SlideShare a Scribd company logo
1 of 96
หลัก ภาษาไทย
   เบื้อ งต้น
องค์ป ระกอบของภาษา
 1. เสีย ง
      เสีย ง คือ หน่ว ยที่เ ล็ก
  ทีส ุด ของภาษา ในภาษา
    ่
  ไทยจะมีเ สีย งสระ เสีย ง
  พยัญ ชนะ และเสีย ง
  วรรณยุก ต์
อัก ษรไทย
อัก ษรไทย มี ๔๔ ตัว คือ
   ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช
 ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด
 ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ
 ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส
 ห ฬ อ ฮ
ไตรยางค์อ ัก ษร ๓ หมู่
อักษรกลางมี ๙ ตัว
 ก จ ด ตฎฏบ ป อ
อักษรสูง ๑๑ ตัว
  ผ   ฝ    ถ   ฐ    ข   ฃ
  ศ   ษ    ส   ห    ฉ
อัก ษรตำ่า มีเ สีย งคู่ก ับ อัก ษร
สูง ๑๔ ตัว

  พ    ภ       ฟ   ฑ   ฒ    ท        ธ
  ค    ฅ       ฆ   ซ   ฮ    ช     ฌ

อักษรตำ่า (ไร้ค)ู่
๑๐ ตัว ญ
  ง           น        ย      ณ
   ร       ว       ม   ฬ      ล
ไตรยางค์อ ัก ษร ๓ หมู่
       อัก ษรสูง        ตำ่า คู่ มี   ตำ่า เดี่ย ว(ไร้ค ู่)
อัก ษร
        11 ตัว          เสีย งคู่           10 ตัว
กลาง
                       อัก ษรสูง
9 ตัว
                        14 ตัว

1. ไก่ ก
2. จิก จ
3.เด็ก ด   1.ผี ผ
           2.ฝาก ฝ     1.พ 2. ภ        1. งู ง
4.ตาย ต                                2. ใหญ่ ญ
           3-4.ถุง ถ   3.ฟ             3.นอน น
5.เด็ก ฎ ฐ             4.ฑ 5.ฒ 6. ท    4. อยู่ ย
           5-6. ข้า ว 7.ธ              5. ณ
         ขฃ            8.ค 9.ฅ 10.ฆ    6. ริม ร
หน้า ที่ข องพยัญ ชนะ
๑. เป็น พยัญ ชนะต้น เช่น พ่อ แม่
 ปู่ ยา ตา กา มี เพือ เรือ เมีย บัว โต
                    ่
 แพ้ เลอะ เทอะ
๒. เป็น พยัญ ชนะท้า ยพยางค์
 (ตัว สะกด) ดังในตารางต่อไปนี้
๓. เป็น อัก ษรควบ
 ควบแท้   พลาดพลัง ครั้งคราว
                    ้
  ครู คลุมคลัง ขวักไขว่
         ้   ่
         ที่เรียกว่าควบแท้เพราะออก
  เสียงอักษรทังสองตัวพร้อมกัน
                 ้
 ควบไม่แ ท้    เศร้า สร้อย ศรี จริง
        ที่เรียกว่าควบไม่แท้เพราะ
  ไม่ได้ออกเสียงตัวทีควบด้วย
                       ่
  กล่าวคือ ไม่ได้ออกเสียง ร
๔. เป็น อัก ษรนำา – อัก ษรตาม
 ตลาด ต อักษรกลางนำา ล อักษรตำ่า ออก
 เสียงวรรณยุกต์ตาม ต
 สนาม ส อักษรสูงนำา น อักษรตำ่า ออกเสียง
 วรรณยุกต์ตาม ส
 ผลิต ผ อักษรสูงนำา ล อักษรตำ่า ออกเสียง
 วรรณยุกต์ตาม ผ
 อย่า อยู่ อย่าง อยาก อ อักษรกลาง นำา ย
 อักษรตำ่า ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม อ
 หรู หรา ห อักษรสูงนำา ร อักษรตำ่าออก
 เสียงวรรณยุกต์ตาม ห
๕. เป็น สระ (อ ว ย ร)
 สรรค์ รร ทำาหน้าที่แทนวิสรรชนีย์ หรือสระ
 อะ
 กวน ว เป็นสระอัวลดรูป
 เสีย ย เป็นส่วนประกอบของสระเอีย
 ขอ เสือ มือ อ เป็นสระ และเป็นส่วนหนึ่ง
 สระ
๖. เป็นตัวการันต์
 จัน ทร์ ทร์ เป็นตัวการันต์
 ลัก ษณ์ ษณ์ เป็นตัวการันต์
สระประสมเสีย งสั้น
สระประสมเสีย งยาว
สำา หรับ สระ อำา ,ไอ,ใอ,เอา,ฤ ,ฤา
,ฦา,ฦา ตามหลัก ภาษาศาสตร์ไ ม่น ับ
เป็น เสีย งสระเพราะมีเ สีย งพยัญ ชนะ
ประสมอยูด ้ว ย ดัง นี้
            ่
   อำา (อะ+ม)              ใอ, ไอ
(อะ+ย)
   เอา (อ+อะ+ว)
   ฤ(ร+อึ)                 ฤา(ร+อือ )
   ฦ(ล+อึ)                 ฦา (ล+อือ )
   ฉะนั้น เสีย งในภาษาไทยจึง มีเ พีย ง
24 เสีย ง
การเปลี่ย นรูป สระ
ในคำาไทยสระบางตัวจะเปลี่ยนแปลงรูปเมื่อมีตัว
 สะกดดังนี้
(1) อะ + ตัว สะกด ะ จะเปลี่ย นเป็น อั
 เช่น จ + ะ + ด = จัด
(2) เอะ + ตัว สะกด ะ จะเปลี่ย นเป็น อ็
 เช่น เกะ + ง = เก็ง
(3) แอะ + ตัว สะกด ะ จะเปลี่ย นเป็น อ็
 เช่น แขะ + ง = แข็ง
(4) อัว + ตัว สะกด จะลดรูป -ัั หายไป
การเปลี่ย นรูป สระ (ต่อ )
(5) เออ + แม่ก ด, กน, กม จะเปลี่ย น
    อ เป็น อิ
    เช่น เดอ + น = เดิน
(6) เออ + แม่เ กย จะลดรูป อ หายไป
    เช่น เลอ + ย = เลย
(7) ออ + สะกดด้ว ย ร จะลดรูป ออ
    เช่น จ+อ + ร = จร
(8) โอะ + ตัว สะกด โอ ะ จะลดรูป หาย
    ไป
เสีย งวรรณยุก ต์(เสีย งดนตรี)
     เป็น เสีย งทีเ ปล่ง ออกมาพร้อ มกับ เสีย ง
                  ่
พยัญ ชนะ จะมีเ สีย งสูง ตำ่า ตาม
การสั่น สะเทือ นของเส้น เสีย ง
     เสีย งวรรณยุก ต์ใ นภาษาไทย มีท ง หมด ๕ั้
เสีย ง (เสีย งวรรณยุก ต์ (๕) ี ๔ รูปป วรรณยุก ต์ (๔)
 ที่    ส่ว นรูป วรรณยุก ต์ม       รู ) ได้แ ก่
 ๑           สามัญ                  (ไม่ม ีร ูป )
 ๒            เอก
 ๓             โท
 ๔             ตรี
 ๕           จัต วา
คำา เป็น คำา ตาย
     คำา เป็น คือ คำา ที่ม ีเ สีย งอ่า น
ตามรูป วรรณยุก ต์ไ ด้โ ดยง่า ย ซึ่ง
ลัก ษณะของคำา เป็น มีด ัง นี้
๑. คำา ที่ม ีต ัว สะกดอยู่ใ น แม่ กง
กน กม เกย เกอว เช่น ลง เดิน
เลย เมิน สาว
๒. คำา ที่ป ระสมกับ สระเสีย งยาวใน
แม่ ก กา เช่น ปู ม้า น่า ดู
๓. คำา ที่ป ระสมกับ เสีย งสระเกิน คือ
อำา ไอ ใอ เอา เช่น จำา ใจ ไป เอา
คำา ตาย
    ได้แ ก่ คำา ที่ม ล ัก ษณะดัง นี้
                     ี
๑. คำา ที่ม ีต ัว สะกดอยูใ น แม่ กก กด
                          ่
 กบ เช่น เศษ เมฆ
   วัด รอบ
๒. คำา ที่ป ระสมกับ สระเสีย งสั้น ใน
 แม่ ก กา ยกเว้น อำา ไอ ใอ เอา
 เช่น ชิ ชะ จะ เตะ
อัก ษร ๓ หมู่ (ไต   เสีย ง       เสีย ง    เสีย ง       เสีย ง       เสีย ง
                                                                                   หมายเหตุ
      รยางค์)        สามัญ         เอก       โท           ตรี         จัต วา
                                                                               คำา เป็น พื้นเสียง
อักษรกลาง                                                                      เป็น
กจดฎตฏบปอ                                                                      เสียงสามัญ
                                                                               คำา ตายพื้นเสียง
                     ปา       ป่า          ป้า       ป๊า          ป๋า          เป็น
คำา เป็น คำา ตาย              กัด          กั้ด      กั๊ด         กั๋ด         เสียงเอก

อักษรสูง                                                                       คำา เป็น พื้นเสียง
ขฃฉฐถผฝศ                                                                       เป็น
                                                                               เสียงจัตวา
ษสห              -            ข่า          ข้า       -            ขา           คำา ตายพื้นเสียง
คำา เป็น คำา ตาย -            ขัด          ขั้ด      -            -            เป็น
                                                                               เสียงเอก
                                                                               คำาเป็นพื้นเสียง
อักษรตำ่า                                                                      เป็น
                                                                               เสียงสามัญ หาก
(อักษรที่เหลือ ๒๔                                                              ผัน
ตัว)              คา                                 ค้า                       ร่วมกับอักษรสูงจะ
                              -            ค่า                    -
คำา เป็น                                             ค้าด
                                                                               ผัน
                  -           -            คาด                    -            ได้ครบ ๕ เสียง
คำา ตายเสีย งยาว
ความหมายของพยางค์
     พยางค์ คือ เสีย งที่เ ปล่ง ออกมาครั้ง
 หนึ่ง ๆ จะมีค วามหมายหรือ ไม่ม ีค วาม
 หมายก็ไ ด้ พยางค์เ ป็น การประสมเสีย ง
 ในภาษา เพราะพยางค์เ กิด จากการ
 เปล่ง เสีย งสระ  เสีย งพยัญ ชนะ และ
 เสีย งวรรณยุก ต์ ติด ตามกัน อย่า ง
 กระชั้น ชิด เช่น เราเปล่ง เสีย ง “สุ” ถึง
 จะไม่ร ู้ค วามหมาย หรือ ไม่ร ู้เ รื่อ งเราก็
 เรีย กว่า ๑ พยางค์ หากเราเปล่ง เสีย ง
ลองดูตัวอย่างต่อไปนี้

 ไร่            มี ๑ พยางค์
 ชาวไร่             มี ๒ พยางค์ (ชาว-
  ไร่)
 สหกรณ์             มี ๓ พยางค์ (สะ-
  หะ-กอน)
 โรงพยาบาล              มี ๔ พยางค์
  (โรง-พะ-ยา-บาน)
 นัก ศึก ษาผู้ใ หญ่     มี ๕ พยางค์
จากตัว อย่า งข้า งต้น นี้
สรุป ได้ว ่า
  ๑. พยางค์ คือ เสีย งที่เ ปล่ง ออก
   มาครั้ง หนึ่ง จะมีค วามหมาย
   หรือ ไม่ม ีค วามหมายก็ต าม ถ้า
   เปล่ง เสีย งออกมา ๑ ครั้ง ก็
   เรีย ก ๑ พยางค์ ๒ ครั้ง ก็เ รีย ก
   ๒ พยางค์
  ๒. พยางค์ คือ  เสีย งพูด ทีเ ปล่ง
                              ่
   ออกมาพร้อ มกัน ทั้ง เสีย งสระ
คำา
    คำา หมายถึง เสีย งที่เ ปล่ง ออก
มาแล้ว มีค วามหมายอย่า งใด
อย่า งหนึ่ง อาจเป็น เสีย งที่เ ปล่ง
ออกมาครั้ง เดีย วหรือ หลายครั้ง
ก็ไ ด้ และเป็น ทั้ง พยางค์ท ม ีค วาม
                             ี่
หมายอีก ด้ว ย เช่น หน้า โต๊ะ
ลูก เสือ มหาราช ประชาชน
ราชูป ถัม ภ์ หนัง สือ
การสร้า งคำา ในภาษาไทย

     คำา มูล คือ คำาคำาเดียวที่ไม่ได้ประสมกับ
คำาอื่น คำามูลที่มีลักษณะดังต่อไปนี้
1. คำา มูล เป็น พยางค์เ ดีย วโดด ๆ จะ
เป็น คำา มาจากภาษาใดก็ไ ด้             แต่
ต้อ งเป็น คำา เดีย ว เช่น
       ภาษาไทย          -        พ่อ แม่ หมู
หมา แมว น้อง
       ภาษาจีน          -        เกี๊ยะ เกี๊ยว
เจี๊ยะ แป๊ะ ซิ้ม
       ภาษาอังกฤษ        -        ไมล์ เมตร
2. ถ้า เป็น คำา หลายพยางค์ เมือ แยก
                                  ่
แต่ล ะพยางค์แ ล้ว อาจมีค วามหมาย
หรือ ไม่ม ีค วามหมายก็ไ ด้ แต่ความ
หมายของแต่ละพยางค์ไม่เกี่ยวข้องกับ
ความหมายของคำามูลนั้นเลย เช่น กระดาษ
 ศิลปะ กำามะลอ
    3. คำา มูล คำา เดีย วในภาษาไทยอาจ
มีค วามหมายได้ห ลายอย่า ง เช่น นก
เกาะอยู่บนกิ่งไม้ในเกาะแห่งหนึง พวก
                               ่
เงาะชอบกินลูกเงาะ
ข้อ สัง เกตคำา มูล
    คำา มูล หลายพยางค์ ควรดูว่าในคำา
หลายพยางค์นั้นมีความหมายทุกพยางค์
หรือไม่
ถ้ามีความหมายบ้างไม่มีความหมายบ้างเป็น
คำามูลหลายพยางค์ เช่น
    มะละกอ = คำามูล 3 พยางค์ นาฬิกา =
คำามูล 3 พยางค์
    มะ = ไม่มีความหมาย        นา = มี
ความหมาย
    ละ = มีความหมาย        ฬิ = ไม่มี
ความหมาย
การสร้า งคำา ใหม่ มีอ ยู่ 3 แบบด้ว ย
              กัน คือ

