช่วยตนก็จะไปป่าวประกาศ ให้สรรพสัตว์ทั้งหลายรู้ถึง ความใจดาของกบเมื่อถูกขู่เข็ญเช่นนั้นกบจึงต้องจายอมให้หนูเอาเท้าผูก กับเท้า ของตนเเล้วก็พาว่ายข้ามลาธาร เเต่ทว่าพอว่ายไปได้เเค่ครึ่งทางเท่านั้นกบก็เริ่มหมดเเรง ก่อนที่ทั้งคู่จะ จมน้าตาย เหยี่ยวตัวหนึ่งก็โฉบลงมาจิกเอา ทั้งกบเเละหนูไปกิน นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า คิดประโยชน์จากผู้ที่ไม่สามารถให้ได้ ย่อมมีเเต่เสียหาย สีที่ตัวอักษร คานาม คาสรรพนาม คากริยา คำบุพบท คาสันธาน คาวิเศษณ์ คาอุทาน
  • 11. บทที่ ๔ (ต่อ) วิเคราะห์ชนิดของคาจากตัวอย่างนิทานเรื่องที่ ๓ ชาวนากับสิงโต ชำวนำคนหนึ่งเลี้ยงเเกะกับเเพะไว้หลายสิบตัว วันหนึ่ง มีสิงโตตัวใหญ่ พลัดหลงเข้าไปในอาณาบริเวณบ้าน ของชาวนา เขาจึงรีบปิดประตูรั้วไว้เพื่อมิให้ สิงโต ออกไป จาก บริเวณบ้านได้เมื่อสิงโตถูกขังเช่นนั้นก็มิได้เดือดเนื้อร้อนใจนัก เมื่อ มันหิว มันก็จับเเพะกับเเกะกินเป็น อาหารอย่างอิ่มหนา สาราญใจ ชาวนาเห็นเเพะกับเเกะของตนถูกจับกินไปหลายตัวจึง รีบ เปิดประตูรั้วที่ ล้อมรอบบ้านไว้เพื่อปล่อยให้สิงโต กลับออกไปเป็นอิสระได้ "โธ่ไม่น่าเลยเรา" ชาวนานั่งคร่าครวญ เสียดาย เเพะกับ เเกะ ของตน เมียของชำวนำจึงได้เเต่สมน้าหน้า ที่สามีอยากเเกล้งขังสิงโตไว้ในบ้านดีนัก นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า อย่าเลี้ยงสัตว์ดุร้าย เเละ โจร ไว้ในบ้ำนเป็นอันขำด สีที่ตัวอักษร คานาม คาสรรพนาม คากริยา คำบุพบท คาสันธาน คาวิเศษณ์ คาอุทาน
  • 12. บทที่ ๔ (ต่อ) วิเคราะห์ชนิดของคาจากตัวอย่างนิทานเรื่องที่ ๔ ผู้ใหญ่ช่างสอน เด็กน้อยคนหนึ่งพลัดตกลงไปในเเม่น้าจึงร้องตะโกนขึ้นว่า"ช่วยด้วย! ช่วยด้วย! ว่ายน้าไม่เป็น ช่วยหนูด้วย"ขณะนั้นมีผู้ใหญ่คนหนึ่งเดินผ่านมาพอดี เมื่อได้ยินเสียงร้อง ของเด็กจึงไปที่ ริมฝั่งเเม่น้าเเล้วอบรมสั่งสอนว่า"หนูช่างซุกซนเหลือเกินนะ ถ้ารู้ตัวว่าว่ายน้าไม่เป็นเเล้วมาเล่น ริมน้า ทาไม ไม่คิดหรือว่าถ้าตกลงไปใครจะมาช่วย"เด็กน้อยพยายามตะโกนตอบว่า "คุณน้าจ๋า ช่วยหนูขึ้นไปก่อนเเล้วค่อยอบรมได้หรือไม่" นิทำนเรื่องนี้สอนให้รู้ว่ำ ช่วยเเก้ปัญหาให้เขาได้เสียก่อน เเล้วค่อยสั่งสอนเขา ดีกว่าสั่งสอนหรือซ้าเติมคนที่กาลังประสบปัญหา สีที่ตัวอักษร คานาม คาสรรพนาม คากริยา คำบุพบท คาสันธาน คาวิเศษณ์ คาอุทาน
