Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×

การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)

Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité

Consultez-les par la suite

1 sur 53 Publicité

การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)

Télécharger pour lire hors ligne

การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
จัดทำโดย
นายวิสัยทัศน์ พละศักดิ์ เลขที่ 6
น.ส.ไพลิน จิรวงศ์ไพสิฐ เลขที่
น.ส.ชนกนันท์ ทองนำ
น.ส.นับพร เสดวงชัย
น.ส.พิมพ์นภา สินค้าเจริญ
น.ส.สุพรรณษา ฟักขำ
ชั้นมัยธมศึกษาปีที่ 6/1

การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
จัดทำโดย
นายวิสัยทัศน์ พละศักดิ์ เลขที่ 6
น.ส.ไพลิน จิรวงศ์ไพสิฐ เลขที่
น.ส.ชนกนันท์ ทองนำ
น.ส.นับพร เสดวงชัย
น.ส.พิมพ์นภา สินค้าเจริญ
น.ส.สุพรรณษา ฟักขำ
ชั้นมัยธมศึกษาปีที่ 6/1

Publicité
Publicité

Plus De Contenu Connexe

Diaporamas pour vous (20)

Similaire à การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC) (20)

Publicité
Publicité

การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)

  1. 1.  ภาษาซีเป็นภาษาที่มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ภาษาซีรุ่นแรกทางานภายใต้ ระบบปฏิบัติการคอส (cos) ปัจจุบันทางานภายใต้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows) ภาษาซีใช้วิธีแปลรหัสคาสั่งให้เป็นเลขฐานสองเรียกว่าคอมไพเลอร์  การศึกษาภูมิหลังการเป็นมาของภาษาซีและกระบวนการแปลภาษาจะช่วย ให้ผู้ใช้ ภาษาซีในรุ่นและบริษัทผู้ผลิตแตกต่างกัน สามารถใช้ภาษาได้อย่างเข้าใจมากขึ้น
  2. 2. 1.1 ความเป็นมาของภาษาซี  ภาษา ซีได้รับการพัฒนาเมื่อปี ค.ศ. 1972 โดยนายเดนนิส ริตซี่ ตั้งชื่อว่าซีเพราะ พัฒนามาจากภาษา BCLP และภาษา B ในช่วงแรกใช้ทดลองเขียนคาสั่งควบคุมใน ห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratoories) เท่านั้น เมื่อปี ค.ศ. 1972 นายไบรอัน เคอร์นิกฮัน และนายเดนนิส ริตซี่ ร่วมกันกาหนดนิยามรายละเอียดของภาษาซี เผยแพร่ความรู้โดยจัดทาหนังสือ The CProgramming Language
  3. 3. 1.1 ความเป็นมาของภาษาซี  มีหลายบริษัทให้ความสนใจนาไปพัฒนาต่อ จนมีภาษาซีหลายรูปแบบและแพร่หลาย ไปทั่วโลก แต่ยังไม่มีมาตรฐานคาสั่งเพื่อให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ ดังนั้นเมื่อปี ค.ศ. 1988 นายริตซี่ ได้ร่วมกับสถาบันกาหนดมาตรฐาน ANSI สร้างมาตรฐานภาษาซี ขึ้นมา มีผลให้ โปรแกรมคาสั่งที่สร้างด้วยภาษาซีสังกัดบริษัทใดๆ ก็ตามที่ใช้คาสั่ง มาตรฐานของภาษาสามารถนามาทางานร่วมกันได้
  4. 4. 1.2 การทางานของคอมไพเลอร์ภาษาซี  คอมไพเลอร์ (compiler)  เป็นโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อแปลภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่งมักใช้ กับ โปรแกรมเชิงโครงสร้าง ลักษณะการแปลจะอ่านรหัสคาสั่งทั้งโปรแกรมตั้งแต่บรรทัด คาสั่งแรกถึงบรรทัด สุดท้าย หากมีข้อผิดพลาดจะรายงานทุกตาแหน่งคาสั่งที่ใช้งาน ผิดกฎไวยากรณ์ของภาษา กระบวนการคอมไพล์โปรแกรมคาสั่งของภาษาซีดังนี้
