Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×

บูรพาจารย์ 3

Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Chargement dans…3
×

Consultez-les par la suite

1 sur 21 Publicité

Plus De Contenu Connexe

Diaporamas pour vous (20)

Publicité

Plus par MI (20)

Publicité

บูรพาจารย์ 3

  1. 1. ตามรอยบูรพาจารย์ 3
  2. 2. เกิดมาแล้วก็ แก่ เจ็บ ตาย แต่ก่อนจะตาย ทานยังไม่มีก็ให้มีเสีย ศีลยังไม่เคยรักษา ก็รักษาเสีย ภาวนายังไม่เคยเจริญ ก็เจริญให้พอเสีย จะได้ไม่เสียทีที่ได้เกิดมา พบพระพุทธศาสนา จึงจะสมกับที่ได้เกิดมาเป็นคน
  3. 3. ธรรมเป็นกัลยาณมิตร ในเรือนใจอันประเสริฐกว่าสิ่งอื่น ผู้มีธรรมย่อมได้ชื่อว่า มีกัลยาณมิตรที่เยี่ยมยอดสูงสุด ย่อมไม่ว้าเหว่เหงาหงอย หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ
  4. 4. พระพุทธองค์ทรงสอนให้รู้ตัวเอง ให้เห็นตนเอง ให้พิจารณาตัวเอง เพื่อให้เห็น ”จิตเดิม” ของมนุษย์ เป็นธรรมชาติที่ไม่หวั่นไหว แต่ที่ดีใจ เสียใจ หรือทุกข์สุขเกิดชึ้น เพราะไปหลงอยู่ในอารมณ์ แล้วก็เกิดความยึดมั่นถือมั่นขึ้น ในสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น หลวงพ่อขา สุภัทโท
  5. 5. การสร้างบุญสร้างกุศล สาหรับพวกเราเองก็เหมือนกัน สร้างทุกวันทุกคืน มีน้อยให้ตามน้อย มีมากให้ตามมาก ตามกาลังของเรา เราอย่าไปคิดว่าให้เป็นเศรษฐีเสียก่อน แล้วค่อยทาบุญ นี่ตายทิ้งเปล่าๆ ไม่มีใครเป็นเศรษฐีได้แหละ หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
  6. 6. นักปฏิบัติสาคัญที่สุดต้องเด็ดเดี่ยว กล้าหาญ พยายามรักษาจิตให้เสมอ อย่าให้ขึ้นลงตาม กิเลสที่มาก่อกวน การรักษาจิตให้เป็นปกติได้จะมีความสุขในการปฏิบัติ จิตนี้เมื่อเราปฏิบัติถึงจุดแห่งผล อานิสงส์จะหาประมาณมิได้ การปฏิบัติทางจิต จึงจาเป็นแก่ผู้มีปัญญา”
  7. 7. คาถาเมตตาหลวง .. สุขัง สุปะติ สุขัง ปฏิพุฌติ, นะปาปะกัง สุปินัง ปัสสติ , มนุสสานัง ปิโย โหติ, อมนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคีวา วิสังวา สัตถังวา กะมะติ ฯ
  8. 8. อวิชชามันพาให้เกิด ... เมื่อถึงคราวจะต้องตาย... ก็ขอปลดอวิชชาไว้ข้างหลัง ให้เข้าป่า เข้าดงไป เราไม่ต้องการอีกต่อไป ขอให้ เชื่อจิต เชื่อธรรม นั้นเถิด เป็นเอกในโลกทั้งสามนี้แน่นอน
  9. 9. ผู้สั่งสมบุญกุศล ผู้มีศีลธรรมอันดีงาม แม ้ว่าไปเกิดอุปสรรคความขัดข ้อง อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นมา แล ้วผู้นั้นอธิษฐานจิตถึงบุญถึงคุณที่ ตนบาเพ็ญมา หากบุญคุณของตน ที่บาเพ็ญมามันมากพอ มันก็จะไปดลจิตดลใจของเทวดา อินทร์พรหมให ้ล่วงรู้ว่า โอ ้คนมีบุญผู้นี้กาลังประสบอุปสรรค ขัดข ้องอย่างใดอย่างหนึ่ง เราจาเป็นต ้องลงไปช่วย ไม่ใช่เทวดาก็พญาอินทร์ ไม่ใช่ก็ท ้าวมหาพรหมลงมาช่วย มา ช่วยแก ้ไขอุปสรรคของผู้นั้นให ้ ลุล่วงไปด ้วยดี ผู้นั้นก็ถึงซึ่งความสุข ความเจริญ นี่การที่เทวดาอินทร์ พรหมจะช่วย มนุษย์เราน่ะ มนุษย์เราต ้องช่วย ตนเองให ้เต็มที่เสียก่อน ต ้องสั่งสมบุญให ้มากซะก่อน"
  10. 10. รู้สิ่งอื่นไม่สามารถจะชาระจิตของตนได้ รู้จิตของเรานี่แหละ จึงจะเป็นไป เพื่อความบริสุทธิ์ ..หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี. ..