  • 13. บทที่ ๕ สรุป อภิปราย เราพบคาชนิดต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน และได้วิเคราะห์คาต่าง ๆ ใน นิทาน และได้รู้เกี่ยวกับคาต่าง ๆ ทั้ง ๗ ชนิด พบว่าคามีหลายชนิด ย่อยอีก เช่นคานามมี อีก ๕ ชนิดย่อย ซึ่งจะแตกต่างไปตามหน้าที่ คาทุกชนิดมีความสาคัญ ประกอบกันเป็นประโยค หรือ เชื่อมต่อ คาและประโยค ทาให้เราเข้าใจ เนื้อหาที่อ่าน พูด และ เขียนได้ ชัดเจนขึ้น
  • 14. บทที่ ๕ (ต่อ) ผลที่ได้รับ ข้อเสนอแนะ ๑. ได้รู้จักชนิดของคา ๒. ได้รู้ความหมายของคาแต่ละชนิด ๓. ได้รู้หน้าที่ของคา ๔. เข้าใจวิธีการใช้คาแต่ละชนิดจากตัวอย่างนิทานได้ ๑. เราควรใช้คาให้ถูกต้อง ๒. เราควรทาความเข้าใจกับคาชนิดต่าง ๆ
  • 15. หน้ำ ๗หน้ำ ๖หน้ำ ๒ หน้ำ ๓ หน้ำ ๔ หน้ำ ๕หน้ำ ๑ คานาม •ความหมายของ คานาม •ชนิดของ คานาม •หน้าที่ของ คานาม คาสรรพนาม คากริยา คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาสันธาน คาอุทาน •ความหมายของ คาสรรพนาม •ชนิดของคา สรรพนาม •หน้าที่ของคา สรรพนาม •ความหมาย ของคากริยา •ชนิดของ คากริยา •หน้าที่ของ คากริยา •ความหมาย ของคาวิเศษณ์ •ชนิดของคา วิเศษณ์ •หน้าที่ของคา วิเศษณ์ •ความหมาย ของคาบุพบท •ชนิดของคา บุพบท •หน้าที่ของคา บุพบท •ความหมาย ของคาสันธาน •ชนิดของ คาสันธาน •หน้าที่ของ คาสันธาน •ความหมาย ของคาอุทาน •ชนิดของคา อุทาน •หน้าที่ของคา อุทาน
  • 16. คำนำมหมำยถึง คำที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ พืช สิ่งของ สถำนที่ สภำพ อาการ ลักษณะ ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิต หรือสิ่งไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรม และ นามธรรม เช่นคาว่า คน ปลา ตะกร้า ไก่ ประเทศไทย จังหวัดพิจิตร การ ออกกาลังกาย การศึกษา ความดี ความงาม กอไผ่ กรรมกร ฝูง ตัว เป็นต้น • ความหมายของคานาม
  • 19. ความหมายของคาสรรพนาม ความหมายของคาสรรพนาม คาสรรพนาม หมายถึง คาที่ใช้แทนคานามที่กล่าวถึง มาแล้ว เพื่อจะได้ไม่ต้องกล่าวคานามนั้นซ้าอีก เช่นคา ว่า ฉัน เรา ดิฉัน กระผม กู คุณ ท่าน ใต้เท้า เขา มัน สิ่ง ใด ผู้ใด นี่ นั่น อะไร ใคร บ้าง เป็นต้น
  • 23. ความหมายของคากริยา ความหมายของคากริยา คำกริยำ หมำยถึง คำแสดงอำกำร กำรกระทำ หรือบอกสภำพของ คานามหรือคาสรรพนาม เพื่อให้ได้ความ เช่นคาว่า กิน เดิน นั่ง นอน เล่น จับ เขียน อ่าน เป็น คือ ถูก คล้าย เป็นต้น