  5. 5. รูปแสดงขั้นตอนการทางาน ของตัวแปลโปรแกรม
  6. 6.  1. จัดทาโปรแกรมต้นฉบับ (Source Program) หลักจากพิมพ์คาสั่งงาน ตาม โครงสร้างภาษาที่สมบูรณ์แล้วทุกส่วนประกอบ ให้บันทึกโดยกาหนดชนิดงานเป็น .c เช่น work.c
  7. 7.  2. การแปลรหัสคาสั่งเป็นภาษาเครื่อง (Compile) หรือการบิวด์ (Build) เครื่อง จะตรวจสอบคาสั่งทีละคาสั่ง เพื่อวิเคราะห์ว่าใช้งานได้ถูกต้องตามรูปแบบไวยากรณ์ที่ ภาษาซีกาหนดไว้หรือ ไม่หากมีข้อผิดพลาดจะแจ้งให้ทราบ หากไม่มีข้อผิดพลาดจะไป กระบวนการ A
  8. 8.  3. การเชื่อมโยงโปรแกรม( Link) ภาษาซีมีฟังก์ชันมาตรฐานให้ใช้งาน เช่น printf () ซึ่งจัดเก็บไว้ในเฮดเดอร์ไพล์ หรือเรียกว่า ไลบรารี ในตาแหน่งที่กาหนด ชื่อแตกต่างกันไป ผู้ใช้ต้องศึกษาและเรียกใช้เฮดเดอร์ไฟล์กับฟังก์ชันให้สัมพันธ์ เรียกว่าเชื่อมโยงกับไลบรารี กระบวนการนี้ได้ผลลัพธ์เป็นไฟล์ชนิด exe
  9. 9.  สาหรับโครงสร้างของภาษาซีในเบื้องต้นนี้จะกล่าวถึงเฉพาะรายละเอียดที่นาไปใช้ใน การเขียนคาสั่งควบคุมระดับพื้นฐาน ผู้สร้างงานโปรแกรมจะใช้งานส่วนประกอบใน ภาษาซีเพียง ; ส่วน คือ ส่วนหัวและส่วนฟังก์ชันหลัก ดังนี้ # include < header file > 1 Main ( ) { Statements ; 2 }
  10. 10.  2.1 ส่วนหัวของโปรแกรม (Header File)  หรือเรียกว่าฟรีโปรเซสเซอร์ไดเรกทีฟ ใช้ระบุชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ ควบคุมการทางาน ของฟังก์ชันมาตรฐานที่ถูกเรียกใช้งานในส่วนของ main ( ) เฮดเดอร์ไฟล์มีชนิด เป็น.h จัดเก็บในไลบรารีฟังก์ชัน ผู้เขียนคาสั่งงานต้องศึกษาว่าฟังก์ชันที่ใช้งานนั้นอยู่ ในเฮดเดอร์ไฟล์ชื่ออะไร จึงจะเรียกใช้งานได้ถูกต้อง นิยมใช้รูปแบบคาสั่ง ดังนี้
  11. 11. รูปแบบ # include < header_name> อธิบาย header_name ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ที่ควบคุมฟังก์ชันมาตรฐาน เช่น ฟังก์ชัน printf ใช้ควบคุมการแสดงผล จัดเก็บในไลบรารีชื่อ #include <stdio.h> ตัวอย่างคาสั่ง ประกาศฟรีโปรเซสเซอร์ไดเรกทีฟ ที่ใช้ควบคุมฟังก์ชันมาตรฐานภาษาซี # include <stdio.h> อธิบาย ให้คอมไพเลอร์ค้นหาไลบรารีไฟล์ชื่อ stdio.h จากไดเรกเทอรี include
  12. 12.  2.2 ส่วนฟังก์ชันหลัก (Main Function)  เป็นส่วนเขียนคาสั่งควบคุมการทางานภายในขอบเขตเครื่องหมาย { } ของฟังก์ชัน หลักคือ main ( ) ต้องเขียนคาสั่งตามลาดับขั้นตอนจากกระบวนการวิเคราะห์ ระบบงานเบื้องต้นและขั้นวางแผนลาดับการทางานที่ได้จัดทาล่วงหน้าไว้ เช่น ลาดับ การทางานด้วยแผนผังโปรแกรมเพื่อลดข้อผิดพลาดในขั้นตอนลาดับคาสั่งควบคุมงาน ในส่วนนี้พึงระมัดระวังเรื่องเดียวคือ ต้องใช้งานคาสั่งตามรูปแบบไวยากรณ์ของ ภาษาซีที่กาหนดไว้