    1. คำา ซำ้า
    2. คำา ซ้อ น
    3. คำา ประสม
คำา ซำ้า

    คำา ซำ้า คือ คำาประสมที่เกิดจากคำาสอง
คำามีเสียงซำ้ากัน รวมกัน เกิดเป็นคำาใหม่ มี
ความหมายใหม่ซึ่งต่างไปจากเดิมเล็กน้อย
โดยอาจจะใช้เครื่องหมายไม้ยมก มีลักษณะ
ดังนี้
    ๑. ซำ้า แล้ว บอกความเป็น พหูพ จน์
เช่น
           เด็ก ๆชอบขนมหวาน
           เขาไปเที่ยวกับเพื่อ นๆ
           พี่ๆ ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น
๒. ซำ้า แล้ว เน้น คำา ให้ม ค วามหมายเพิ่ม ขึ้น
                           ี
เช่น
    เดินดีๆ ทางข้างหน้ามืด
    ถนนลื่นขับช้า ๆ
    ที่นี่เ งี้ย บเงีย บ
    ควรเลือกซื้อผลไม้ส ดๆ

๓. ซำ้า แล้ว ลดความหมายให้อ อ นลง เช่น
                            ่
   ผ้าชินนี้สออกดำา ๆ
         ้    ี
   กระดาษสีเ ขีย วๆของใคร
   เขาต้องการเสือสีแ ดงๆ
                 ้
๔. ซำ้า แล้ว บอกความหมายไม่แ น่น อน เช่น
          ตอนเย็น ๆเขาจะมาหาเธอ
          บ้านฉันอยู่แ ถวๆนี้
          ใครๆก็ชอบดูละครกันทั้งนั้น
          อะไรๆในร้านนี้ดูสวยไปหมด
๕. ซำ้า แล้ว ความหมายจะแบ่ง ออกเป็น
ส่ว นๆ เช่น
          นักเรียนนั่งเป็นแถวๆ
          เขาจัดของเป็นชัน ๆ
                           ้
          หนังสือนีให้แจกเป็นคนๆ
                   ้
          เธอควรอ่านให้จบเป็นเรื่อ งๆ
๖. ซำ้า แล้ว ความหมายจะเปลี่ย นไป ไม่
    เกี่ย วกับ คำา เดิม เช่น
               ฉันตั้งใจจะทำางานให้เสร็จไปๆมาๆก็
    ไม่เสร็จ
               ความรู้แค่ง ๆ ปลาๆจะไปสู้อะไรได้
                           ู
               เขาแค่พูดจาส่ง ๆไปอย่างนั้นเอง
 
                       ข้อ ควรสัง เกต
    1.คำา ที่ม เ สีย งซำ้า กัน บางครั้ง ไม่ใ ช่ค ำา ซำ้า
               ี
    ได้แก่ เขาพูดกันไปต่าง ๆ นานา
    ฉันเห็นเขาจะจะเลย ทั้ง 2 คำานี้เป็นคำามูลสอง
คำา ซ้อ น

      คำา ซ้อ น หมายถึง การนำาเอาคำามูล 2 คำา ที่
มีความหมายใกล้เคียงกัน ความหมายตรงกัน
ข้าม และความหมายตรงข้าม มาซ้อนกัน คำา
ซ้อนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
      1. คำา ซ้อ นเพื่อ ความหมาย เกิดจากคำามูล
ที่มีความหมายอย่างเดียวกัน  อาจจะแตกต่างกัน
เล็กน้อยหรือไปในทำานองเดียวกัน  หรือต่างกัน
ในลักษณะตรงข้าม  เมื่อประกอบเป็นคำาซ้อนจะ
มีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้
1. 1 ความหมายอยู่ท ี่ค ำา ใดคำา หนึง หรือ กลุ่ม
                                      ่
ใดกลุ่ม หนึง  เช่น  หน้า ตา   ปากคอ   ขวัญ หนี
              ่
ดีฝ่อ  ถ้ว ยชามรามไห   จับ ไม่ไ ด้ไล่ไม่ทัน
 1.2.  ความหมายอยู่ท ี่ท ุก คำา แต่เ ป็น ความ
หมายที่ก ว้า งออกไป เช่น
      เสือ ผ้า ไม่ได้หมายเฉพาะเสือกับผ้า แต่รวม
         ้                        ้
ถึงเครื่องนุ่งห่ม
       เรือ แพ ไม่ได้หมายเฉพาะเรือกับแพ  แต่
รวมถึงยานพาหนะทางนำ้าทั้งหมด
       ข้า วปลา  ไม่ได้หมายเฉพาะข้าวกับปลา
 แต่รวมถึงอาหารทั่วไป
      พี่น อ ง ไม่ได้หมายเฉพาะพี่กับน้อง  แต่รวม
           ้
1.3.  ความหมายอยู่ท ี่ค ำา ต้น กับ คำา ท้า ย
 รวมกัน เช่น เคราะห์หามยามร้า ย
  ( เคราะห์ร้าย )  ชอบมาพากล ( ชอบกล )
  ฤกษ์งามยามดี
 ( ฤกษ์ดี ) ยากดีมีจ น ( ยากจน ) 
 1.4.  ความหมายอยู่ท ี่ค ำา ต้น หรือ คำา ท้า ย
 ซึง มีค วามหมายตรงข้า มกัน เช่น ชัวดี   (
      ่                                   ่
 ชัว ดีอย่างไรเขาก็เป็นเพื่อนฉัน )   ผิดชอบ
    ่
  ( ความรับผิด ชอบ )  เท็จจริง ( ข้อเท็จ จริง )
2. คำา ซ้อ นเพื่อ เสีย ง คำาซ้อนบางคำาที่เข้า
มาซ้อนกัน อาจจะไม่มีความหมายเลย มีความ
หมายเพียงคำาใดคำาเดียว เช่น มอมกับแมม
มอม มีความหมาย แต่ แมม ไม่มีความหมาย
บางทีแต่ละคำามีความหมาย แต่ความหมายไม่
เนื่องกับความหมายใหม่เลย เช่น งอแง งอ
หมายว่า
คดโค้ง แต่ แง หมายถึงเสียงร้องของเด็ก ส่วน
งอแง หมายว่า ไม่สู้ เอาใจยาก
คำา ประสม

    เกิดจากความต้องการคำาทีมา  ่
แทนความคิดใหม่ ๆ และความ
ต้องการใหม่ ๆ เกิดขึ้น วิธีคิดคำาเพิม
                                    ่
โดยการนำาเอาคำามูลตังแต่ 2 คำาขึ้น
                      ้
ไปมาประสมกันเรียกว่า         คำา
ประสม เกิดเป็นคำาใหม่ มีความหมาย
ใหม่ขึ้น เช่น พัดลม เตารีด ไฟฟ้า
ตูเย็น ลูกคิด ตากล้อง ผู้แทน เรือบิน
  ้
คำา ประสมที่เ กิด ความหมายใหม่ข ึ้น จะมี
ความสัม พัน ธ์ก ับ ความหมายเดิม ในลัก ษณะ
ต่า ง ๆ ดัง ต่อ ไปนี้

      1. ความหมายของคำา ประสมมีเ ค้า
  ความหมายเดิม ของคำา มูล มารวมกัน
  โดยตรง เช่น รองเท้า ไม้แขวนเสื้อ ไม้กวาด
      2. ความหมายของคำา ประสมใน
  ทำา นองเปรีย บเทีย บ เช่น หางเสือ ลูกเสือ หัว
  แข็ง ปากแข็ง ปากกา และบางคำาเป็นสำานวน
  เช่น ยกเมฆ    ชักดาบ โคมลอย นำ้าพักนำ้าแรง
  ล่มหัวจมท้าย ฯลฯ
3.คำา ประสมที่เ กิด จากนำา คำา มูล ที่ม ีค วาม
หมายใกล้เ คีย งกัน หรือ ความหมายคล้า ย
กัน มาซ้อ นกัน เป็น คำา ขึ้น เช่น ว่องไว ว่า
กล่าว เหลียวแล ช้านาน ถ้อยคำา วิ่งเต้น
รูปภาพ เรือนหอ ฯลฯ
4. นำา คำา มูล ที่ม ค วามหมายกว้า ง ๆ มา
                    ี
ประสมกับ คำา มูล คำา อื่น ๆ ทำา ให้เ กิด ความ
หมายเฉพาะขึ้น เช่น
    ชาว (ย่อมาจากผู้ที่อยู่) เช่น ชาวบ้าน
ชาวเขา ชาวเกาะ
    นัก (ย่อมาจากผูที่กระทำา) เช่น นักเรียน
                        ้
นักร้อง นักดนตรี
ข้อ สัง เกตคำา ประสม
1. คำา ประสมจะเป็น วิท ยาการสมัย ใหม่
เช่น เตารีด หม้อหุงข้าวไฟฟ้า เครื่องปรับ
อากาศ พัดลม ตู้เย็น เครื่องอบผ้า เครื่องซัก
ผ้า เครื่องดูดฝุน ฯลฯ
                ่
2. คำา ประสมเป็น คำา เดีย วกัน จะแยก
ออกจากกัน ไม่ไ ด้ ความหมายจะไม่
เหมือ นเดิม เช่น นางแบบ รับรอง มนุษย์
กบ คำาประสมจะเป็นคำาใหม่เกิดขึ้น
 
ชนิด ของคำา ในภาษาไทย
คำา ในภาษาไทยแบ่ง ออกเป็น
๗ ชนิด ได้แ ก่
    ๑. คำา นาม    ๒. คำา
สรรพนาม
    ๓. คำา กริย า     ๔. คำา
วิเ ศษณ์
    ๕. บุพ บท     ๖. คำา
สัน ธาน
๑. คำา นาม
     คำา ทีเ ป็น ชื่อ ของคน สัต ว์ สถาน
            ่
ที่ สิ่ง ของ สภาพ อาการ และ
ลัก ษณะทัง ในสิ่ง มีช ีว ิต และสิง ไม่ม ี
               ้                    ่
ชีว ิต ตลอดทั้ง ที่เ ป็น รูป ธรรมและ
สิ่ง ที่เ ป็น นามธรรม ชนิด ของคำา
นามแบ่ง ออกเป็น ๕ ชนิด คือ
๑.๑ สามานยนามหรือ นามสามัญ
คือ คำา ที่เ ป็น ชื่อ ของคน สัต ว์ สถานที่
สิง ของ และกิร ิย าอาการทั่ว ไปไม่
  ่
จำา เพาะเจาะจง เช่น เด็ก โรงเรีย น
กวาง บ้า น ดิน สอ กระเป๋า โต๊ะ
เก้า อี้ ต้น ไม้ ลม ฝน ฯลฯ
    ๑.๒ วิส ามานยนามหรือ นาม
เฉพาะ คือ คำา นามที่เ ป็น ชื่อ ของคน
สัต ว์ สถานที่ สิง ของ แต่เ ป็น ชื่อ ที่
                    ่
เฉพาะเจาะจงลงไปว่า เป็น ใครหรือ
อะไร เช่น กำา ชัย ทองหล่อ โฮจิม ิน
๑.๓ ลัก ษณนามหรือ นาม
บอกลัก ษณะ คือ คำา นามที่ท ำา
หน้า ที่ป ระกอบนามอื่น เพื่อ
แสดงรูป ลัก ษณะ ขนาดหรือ
ประมาณของนามนัน ให้   ้
ชัด เจนยิ่ง ขึ้น ลัก ษณนามมัก
ปรากฏอยู่ห ลัง ตัว เลขบอก
จำา นวน เช่น คน ๓ คน
๑.๔ สมุห นามหรือ นามบอก
หมวดหมู่ คือ คำา นามที่ท ำา หน้า ที่
แสดงหมวดหมู่ข องสามานยนาม
และวิส ามานยนาม เช่น ฝูง โขลง
คณะ พวก กอง บริษ ัท รัฐ บาล
    ๑.๕ อาการนามหรือ นามบอก
อาการ คือ คำา ที่ใ ช้เ รีย กชื่อ กริย า
อาการหรือ ความเป็น ไปของคน
สัต ว์ สิง ของ เป็น การเติม “การ ”
         ่
๒. คำา สรรพนาม
    เป็น คำา ที่ใ ช้แ ทนคำา นาม ชนิด ของคำา
สรรพนาม คำา สรรพนามแบ่ง ออกเป็น ๖
ชนิด คือ
๑. บุร ุษ สรรพนามหรือ สรรพนามใช้แ ทน
บุค คล แบ่ง ออกเป็น ๓ ชนิด คือ
    ๑.๑ สรรพนามบุร ุษ ที่ ๑ เป็น คำา ที่ใ ช้
แทนตัว ผูพ ูด เช่น ผม ฉัน เรา ข้า พเจ้า
           ้
    ๑.๒ สรรพนามบุร ุษ ที่ ๒ เป็น คำา ที่ใ ช้
แทนตัว ผูท ี่เ ราพูด ด้ว ย เช่น เธอ คุณ ท่า น
             ้
    ๑.๓ สรรพนามบุร ุษ ที่ ๓ เป็น คำา ที่ใ ช้
๒. นิย มสรรพนามหรือ
สรรพนามชี้ร ะยะ
     เป็น สรรพนามชีเ ฉพาะเพื่อ บ่ง
                       ้
ความชัด เจน คำา สรรพนามชนิด นีม ี        ้
เพีย ง ๖ คำา ได้แ ก่ นี่ นี้ นัน นัน โน่น
                               ่   ้
โน้น
นี่ ใช้แ ทนคำา นามที่อ ยู่ใ กล้ต ัว ผูพ ูด
                                      ้
เช่น
     นี่ป ากกาของฉัน
นัน ใช้แ ทนคำา นามที่ห ่า งออกไป เช่น
   ่
     นั่น เพื่อ นของฉัน
โน่น ใช้แ ทนคำา นามที่อ ยู่ห ่า งออกไป
๓. อนิย มสรรพนาม
    เป็น สรรพนามที่ม เ นือ ความไม่ช ี้
                         ี ้
เฉพาะเจาะจง เช่น ใคร ไหน ผูใ ด        ้
          ใคร ก็ไ ด้ม าหาฉัน หน่อ ย
          (ใคร เป็น อนิย มสรรพนาม)
          ที่ไ หนก็ม ีค นชัว ปะปนอยู่ท ั้ง
                           ่
นัน
  ้
          (ไหน เป็น อนิย มสรรพนาม)
          ผูใ ด ก็ส ามารถอยู่ท ี่น ไ ด้
            ้                      ี่
          (ผูใ ด เป็น อนิย มสรรพนาม)
              ้
๔. ปฤจฉาสรรพนามหรือ
สรรพนามใช้ถ าม
    เป็น สรรพนามที่ม เ นือ ความเป็น
                        ี ้
คำา ถาม เช่น
ใคร อะไร ไหน
          ใคร จะไปดูห นัง บ้า ง
          (ใคร เป็น ปฤจฉาสรรพนาม )
          อะไรอยู่ใ นตู้
          (อะไร เป็น ปฤจฉาสรรพนาม )
          ผูใ ด จะออกมาร้อ งเพลง
            ้
          (ผูใ ด เป็น ปฤจฉาสรรพนาม )
              ้
๕. วิภ าคสรรพนามหรือ สรรพนาม
แบ่ง พวกหรือ รวมพวก
       เป็น สรรพนามที่ใ ช้แ ยกออกเป็น
  แต่ล ะคน แต่ล ะสิง หรือ แต่ล ะพวก เช่น
                      ่
  ต่า ง บ้า ง กัน
  นัก เรีย นทุก คนต่า ง ก็ต ั้ง ใจเรีย นหนัง สือ
  (ต่า ง เป็น วิภ าคสรรพนาม แทนนัก เรีย น
  เป็น การแบ่ง พวก)
  มนุษ ย์เ ราบ้า ง ก็ด ี บ้า ง ก็ช ว ปะปนกัน ไป
                                   ั่
  (บ้า ง เป็น วิภ าคสรรพนาม แทนมนุษ ย์
  เป็น การแบ่ง พวก)
  เด็ก ๆ เล่น กัน อย่า งสนุก สนาน
๖. ประพัน ธสรรพนามหรือ
สรรพนามเชื่อ มประโยค
      เป็น คำา สรรพนามที่ใ ช้แ ทนคำา
  นาม และเชื่อ มประโยคที่อ ยู่ข ้า ง
  หน้า เช่น ที่ ซึ่ง อัน
  คนที่เ ป็น นัก กีฬ าต้อ งขยัน ฝึก
  ซ้อ ม
  (ที่ เป็น ประพัน ธสรรพนามแทน
  คำา ว่า คน)
  ฉัน ออกเดิน ทางไปรอบโลก อัน
๓. คำา กริย า
    คำา กริย า เป็น คำา ที่แ สดงอาการ
ของคำา นามและสรรพนาม หรือ
แสดงการกระทำา ของประธาน ชนิด
ของคำา กริย าแบ่ง ออกเป็น ๔ ชนิด
คือ
๑. อกรรมกริย าหรือ กริย าที่ไ ม่
ต้อ งการกรรม เป็น คำา กริย าที่ม ี
ความสมบูร ณ์ใ นตัว เอง ไม่ต ้อ งมี
กรรมมารับ เช่น เดิน ยืน นั่ง นอน
๒. สกรรมกริย าหรือ กริย า
ต้อ งการกรรม
   เป็น กริย าที่ไ ม่ม ีค วามสมบูร ณ์
ในตัว เอง ต้อ งมีก รรมมารับ เช่น
กิน อ่า น จิก ตี ไถ ตัด ขาย
   แม่ค ้า กำา ลัง ขาย ข้า วแกง
   (ขาย เป็น สกรรมกริย า)
   ชาวนาไถ นาตอนหน้า ฝน
   (ไถ เป็น สกรรมกริย า)
   ลุง ตัด กระดาษเพื่อ ทำา ป้า ย
๓. วิก ตรรถกริย าหรือ
กริย าอาศัย ส่ว นเติม เต็ม
     เป็น คำา กริย าที่ม ีค วามหมาย
 ไม่ส มบูร ณ์ จำา เป็น ต้อ งมีค ำา
 นาม คำา สรรพนาม หรือ คำา
 วิเ ศษณ์ม าขยายจึง จะได้ค วาม
 สมบูร ณ์ เช่น เป็น คือ เสมือ น
 เหมือ น คล้า ย เท่า ดุจ
 ประหนึ่ง ราว
     เธอมีใ บหน้า คล้า ย พ่อ
๔. กริย านุเ คราะห์ห รือ กริย า
ช่ว ย
      เป็น กริย าที่ท ำา หน้า ที่ช ว ยคำา กริย า
                                   ่
 อืน ให้แ สดงความหมายได้ช ด เจนยิ่ง
   ่                                  ั
 ขึ้น กริย านุเ คราะห์ม ี ๑ ลัก ษณะ คือ
      ๑ เป็น คำา ที่ม ค วามหมายได้ก ็เ มือ ได้
                      ี                     ่
 ช่ว ยคำา กริย าอืน เท่า นั้น เช่น จะ กำา ลัง
                    ่
 ได้ คง ถูก ให้ เคย แล้ว ต้อ ง อาจ
      วัน นีฝ นอาจจะ ตก
            ้
      (อาจจะ เป็น กริย านุเ คราะห์)
      นัก ศึก ษาทุก คนต้อ งแต่ง กาย
 เรีย บร้อ ย
๔. คำา วิเ ศษณ์