  11. 11. ชีวิตมนุษย์นั้นมีขึ้นมีลง วันนี้สูงส่ง พรุ่งนี้อาจตกต่า ไม่มีสิ่งใดแน่นอนหรือยั่งยีนได้เลย หมั่นทาความดีหรือสร้างบุญกุศล กันไว้ให้มากๆเถิด แม้ยามที่ชีวิตตกต่าก็จะมีบุญกุศล หนุนนาช่วยให้พ้นจากความมืดมิด ได้อย่างแน่นอน บุคคลที่เป็นคนดีนั้น ย่อมเป็นที่รักไปทั้งสามโลก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
  12. 12. มนุษย์เราพากันสมมติ เรียกเอาตาม ความชอบใจของตนว่า นั่นเป็นคน นั่นเป็นสัตว์ เป็นนั่นเป็นนี่ต่างๆนานาไป แต่ก้อนธาตุนั้นมันก็หาได้รู้สึกอะไรตาม สมมติของคนไม่ มันมีสภาพเป็นอยู่อย่างไร ก็เป็นอยู่อย่างนั้นตามเดิม สมมติว่า หญิง ว่าชาย ว่าหนุ่ม ว่าแก่ ว่า สวย ไม่สวย ก้อนธาตุอันนั้นก็ไม่มี ความรู้สึกอะไรเลย หน้าที่ของมันเมื่อมา ประชุมกันเข้า เป็นก้อนแล้ว อยู่ได้ชั่ว ขณะหนึ่งแล้วมันก็แปรไปตามสภาพของมัน ผลที่สุดมันก็แตกสลาย แยกกันไปอยู่ตาม สภาพเดิมของมันเท่านั้นเอง
  13. 13. ขันธ์ ๕ ของกิเลส มันเกิดเป็นทุกข์.. ตายเป็นทุกข์อยู่แล้ว เป็นอนิจจัง. ทุกขัง อนัตตา อยู่แล้ว ไปนิพพาน เขาเอาธรรมะไป..
  14. 14. ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์. ผู้ที่เห็นทุกข์เท่านั้น จึงขวนขวายหาทางพ้นทุกข์ ให้เชื่อเรื่องบุญ เรื่องบาปว่า เป็นของมีจริง ให้รู้จักใช้ปัญญา พิจารณารูปนาม ให้เห็นตามความเป็นจริงของสังขาร
  15. 15. ถ้าอะไรเราไม่ได้ทาไว้ อยากได้มันก็ไม่ได้ ถ้าได้ทาไว้แล้ว สร้างไว้แล้ว ไม่อยากได้ มันก็ได้ นี่แหละบารมี ...หลวงปู่ฝั้น อาจาโร....
  16. 16. ขึ้นชื่อว่ากิเลสแล้ว มันจะไม่ไว้หน้าใคร มันทาลายทั้งสิ้น แก่นแท้ของธรรมอยู่ที่สติ เราเองเป็นผู้ทาจิตของตน ให้เศร้าหมอง ผู้อื่นช่วยไม่ได้ แม้พระพุทธเจ้าก็ช่วยไม่ได้ ทาเอง รู้เอง ได้เอง ..หลวงปู่ขาว อนาลโย....
  17. 17. แก่นของธรรมแท้อยู่ที่สติ ให้พากันหัดทาสติให้ดี ให้สาเหนียก ให้แก่กล้า สตินะทาเท่าไรก็ ไม่ผิด เมื่อมีกาลังสติดีแล้วจิตมันจึงรวม เพราะสติก็แม่น (คือ) จิตนั่นแหละ เพราะเหตุนั้นพวก เราต้องอบรมสติ ครั้นมีสติแก่กล้า ทาให้มันดีแล้ว ไม่พลาด ทาก็ไม่พลาด พูดก็ไม่พลาด คิด ก็ไม่พลาด
  18. 18. เรื่องเหล่านี้มันเป็นเพราะจริตของแต่ละบุคคล นิสัยมันต่างกัน พระพุทธเจ้าก็บอกไว้หมด ละ จริตของคนที่มีราคะมากให้อาศัยพิจารณาอสุภะอสุภัง ให้เห็นความเปื่อยเน่า จะอิด หนาระอาใจ เบื่อหน่าย ถอนจากความกาหนัดได้ แก้โทสะให้มีเมตตา แผ่เมตตาบ่อยๆ มากๆ ยืน เดิน นั่ง นอน มันก็อ่อนลงเอง แก้โมหะความหลงให้ใช้ปัญญาพิจารณา ไตร่ตรองชาระจิต
  19. 19. อนึ่ง บุคคลผู้จะเกิดเป็นมนุษย์อีกติดกันในชาติต่อไป เป็นผู้ถึงไตรสรณคมน์เท่านั้นก็พอแล้ว เพราะโหรเอกพระบรมศาสดาองค์ท่านทายไว้ว่า บุคคลผู้ถึง พุทธ ธรรม สงฆ์ เป็นสรณะแล้ว มีคติเป็นสองไม่มนุษย์ก็เทวดา มันเป็นของไม่ยากของผู้ทรงศรัทธา แต่ก็ตรงกันข้ามกลายเป็นของยากผู้ที่ไม่ศรัทธา ความดีคนดีทาได้ง่าย ความชั่วคนดีทาได้ยาก ความชั่วคนชั่วทาได้ง่าย ความดีคนชั่วทาได้ยาก สิ่งเหล่านี้เป็นของจริงมาแต่ดึกดาบรรพ์
  20. 20. คนพูดดี ก็เป็นน้าเย็น รดหัวใจให้ชื่นบาน เป็นยาบารุงหัวใจซึ่งกันและกัน ถ้าพูดไม่ดี ก็เป็นน้าร้อน น้ากรด มาสังหาร ซึ่งกันและกัน ท่านพ่อลี ธัมมธโร
  21. 21. ราคะ โทสะ โมหะนี้เป็นพิษร้ายนั้น องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาค บอกให้สาวกทั้งหลายภาวนา พิจารณาๆนะ ให้ของร้ายอัปรีย์จัญไรให้คาย ออกจากดวงจิตนี้ หลวงปู่หลุยส์ จันทสาโร

×