  13. 13.  2.3 การพิมพ์คาสั่งควบคุมงานในโครงสร้างภาษาซี การพิมพ์คาสั่งงาน ซึ่งภาษาซีเรียกว่า ฟังก์ชัน ในส่วนประกอบภายในโครงสร้าง ภาษาซีมีแนวทางปฏิบัติดังนี้  1. คาสั่งที่ใช้ควบคุมการประมวลผลตามลาดับที่ได้วิเคราะห์ไว้ ต้องเขียนภายใน เครื่องหมาย {} ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของ ฟังก์ชันหลักชิ่อ main ()  2. ปกติคาสั่งควบคุมงานจะเป็นอักษรตัวพิมพ์เล็ก ยกเว้นบางคาสั่งที่ภาษากาหนดว่า ต้องเป็น  อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ ต้องปฏิบัติตามนั้น เพราะภาษาซีมีความแตกต่างในเรื่องตัวอักษร
  14. 14.  2.3 การพิมพ์คาสั่งควบคุมงานในโครงสร้างภาษาซี  3. เมื่อสิ้นสุดคาสั่งงาน ต้องพิมพ์เครื่องหมายเซมิโคลอน (;)  4. ใน 1 บรรทัด พิมพ์ได้มากกว่า 1 คาสั่ง แต่นิยมบรรทัดละ 1 คาสั่ง เพราะว่าอ่าน โปรแกรมง่ายเมื่อมีข้อผิดพลาด ย่อมตรวจสอบและค้นหาเพื่อแก้ไขได้เร็ว  5. การพิมพ์คาสั่ง หากมีส่วนย่อย นิยมเคาะเยื้องเข้าไป เพื่ออ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เมื่อมีข้อผิดพลาดย่อมตรวจสอบและค้นหาเพื่อแก้ไขได้รวดเร็ว
  15. 15. ตัวอย่างการพิมพ์ คาสั่งภาษาซี
  16. 16.  การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาคอมพิวเตอร์ ภาษากาหนดให้ดาเนินการผ่านที่ ผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้กาหนดเอง ระบบคอมพิวเตอร์จะจัดเก็บชื่อและตาแหน่ง ซื่อidentifier ที่อยู่ (Address) ในหน่วยความจา เพื่ออ้างอิงนาข้อมูลที่จัดเก็บนั้นมา ใช้งาน การกาหนดชื่อที่ใช้เก็บข้อมูลต้องทาภายใต้กฎเกณฑ์ และต้องศึกษาวิธีกาหนด ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลตามที่ภาษากาหนดไว้ ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลมี 2 แบบ คือ แบบค่าคงที่ และแบบตัวแปร  ทั้งนี้ก่อนที่จะเขียนคาสั่งกาหนดการจัดเก็บข้อมูล ควรมีความรู้ในเรื่องชนิดข้อมูล ก่อน
  17. 17.  3.1 ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน  การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาทั้งแบค่าคงที่หรือแบบตัวแปร ต้องกาหนดชนิด ข้อมูลให้ระบบรับทราบ  ในที่นี้กล่าวถึงชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน 3 กลุ่มหลักเท่านั้น ดังตารางที่ 2.1 ชนิดข้อมูล แบบพื้นฐาน
  18. 18. ตารางที่ 2.1 ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน ข้อควรจา : ข้อมูลแบบข้อความใช้แบบข้อมูลแบบตัวแปร ชุด เช่น char a [20] : หมายเหตุ : ตารางแสดงชนิดข้อมูลของภาษาซีทุกชนิดแสดงในภาคผนวก
  19. 19.  3.2 คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบค่าคงที่  ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ รูปแบบ Const data_type var = data ; อธิบาย data_type คือที่ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน Var คือชื่อหน่วยความจาที่ผู้ใช้ต้องกาหนดตามกฎการตั้งชื่อ Data คือข้อมูลที่กาหนดเป็นค่าคงที่