     คำา วิเ ศษณ์ คือ คำา ทีท ำา หน้า ที่
                            ่
ประกอบ(ขยาย)คำา นาม, คำา
สรรพนาม, คำา กริย า, และคำา
วิเ ศษณ์ด ้ว ยกัน ให้ไ ด้ค วามชัด เจน
ยิง ขึ้น ชนิด ของคำา วิเ ศษณ์ แบ่ง
  ่
ออกเป็น ๖ ชนิด คือ
๑. ลัก ษณวิเ ศษณ์ห รือ วิเ ศษณ์บ อก
ลัก ษณะ เป็น คำา วิเ ศษณ์ท ี่บ อก
ลัก ษณะต่า ง ๆ เช่น
บอกสัณ ฐาน   เช่น กลม แบน รี
 แป้น
บอกสี เช่น เขีย ว ขาว แดง
 เหลือ ง
บอกเสีย ง เช่น ดัง ค่อ ย เบา
 แทบ พร่า เพราะ
บอกกลิน เช่น หอม เหม็น ฉุน
         ่
บอกรส เช่น เผ็ด หวาน มัน
๒. กาลวิเ ศษณ์ห รือ วิเ ศษณ์บ อกเวลา
 เช่น เช้า สาย บ่า ย เที่ย ว เย็น คำ่า ดึก
 ปัจ จุบ ัน แต่ก ่อ น อนาคต
๓. สถานวิเ ศษณ์ห รือ วิเ ศษณ์บ อก
 สถานที่ เช่น บน ล่า ง เหนือ ใต้ บก
 นำ้า บ้า น ป่า
๔. ประมาณวิเ ศษณ์ห รือ วิเ ศษณ์บ อก
 จำา นวน แบ่ง เป็น ๓ ชนิด คือ
บอกจำา นวนไม่จ ำา กัด เช่น มาก น้อ ย
 หลาย จุ
๕. ประติช ญาวิเ ศษณ์ห รือ วิเ ศษณ์
 แสดงคำา ขานและรับ เช่น จ๊ะ จ๊า
 จ๋า คะ ขา ครับ
๖. ประติเ ษธวิเ ศษณ์ห รือ วิเ ศษณ์
 แสดงความปฏิเ สธ เช่น ไม่ ไม่ไ ด้
 อย่า มิ มิใ ช่ มิใ ช่ ไม่ใ ช่ บ บ่
 หามิไ ด้
๕. คำา บุพ บท
     คำาบุพบท คือคำาที่ทำาหน้าที่เชื่อมคำาต่อคำา
 โดยคำาบุพบท จะวางอยู่หน้าคำานาม
 สรรพนาม หรือคำากริยา จึงเชือมคำาข้างหน้า
                               ่
 กับคำานาม สรรพนาม หรือกริยา อาจ
 จำาแนกคำาบุพบทออกเป็นกลุ่มได้ ดังนี้
     ๑ . คำา บุพ บทบอกสถานที่ มีคำาว่า ใน
  ใกล้ ที่ บน ใต้ ริม ชิด เช่น
 เด็กวิ่งในสนาม
 พ่อวางโต๊ะใกล้ประตู
 นิดอ่านหนังสือที่ห้องสมุด
๒. คำา บุพ บทบอกความเป็น ผู้ร ับ มีคำา
ว่า แก่ แด่ เพือ ต่อ สำาหรับ เฉพาะ
               ่
เช่น
     แม่ให้เงินแก่ลูก
     พ่อถวายภัตตาหาร แด่พระสงฆ์
     ทหารสละชีพเพื่อ ชาติ

    ๓. คำา บุพ บทบอกความเป็น เครื่อ ง
    ใช้ มีคำาว่า ด้วย โดย เช่น
     จิดาภา วาดรูปด้ว ยดินสอ
     ครูแจ้งข่าวให้ให้ทราบ โดยติด
    ประกาศไว้
4. คำา บุพ บทบอกความเป็น เจ้า ของ            มีคำา
ว่า ของ แห่ง เช่น

 ชุดนี้ข องฉัน
 ชาย เมืองสิงห์ เป็นศิลปินแห่ง ชาติ
 เราต้องช่วยกันรักษาสมบัติข องโรงเรียน

5.คำา บุพ บทบอกเวลา มีคำาว่า เมื่อ ตั้งแต่
 ตราบเท่า เช่น
 ปรีชามาถึงบ้านเมือ เช้านี้
                     ่
 คุณพ่อไปทำางานตัง แต่เช้า
                       ้
๖.คำา สัน ธาน
      คำาสันธาน คือ คำาที่ทำาหน้าที่เชือมคำากับ
                                       ่
 คำา ประโยคกับประโยค ข้อความกับ
 ข้อความ เพื่อแสดงความคล้อยตาม ความ
 ขัดแย้งเหตุผล หรือเชื่อมความให้สละสลวย
 คำาสันธาน มี ๔ ชนิด ดังนี้
๑.เชือ มใจความที่ค ล้อ ยตามกัน ได้แก่คำา
      ่
 ว่า กับ และ , ทั้ง…และ , ทั้ง…ก็ , ครั้น…ก็ ,
 ครั้น…จึง , พอ…ก็
๒.เชือ มใจความที่ข ัด แย้ง กัน ได้แก่คำาว่า
        ่
 แต่ , แต่ว่า , ถึง…ก็ , กว่า…ก็
๔.เชือ มใจความให้เ ลือ กอย่า ง
     ่
 ใดอย่า งหนึ่ง ได้แก่คำาว่า หรือ
 หรือไม่ก็ , ไม่เช่นนัน , มิฉะนัน
                      ้         ้
๗. คำา อุท าน

         คำาอุทาน เป็นคำาที่เปล่งออกมาเพื่อแสดง
  อารมณ์ความรู้สกของผู้พูดเมื่อดีใจ เสียใจ
                     ึ
  ตกใจ ประหลาดใจ ซึ่งสามารถแบ่งได้ ๒
  ชนิดคือ
๑. คำา อุท านบอกอาการ เป็นคำาที่เปล่งออก
  มาเมื่อมีความรู้สกต่าง ๆ เช่น
                       ึ
 เมือ เสีย ดายหรือ โกรธ มักเปล่งคำาว่า ชิ
     ่
  ชิๆ ชิชะ เหม่
 เมือ อนาถใจ สงสาร น้อ ยใจหรือ
       ่
  เสีย ใจ มักเปล่งคำาว่า โธ่ พุทโธ่อนิจจา
๒. คำา อุท านเสริม บท เป็นคำาทีใช้
                               ่
เป็นคำาสร้อยหรือคำาเสริมบทต่าง ๆ
เพื่อให้มีคำาครบถ้วนตามต้องการ
หรือเพือให้มีความกระชับ สละ
         ่
สลวย เช่น ลูก เต้า เหล่า ใคร ผ่า
ผ่อ นท่อ นสไบ เลขผานาที ไม่ร ู้
ไม่ช ี้ น้อ งนุ่ง   โรงรำ่า
โรงเรีย น สะตุ้ง สตางค์
คำา สมาส
       การสร้างคำาสมาสในภาษาไทยได้แบบอย่างมาจาก
  ภาษาบาลีและสันสกฤต           โดยนำาคำาบาลี-สันสกฤต
  ตั้งแต่สองคำามาต่อกันหรือรวมกัน
       ๑. เป็น คำา ที่ม าจากภาษาบาลี-สัน สกฤต
  เท่า นัน คำาที่มาจากภาษาอื่นๆ นำามาประสมกันไม่นบ
         ้                                          ั
  เป็นคำาสมาส ตัวอย่างคำาสมาส
       บาลี+บาลี เช่น อัคคีภย วาตภัย โจรภัย
                             ั
  อริยสัจ ขัตติยมานะ
อัจฉริยบุคคล
       สัน สกฤต+สัน สกฤต        เช่น แพทยศาสตร์
  วีรบุรุษ วีรสตรี สังคมวิทยา ศิลปกรรม
       บาลี+สัน สกฤต, สัน สกฤต+บาลี เช่น หัตถศึกษา
๒. คำา ที่ร วมกัน แล้ว ไม่เ ปลี่ย นแปลงรูป คำา
แต่อ ย่า งใด เช่น

    วัฒน+ธรรม = วัฒนธรรม
สาร+คดี     = สารคดี
    พิพิธ+ภัณฑ์ = พิพิธภัณฑ์
กาฬ+ปักษ์ = กาฬปักษ์
    ทิพย+เนตร = ทิพยเนตร โลก+บาล
= โลกบาล
    เสรี+ภาพ    = เสรีภาพ
สังฆ+นายก = สังฆนายก
๓. คำา สมาสเมือ ออกเสีย งต้อ งต่อ เนื่อ ง
              ่
กัน เช่น

    ภูมิศาสตร์           อ่านว่า            พู-มิ-
    สาด
    เกียรติประวัติ       อ่านว่า
    เกียด-ติ-ประ-หวัด
    เศรษฐการ             อ่านว่า            เสด-
    ถะ-กาน
    รัฐมนตรี       อ่านว่า          รัด-ถะ-มน-
    ตรี
    เกตุมาลา       อ่านว่า          เก-ตุ-มา-
๔. คำา ที่น ำา มาสมาสกัน แล้ว ความหมายหลัก
อยู่ท ี่ค ำา หลัง ส่ว นความรองจะอยู่ข ้า งหน้า
เช่น

ยุทธ (รบ) + ภูมิ (แผ่นดิน สนาม)    = ยุทธภูมิ
   (สนามรบ)
หัตถ (มือ) + กรรม (การงาน)         =
  หัตถกรรม (งานฝีมือ)
คุรุ (ครู) + ศาสตร์ (วิชา)     = คุรุศาสตร์
  (วิชาครู)
สุนทร (งาม ไพเราะ) + พจน์ (คำากล่าว)    =
  สุนทรพจน์ (คำากล่าวที่ไพเราะ
คำา สนธิ