  • 24. ชนิดของคากริยา คากริยาแบ่งเป็น ๕ ชนิด ๑. อกรรมกริยา คือ คากริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับก็ได้ความสมบูรณ์ เข้าใจได้ เช่น - เขา"ยืน"อยู่ - น้อง"นอน" ๒. สกรรมกริยา คือ คากริยาที่ต้องมีกรรมมารับ เพราะคากริยานี้ไม่มีความสมบูรณ์ในตัวเอง เช่น - ฉัน "กิน"ข้าว (ข้าวเป็นกรรมที่มารับคาว่ากิน) - เขา"เห็น"นก (นกเป็นกรรมที่มารับคาว่าเห็น) ๓. วิกตรรถกริยา คือ คากริยาที่ไม่มีความหมายในตัวเอง ใช้ตามลาพังแล้วไม่ได้ความต้องมีคาอื่นมาประกอบ จึงจะได้ความ คากริยาพวกนี้คือ เป็น เหมือน คล้าย เท่า คือ เช่น - เขา"เป็น"นักเรียน - เขา"คือ"ครูของฉันเอง ๔. กริยานุเคราะห์ คือ คากริยาที่ทาหน้าที่ช่วยคากริยาสาคัญในประโยคให้มีความหมายชัดเจนขึ้น ได้แก่คา ว่า จง กาลัง จะ ย่อม คง ยัง ถูก นะ เถอะ เทอญ ฯลฯ เช่น - นายดา"จะ"ไปโรงเรียน - เขา"ถูก"ตี ๕. กริยาสภาวมาลา คือ คากริยาที่ทาหน้าที่เป็นคานามจะเป็นประธาน กรรม หรือบทขยายของประโยคก็ ได้ เช่น - "นอน"หลับเป็นการพักผ่อนที่ดี (นอน เป็นคากริยาที่เป็นประธานของประโยค) - ฉันชอบไป"เที่ยว"กับเธอ (เที่ยว เป็นคากริยาที่เป็นกรรมของประโยค)
  • 25. หน้าที่ของคากริยา หน้าที่ของคากริยามีดังนี้คือ ๑. ทาหน้าที่เป็นตัวแสดงในภาคแสดงของประโยค เช่น - ขนมวางอยู่บนโต๊ะ - นักเรียนอ่านหนังสือทุกวัน ๒. ทาหน้าที่ขยายคานาม เช่น - วันเดินทางของเขาคือวันพรุ่งนี้ ("เดินทาง" เป็นคากริยาที่ไปขยายคานาม "วัน") ๓. ทาหน้าที่ขยายกริยา เช่น - เด็กคนนั้นนั่งดูนก ("ดู" เป็นคากริยาที่ไปขยายคากริยา "นั่ง") ๔. ทาหน้าที่เหมือนคานาม เช่น - ออกกาลังกายทุกวันทาให้ร่างกายแข็งแรง ("ออกกาลังกาย" เป็นคากริยา ทาหน้าที่เป็นประธานของประโยค) - เด็กชอบเดินเร็วๆ ("เดิน" เป็นคากริยา ทาหน้าที่เป็นกรรมของประโยค)
  • 26. ความหมายของคาวิเศษณ์ คาวิเศษณ์ หมายถึง คาที่ใช้ประกอบหรือขยายคานาม สรรพนาม คากริยา หรือคา วิเศษณ์ เพื่อให้ได้ใจความชัดเจนและละเอียดมากขึ้น เช่น คนอ้วนกินจุ ("อ้วน" เป็นคาวิเศษณ์ที่ขยายคานาม "คน" "จุ" เป็นคาวิเศษณ์ที่ขยายคากริยา "กิน" เขาร้องเพลงได้ไพเราะ ("ไพเราะ" เป็นคาวิเศษณ์ที่ขยายคากริยา "ร้องเพลง") เขาร้องเพลงได้ไพเราะมาก ("มาก" เป็นคาวิเศษณ์ที่ขยายคาวิเศษณ์ "ไพเราะ")