  20. 20. ข้อควรจา : กรณีข้อมูลมี 1 อักขระ กาหนดให้อยู่ใน ‘ ‘ (single quotation) กรณีข้อมูลมีมากกว่า 1 อักขระ กาหนดให้อยู่ใน “ ” (double quotation) กรณีข้อมูลเป็นชนิดตัวเลขใช้ในการคานวณไม่ต้องอยู่ใน ‘’ หรือ “ ”
  21. 21.  3.3 คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบตัวแปร  ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาสามารถเปลี่ยนแปลง ได้ รูปแบบ 1 var_type var_name[,….]; รูปแบบ 2 var_type var_name = data ; อธิบาย var_type คือหน่วยชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน var name คือชื่อหน่วยความจา ที่ผู้ใช้ต้องกาหนดตามกฎ การตั้งชื่อ data คือข้อมูลที่กาหนดเป็นค่าเริ่มต้น (อาจมีหรือไม่ก็ได้)
  22. 22.  หมายเหตุ หากมีตัวแปรมากกว่า 1 ตัว แต่เป็นตัวแปรเก็บข้อมูลประเภทเดียว ใช้ คอมม่า (,) คั่น  ตัวอย่างคาสั่ง กาหนดคุณสมบัติให้ตัวแปรในการจัดเก็บข้อมูล Char ans ; List salary , bonus ; Short value = 2;
  23. 23.  4.1 คาสั่งแสดงผล : printf ( )  ประสิทธิภาพคาสั่ง : ใช้แสดงผล สิ่งต่อไปนี้ เช่น ข้อความ ข้อมูลจากค่าคงที่ หรือตัว แปรที่จอภาพ รูปแบบ 1 Printf (“ string_format” , data_list ) ; รูปแบบ 2 Printf (“string_format” ) ; อธิบาย string_format คือลักษณะของสิ่งต่อไปนี้ เช่น ข้อความ (text ) รหัสรูปแบบข้อมูล เช่น %d รหัสควบคุม เช่น n Data_list คือข้อมูลแสดงผลอาจเป็นค่าคงที่ตัวแปร นิพจน์ หากมี หลายตัวใช้ , คั่น
  24. 24.  ตารางที่ 2.2 รหัสรูปแบบข้อมูลระดับพื้นฐาน ตัวอย่างคาสั่ง ควบคุมการแสดงผลด้วย printf Printf ( “ Data is %d n ” , score ) ; อธิบาย พิมพ์ข้อความคาว่า data is ตามด้วยค่าข้อมูลใน หน่วยความจาตัวแปรชื่อ score ซึ่งเป็นข้อมูลชนิดจานวนเต็ม (%) แล้วเลื่อนคอร์เซอร์ไปไว้บรรทัดถัดไป (n)
  25. 25.  4.2 คาสั่งรับข้อมูล : รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ แล้วจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัว แปร รูปแบบ Scanf ( “ string_format” , & address_list ) ; อธิบาย string_format คือรูปแบบการแสดงผลของข้อมูล เท่านั้น เช่น %d Address_list คือการระบุตาแหน่งที่อยู่ในหน่วยความจา ต้องใช้สัญลักษณ์ &(Ampersand) นาหน้าชื่อตัวแปรเสมอ
  26. 26. ข้อควรจา กรณีเป็นตัวแปรข้อความ (String) สามารถยกเว้น ไม่ต้องใช้ & นาหน้าได้ ตัวอย่างคาสั่ง เขียนคาสั่งควบคุมการรับค่าจากแป้ นพิมพ์ด้วย scanf Scanf ( “%d ” , &score ) ; อธิบาย รับข้อมูลจากแป้ นพิมพ์ นาไปเก็บในหน่วยความจาชื่อ score เป็นข้อมูลประเภทจานวนเต็ม
  27. 27.  4.3 คาสั่งประมวลผล : expression  ประสิทธิภาพคาสั่ง : เขียนคาสั่งแบบนิพจน์เพื่อประมวลผล แล้วนาข้อมูลที่ได้ไป จัดเก็บในหน่วยความจาของตัวแปรที่ต้องกาหนดชื่อและชนิดข้อมูลไว้แล้ว รูปแบบ Var = expression ; อธิบาย var คือชื่อหน่วยความจาชนิดตัวแปร Expression คือสมการนิพจน์ เช่น สูตรคานวณทาง คณิตศาสตร์