       คำาสนธิในภาษาไทยหมายถึงคำาทีมาจากภาษา
                                   ่
  บาลี-สันสกฤต มาเชื่อมต่อกัน
ทำาให้เสียงพยางค์หลังของคำาแรกกลมกลืนกันกับเสียง
  พยางค์แรกของคำาหลัง
  ๑. สระสนธิ คือ การกลมกลืน คำา ด้ว ยเสีย งสระ
  เช่น
       วิทย+อาลัย = วิทยาลัย
  พุทธ+อานุภาพ = พุทธานุภาพ
       มหา+อรรณพ = มหรรณพ
  นาค+อินทร์     = นาคินทร์
       มัคค+อุเทศก์ = มัคคุเทศก์
๒. พยัญ ชนะสนธิ เป็นการกลมกลืนเสียงระหว่าง
พยัญชนะกับพยัญชนะ ซึ่งไม่ค่อยมีใช้ในภาษาไทย
เช่น
    รหสฺ + ฐาน = รโหฐาน มนสฺ + ภาว = มโน
ภาว (มโนภาพ)
    ทุสฺ + ชน   = ทุรชน            นิสฺ + ภย   =
 นิรภัย
๓. นฤคหิต สนธิ ได้แก่การเชือมคำาที่ขึ้นต้นด้วย
                           ่
นฤคหิตหรือพยางค์ท้ายของคำาหน้าเป็นนฤคหิต กับ
คำาอื่นๆ เช่น
    สำ + อุทัย = สมุทัย      สำ + อาคม =
สมาคม
วลี
   วลี คือ กลุ่ม คำา ที่ม ารวม
กัน เพื่อ ให้ม ีค วามหมายมากขึ้น
ชัด เจนขึ้น แต่ย ัง ไม่ค รบ
สมบูร ณ์อ ย่า งประโยค โดย
ประโยคต้อ งประกอบด้ว ย ๒
ส่ว น คือ ภาคประธาน และภาค
แสดง ถ้า เป็น วลีจ ะประกอบด้ว ย
เช่น แมวสีข าวตัว อ้ว น
 กลม เป็นวลี
   กิน ข้า วอย่า งตะกระ
 มูม มาม เป็นวลี
   แมวสีข าวตัว อ้ว น
 กลม กิน ข้า วอย่า ง
ประโยค
   ประโยค หมายถึง หน่ว ย
หนึ่ง ของภาษา ที่ม ีค วาม
สมบูร ณ์โ ดยเป็น การแทน
ความหมายของสภาพ จะ
ประกอบด้ว ยสองส่ว นเป็น
อย่า งน้อ ย
 คือ ภาคประธานและภาค
ประโยคแบ่ง ได้เ ป็น ๓  ชนิด
 คือ  

      ๑.  ประโยคความเดีย ว
 (เอกรรถประโยค)
      ๒. ประโยคความรวม (
 อเนกรรถประโยค)
      ๓.  ประโยคความซ้อ น (
 สัง กรประโยค)
๑. ประโยคความเดีย ว
 (เอกรรถประโยค) คือ ประโยคที่มีใจความ
สำาคัญเพียงหนึงเดียวมีภาคประธานภาคเดียว
              ่
 ภาคแสดงภาคเดียว  สังเกตได้จากมีกริยา
สำประโย งตัวเดียว เช่น ภาค หมายเ
  าคัญเพีย ภาค
    ค     ประธา แสดง            หตุ
            น
 ฝนตก        ฝน       ตก      ประโย
                                คที่
 ลมพัด       ลม       พัด      กริย า
                              ไม่ต ้อ ง
ประโย       ภาค      ภาค    หมายเ
  ค       ประธา แสดง          หตุ
              น
นัก ศึก ษ นัก ศึก ษ ทำา การ  ทำา =
                             กริย า
    า         า      บ้า น
                            การบ้า น
ทำา การ                     = กรรม
  บ้า น
ฉัน กิน     ฉัน     กิน ผล   กิน =
                             กริย า
 ผลไม้                ไม้
                             ผลไม้ =
ประโย ภาค   ภาค หมายเ
  ค   ประธา แสดง หตุ
        น
คุณ พ่อ      คุณ พ่อ      เป็น          เป็น =
 เป็น                    ตำา รวจ        กริย า
ตำา รวจ                                 ตำา รวจ
 หมายเหตุ  -  "เป็น " เป็น กริย าทีต ้อ งอาศัย
                                     ่
                                        = ส่ว น
  ส่ว นเติม เต็ม เพือ ให้เ นื้อ ความสมบูร ณ์
                    ่
                                       เติม เต็ม
๒. ประโยคความรวม  (อเนกร
รถประโยค)  คือ ประโยคที่ร วมเอา
ประโยคความเดีย วตั้ง แต่ ๒ ประโยค
ขึ้น ไปมารวมกัน  โดยใช้ส น ธานเป็น ตัว
                              ั
เชือ มแต่ก ็ส ามารถแยกออกเป็น ประโยค
    ่
ความเดีย วที่ม ีใ จความสมบูร ณ์ไ ด้
เหมือ นเดิม โดยไม่ต ้อ งเพิ่ม ส่ว นใดส่วธา
 ประโยค ประโยค ประโยค สัน น
หนึง ในประโยค เช่น   ความ
      ความ
      ่        ความ
                                      น
        รวม   เดีย ว ๑ เดีย ว ๒
   ฉัน อ่า น  ฉัน อ่า น น้อ งเล่น    แต่
 หนัง สือ แต่ หนัง สือ   ตุ๊ก ตา
 น้อ งเล่น
  ตุ๊ก ตา
ประโยคความรวมแบ่ง ย่อ ยได้
เป็น ๔ แบบ ดัง นี้  

      ๒.๑  ประโยคที่ม เ นือ ความคล้อ ย
                       ี ้
ตามกัน คือ ประโยคความเดียว ๒ ประโยค
ที่นำามารวมกันโดยมีเนื้อความสอดคล้องกัน
มีสนธาน และ แล้ว  แล้ว...ก็ ครั้ง...จึง
    ั
  พอ...ก็ ฯลฯ
      ๒.๒ ประโยคที่ม เ นือ ความขัด แย้ง
                      ี ้
กัน  คือ  ประโยคความเดียว ๒ ประโยคที่
นำามารวมกัน โดยมีเนื้อความขัดแย้งกัน
 กริยาในแต่ละประโยคตรงกันข้ามกันส่วน
ใหญ่จะมีสนธาน  แต่ แต่ทว่า กว่า...ก็  ฯลฯ
           ั
๒.๓ ประโยคที่ม เ นือ ความให้เ ลือ ก
                         ี ้
เอาอย่า งใดอย่า งหนึง คือ ประโยคที่มี
                          ่
กริยา ๒ กริยาที่ต่างกัน  มีสันธาน หรือ  หรือ
ไม่ก็ มิฉะนั้น...ก็  ฯลฯ
     ๒.๔ ประโยคที่ม ีเ นื้อ ความเป็น เหตุ
เป็น ผล คือ ประโยคที่มีประโยคความเดียว
ประโยคหนึ่งมีเนือความเป็นประโยคเหตุ
                    ้
และมีประโยคความเดียวอีกประโยคหนึ่งมี
เนื้อความเป็นประโยคผล มีสันธาน  จึง
 ฉะนั้น  ดังนัน  เพราะฉะนั้น  ฯลฯ
              ้
๓. ประโยคความซ้อ น (สังกร
ประโยค)  คือประโยคที่ประกอบด้วย
ประโยคหลัก(มุขยประโยค)และประโยค
ย่อย              (อนุประโยค)  มารวมเป็น
ประโยคเดียวกัน โดยมี ประพันธสรรพนาม
(ผู้, ที่, ซึ่ง, อัน) ประพันธวิเศษณ์ หรือ
บุพบทเป็นบทเชื่อม

   ประโยคหลัก (มุข ยประโยค)  คือ
ประโยคที่เป็นใจความสำาคัญที่ต้องการ
สือสาร
  ่
ประโยค ประโยค ประโยค
 ความ    หลัก    ย่อ ย
                       ตัว เชื่อ ม
 ซ้อ น  (มุข ย   (อนุ
       ประโยค) ประโยค)
  ฉัน รัก                                   ที่
เพื่อ นที่ม ี   ฉัน รัก    ที่ม น ส ย (แทนคำา
                                ี ิ ั
   นิส ย
       ั        เพื่อ น   เรีย บร้อ ย ว่า "เพื่อ น"
เรีย บร้อ ย                                 )
  พ่อ แม่
 ทำา งาน                   ลูก จะมี        เพื่อ
                พ่อ แม่
หนัก เพื่อ                 อนาคต        (ขยาย
                ทำา งาน
 ลูก จะมี                   สดใส        วิเ ศษณ์
การอ่า นออกเสีย งคำา ให้ถ ูก ต้อ ง
        การอ่า นอัก ษรนำา
1.ถ้า พยัญ ชนะต้น ตัว แรกเป็น อัก ษรสูง หรือ
  กลางพยัญ ชนะตัว ตามต้อ งออกเสีย งตาม
  ตัว พยัญ ชนะตัว แรก เช่น
ถนน อ่า นว่า ถะ-หนน            ขนุน อ่า นว่า ขะ-
  หนุน      สมุน อ่า นว่า สะ-หมุน
ผลิต อ่า นว่า ผะ-หลิด          จรัส อ่า นว่า จะ-ห
  รัด
 อัก ษรสูง มี 11 ตัว ดัง นี้ ข ฃ ฉ ผ ฝ ถ ฐ ส ศ
  ษห
2. ถ้า พยัญ ชนะต้น ตัว แรกเป็น อัก ษร
 ตำ่า คำา หลัง อ่า นตามเสีย งเดิม
   คณิต อ่านว่า คะ-นิด    ชนก อ่านว่า
 ชะ-นก
   ทนาย อ่านว่า ทะ-นาย         พนัก
 อ่านว่า พะ-นัก
การอ่า นอัก ษรควบกลำ้า

1.อัก ษรควบแท้จ ะต้อ งอ่า นออกเสีย ง
 พยัญ ชนะต้น ทั้ง 2 ตัว พร้อ มกัน เช่น
 กราบกราน คล่องแคล้ว นิทรา ฟรี ปรับปรุง
 โปรดปราน
2. อัก ษรควบไม่แ ท้ เวลาอ่า นออกเสีย ง
 จะอ่า นพยัญ ชนะต้น เพีย งตัว เดีย ว ไม่
 อ่า นออกเสีย งตัว ควบกลำ้า เช่น แสร้ง(แส้
 ง) เสร็จ(เส็ด) ศรัทธา (สัด-ทา)
 กำาสรวล(กำา-สวน) และตัว ท ควบกับ ร ให้
 เปลี่ยนเสียง ทร ให้เป็น ซ เช่น ทรัพย์สิน
การเขีย นสะกดคำา ให้ถ ูก ต้อ ง

     การสือ สารด้ว ยการเขีย นจำา เป็น อย่า ง
                ่
ยิ่ง ที่ผ ส อ สารจะต้อ งรู้ห ลัก ภาษาเพื่อ ให้
          ู้ ื่
เข้า ใจเรื่อ งการใช้พ ยัญ ชนะ การใช้ส ระ
ตัว สะกด การัน ต์ การผัน วรรณยุก ต์ เพื่อ
ให้ม ก ฏเกณฑ์ใ นการเขีย นสะกดคำา ให้ถ ูก
        ี
ต้อ งและจะต้อ งตรวจสอบคำา ที่ไ ม่แ น่ใ จว่า
เขีย นได้ถ ูก ต้อ งหรือ ไม่จ ากพจนานุก รม
ทุก ครั้ง เพราะคำา ในภาษาไทยถ้า เขีย น
ผิด ความหมายทำา ให้ผ ู้ร ับ สารเข้า ใจผิด
พลาดคลาดเคลื่อ นไปนอกจากนีย ัง มีผ ล  ้
ข้อ ผิด พลาดในการเขีย นคำา ในภาษา
ไทย     อาจเกิด ได้จ ากสาเหตุด ง นี้
                               ั

   1.ข้อ ผิด พลาดเกี่ย วกับ พยัญ ชนะต้น
                        พยัญ ชนะในภาษา
   ไทยจะมีเ สีย งซำ้า กัน เช่น ส -ศ-ษ /พ-ภ / น-
   ณ/ ธ-ท-ฒ และมีเ สีย งใกล้เ คีย งกัน เช่น
   ร-ล การเขีย นตามเสีย งโดยไม่ร ู้จ ัก คำา
   หรือ ความหมายของคำา นัน จะทำา ให้เ ขีย น
                               ้
   คำา ผิด พลาดได้ เช่น ภูม ใ จ อาจเขีย นผิด
                             ิ
   เป็น พูม ใ จ ปราณีอ าจเขีย นผิด เป็น ปรานี
            ิ
   ร่อ แร่ อาจเขีย นผิด เป็น ล่อ แล่ กำา ไร อาจ
   เขีย นผิด เป็น กำา ไล ช้อ นส้อ ม อาจเขีย น
2.ข้อ ผิด พลาดเกี่ย วกับ
พยัญ ชนะสะกด
       ตัวสะกดในภาษาไทยมี 8 มาตรา คือ แม่กก
 แม่กด แม่กบ แม่กง แม่กม แม่กน แม่เกย และแม่
 เกอว บางมาตรา มีพยัญชนะที่เป็นตัวสะกดใน
 มาตราเดียวกันได้หลายตัว เช่น แม่กก
 พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดได้แก่ ก/ข/ค/ฆ แม่กน
 พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดได้คอ ญ/ณ/น/ร/ล/ฬ
                           ื
 การเขียนต้องมีหลักในการจำาและสังเกตโดยดู
 จากความหมายของคำาเป็นหลัก เช่น วันศุกร์ที่
 ผ่านมาฉันมีความสุขมากที่สุด ฉันได้ไปพักผ่อน
 ที่บานสวนและเก็บมะม่วงสุกไปฝากเพื่อนๆ ที่
     ้
3.ข้อ ผิด พลาดเกี่ย วกับ การใช้
 สระ
    การใช้สระในคำาดั้งเดิมในภาไทยจะออก
เสียงตรงกับสระที่ประสม ยกเว้นสระบางเสียงที่
เขียนได้หลายแบบ อาจจะทำาให้เกิดความ
สับสนในการสะกดคำาได้เช่น การประ
วิสรรชนีย์หรือไม่ประวิสรรชนีย์ ในคำาว่า
ตะโกน กระโถน กระทะ กนก ตลก ตลอด การ
เขียนคำาที่ออกเสียง อำา/อัม เช่น จำารัส ดำารง
อัมพร คัมภีร์ ปั๊ม การเขียนคำาที่ประสมสระ ใอ/
ไอ/อัย/ไอย
เช่น หลงใหล นำ้าใหล ฝักใฝ่ ลำาไย ชัย อะไหล่
4.ข้อ ผิด พลาดเกี่ย วกับ การใช้
เครื่อ งหมายการัน ต์ห รือ ทัณ ฑฆาต