  • 27. ชนิดของคาวิเศษณ์ คำวิเศษณ์แบ่งออกเป็น ๑๐ ชนิด ดังนี้ ๑. ลักษณะวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่บอกลักษณะต่างๆเช่น บอกชนิด สี ขนาด สัณฐาน กลิ่น รส บอกความรู้สึก เช่น ดี ชั่ว ใหญ่ ขาว ร้อน เย็น หอม หวาน กลม แบน เป็นต้น เช่น - น้าร้อนอยูในกระติกสีขาว - จานใบใหญ่ราคาแพงกว่าจานใบเล็ก ๒. กาลวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์บอกเวลา เช่น เช้า สาย บ่าย เย็น อดีต อนาคต เป็นต้น เช่น - พรุ่งนี้เป็นวันเกิดของคุณแม่ - เขามาโรงเรียนสาย ๓. สถานวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์บอกสถานที่ เช่น ใกล้ไกล บน ล่าง เหนือ ใต้ ซ้าย ขวา เป็นต้น เช่น - บ้านฉันอยู่ไกลตลาด - นกอยู่บนต้นไม้ ๔. ประมาณวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์บอกจานวน หรือปริมาณ เช่น หนึ่ง สอง สาม มาก น้อย บ่อย หลาย บรรดา ต่าง บ้าง เป็น ต้น เช่น - เขามีเงินห้าบาท - เขามาหาฉันบ่อยๆ
  • 28. ๕. ประติเษธวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่แสดงความปฏิเสธ หรือไม่ยอมรับ เช่น ไม่ ไม่ใช่ มิ มิใช่ ไม่ได้ หามิได้ เป็นต้น เช่น - เขามิได้มาคนเดียว - ของนี้ไม่ใช่ของฉัน ฉันจึงรับไว้ไม่ได้ ๖. ประติชญาวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่ใช้แสดงการขานรับหรือโต้ตอบเช่น ครับ ขอรับ ค่ะ เป็นต้น เช่น - คุณครับมีคนมาหาขอรับ - คุณครูขา สวัสดีค่ะ ๗. นิยมวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่บอกความชี้เฉพาะ เช่น นี้ นั่น โน่น ทั้งนี้ ทั้งนั้น แน่นอน เป็นต้น เช่น - บ้านนั้นไม่มีใคราอยู่ - เขาเป็นคนขยันแน่ๆ ๘. อนิยมวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่บอกความไม่ชี้เฉพาะเช่น ใด อื่น ไหน อะไร ใคร ฉันใด เป็นต้น เช่น - เธอจะมาเวลาใดก็ได้ - คุณจะนั่งเก้าอื้ตัวไหนก็ได้ ๙. ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์แสดงคาถามหรือแสดงความสงสัย เช่น ใด ไร ไหน อะไร สิ่งใด ทาไม เป็นต้น เช่น - เสื้อตัวนี้ราคาเท่าไร - เขาจะมาเมื่อไร ๑๐. ประพันธวิเศษณ์ คือ คาวิเศษณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมคาหรือประโยคให้มีความเกี่ยวข้องกัน เช่นคาว่า ที่ ซึ่ง อัน อย่าง ที่ว่า เพื่อ ว่า ให้ เป็นต้น เช่น - เขาทางานหนักเพื่อว่าเขาจะได้มีเงินมาก - เขาทาความดี อัน หาที่สุดมิได้