  28. 28. ตัวอย่างคาสั่ง นิพจน์ที่เป็นสูตรคานวณทางคณิตศาสตร์ Sum = a+b ; อธิบาย ให้นาค่าในหน่วยความจาตัวแปรชื่อ a กับ b มา+กัน แล้วนาค่าไปเก็บในหน่วยความจาตัวแปรชื่อ sum
  29. 29.  แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน  1. ส่วนป้อนข้อมูล ผู้ใช้ระบบงานป้อนค่า ; เก็บในหน่วยความจา x และป้อนค่า A เก็บในหน่วยความจา y ด้วยคาสั่ง Printf ( “data x=” ) ; scanf ( “%d ,&x ) ; Printf ( “data y=” ) ; scanf ( “%d ,&y ) ;
  30. 30.  แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน  2.ส่วนประมวลผล ระบบจะนาค่าไปประมวลผลตามนิพจน์คณิตศาสตร์ r = 2 + 3 * 2 ; ได้คาตอบคือ 8 s = (2 + 3 ) * 2; ได้คาตอบคือ 10 t = 2 + 3 * 2-1 ; ได้คาตอบคือ 7 ทั้งนี้คอมพิวเตอร์ประมวลผล โดยยึดหลักลาดับความสาคัญของ “เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์” เช่นคานวณเครื่องหมาย * ก่อนเครื่องหมาย +
  31. 31.  แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน  3.ส่วนแสดงผล คาสั่งควบคุมให้แสดงผลลัพธ์ Printf ( “r = x + y * 2 = %d n” , r ) ; Printf ( “r = (x + y X* 2 = %d n” , s ) ; Printf ( “r = x + y * 2-1 = %d n” , t ) ;
  32. 32.  ภาษาซีมีคาสั่งแสดงผลและรับข้อมูลเฉพาะข้อมูลประเภท 8 อักขระ (char )ดังนี้  5.1 คาสั่ง putchar ( )  แสดงผลข้อมูลจากหน่วยความจาของตัวแปร ทางจอภาพครั้งละ1อักขระเท่านั้น รูปแบบ Putchar ( char_argument) ; อธิบาย putchar_argument คือ ข้อมูลชนิดอักขระ
  33. 33.  แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน  1. กาหนดค่า ‘A’ เก็บในตัวแปรประเภท char ชื่อ word1 และกาหนดค่า ‘1’ เก็บในตัวแปรชื่อ word2 ด้วยคาสั่ง char word1=’A’ , word2=’1’  2. เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลทีละ 1 อักขระ โดยไม่ต้องใช้สัญลักษณ์ขึ้น บรรทัดใหม่ด้วยคาสั่ง putchar(word1); putcar(word2); จึงพิมพ์คาว่า A1 ที่ จอภาพ
  34. 34.  ภาษาซีมีคาสั่งแสดงผลและรับข้อมูลเฉพาะข้อมูลประเภท 8 อักขระ (char )ดังนี้  5.2คาสั่ง getchar ( )  รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ และแสดงอักขระที่จอภาพ จากนั้นต้องกด แป้นพิมพ์ที่ Enter เพื่อนาข้อมูลบันทึกลงหน่วยความจาด้วย รูปแบบ 1 ไม่นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร getchar ( ) ;
  35. 35.  5.2คาสั่ง getchar ( ) รูปแบบ 2 นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร char_var = getchar ( ) ; อธิบาย char_var คือ ข้อมูลชนิด char
  36. 36.  แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน  1.เขียนคาสั่งควบคุมการป้อนข้อมูลประเภทอักขระด้วยคาสั่ง  printf ( “Key 1 Character = “ ) ;  word = getchar ( );  หมายถึงป้อนอักขระ 1 ตัว เช่น a จะแสดงค่า ให้เห็นที่หน้าจอด้วย แล้ว ต้องกดแป้น Enter เพื่อนาข้อมูลบันทึกลงหน่วยความจาตัวแปรประเภท char ชื่อ word  2 . เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลจากหน่วยความจา word จึงเห็นค่า a ( แทนที่ word)  printf ( “You key Character is = %cn”, word ) ;