    เครื่องหมายการันต์หรือทัณฑฆาต ั์ เป็น
การส่งเครื่องหมายกำากับเสียงเพื่อไม่ให้ออก
เสียงพยัญชนะ หรือสระที่มีเครื่องหมายการันต์
กำากับอยู่ความผิดพลาดอาจเกิดจากการใช้หรือ
ไม่ใช้เครื่องหมายการันต์รวมถึงการใช้
พยัญชนะที่เป็นตัวการันต์ผด เช่น เลือกสรร
                          ิ
อาจเขียนผิดเป็น เลือกสรรค์ มัคคุเทศก์ อาจ
เขียนผิดเป็น มัคคุเทศน์ กษัตริย์ อาจเขียนผิด
เป็น กษัตรย์ โลกาภิวัฒน์ อาจเขียนผิดเป็น
5. ข้อ ผิด พลาดเกี่ย วกับ การใช้
วรรณยุก ต์
       การใช้วรรณยุกต์กำากับเสียงผิดมักพบในคำา
 ยืมจากภาษาอื่นและคำาเลียนเสียงทั้งนี้เนื่องจาก
 พยัญชนะบางตัวเมื่อผันวรรณยุกต์แล้วเสียงจะ
 ไม่ตรงกับรูปวรรณยุกต์เมื่อเทียบตามเสียงที่
 ปรากฏจึงทำาให้เขียนรูปวรรณยุกต์ผดเป็น เช่น
                                       ิ
 เสือเชิต เขียนผิดเป็น เสื้อเชิต เพราะเสียง
     ้  ้                      ๊
 วรรณยุกต์เป็นเสียงตรี สมุดโน้ต เขียนผิดเป็น
 สมุดโน๊ตเพราะเสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงตรี นะ
 คะ เขียนผิดเป็น นะค่ะ เพราะเทียบเสียงผิด
 เจี๊ยวจ๊าว เขียนผิดเป็น เจี้ยวจ้าว เพราะเทียบ
ภาษาไทย

More Related Content

What's hot

มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวsakuntra
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6Nuttawat Sawangrat
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย6091429
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้ขนิษฐา ทวีศรี
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์pptapple_clubx
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 

What's hot (20)

มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 50 ภาษาไทย ม 6
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้หน่วยที่ 3  การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
หน่วยที่ 3 การเขียนเรื่องจากคำที่กำหนดให้
 
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt1)หน่วยที่  1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
1)หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ppt
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 

Viewers also liked

ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
ปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพDashodragon KaoKaen
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (7)

Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพ
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
 

Similar to ภาษาไทย

ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยSiraporn Boonyarit
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย rattasath
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 

Similar to ภาษาไทย (20)

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
ลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทยลักษณะของคำภาษาไทย
ลักษณะของคำภาษาไทย
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลีประมวลปัญหาเฉลยบาลี
ประมวลปัญหาเฉลยบาลี
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 