  • 29. หน้าที่ของคาวิเศษณ์ ๑. ทาหน้าที่ขยายคานาม เช่น - คนอ้วนกินจุ ( "อ้วน" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคานาม "คน") - ตารวจหลายคนจับโจรผู้ร้าย ("หลาย" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคานาม "ตารวจ") ๒. ทาหน้าที่ขยายคาสรรพนาม เช่น - เราทั้งหมดช่วยกันทางานให้เรียบร้อย ("ทั้งหมด" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคาสรรพนาม "เรา") - ฉันเองเป็นคนพูด ( "เอง" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคาสรรพนาม "ฉัน") ๓. ทาหน้าที่ขยายคากริยา เช่น - คนแก่เดินช้า ( "ช้า" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคากริยา "เดิน") - นักกีฬาว่ายน้าเก่ง ( "เก่ง" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคากริยา "ว่ายน้า") ๔. ทาหน้าที่ขยายคาวิเศษณ์ เช่น - ลมพัดแรงมาก ("มาก" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคาวิเศษณ์ "แรง") - สมชายร้องเพลงเพราะจริง ("จริง" เป็นคาวิเศษณ์ขยายคาวิเศษณ์ "เพราะ") ๕. ทาหน้าที่เป็นตัวแสดงในภาคแสดง เช่น - เธอสูงกว่าคนอื่น - ขนมนี้อร่อยดี
  • 30. ความหมายของคาบุพบท คาบุพบท หมายถึง คาที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคาหรือประโยค เพื่อให้ทราบว่าคา หรือกลุ่มคาที่ตามหลังคาบุพบทนั้นเกี่ยวข้องกับกลุ่มคาข้างหน้าในประโยคในลักษณะ ใด เช่น กับ แก่ แต่ ต่อ ด้วย โดย ตาม ข้าง ถึง จาก ใน บน ใต้ สิ้น สาหรับ นอก เพื่อ ของ เกือบ ตั้งแต่ แห่ง ที่ เป็นต้น เช่น เขามาแต่เช้า บ้านของคุณน่าอยู่จริง คุณครูให้รางวัลแก่ฉัน เขาให้รางวัลเฉพาะคนที่สอบได้ที่หนึ่ง
  • 31. ชนิดของคาบุพบท คาบุพบทแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด ๑. คาบุพบทที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคาต่อคา คือ ความสัมพันธ์ระหว่างคานามกับคานาม คาสรรพนามกับคานาม คานามกับคากริยา คา สรรพนามกับคาสรรพนาม คาสรรพนามกับคากริยา คากริยากับคานาม คากริยากับคาสรรพนาม คากริยากับคากริยา เพื่อบอกสถานการให้ ชัดเจน เช่น ๑.๑ บอกสถานภาพความเป็นเจ้าของ เช่น - พ่อซื้อสวนของนายทองคา (นามกับนาม) ๑.๒ บอกความเกี่ยวข้อง เช่น - เขาเห็นแก่กิน (กริยากับกริยา) ๑.๓ บอกการให้และบอกความประสงค์ เช่น - คุณครูให้รางวัลแก่ฉัน (นามกับสรรพนาม) ๑.๔ บอกเวลา เช่น - เขามาตั้งแต่เช้า (กริยากับนาม) ๑.๕ บอกสถานที่ เช่น - เขามาจากต่างจังหวัด (กริยากับนาม) ๑.๖ บอกความเปรียบเทียบ เช่น - พี่หนักกว่าฉัน (กริยากับสรรพนาม) ๒. คาบุพบทที่ไม่มีความสัมพันธ์กับคาอื่น ส่วนมากจะอยู่ต้นประโยค ใช้เป็นการทักทาย มักใช้ในคาประพันธ์ เช่นคาว่า ดูก่อน ข้าแต่ ดูกร คา เหล่านี้ใช้นาหน้าคาสรรพนามหรือคานาม เช่น - ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย - ข้าแต่ท่านทั้งหลายโปรดฟังข้าพเจ้า