  37. 37.  ภาษาซีมีคาสั่งแสดงผลและรับข้อมูลเฉพาะข้อมูลประเภท 8 อักขระ (char )ดังนี้  5.3 คาสั่ง getch ( )  รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ แต่ ไม่ปรากฏ อักษรบนจอภาพ และ ไม่ต้อง กดแป้น Enter รูปแบบ 1 ไม่นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร getch( ) ;
  38. 38.  5.3 คาสั่ง getch ( ) รูปแบบ 2 ไม่นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร getch( ) ; อธิบาย char_var คือ ข้อมูลชนิดอักขระ
  39. 39.  แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน  1.เขียนคาสั่งควบคุมการป้อนข้อมูลประเภทอักขระด้วยคาสั่ง  printf ( “Key 1 Character = “ ) ;  word = getch ( );  หมายถึงป้อนค่าใดทางแป้นพิมพ์เป็นอักขระ 1 ตัว เช่น a จะ ไม่แสดง ค่าให้เห็นที่ หน้าจอไม่ต้อง กดแป้น Enter เพื่อนาข้อมูลบันทึกลงหน่วยความจาตัวแปรประเภท char ชื่อ word  2.เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลจากหน่วยความจา word จึงเห็นค่า a ( แทนที่ word )  printf ( “You key Character is = %cn”, word ) ;
  40. 40.  ภาษาซีมีคาสั่งแสดงผลและรับข้อมูลเฉพาะข้อมูลประเภท 8 อักขระ (char )ดังนี้  5.4 คาสั่ง getche( )  รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ครั้งละ 1 อักขระ และ แสดง อักษรบนจอภาพ และ ไม่ต้อง กดแป้น Enter รูปแบบ 1 ไม่นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร getche ( );
  41. 41.  5.4 คาสั่ง getche( ) รูปแบบ 2 นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร char_var = getche ( ); อธิบาย char_var คือ ข้อมูลชนิดอักขระ
  42. 42.  แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน  1.เขียนคาสั่งควบคุมการป้อนข้อมูลประเภทอักขระด้วยคาสั่ง  printf ( “Key 1 Character = “ ) ;  word = getche ( );  หมายถึงป้อนค่าใดทางแป้นพิมพ์เป็นอักขระ 1 ตัว เช่น a จะ แสดง ค่าให้เห็นที่ หน้าจอ และไม่ต้อง กดแป้น Enter เพื่อนาข้อมูลบันทึกลงหน่วยความจาตัวแปร ประเภท char ชื่อ word  2.เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลเพื่อแสดงค่าจากหน่วยความจา word จึงเห็นค่า a ( แทนทิ่ word )  printf ( “You key Character is = %cn”, word ) ;
  43. 43.  ภาษาซีมีคาสั่งใช้ในการรับข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความ (String) ในภาษาซีคือชนิด ข้อมูล char [n] จัดเก็บในหน่วยความจา และแสดงผลข้อมูลประเภทข้อความเท่านั้น มีรายละเอียดดังนี้  6.1.คาสั่ง puts( )  แสดงผลข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความทางจอภาพครั้งละ 1 ข้อความ รูปแบบputs ( string_argument ) ; อธิบาย string_argument คือ ข้อมูลชนิดข้อความ