ภาษาไทย

  • 1. หลัก ภาษาไทย เบื้อ งต้น
  • 2. องค์ป ระกอบของภาษา 1. เสีย ง เสีย ง คือ หน่ว ยที่เ ล็ก ทีส ุด ของภาษา ในภาษา ่ ไทยจะมีเ สีย งสระ เสีย ง พยัญ ชนะ และเสีย ง วรรณยุก ต์
  • 3. อัก ษรไทย อัก ษรไทย มี ๔๔ ตัว คือ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ
  • 4.
  • 5. ไตรยางค์อ ัก ษร ๓ หมู่ อักษรกลางมี ๙ ตัว ก จ ด ตฎฏบ ป อ อักษรสูง ๑๑ ตัว ผ ฝ ถ ฐ ข ฃ ศ ษ ส ห ฉ
  • 6. อัก ษรตำ่า มีเ สีย งคู่ก ับ อัก ษร สูง ๑๔ ตัว พ ภ ฟ ฑ ฒ ท ธ ค ฅ ฆ ซ ฮ ช ฌ อักษรตำ่า (ไร้ค)ู่ ๑๐ ตัว ญ ง น ย ณ ร ว ม ฬ ล
  • 7. ไตรยางค์อ ัก ษร ๓ หมู่ อัก ษรสูง ตำ่า คู่ มี ตำ่า เดี่ย ว(ไร้ค ู่) อัก ษร 11 ตัว เสีย งคู่ 10 ตัว กลาง อัก ษรสูง 9 ตัว 14 ตัว 1. ไก่ ก 2. จิก จ 3.เด็ก ด 1.ผี ผ 2.ฝาก ฝ 1.พ 2. ภ 1. งู ง 4.ตาย ต 2. ใหญ่ ญ 3-4.ถุง ถ 3.ฟ 3.นอน น 5.เด็ก ฎ ฐ 4.ฑ 5.ฒ 6. ท 4. อยู่ ย 5-6. ข้า ว 7.ธ 5. ณ ขฃ 8.ค 9.ฅ 10.ฆ 6. ริม ร
  • 8. หน้า ที่ข องพยัญ ชนะ ๑. เป็น พยัญ ชนะต้น เช่น พ่อ แม่ ปู่ ยา ตา กา มี เพือ เรือ เมีย บัว โต ่ แพ้ เลอะ เทอะ ๒. เป็น พยัญ ชนะท้า ยพยางค์ (ตัว สะกด) ดังในตารางต่อไปนี้
  • 9.
  • 10. ๓. เป็น อัก ษรควบ ควบแท้ พลาดพลัง ครั้งคราว ้ ครู คลุมคลัง ขวักไขว่ ้ ่ ที่เรียกว่าควบแท้เพราะออก เสียงอักษรทังสองตัวพร้อมกัน ้ ควบไม่แ ท้ เศร้า สร้อย ศรี จริง ที่เรียกว่าควบไม่แท้เพราะ ไม่ได้ออกเสียงตัวทีควบด้วย ่ กล่าวคือ ไม่ได้ออกเสียง ร
  • 11. ๔. เป็น อัก ษรนำา – อัก ษรตาม ตลาด ต อักษรกลางนำา ล อักษรตำ่า ออก เสียงวรรณยุกต์ตาม ต สนาม ส อักษรสูงนำา น อักษรตำ่า ออกเสียง วรรณยุกต์ตาม ส ผลิต ผ อักษรสูงนำา ล อักษรตำ่า ออกเสียง วรรณยุกต์ตาม ผ อย่า อยู่ อย่าง อยาก อ อักษรกลาง นำา ย อักษรตำ่า ออกเสียงวรรณยุกต์ตาม อ หรู หรา ห อักษรสูงนำา ร อักษรตำ่าออก เสียงวรรณยุกต์ตาม ห
  • 12. ๕. เป็น สระ (อ ว ย ร) สรรค์ รร ทำาหน้าที่แทนวิสรรชนีย์ หรือสระ อะ กวน ว เป็นสระอัวลดรูป เสีย ย เป็นส่วนประกอบของสระเอีย ขอ เสือ มือ อ เป็นสระ และเป็นส่วนหนึ่ง สระ ๖. เป็นตัวการันต์ จัน ทร์ ทร์ เป็นตัวการันต์ ลัก ษณ์ ษณ์ เป็นตัวการันต์
  • 13.
  • 16. สำา หรับ สระ อำา ,ไอ,ใอ,เอา,ฤ ,ฤา ,ฦา,ฦา ตามหลัก ภาษาศาสตร์ไ ม่น ับ เป็น เสีย งสระเพราะมีเ สีย งพยัญ ชนะ ประสมอยูด ้ว ย ดัง นี้ ่ อำา (อะ+ม) ใอ, ไอ (อะ+ย) เอา (อ+อะ+ว) ฤ(ร+อึ) ฤา(ร+อือ ) ฦ(ล+อึ) ฦา (ล+อือ ) ฉะนั้น เสีย งในภาษาไทยจึง มีเ พีย ง 24 เสีย ง
  • 17. การเปลี่ย นรูป สระ ในคำาไทยสระบางตัวจะเปลี่ยนแปลงรูปเมื่อมีตัว สะกดดังนี้ (1) อะ + ตัว สะกด ะ จะเปลี่ย นเป็น อั เช่น จ + ะ + ด = จัด (2) เอะ + ตัว สะกด ะ จะเปลี่ย นเป็น อ็ เช่น เกะ + ง = เก็ง (3) แอะ + ตัว สะกด ะ จะเปลี่ย นเป็น อ็ เช่น แขะ + ง = แข็ง (4) อัว + ตัว สะกด จะลดรูป -ัั หายไป
  • 18. การเปลี่ย นรูป สระ (ต่อ ) (5) เออ + แม่ก ด, กน, กม จะเปลี่ย น อ เป็น อิ เช่น เดอ + น = เดิน (6) เออ + แม่เ กย จะลดรูป อ หายไป เช่น เลอ + ย = เลย (7) ออ + สะกดด้ว ย ร จะลดรูป ออ เช่น จ+อ + ร = จร (8) โอะ + ตัว สะกด โอ ะ จะลดรูป หาย ไป
  • 19. เสีย งวรรณยุก ต์(เสีย งดนตรี) เป็น เสีย งทีเ ปล่ง ออกมาพร้อ มกับ เสีย ง ่ พยัญ ชนะ จะมีเ สีย งสูง ตำ่า ตาม การสั่น สะเทือ นของเส้น เสีย ง เสีย งวรรณยุก ต์ใ นภาษาไทย มีท ง หมด ๕ั้ เสีย ง (เสีย งวรรณยุก ต์ (๕) ี ๔ รูปป วรรณยุก ต์ (๔) ที่ ส่ว นรูป วรรณยุก ต์ม รู ) ได้แ ก่ ๑ สามัญ (ไม่ม ีร ูป ) ๒ เอก ๓ โท ๔ ตรี ๕ จัต วา
  • 20. คำา เป็น คำา ตาย คำา เป็น คือ คำา ที่ม ีเ สีย งอ่า น ตามรูป วรรณยุก ต์ไ ด้โ ดยง่า ย ซึ่ง ลัก ษณะของคำา เป็น มีด ัง นี้ ๑. คำา ที่ม ีต ัว สะกดอยู่ใ น แม่ กง กน กม เกย เกอว เช่น ลง เดิน เลย เมิน สาว ๒. คำา ที่ป ระสมกับ สระเสีย งยาวใน แม่ ก กา เช่น ปู ม้า น่า ดู ๓. คำา ที่ป ระสมกับ เสีย งสระเกิน คือ อำา ไอ ใอ เอา เช่น จำา ใจ ไป เอา
  • 21. คำา ตาย ได้แ ก่ คำา ที่ม ล ัก ษณะดัง นี้ ี ๑. คำา ที่ม ีต ัว สะกดอยูใ น แม่ กก กด ่ กบ เช่น เศษ เมฆ วัด รอบ ๒. คำา ที่ป ระสมกับ สระเสีย งสั้น ใน แม่ ก กา ยกเว้น อำา ไอ ใอ เอา เช่น ชิ ชะ จะ เตะ
  • 22. อัก ษร ๓ หมู่ (ไต เสีย ง เสีย ง เสีย ง เสีย ง เสีย ง หมายเหตุ รยางค์) สามัญ เอก โท ตรี จัต วา คำา เป็น พื้นเสียง อักษรกลาง เป็น กจดฎตฏบปอ เสียงสามัญ คำา ตายพื้นเสียง ปา ป่า ป้า ป๊า ป๋า เป็น คำา เป็น คำา ตาย กัด กั้ด กั๊ด กั๋ด เสียงเอก อักษรสูง คำา เป็น พื้นเสียง ขฃฉฐถผฝศ เป็น เสียงจัตวา ษสห - ข่า ข้า - ขา คำา ตายพื้นเสียง คำา เป็น คำา ตาย - ขัด ขั้ด - - เป็น เสียงเอก คำาเป็นพื้นเสียง อักษรตำ่า เป็น เสียงสามัญ หาก (อักษรที่เหลือ ๒๔ ผัน ตัว) คา ค้า ร่วมกับอักษรสูงจะ - ค่า - คำา เป็น ค้าด ผัน - - คาด - ได้ครบ ๕ เสียง คำา ตายเสีย งยาว
  • 23. ความหมายของพยางค์ พยางค์ คือ เสีย งที่เ ปล่ง ออกมาครั้ง หนึ่ง ๆ จะมีค วามหมายหรือ ไม่ม ีค วาม หมายก็ไ ด้ พยางค์เ ป็น การประสมเสีย ง ในภาษา เพราะพยางค์เ กิด จากการ เปล่ง เสีย งสระ  เสีย งพยัญ ชนะ และ เสีย งวรรณยุก ต์ ติด ตามกัน อย่า ง กระชั้น ชิด เช่น เราเปล่ง เสีย ง “สุ” ถึง จะไม่ร ู้ค วามหมาย หรือ ไม่ร ู้เ รื่อ งเราก็ เรีย กว่า ๑ พยางค์ หากเราเปล่ง เสีย ง
  • 24. ลองดูตัวอย่างต่อไปนี้ ไร่ มี ๑ พยางค์ ชาวไร่ มี ๒ พยางค์ (ชาว- ไร่) สหกรณ์ มี ๓ พยางค์ (สะ- หะ-กอน) โรงพยาบาล มี ๔ พยางค์ (โรง-พะ-ยา-บาน) นัก ศึก ษาผู้ใ หญ่ มี ๕ พยางค์
  • 25. จากตัว อย่า งข้า งต้น นี้ สรุป ได้ว ่า ๑. พยางค์ คือ เสีย งที่เ ปล่ง ออก มาครั้ง หนึ่ง จะมีค วามหมาย หรือ ไม่ม ีค วามหมายก็ต าม ถ้า เปล่ง เสีย งออกมา ๑ ครั้ง ก็ เรีย ก ๑ พยางค์ ๒ ครั้ง ก็เ รีย ก ๒ พยางค์ ๒. พยางค์ คือ  เสีย งพูด ทีเ ปล่ง ่ ออกมาพร้อ มกัน ทั้ง เสีย งสระ
  • 26. คำา คำา หมายถึง เสีย งที่เ ปล่ง ออก มาแล้ว มีค วามหมายอย่า งใด อย่า งหนึ่ง อาจเป็น เสีย งที่เ ปล่ง ออกมาครั้ง เดีย วหรือ หลายครั้ง ก็ไ ด้ และเป็น ทั้ง พยางค์ท ม ีค วาม ี่ หมายอีก ด้ว ย เช่น หน้า โต๊ะ ลูก เสือ มหาราช ประชาชน ราชูป ถัม ภ์ หนัง สือ
  • 27. การสร้า งคำา ในภาษาไทย คำา มูล คือ คำาคำาเดียวที่ไม่ได้ประสมกับ คำาอื่น คำามูลที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. คำา มูล เป็น พยางค์เ ดีย วโดด ๆ จะ เป็น คำา มาจากภาษาใดก็ไ ด้ แต่ ต้อ งเป็น คำา เดีย ว เช่น ภาษาไทย - พ่อ แม่ หมู หมา แมว น้อง ภาษาจีน - เกี๊ยะ เกี๊ยว เจี๊ยะ แป๊ะ ซิ้ม ภาษาอังกฤษ - ไมล์ เมตร
  • 28. 2. ถ้า เป็น คำา หลายพยางค์ เมือ แยก ่ แต่ล ะพยางค์แ ล้ว อาจมีค วามหมาย หรือ ไม่ม ีค วามหมายก็ไ ด้ แต่ความ หมายของแต่ละพยางค์ไม่เกี่ยวข้องกับ ความหมายของคำามูลนั้นเลย เช่น กระดาษ ศิลปะ กำามะลอ 3. คำา มูล คำา เดีย วในภาษาไทยอาจ มีค วามหมายได้ห ลายอย่า ง เช่น นก เกาะอยู่บนกิ่งไม้ในเกาะแห่งหนึง พวก ่ เงาะชอบกินลูกเงาะ
  • 29. ข้อ สัง เกตคำา มูล คำา มูล หลายพยางค์ ควรดูว่าในคำา หลายพยางค์นั้นมีความหมายทุกพยางค์ หรือไม่ ถ้ามีความหมายบ้างไม่มีความหมายบ้างเป็น คำามูลหลายพยางค์ เช่น มะละกอ = คำามูล 3 พยางค์ นาฬิกา = คำามูล 3 พยางค์ มะ = ไม่มีความหมาย นา = มี ความหมาย ละ = มีความหมาย ฬิ = ไม่มี ความหมาย
  • 30. การสร้า งคำา ใหม่ มีอ ยู่ 3 แบบด้ว ย กัน คือ 1. คำา ซำ้า 2. คำา ซ้อ น 3. คำา ประสม
  • 31. คำา ซำ้า คำา ซำ้า คือ คำาประสมที่เกิดจากคำาสอง คำามีเสียงซำ้ากัน รวมกัน เกิดเป็นคำาใหม่ มี ความหมายใหม่ซึ่งต่างไปจากเดิมเล็กน้อย โดยอาจจะใช้เครื่องหมายไม้ยมก มีลักษณะ ดังนี้ ๑. ซำ้า แล้ว บอกความเป็น พหูพ จน์ เช่น เด็ก ๆชอบขนมหวาน เขาไปเที่ยวกับเพื่อ นๆ พี่ๆ ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น
  • 32. ๒. ซำ้า แล้ว เน้น คำา ให้ม ค วามหมายเพิ่ม ขึ้น ี เช่น เดินดีๆ ทางข้างหน้ามืด ถนนลื่นขับช้า ๆ ที่นี่เ งี้ย บเงีย บ ควรเลือกซื้อผลไม้ส ดๆ ๓. ซำ้า แล้ว ลดความหมายให้อ อ นลง เช่น ่ ผ้าชินนี้สออกดำา ๆ ้ ี กระดาษสีเ ขีย วๆของใคร เขาต้องการเสือสีแ ดงๆ ้
  • 33. ๔. ซำ้า แล้ว บอกความหมายไม่แ น่น อน เช่น ตอนเย็น ๆเขาจะมาหาเธอ บ้านฉันอยู่แ ถวๆนี้ ใครๆก็ชอบดูละครกันทั้งนั้น อะไรๆในร้านนี้ดูสวยไปหมด ๕. ซำ้า แล้ว ความหมายจะแบ่ง ออกเป็น ส่ว นๆ เช่น นักเรียนนั่งเป็นแถวๆ เขาจัดของเป็นชัน ๆ ้ หนังสือนีให้แจกเป็นคนๆ ้ เธอควรอ่านให้จบเป็นเรื่อ งๆ
  • 34. ๖. ซำ้า แล้ว ความหมายจะเปลี่ย นไป ไม่ เกี่ย วกับ คำา เดิม เช่น ฉันตั้งใจจะทำางานให้เสร็จไปๆมาๆก็ ไม่เสร็จ ความรู้แค่ง ๆ ปลาๆจะไปสู้อะไรได้ ู เขาแค่พูดจาส่ง ๆไปอย่างนั้นเอง   ข้อ ควรสัง เกต 1.คำา ที่ม เ สีย งซำ้า กัน บางครั้ง ไม่ใ ช่ค ำา ซำ้า ี ได้แก่ เขาพูดกันไปต่าง ๆ นานา ฉันเห็นเขาจะจะเลย ทั้ง 2 คำานี้เป็นคำามูลสอง
  • 35. คำา ซ้อ น คำา ซ้อ น หมายถึง การนำาเอาคำามูล 2 คำา ที่ มีความหมายใกล้เคียงกัน ความหมายตรงกัน ข้าม และความหมายตรงข้าม มาซ้อนกัน คำา ซ้อนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. คำา ซ้อ นเพื่อ ความหมาย เกิดจากคำามูล ที่มีความหมายอย่างเดียวกัน  อาจจะแตกต่างกัน เล็กน้อยหรือไปในทำานองเดียวกัน  หรือต่างกัน ในลักษณะตรงข้าม  เมื่อประกอบเป็นคำาซ้อนจะ มีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้
  • 36. 1. 1 ความหมายอยู่ท ี่ค ำา ใดคำา หนึง หรือ กลุ่ม ่ ใดกลุ่ม หนึง  เช่น  หน้า ตา   ปากคอ   ขวัญ หนี ่ ดีฝ่อ  ถ้ว ยชามรามไห   จับ ไม่ไ ด้ไล่ไม่ทัน 1.2.  ความหมายอยู่ท ี่ท ุก คำา แต่เ ป็น ความ หมายที่ก ว้า งออกไป เช่น เสือ ผ้า ไม่ได้หมายเฉพาะเสือกับผ้า แต่รวม ้ ้ ถึงเครื่องนุ่งห่ม เรือ แพ ไม่ได้หมายเฉพาะเรือกับแพ  แต่ รวมถึงยานพาหนะทางนำ้าทั้งหมด ข้า วปลา  ไม่ได้หมายเฉพาะข้าวกับปลา  แต่รวมถึงอาหารทั่วไป พี่น อ ง ไม่ได้หมายเฉพาะพี่กับน้อง  แต่รวม ้
  • 37. 1.3.  ความหมายอยู่ท ี่ค ำา ต้น กับ คำา ท้า ย รวมกัน เช่น เคราะห์หามยามร้า ย  ( เคราะห์ร้าย )  ชอบมาพากล ( ชอบกล )  ฤกษ์งามยามดี  ( ฤกษ์ดี ) ยากดีมีจ น ( ยากจน )  1.4.  ความหมายอยู่ท ี่ค ำา ต้น หรือ คำา ท้า ย ซึง มีค วามหมายตรงข้า มกัน เช่น ชัวดี   ( ่ ่ ชัว ดีอย่างไรเขาก็เป็นเพื่อนฉัน )   ผิดชอบ ่  ( ความรับผิด ชอบ )  เท็จจริง ( ข้อเท็จ จริง )
  • 38. 2. คำา ซ้อ นเพื่อ เสีย ง คำาซ้อนบางคำาที่เข้า มาซ้อนกัน อาจจะไม่มีความหมายเลย มีความ หมายเพียงคำาใดคำาเดียว เช่น มอมกับแมม มอม มีความหมาย แต่ แมม ไม่มีความหมาย บางทีแต่ละคำามีความหมาย แต่ความหมายไม่ เนื่องกับความหมายใหม่เลย เช่น งอแง งอ หมายว่า คดโค้ง แต่ แง หมายถึงเสียงร้องของเด็ก ส่วน งอแง หมายว่า ไม่สู้ เอาใจยาก