  • 32. หน้าที่ของคาบุพบท ๑. ทาหน้าที่นาหน้านาม เช่น - หนังสือของพ่อหาย - เขาไปกับเพื่อน ๒. ทาหน้าที่นาหน้าสรรพนาม เช่น - ปากกาของฉันอยู่ที่เขา - ฉันชอบอยู่ใกล้เธอ ๓. ทาหน้าที่นาหน้ากริยา เช่น - เขากินเพื่ออยู่ - เขาทางานกระทั่งตาย ๔. ทาหน้าที่นาหน้าประโยค เช่น - เขามาตั้งแต่ฉันตื่นนอน - เขาพูดเสียงดังกับคนไข้ ๕. ทาหน้าที่นาหน้าคาวิเศษณ์ เช่น - เขาต้องมาหาฉันโดยเร็ว - เขาเลวสิ้นดี
  • 33. ความหมายของคาสันธาน ความหมายของคาสันธาน คำสันธำน หมำยถึง คำที่ใช้เชื่อมประโยค หรือข้อควำมกับข้อควำม เพื่อทำให้ ประโยคนั้นรัดกุม กระชับและสละสลวย เช่นคาว่า และ แล้ว จึง แต่ หรือ เพราะ เหตุ เพราะ เป็นต้น เช่น - เขาอยากเรียนหนังสือเก่งๆ แต่เขาไม่ชอบอ่านหนังสือ - เขามาโรงเรียนสายเพราะฝนตกหนัก
  • 34. ชนิดของคาสันธาน คาสันธานแบ่งเป็น ๔ ชนิด ดังนี้ ๑. คาสันธานที่เชื่อมความคล้อยตามกัน ได้แก่คาว่า และ ทั้ง...และ ทั้ง...ก็ ครั้น...ก็ ครั้น...จึง ก็ดี เมื่อ...ก็ว่า พอ...แล้ว เช่น - ทั้งพ่อและแม่ของผมเป็นคนใต้ - พอทาการบ้านเสร็จแล้วฉันก็นอน ๒. คาสันธานที่เชื่อมความขัดแย้งกัน เช่นคาว่า แต่ แต่ว่า กว่า...ก็ ถึง...ก็ เป็นต้น เช่น - ผมต้องการพูดกับเขา แต่เขาไม่ยอมพูดกับผม - กว่าเราจะเรียนจบเพื่อนๆ ก็ทางานหมดแล้ว ๓. คาสันธานที่เชื่อมข้อมความให้เลือก ได้แก่คาว่า หรือ หรือไม่ ไม่...ก็ หรือไม่ก็ ไม่เช่นนั้น มิฉะนั้น...ก็ เป็นต้น เช่น - นักเรียนชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์หรือภาษาไทย - เธอคงไปซื้อของหรือไม่ก็ไปดูหนัง ๔ คาสันธานที่เชื่อมความที่เป็นเหตุเป็นผล ได้แก่คาว่า เพราะ เพราะว่า ฉะนั้น...จึง ดังนั้น เหตุเพราะ เหตุว่า เพราะฉะนั้น... จึง เป็นต้น เช่น - นักเรียนมาโรงเรียนสายเพราะฝนตกหนัก - เพราะวาสนาไม่ออกกาลังกายเธอจึงอ้วนมาก
  • 35. หน้าที่ของคาสันธาน หน้าที่ของคาสันธาน มีดังนี้คือ ๑. เชื่อมประโยคกับประโยต เช่น - เขามีเงินมากแต่เขาก็หาความสุขไม่ได้ - พ่อทางานหนักเพื่อส่งเสียให้ลูกๆได้เรียนหนังสือ - ฉันอยากได้รองเท้าที่ราคาถูกและใช้งานได้นาน ๒. เชื่อมคากับคาหรือกลุ่มคา เช่น - สมชายลาบากเมื่อแก่ - เธอจะสู้ต่อไปหรือยอมแพ้ - ฉันเห็นนายกรัฐมนตรีและภริยา ๓. เชื่อมข้อความกับข้อความ เช่น - ชาวต่างชาติเข้ามาอยู่เมืองไทย เขาขยันหมั่นเพียรไม่ยอมให้เวลาผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์เขาจึงร่ารวย จน เกือบจะซื้อแผ่นดินไทยได้ทั้งหมดแล้ว เพราะฉะนั้นขอให้พี่น้องชาวไทยทั้งหลายจงตื่นเถิด จงพากันขยันทางานทุกชนิดเพื่อจะได้ รักษาผืนแผ่นดินของไทยไว้
  • 36. ความหมายของคาอุทาน คาอุทาน หมายถึง คาที่แสดงอารมณ์ของผู้พูดในขณะที่ ตกใจ ดีใจ เสียใจ ประหลาดใจ หรืออาจจะเป็นคาที่ใช้เสริม คาพูด เช่นคาว่า อุ๊ย เอ๊ะ ว้าย โธ่ อนิจจา อ๋อ เป็นต้น เช่น - เฮ้อ! ค่อยยังชั่วที่เขาปลอดภัย - เมื่อไรเธอจะตัดผมตัดเผ้าเสียทีจะได้ดูเรียบร้อย
  • 37. ชนิดของคาอุทาน คำอุทำนแบ่งเป็น ๒ ชนิด ดังนี้ ๑. คาอุทานบอกอาการ เป็นคาอุทานที่แสดงอารมณ์ และความรู้สึกของผู้พูด เช่น ตกใจ ใช้คำว่ำ วุ้ย ว้ำย แหม ตำยจริง ประหลำดใจ ใช้คำว่ำ เอ๊ะ หือ หำ รับรู้ เข้ำใจ ใช้คำว่ำ เออ อ้อ อ๋อ เจ็บปวด ใช้คำว่ำ โอ๊ย โอย อุ๊ย สงสำร เห็นใจ ใช้คำว่ำ โธ๋ โถ พุทโธ่ อนิจจำ ร้องเรียก ใช้คำว่ำ เฮ้ย เฮ้ นี่ โล่งใจ ใช้คำว่ำ เฮอ เฮ้อ โกรธเคือง ใช้คำว่ำ ชิชะ แหม ๒. คาอุทานเสริมบท เป็นคาอุทานที่ใช้เป็นคาสร้อยหรือคาเสริมบทต่างๆ คาอุทานประเภทนี้บางคาเสริมคาที่ไม่มีความหมายเพื่อยืด เสียงให้ยาวออกไป บางคาก็เพื่อเน้นคาให้กระชับหนักแน่น เช่น - เดี๋ยวนี้มือไม้ฉันมันสั่นไปหมด - หนังสือหนังหาเดี๋ยวนี้ราคาแพงมาก - พ่อแม่ไม่ใช่หัวหลักหัวตอนะ
  • 38. หน้าที่ของคาอุทาน ๑. ทาหน้าที่แสดงความรู้สึกของผู้พูด เช่น - ตายจริง! ฉันลืมเอากระเป๋ าสตางค์มา - โธ่! เธอคงจะหนาวมากละซิ - เอ๊ะ! ใครกันที่นาดอกไม้มาวางไว้ที่โต๊ะของฉัน ๒. ทาหน้าที่เพิ่มน้าหนักของคา ซึ่งได้แก่คาอุทานเสริมบท เช่น - ทาเสร็จเสียทีจะได้หมดเรื่องหมดราวกันไป - เมื่อไรเธอจะหางงหางานทาเสียที - เธอเห็นฉันเป็นหัวหลักหัวตอหรืออย่างไร ๓. ทาหน้าที่ประกอบข้อความในคาประพันธ์ เช่น - แมวเอ๋ยแมวเหมียว - มดเอ๋ยมดแดง - กอ เอ๋ย กอไก่
  • 39. ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์โฟกัส. แบบฝึกหลักภาษาไทย ป.5 เล่ม 1.กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจากัดสินทวีกิจ พริ้นติ้ง, . นีรนุช อินกองงาม. ชนิดของคา. http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/ph ichit/neeranuch_i/sec01p011.html วันที่ดาวโหลด 17 ธันวาคม 2554, 2547.