  44. 44.  แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน  1.เขียนคาสั่งกาหนดค่าข้อความเก็บในตัวแปรชื่อ word Char word [15] = “*Example * “ ;  2.เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลในลักษณะข้อความด้วย puts Puts ( word ) ; Puts (“**************”);
  45. 45.  6.2คาสั่ง gets ( )  รับข้อมูล ข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้องกดแป้น Enter รูปแบบ 1 ไม่นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร gets ( ); รูปแบบ 2 นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร string_var =gets ( ) ; อธิบาย string_var คือ ข้อมูลชนิดข้อความ
  46. 46.  แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน  1.เขียนคาสั่งให้รับข้อมูล ชนิดข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้อง กดแป้น Enter เพื่อ นาข้อความบันทึกลงตัวแปรชนิดข้อความ ด้วยคาสั่ง gets (word) ;  2.เขียนคาสั่งควบคุมให้แสดงผลลักษณะข้อความด้วย printf ( “You name is = %sn”, word ) ;
  47. 47.  6.1.คาสั่ง puts( ) แสดงผลข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความทางจอภาพครั้งละ 1 ข้อความ รูปแบบ puts ( string_argument ) ; อธิบาย string_argument คือ ข้อมูลชนิดข้อความ แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน 1.เขียนคาสั่งกาหนดค่าข้อความเก็บในตัวแปรชื่อ word Char word [15] = “*Example * “ ; 2.เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลในลักษณะข้อความด้วย puts Puts ( word ) ; Puts (“**************”);
  48. 48.  6.2คาสั่ง gets ( ) รับข้อมูล ข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้องกดแป้น Enter รูปแบบ 1 ไม่นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร gets ( ); รูปแบบ 2 นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร string_var =gets ( ) ; อธิบาย string_var คือ ข้อมูลชนิดข้อความ
  49. 49. แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคมการทางาน 1.เขียนคาสั่งให้รับข้อมูล ชนิดข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้อง กดแป้น Enter เพื่อ นาข้อความบันทึกลงตัวแปรชนิดข้อความ ด้วยคาสั่ง gets (word) ; 2.เขียนคาสั่งควบคุมให้แสดงผลลักษณะข้อความด้วย printf ( “You name is = %sn”, word ) ;
  50. 50. นายทยาวีร์ เจียจารูญ และคณะ. 2557. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : https://sites.google.com/site/pussamon mlp/krni-suksa-kar-chi-kha-sang- khwbkhum-kar-thangan-khan-phun-than. 11 มิ.ย. 2557.
  51. 51. จัดทาโดย นายวิสัยทัศน์ พละศักดิ์ น.ส.ไพลิน จิรวงศ์ไพสิฐ น.ส.ชนกนันท์ ทองนา น.ส.นับพร เสดวงชัย น.ส.พิมพ์นภา สินค้าเจริญ น.ส.สุพรรณษา ฟักขา ชั้นมัยธมศึกษาปีที่ 6/1

×