  • 39. คำา ประสม เกิดจากความต้องการคำาทีมา ่ แทนความคิดใหม่ ๆ และความ ต้องการใหม่ ๆ เกิดขึ้น วิธีคิดคำาเพิม ่ โดยการนำาเอาคำามูลตังแต่ 2 คำาขึ้น ้ ไปมาประสมกันเรียกว่า คำา ประสม เกิดเป็นคำาใหม่ มีความหมาย ใหม่ขึ้น เช่น พัดลม เตารีด ไฟฟ้า ตูเย็น ลูกคิด ตากล้อง ผู้แทน เรือบิน ้
  • 40. คำา ประสมที่เ กิด ความหมายใหม่ข ึ้น จะมี ความสัม พัน ธ์ก ับ ความหมายเดิม ในลัก ษณะ ต่า ง ๆ ดัง ต่อ ไปนี้ 1. ความหมายของคำา ประสมมีเ ค้า ความหมายเดิม ของคำา มูล มารวมกัน โดยตรง เช่น รองเท้า ไม้แขวนเสื้อ ไม้กวาด 2. ความหมายของคำา ประสมใน ทำา นองเปรีย บเทีย บ เช่น หางเสือ ลูกเสือ หัว แข็ง ปากแข็ง ปากกา และบางคำาเป็นสำานวน เช่น ยกเมฆ ชักดาบ โคมลอย นำ้าพักนำ้าแรง ล่มหัวจมท้าย ฯลฯ
  • 41. 3.คำา ประสมที่เ กิด จากนำา คำา มูล ที่ม ีค วาม หมายใกล้เ คีย งกัน หรือ ความหมายคล้า ย กัน มาซ้อ นกัน เป็น คำา ขึ้น เช่น ว่องไว ว่า กล่าว เหลียวแล ช้านาน ถ้อยคำา วิ่งเต้น รูปภาพ เรือนหอ ฯลฯ 4. นำา คำา มูล ที่ม ค วามหมายกว้า ง ๆ มา ี ประสมกับ คำา มูล คำา อื่น ๆ ทำา ให้เ กิด ความ หมายเฉพาะขึ้น เช่น ชาว (ย่อมาจากผู้ที่อยู่) เช่น ชาวบ้าน ชาวเขา ชาวเกาะ นัก (ย่อมาจากผูที่กระทำา) เช่น นักเรียน ้ นักร้อง นักดนตรี
  • 42. ข้อ สัง เกตคำา ประสม 1. คำา ประสมจะเป็น วิท ยาการสมัย ใหม่ เช่น เตารีด หม้อหุงข้าวไฟฟ้า เครื่องปรับ อากาศ พัดลม ตู้เย็น เครื่องอบผ้า เครื่องซัก ผ้า เครื่องดูดฝุน ฯลฯ ่ 2. คำา ประสมเป็น คำา เดีย วกัน จะแยก ออกจากกัน ไม่ไ ด้ ความหมายจะไม่ เหมือ นเดิม เช่น นางแบบ รับรอง มนุษย์ กบ คำาประสมจะเป็นคำาใหม่เกิดขึ้น  
  • 43. ชนิด ของคำา ในภาษาไทย คำา ในภาษาไทยแบ่ง ออกเป็น ๗ ชนิด ได้แ ก่ ๑. คำา นาม ๒. คำา สรรพนาม ๓. คำา กริย า ๔. คำา วิเ ศษณ์ ๕. บุพ บท ๖. คำา สัน ธาน
  • 44. ๑. คำา นาม คำา ทีเ ป็น ชื่อ ของคน สัต ว์ สถาน ่ ที่ สิ่ง ของ สภาพ อาการ และ ลัก ษณะทัง ในสิ่ง มีช ีว ิต และสิง ไม่ม ี ้ ่ ชีว ิต ตลอดทั้ง ที่เ ป็น รูป ธรรมและ สิ่ง ที่เ ป็น นามธรรม ชนิด ของคำา นามแบ่ง ออกเป็น ๕ ชนิด คือ
  • 45. ๑.๑ สามานยนามหรือ นามสามัญ คือ คำา ที่เ ป็น ชื่อ ของคน สัต ว์ สถานที่ สิง ของ และกิร ิย าอาการทั่ว ไปไม่ ่ จำา เพาะเจาะจง เช่น เด็ก โรงเรีย น กวาง บ้า น ดิน สอ กระเป๋า โต๊ะ เก้า อี้ ต้น ไม้ ลม ฝน ฯลฯ ๑.๒ วิส ามานยนามหรือ นาม เฉพาะ คือ คำา นามที่เ ป็น ชื่อ ของคน สัต ว์ สถานที่ สิง ของ แต่เ ป็น ชื่อ ที่ ่ เฉพาะเจาะจงลงไปว่า เป็น ใครหรือ อะไร เช่น กำา ชัย ทองหล่อ โฮจิม ิน
  • 46. ๑.๓ ลัก ษณนามหรือ นาม บอกลัก ษณะ คือ คำา นามที่ท ำา หน้า ที่ป ระกอบนามอื่น เพื่อ แสดงรูป ลัก ษณะ ขนาดหรือ ประมาณของนามนัน ให้ ้ ชัด เจนยิ่ง ขึ้น ลัก ษณนามมัก ปรากฏอยู่ห ลัง ตัว เลขบอก จำา นวน เช่น คน ๓ คน
  • 47. ๑.๔ สมุห นามหรือ นามบอก หมวดหมู่ คือ คำา นามที่ท ำา หน้า ที่ แสดงหมวดหมู่ข องสามานยนาม และวิส ามานยนาม เช่น ฝูง โขลง คณะ พวก กอง บริษ ัท รัฐ บาล ๑.๕ อาการนามหรือ นามบอก อาการ คือ คำา ที่ใ ช้เ รีย กชื่อ กริย า อาการหรือ ความเป็น ไปของคน สัต ว์ สิง ของ เป็น การเติม “การ ” ่
  • 48. ๒. คำา สรรพนาม เป็น คำา ที่ใ ช้แ ทนคำา นาม ชนิด ของคำา สรรพนาม คำา สรรพนามแบ่ง ออกเป็น ๖ ชนิด คือ ๑. บุร ุษ สรรพนามหรือ สรรพนามใช้แ ทน บุค คล แบ่ง ออกเป็น ๓ ชนิด คือ ๑.๑ สรรพนามบุร ุษ ที่ ๑ เป็น คำา ที่ใ ช้ แทนตัว ผูพ ูด เช่น ผม ฉัน เรา ข้า พเจ้า ้ ๑.๒ สรรพนามบุร ุษ ที่ ๒ เป็น คำา ที่ใ ช้ แทนตัว ผูท ี่เ ราพูด ด้ว ย เช่น เธอ คุณ ท่า น ้ ๑.๓ สรรพนามบุร ุษ ที่ ๓ เป็น คำา ที่ใ ช้
  • 49. ๒. นิย มสรรพนามหรือ สรรพนามชี้ร ะยะ เป็น สรรพนามชีเ ฉพาะเพื่อ บ่ง ้ ความชัด เจน คำา สรรพนามชนิด นีม ี ้ เพีย ง ๖ คำา ได้แ ก่ นี่ นี้ นัน นัน โน่น ่ ้ โน้น นี่ ใช้แ ทนคำา นามที่อ ยู่ใ กล้ต ัว ผูพ ูด ้ เช่น นี่ป ากกาของฉัน นัน ใช้แ ทนคำา นามที่ห ่า งออกไป เช่น ่ นั่น เพื่อ นของฉัน โน่น ใช้แ ทนคำา นามที่อ ยู่ห ่า งออกไป
  • 50. ๓. อนิย มสรรพนาม เป็น สรรพนามที่ม เ นือ ความไม่ช ี้ ี ้ เฉพาะเจาะจง เช่น ใคร ไหน ผูใ ด ้ ใคร ก็ไ ด้ม าหาฉัน หน่อ ย (ใคร เป็น อนิย มสรรพนาม) ที่ไ หนก็ม ีค นชัว ปะปนอยู่ท ั้ง ่ นัน ้ (ไหน เป็น อนิย มสรรพนาม) ผูใ ด ก็ส ามารถอยู่ท ี่น ไ ด้ ้ ี่ (ผูใ ด เป็น อนิย มสรรพนาม) ้
  • 51. ๔. ปฤจฉาสรรพนามหรือ สรรพนามใช้ถ าม เป็น สรรพนามที่ม เ นือ ความเป็น ี ้ คำา ถาม เช่น ใคร อะไร ไหน ใคร จะไปดูห นัง บ้า ง (ใคร เป็น ปฤจฉาสรรพนาม ) อะไรอยู่ใ นตู้ (อะไร เป็น ปฤจฉาสรรพนาม ) ผูใ ด จะออกมาร้อ งเพลง ้ (ผูใ ด เป็น ปฤจฉาสรรพนาม ) ้
  • 52. ๕. วิภ าคสรรพนามหรือ สรรพนาม แบ่ง พวกหรือ รวมพวก เป็น สรรพนามที่ใ ช้แ ยกออกเป็น แต่ล ะคน แต่ล ะสิง หรือ แต่ล ะพวก เช่น ่ ต่า ง บ้า ง กัน นัก เรีย นทุก คนต่า ง ก็ต ั้ง ใจเรีย นหนัง สือ (ต่า ง เป็น วิภ าคสรรพนาม แทนนัก เรีย น เป็น การแบ่ง พวก) มนุษ ย์เ ราบ้า ง ก็ด ี บ้า ง ก็ช ว ปะปนกัน ไป ั่ (บ้า ง เป็น วิภ าคสรรพนาม แทนมนุษ ย์ เป็น การแบ่ง พวก) เด็ก ๆ เล่น กัน อย่า งสนุก สนาน
  • 53. ๖. ประพัน ธสรรพนามหรือ สรรพนามเชื่อ มประโยค เป็น คำา สรรพนามที่ใ ช้แ ทนคำา นาม และเชื่อ มประโยคที่อ ยู่ข ้า ง หน้า เช่น ที่ ซึ่ง อัน คนที่เ ป็น นัก กีฬ าต้อ งขยัน ฝึก ซ้อ ม (ที่ เป็น ประพัน ธสรรพนามแทน คำา ว่า คน) ฉัน ออกเดิน ทางไปรอบโลก อัน
  • 54. ๓. คำา กริย า คำา กริย า เป็น คำา ที่แ สดงอาการ ของคำา นามและสรรพนาม หรือ แสดงการกระทำา ของประธาน ชนิด ของคำา กริย าแบ่ง ออกเป็น ๔ ชนิด คือ ๑. อกรรมกริย าหรือ กริย าที่ไ ม่ ต้อ งการกรรม เป็น คำา กริย าที่ม ี ความสมบูร ณ์ใ นตัว เอง ไม่ต ้อ งมี กรรมมารับ เช่น เดิน ยืน นั่ง นอน
  • 55. ๒. สกรรมกริย าหรือ กริย า ต้อ งการกรรม เป็น กริย าที่ไ ม่ม ีค วามสมบูร ณ์ ในตัว เอง ต้อ งมีก รรมมารับ เช่น กิน อ่า น จิก ตี ไถ ตัด ขาย แม่ค ้า กำา ลัง ขาย ข้า วแกง (ขาย เป็น สกรรมกริย า) ชาวนาไถ นาตอนหน้า ฝน (ไถ เป็น สกรรมกริย า) ลุง ตัด กระดาษเพื่อ ทำา ป้า ย
  • 56. ๓. วิก ตรรถกริย าหรือ กริย าอาศัย ส่ว นเติม เต็ม เป็น คำา กริย าที่ม ีค วามหมาย ไม่ส มบูร ณ์ จำา เป็น ต้อ งมีค ำา นาม คำา สรรพนาม หรือ คำา วิเ ศษณ์ม าขยายจึง จะได้ค วาม สมบูร ณ์ เช่น เป็น คือ เสมือ น เหมือ น คล้า ย เท่า ดุจ ประหนึ่ง ราว เธอมีใ บหน้า คล้า ย พ่อ
  • 57. ๔. กริย านุเ คราะห์ห รือ กริย า ช่ว ย เป็น กริย าที่ท ำา หน้า ที่ช ว ยคำา กริย า ่ อืน ให้แ สดงความหมายได้ช ด เจนยิ่ง ่ ั ขึ้น กริย านุเ คราะห์ม ี ๑ ลัก ษณะ คือ ๑ เป็น คำา ที่ม ค วามหมายได้ก ็เ มือ ได้ ี ่ ช่ว ยคำา กริย าอืน เท่า นั้น เช่น จะ กำา ลัง ่ ได้ คง ถูก ให้ เคย แล้ว ต้อ ง อาจ วัน นีฝ นอาจจะ ตก ้ (อาจจะ เป็น กริย านุเ คราะห์) นัก ศึก ษาทุก คนต้อ งแต่ง กาย เรีย บร้อ ย
  • 58. ๔. คำา วิเ ศษณ์ คำา วิเ ศษณ์ คือ คำา ทีท ำา หน้า ที่ ่ ประกอบ(ขยาย)คำา นาม, คำา สรรพนาม, คำา กริย า, และคำา วิเ ศษณ์ด ้ว ยกัน ให้ไ ด้ค วามชัด เจน ยิง ขึ้น ชนิด ของคำา วิเ ศษณ์ แบ่ง ่ ออกเป็น ๖ ชนิด คือ ๑. ลัก ษณวิเ ศษณ์ห รือ วิเ ศษณ์บ อก ลัก ษณะ เป็น คำา วิเ ศษณ์ท ี่บ อก ลัก ษณะต่า ง ๆ เช่น
  • 59. บอกสัณ ฐาน เช่น กลม แบน รี แป้น บอกสี เช่น เขีย ว ขาว แดง เหลือ ง บอกเสีย ง เช่น ดัง ค่อ ย เบา แทบ พร่า เพราะ บอกกลิน เช่น หอม เหม็น ฉุน ่ บอกรส เช่น เผ็ด หวาน มัน
  • 60. ๒. กาลวิเ ศษณ์ห รือ วิเ ศษณ์บ อกเวลา เช่น เช้า สาย บ่า ย เที่ย ว เย็น คำ่า ดึก ปัจ จุบ ัน แต่ก ่อ น อนาคต ๓. สถานวิเ ศษณ์ห รือ วิเ ศษณ์บ อก สถานที่ เช่น บน ล่า ง เหนือ ใต้ บก นำ้า บ้า น ป่า ๔. ประมาณวิเ ศษณ์ห รือ วิเ ศษณ์บ อก จำา นวน แบ่ง เป็น ๓ ชนิด คือ บอกจำา นวนไม่จ ำา กัด เช่น มาก น้อ ย หลาย จุ
  • 61. ๕. ประติช ญาวิเ ศษณ์ห รือ วิเ ศษณ์ แสดงคำา ขานและรับ เช่น จ๊ะ จ๊า จ๋า คะ ขา ครับ ๖. ประติเ ษธวิเ ศษณ์ห รือ วิเ ศษณ์ แสดงความปฏิเ สธ เช่น ไม่ ไม่ไ ด้ อย่า มิ มิใ ช่ มิใ ช่ ไม่ใ ช่ บ บ่ หามิไ ด้
  • 62. ๕. คำา บุพ บท คำาบุพบท คือคำาที่ทำาหน้าที่เชื่อมคำาต่อคำา โดยคำาบุพบท จะวางอยู่หน้าคำานาม สรรพนาม หรือคำากริยา จึงเชือมคำาข้างหน้า ่ กับคำานาม สรรพนาม หรือกริยา อาจ จำาแนกคำาบุพบทออกเป็นกลุ่มได้ ดังนี้ ๑ . คำา บุพ บทบอกสถานที่ มีคำาว่า ใน ใกล้ ที่ บน ใต้ ริม ชิด เช่น  เด็กวิ่งในสนาม  พ่อวางโต๊ะใกล้ประตู  นิดอ่านหนังสือที่ห้องสมุด
  • 63. ๒. คำา บุพ บทบอกความเป็น ผู้ร ับ มีคำา ว่า แก่ แด่ เพือ ต่อ สำาหรับ เฉพาะ ่ เช่น  แม่ให้เงินแก่ลูก  พ่อถวายภัตตาหาร แด่พระสงฆ์  ทหารสละชีพเพื่อ ชาติ ๓. คำา บุพ บทบอกความเป็น เครื่อ ง ใช้ มีคำาว่า ด้วย โดย เช่น  จิดาภา วาดรูปด้ว ยดินสอ  ครูแจ้งข่าวให้ให้ทราบ โดยติด ประกาศไว้
  • 64. 4. คำา บุพ บทบอกความเป็น เจ้า ของ มีคำา ว่า ของ แห่ง เช่น  ชุดนี้ข องฉัน  ชาย เมืองสิงห์ เป็นศิลปินแห่ง ชาติ  เราต้องช่วยกันรักษาสมบัติข องโรงเรียน 5.คำา บุพ บทบอกเวลา มีคำาว่า เมื่อ ตั้งแต่ ตราบเท่า เช่น  ปรีชามาถึงบ้านเมือ เช้านี้ ่  คุณพ่อไปทำางานตัง แต่เช้า ้
  • 65. ๖.คำา สัน ธาน คำาสันธาน คือ คำาที่ทำาหน้าที่เชือมคำากับ ่ คำา ประโยคกับประโยค ข้อความกับ ข้อความ เพื่อแสดงความคล้อยตาม ความ ขัดแย้งเหตุผล หรือเชื่อมความให้สละสลวย คำาสันธาน มี ๔ ชนิด ดังนี้ ๑.เชือ มใจความที่ค ล้อ ยตามกัน ได้แก่คำา ่ ว่า กับ และ , ทั้ง…และ , ทั้ง…ก็ , ครั้น…ก็ , ครั้น…จึง , พอ…ก็ ๒.เชือ มใจความที่ข ัด แย้ง กัน ได้แก่คำาว่า ่ แต่ , แต่ว่า , ถึง…ก็ , กว่า…ก็
  • 66. ๔.เชือ มใจความให้เ ลือ กอย่า ง ่ ใดอย่า งหนึ่ง ได้แก่คำาว่า หรือ หรือไม่ก็ , ไม่เช่นนัน , มิฉะนัน ้ ้
  • 67. ๗. คำา อุท าน คำาอุทาน เป็นคำาที่เปล่งออกมาเพื่อแสดง อารมณ์ความรู้สกของผู้พูดเมื่อดีใจ เสียใจ ึ ตกใจ ประหลาดใจ ซึ่งสามารถแบ่งได้ ๒ ชนิดคือ ๑. คำา อุท านบอกอาการ เป็นคำาที่เปล่งออก มาเมื่อมีความรู้สกต่าง ๆ เช่น ึ  เมือ เสีย ดายหรือ โกรธ มักเปล่งคำาว่า ชิ ่ ชิๆ ชิชะ เหม่  เมือ อนาถใจ สงสาร น้อ ยใจหรือ ่ เสีย ใจ มักเปล่งคำาว่า โธ่ พุทโธ่อนิจจา
  • 68. ๒. คำา อุท านเสริม บท เป็นคำาทีใช้ ่ เป็นคำาสร้อยหรือคำาเสริมบทต่าง ๆ เพื่อให้มีคำาครบถ้วนตามต้องการ หรือเพือให้มีความกระชับ สละ ่ สลวย เช่น ลูก เต้า เหล่า ใคร ผ่า ผ่อ นท่อ นสไบ เลขผานาที ไม่ร ู้ ไม่ช ี้ น้อ งนุ่ง โรงรำ่า โรงเรีย น สะตุ้ง สตางค์
  • 69. คำา สมาส การสร้างคำาสมาสในภาษาไทยได้แบบอย่างมาจาก ภาษาบาลีและสันสกฤต โดยนำาคำาบาลี-สันสกฤต ตั้งแต่สองคำามาต่อกันหรือรวมกัน ๑. เป็น คำา ที่ม าจากภาษาบาลี-สัน สกฤต เท่า นัน คำาที่มาจากภาษาอื่นๆ นำามาประสมกันไม่นบ ้ ั เป็นคำาสมาส ตัวอย่างคำาสมาส บาลี+บาลี เช่น อัคคีภย วาตภัย โจรภัย ั อริยสัจ ขัตติยมานะ อัจฉริยบุคคล สัน สกฤต+สัน สกฤต เช่น แพทยศาสตร์ วีรบุรุษ วีรสตรี สังคมวิทยา ศิลปกรรม บาลี+สัน สกฤต, สัน สกฤต+บาลี เช่น หัตถศึกษา
  • 70. ๒. คำา ที่ร วมกัน แล้ว ไม่เ ปลี่ย นแปลงรูป คำา แต่อ ย่า งใด เช่น วัฒน+ธรรม = วัฒนธรรม สาร+คดี = สารคดี พิพิธ+ภัณฑ์ = พิพิธภัณฑ์ กาฬ+ปักษ์ = กาฬปักษ์ ทิพย+เนตร = ทิพยเนตร โลก+บาล = โลกบาล เสรี+ภาพ = เสรีภาพ สังฆ+นายก = สังฆนายก
  • 71. ๓. คำา สมาสเมือ ออกเสีย งต้อ งต่อ เนื่อ ง ่ กัน เช่น ภูมิศาสตร์ อ่านว่า พู-มิ- สาด เกียรติประวัติ อ่านว่า เกียด-ติ-ประ-หวัด เศรษฐการ อ่านว่า เสด- ถะ-กาน รัฐมนตรี อ่านว่า รัด-ถะ-มน- ตรี เกตุมาลา อ่านว่า เก-ตุ-มา-
  • 72. ๔. คำา ที่น ำา มาสมาสกัน แล้ว ความหมายหลัก อยู่ท ี่ค ำา หลัง ส่ว นความรองจะอยู่ข ้า งหน้า เช่น ยุทธ (รบ) + ภูมิ (แผ่นดิน สนาม) = ยุทธภูมิ (สนามรบ) หัตถ (มือ) + กรรม (การงาน) = หัตถกรรม (งานฝีมือ) คุรุ (ครู) + ศาสตร์ (วิชา) = คุรุศาสตร์ (วิชาครู) สุนทร (งาม ไพเราะ) + พจน์ (คำากล่าว) = สุนทรพจน์ (คำากล่าวที่ไพเราะ
  • 73. คำา สนธิ คำาสนธิในภาษาไทยหมายถึงคำาทีมาจากภาษา ่ บาลี-สันสกฤต มาเชื่อมต่อกัน ทำาให้เสียงพยางค์หลังของคำาแรกกลมกลืนกันกับเสียง พยางค์แรกของคำาหลัง ๑. สระสนธิ คือ การกลมกลืน คำา ด้ว ยเสีย งสระ เช่น วิทย+อาลัย = วิทยาลัย พุทธ+อานุภาพ = พุทธานุภาพ มหา+อรรณพ = มหรรณพ นาค+อินทร์ = นาคินทร์ มัคค+อุเทศก์ = มัคคุเทศก์
  • 74. ๒. พยัญ ชนะสนธิ เป็นการกลมกลืนเสียงระหว่าง พยัญชนะกับพยัญชนะ ซึ่งไม่ค่อยมีใช้ในภาษาไทย เช่น รหสฺ + ฐาน = รโหฐาน มนสฺ + ภาว = มโน ภาว (มโนภาพ) ทุสฺ + ชน = ทุรชน นิสฺ + ภย = นิรภัย ๓. นฤคหิต สนธิ ได้แก่การเชือมคำาที่ขึ้นต้นด้วย ่ นฤคหิตหรือพยางค์ท้ายของคำาหน้าเป็นนฤคหิต กับ คำาอื่นๆ เช่น สำ + อุทัย = สมุทัย สำ + อาคม = สมาคม
  • 75. วลี วลี คือ กลุ่ม คำา ที่ม ารวม กัน เพื่อ ให้ม ีค วามหมายมากขึ้น ชัด เจนขึ้น แต่ย ัง ไม่ค รบ สมบูร ณ์อ ย่า งประโยค โดย ประโยคต้อ งประกอบด้ว ย ๒ ส่ว น คือ ภาคประธาน และภาค แสดง ถ้า เป็น วลีจ ะประกอบด้ว ย
  • 76. เช่น แมวสีข าวตัว อ้ว น กลม เป็นวลี กิน ข้า วอย่า งตะกระ มูม มาม เป็นวลี แมวสีข าวตัว อ้ว น กลม กิน ข้า วอย่า ง
  • 77. ประโยค ประโยค หมายถึง หน่ว ย หนึ่ง ของภาษา ที่ม ีค วาม สมบูร ณ์โ ดยเป็น การแทน ความหมายของสภาพ จะ ประกอบด้ว ยสองส่ว นเป็น อย่า งน้อ ย คือ ภาคประธานและภาค
  • 78. ประโยคแบ่ง ได้เ ป็น ๓  ชนิด  คือ   ๑.  ประโยคความเดีย ว (เอกรรถประโยค)      ๒. ประโยคความรวม ( อเนกรรถประโยค)      ๓.  ประโยคความซ้อ น ( สัง กรประโยค)
  • 79. ๑. ประโยคความเดีย ว  (เอกรรถประโยค) คือ ประโยคที่มีใจความ สำาคัญเพียงหนึงเดียวมีภาคประธานภาคเดียว ่  ภาคแสดงภาคเดียว  สังเกตได้จากมีกริยา สำประโย งตัวเดียว เช่น ภาค หมายเ าคัญเพีย ภาค ค ประธา แสดง หตุ น ฝนตก ฝน ตก ประโย คที่ ลมพัด ลม พัด กริย า ไม่ต ้อ ง
  • 80. ประโย ภาค ภาค หมายเ ค ประธา แสดง หตุ น นัก ศึก ษ นัก ศึก ษ ทำา การ ทำา = กริย า า า บ้า น การบ้า น ทำา การ = กรรม บ้า น ฉัน กิน ฉัน กิน ผล กิน = กริย า ผลไม้ ไม้ ผลไม้ =
  • 81. ประโย ภาค ภาค หมายเ ค ประธา แสดง หตุ น คุณ พ่อ คุณ พ่อ เป็น เป็น = เป็น ตำา รวจ กริย า ตำา รวจ ตำา รวจ  หมายเหตุ  -  "เป็น " เป็น กริย าทีต ้อ งอาศัย ่ = ส่ว น ส่ว นเติม เต็ม เพือ ให้เ นื้อ ความสมบูร ณ์ ่ เติม เต็ม
  • 82. ๒. ประโยคความรวม  (อเนกร รถประโยค)  คือ ประโยคที่ร วมเอา ประโยคความเดีย วตั้ง แต่ ๒ ประโยค ขึ้น ไปมารวมกัน  โดยใช้ส น ธานเป็น ตัว ั เชือ มแต่ก ็ส ามารถแยกออกเป็น ประโยค ่ ความเดีย วที่ม ีใ จความสมบูร ณ์ไ ด้ เหมือ นเดิม โดยไม่ต ้อ งเพิ่ม ส่ว นใดส่วธา ประโยค ประโยค ประโยค สัน น หนึง ในประโยค เช่น   ความ ความ ่ ความ น รวม เดีย ว ๑ เดีย ว ๒ ฉัน อ่า น ฉัน อ่า น น้อ งเล่น แต่ หนัง สือ แต่ หนัง สือ ตุ๊ก ตา น้อ งเล่น ตุ๊ก ตา
  • 83. ประโยคความรวมแบ่ง ย่อ ยได้ เป็น ๔ แบบ ดัง นี้   ๒.๑  ประโยคที่ม เ นือ ความคล้อ ย ี ้ ตามกัน คือ ประโยคความเดียว ๒ ประโยค ที่นำามารวมกันโดยมีเนื้อความสอดคล้องกัน มีสนธาน และ แล้ว  แล้ว...ก็ ครั้ง...จึง ั   พอ...ก็ ฯลฯ ๒.๒ ประโยคที่ม เ นือ ความขัด แย้ง ี ้ กัน  คือ  ประโยคความเดียว ๒ ประโยคที่ นำามารวมกัน โดยมีเนื้อความขัดแย้งกัน  กริยาในแต่ละประโยคตรงกันข้ามกันส่วน ใหญ่จะมีสนธาน  แต่ แต่ทว่า กว่า...ก็  ฯลฯ ั
  • 84. ๒.๓ ประโยคที่ม เ นือ ความให้เ ลือ ก ี ้ เอาอย่า งใดอย่า งหนึง คือ ประโยคที่มี ่ กริยา ๒ กริยาที่ต่างกัน  มีสันธาน หรือ  หรือ ไม่ก็ มิฉะนั้น...ก็  ฯลฯ ๒.๔ ประโยคที่ม ีเ นื้อ ความเป็น เหตุ เป็น ผล คือ ประโยคที่มีประโยคความเดียว ประโยคหนึ่งมีเนือความเป็นประโยคเหตุ ้ และมีประโยคความเดียวอีกประโยคหนึ่งมี เนื้อความเป็นประโยคผล มีสันธาน  จึง  ฉะนั้น  ดังนัน  เพราะฉะนั้น  ฯลฯ ้
  • 85. ๓. ประโยคความซ้อ น (สังกร ประโยค)  คือประโยคที่ประกอบด้วย ประโยคหลัก(มุขยประโยค)และประโยค ย่อย (อนุประโยค)  มารวมเป็น ประโยคเดียวกัน โดยมี ประพันธสรรพนาม (ผู้, ที่, ซึ่ง, อัน) ประพันธวิเศษณ์ หรือ บุพบทเป็นบทเชื่อม    ประโยคหลัก (มุข ยประโยค)  คือ ประโยคที่เป็นใจความสำาคัญที่ต้องการ สือสาร ่
  • 86. ประโยค ประโยค ประโยค ความ หลัก ย่อ ย ตัว เชื่อ ม ซ้อ น (มุข ย (อนุ ประโยค) ประโยค) ฉัน รัก ที่ เพื่อ นที่ม ี ฉัน รัก ที่ม น ส ย (แทนคำา ี ิ ั นิส ย ั เพื่อ น เรีย บร้อ ย ว่า "เพื่อ น" เรีย บร้อ ย ) พ่อ แม่ ทำา งาน ลูก จะมี เพื่อ พ่อ แม่ หนัก เพื่อ อนาคต (ขยาย ทำา งาน ลูก จะมี สดใส วิเ ศษณ์
  • 87. การอ่า นออกเสีย งคำา ให้ถ ูก ต้อ ง การอ่า นอัก ษรนำา 1.ถ้า พยัญ ชนะต้น ตัว แรกเป็น อัก ษรสูง หรือ กลางพยัญ ชนะตัว ตามต้อ งออกเสีย งตาม ตัว พยัญ ชนะตัว แรก เช่น ถนน อ่า นว่า ถะ-หนน ขนุน อ่า นว่า ขะ- หนุน สมุน อ่า นว่า สะ-หมุน ผลิต อ่า นว่า ผะ-หลิด จรัส อ่า นว่า จะ-ห รัด  อัก ษรสูง มี 11 ตัว ดัง นี้ ข ฃ ฉ ผ ฝ ถ ฐ ส ศ ษห
  • 88. 2. ถ้า พยัญ ชนะต้น ตัว แรกเป็น อัก ษร ตำ่า คำา หลัง อ่า นตามเสีย งเดิม คณิต อ่านว่า คะ-นิด ชนก อ่านว่า ชะ-นก ทนาย อ่านว่า ทะ-นาย พนัก อ่านว่า พะ-นัก
  • 89. การอ่า นอัก ษรควบกลำ้า 1.อัก ษรควบแท้จ ะต้อ งอ่า นออกเสีย ง พยัญ ชนะต้น ทั้ง 2 ตัว พร้อ มกัน เช่น กราบกราน คล่องแคล้ว นิทรา ฟรี ปรับปรุง โปรดปราน 2. อัก ษรควบไม่แ ท้ เวลาอ่า นออกเสีย ง จะอ่า นพยัญ ชนะต้น เพีย งตัว เดีย ว ไม่ อ่า นออกเสีย งตัว ควบกลำ้า เช่น แสร้ง(แส้ ง) เสร็จ(เส็ด) ศรัทธา (สัด-ทา) กำาสรวล(กำา-สวน) และตัว ท ควบกับ ร ให้ เปลี่ยนเสียง ทร ให้เป็น ซ เช่น ทรัพย์สิน
  • 90. การเขีย นสะกดคำา ให้ถ ูก ต้อ ง การสือ สารด้ว ยการเขีย นจำา เป็น อย่า ง ่ ยิ่ง ที่ผ ส อ สารจะต้อ งรู้ห ลัก ภาษาเพื่อ ให้ ู้ ื่ เข้า ใจเรื่อ งการใช้พ ยัญ ชนะ การใช้ส ระ ตัว สะกด การัน ต์ การผัน วรรณยุก ต์ เพื่อ ให้ม ก ฏเกณฑ์ใ นการเขีย นสะกดคำา ให้ถ ูก ี ต้อ งและจะต้อ งตรวจสอบคำา ที่ไ ม่แ น่ใ จว่า เขีย นได้ถ ูก ต้อ งหรือ ไม่จ ากพจนานุก รม ทุก ครั้ง เพราะคำา ในภาษาไทยถ้า เขีย น ผิด ความหมายทำา ให้ผ ู้ร ับ สารเข้า ใจผิด พลาดคลาดเคลื่อ นไปนอกจากนีย ัง มีผ ล ้
  • 91. ข้อ ผิด พลาดในการเขีย นคำา ในภาษา ไทย อาจเกิด ได้จ ากสาเหตุด ง นี้ ั 1.ข้อ ผิด พลาดเกี่ย วกับ พยัญ ชนะต้น พยัญ ชนะในภาษา ไทยจะมีเ สีย งซำ้า กัน เช่น ส -ศ-ษ /พ-ภ / น- ณ/ ธ-ท-ฒ และมีเ สีย งใกล้เ คีย งกัน เช่น ร-ล การเขีย นตามเสีย งโดยไม่ร ู้จ ัก คำา หรือ ความหมายของคำา นัน จะทำา ให้เ ขีย น ้ คำา ผิด พลาดได้ เช่น ภูม ใ จ อาจเขีย นผิด ิ เป็น พูม ใ จ ปราณีอ าจเขีย นผิด เป็น ปรานี ิ ร่อ แร่ อาจเขีย นผิด เป็น ล่อ แล่ กำา ไร อาจ เขีย นผิด เป็น กำา ไล ช้อ นส้อ ม อาจเขีย น
  • 92. 2.ข้อ ผิด พลาดเกี่ย วกับ พยัญ ชนะสะกด ตัวสะกดในภาษาไทยมี 8 มาตรา คือ แม่กก แม่กด แม่กบ แม่กง แม่กม แม่กน แม่เกย และแม่ เกอว บางมาตรา มีพยัญชนะที่เป็นตัวสะกดใน มาตราเดียวกันได้หลายตัว เช่น แม่กก พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดได้แก่ ก/ข/ค/ฆ แม่กน พยัญชนะที่เป็นตัวสะกดได้คอ ญ/ณ/น/ร/ล/ฬ ื การเขียนต้องมีหลักในการจำาและสังเกตโดยดู จากความหมายของคำาเป็นหลัก เช่น วันศุกร์ที่ ผ่านมาฉันมีความสุขมากที่สุด ฉันได้ไปพักผ่อน ที่บานสวนและเก็บมะม่วงสุกไปฝากเพื่อนๆ ที่ ้
  • 93. 3.ข้อ ผิด พลาดเกี่ย วกับ การใช้ สระ การใช้สระในคำาดั้งเดิมในภาไทยจะออก เสียงตรงกับสระที่ประสม ยกเว้นสระบางเสียงที่ เขียนได้หลายแบบ อาจจะทำาให้เกิดความ สับสนในการสะกดคำาได้เช่น การประ วิสรรชนีย์หรือไม่ประวิสรรชนีย์ ในคำาว่า ตะโกน กระโถน กระทะ กนก ตลก ตลอด การ เขียนคำาที่ออกเสียง อำา/อัม เช่น จำารัส ดำารง อัมพร คัมภีร์ ปั๊ม การเขียนคำาที่ประสมสระ ใอ/ ไอ/อัย/ไอย เช่น หลงใหล นำ้าใหล ฝักใฝ่ ลำาไย ชัย อะไหล่
  • 94. 4.ข้อ ผิด พลาดเกี่ย วกับ การใช้ เครื่อ งหมายการัน ต์ห รือ ทัณ ฑฆาต เครื่องหมายการันต์หรือทัณฑฆาต ั์ เป็น การส่งเครื่องหมายกำากับเสียงเพื่อไม่ให้ออก เสียงพยัญชนะ หรือสระที่มีเครื่องหมายการันต์ กำากับอยู่ความผิดพลาดอาจเกิดจากการใช้หรือ ไม่ใช้เครื่องหมายการันต์รวมถึงการใช้ พยัญชนะที่เป็นตัวการันต์ผด เช่น เลือกสรร ิ อาจเขียนผิดเป็น เลือกสรรค์ มัคคุเทศก์ อาจ เขียนผิดเป็น มัคคุเทศน์ กษัตริย์ อาจเขียนผิด เป็น กษัตรย์ โลกาภิวัฒน์ อาจเขียนผิดเป็น
  • 95. 5. ข้อ ผิด พลาดเกี่ย วกับ การใช้ วรรณยุก ต์ การใช้วรรณยุกต์กำากับเสียงผิดมักพบในคำา ยืมจากภาษาอื่นและคำาเลียนเสียงทั้งนี้เนื่องจาก พยัญชนะบางตัวเมื่อผันวรรณยุกต์แล้วเสียงจะ ไม่ตรงกับรูปวรรณยุกต์เมื่อเทียบตามเสียงที่ ปรากฏจึงทำาให้เขียนรูปวรรณยุกต์ผดเป็น เช่น ิ เสือเชิต เขียนผิดเป็น เสื้อเชิต เพราะเสียง ้ ้ ๊ วรรณยุกต์เป็นเสียงตรี สมุดโน้ต เขียนผิดเป็น สมุดโน๊ตเพราะเสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงตรี นะ คะ เขียนผิดเป็น นะค่ะ เพราะเทียบเสียงผิด เจี๊ยวจ๊าว เขียนผิดเป็น เจี้ยวจ้าว เพราะเทียบ