SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
เรื่องหนึ่งที่ควรกล่าวถึงไว้ด้วยคือปัญหาที่เกี่ยวกับการใช้ถ้อยคา
ซึ่งมีความหมายคลาดเคลื่อนเลื่อนลอย แปลกไปตามกาลสมัย
ตัวอย่างสาคัญคือคาว่า"ปฏิบัติธรรม" ซึ่งมีความหมายที่แท้ควรได้แก่
การนาเอาธรรมไปใช้ในการดาเนินชีวิต หรือการดาเนินชีวิตตามธรรม
แต่ปัจจุบันมักเข้าใจคานี้ในความหมายว่า
เป็นการอบรมทางจิตปัญญาขั้นหนึ่งระดับหนึ่งโดยเฉพาะ
ซึ่งมีลักษณะเป็นรูปแบบ และทาไปตามแบบแผนที่กาหนดวางไว้
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)
คนที่พัฒนาแล้วนั้น
เขาจะ เป็น-อยู่-หรือทาการอะไร
ก็ไม่ได้ขึ้นต่อความสุข ความทุกข์
แต่เขาขึ้นต่อ "ปัญญา"
ปัญญาเป็นตัวรู้ว่า อะไรควรทา
หรือไม่ควรทา และสติก็คอยบอก
หรือคอยเตือนให้เว้นสิ่งที่ควรเว้น
และให้ทาสิ่งที่ควรทา ตามที่รู้ด้วยปัญญานั้น...
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
ที่มา : เพจบ้านจตุรทวีปประทาน เพื่องานพระศาสนา
ความสุขเป็นเพียงผลพลอยได้ของความสันโดษ
มันเป็นผลที่พ่วงมาในตัวเอง พอเราสันโดษเราก็สุข
เพราะสันโดษก็คือพอใจ...
และช่วยให้ใจสงบไม่กระวนกระวายเร่าร้อน
พอเราสุขง่าย ด้วยต้องการวัตถุน้อย
เราก็พร้อมที่จะเอาใจมาอยู่ในกระบวนการปฏิบัติ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)
ที่มา : เพจบ้านจตุรทวีปประทาน เพื่องานพระศาสนา
คนฉลาดทาเคราะห์ให้เป็นโอกาส
แต่คนประมาททาโอกาสให้เป็นเคราะห์
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
ที่มา : เพจบ้านจตุรทวีปประทาน
พอเรามีความยินดี-ยินร้ายขึ้นมา
ก็จะมีตัวตนขึ้นมารับว่าถูกใจเรา เราชอบ มันไม่ถูกใจเรา เราเกลียดมัน
พอมีตัวตนขึ้นมารับกระทบ มาเป็นเจ้าของเรื่องแล้ว
จากนี้ปัญหาก็เกิดขึ้น คือมีตัวตน ที่จะได้ จะเอา
จะเสีย จะทาลาย อะไรต่างๆ มากมาย
แล้วปัญหาทั้งหลายก็ตามมา
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
ที่มา : เพจบ้านจตุรทวีปประทาน เพื่องานพระศาสนา
ทุกข์ เราต้องรู้เท่าทัน แต่เราไม่มีหน้าที่เป็นทุกข์..
พูดง่ายๆ ทุกข์สาหรับปัญญารู้... จบแค่นี้..
ถ้าใครเอาทุกข์มาเข้าตัว ใครทาตัวให้เป็นทุกข์ แสดงว่าปฏิบัติผิดหลัก
ไม่มีที่ไหน พระพุทธเจ้าสอนให้คนเป็นทุกข์ สอนแต่ให้รู้เท่าทันทุกข์ เพื่อจะได้แก้ไขมัน
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
ที่มา : เพจบ้านจตุรทวีปประทาน เพื่องานพระศาสนา
ความรักที่ไร้ทุกข์ นั้นต้องพัฒนาปัญญาเพิ่มขึ้นโดยให้พิจารณาว่า
สัตว์ทั้งหลายที่เกิดมานี่ต้อง แก่ เจ็บ ตาย และต้องพลัดพราก จากกันเป็นธรรมดา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
เราไม่มีหน้าที่ ทุกข์
แต่เรามีหน้าที่ รู้จักทุกข์
นี้เป็นประการที่หนึ่ง
คือรู้จักปัญหา ตามที่เป็นจริง
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
พระองค์ย้าว่า ปัญญา นี่แหละเป็นตัวตัดสิน
ศรัทธา ก็เพื่อปัญญา โดยเฉพาะศีลวัตรนั้นช่วยให้เกิดสมาธิ
สมาธิก็ต้องนาไปสู่ปัญญา
ถ้าไม่อย่างนั้น ก็เป็นเพียงสมาธิที่นาไปสู่ภาวะดื่มด่าทางจิตเท่านั้น
เป็นเรื่องของสมถะ ไม่ถึงนิพพาน...
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
พระพุทธศาสนามิใช่มองโลกและชีวิตในแง่ร้าย
แต่มองโลกและชีวิตตามความเป็นจริง เมื่อความทุกข์มีอยู่จริง
พระพุทธศาสนาก็สอนให้เผชิญหน้ากับความทุกข์นั้น ไม่เลี่ยงหนี
แต่ให้มองดูทุกข์นั้นด้วยความรู้เท่าทัน
และด้วยความรู้เท่าทันความทุกข์นั้นเอง
จึงทาให้มีจิตใจปลอดโปร่งอิสระด้วยปัญญา
ไม่ถูกทุกข์บีบคั้นเข้าทานองว่า' รู้ว่าชีวิตเป็นทุกข์
แต่มีชีวิตเป็นสุข หรือถ้าจะพูดให้ถูกต้องกว่านั้น
รู้เท่าทันความทุกข์ จึงมีความสุขที่สมบูรณ์
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
ที่มา : เพจบ้านจตุรทวีปประทาน เพื่องานพระศาสนา
ถ้าจิตถูกโลกธรรมทั้งหลายกระทบกระทั่งแล้วไม่หวั่นไหว
ยังสามารถมีใจเบิกบาน เกษมปลอดโปร่ง ไม่มีธุลี ไร้ความขุ่นมัวเศร้าหมอง ผ่องใสได้ ก็เป็นมงคลอันสูงสุด
มงคล ๓๘ ประการ มาจบลงสุดท้ายที่นี่...
พระพุทธศาสนาสอนหลักธรรมไปตามลาดับจนมาถึงข้อนี้ คือข้อว่ามีจิตใจเป็นอิสระ
อย่างที่พระสงฆ์สวดในงานพิธีมงคลทุกครั้ง ตอนที่สวดมงคลสูตร มงคล ๓๘ จะมาจบด้วยคาถานี้คือ
ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ
อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง
ผู้ใดถูกโลกธรรมทั้งหลาย (ทั้งฝ่ายดีและฝ่ายร้าย) กระทบกระทั่งแล้ว จิตใจไม่เศร้าโศก
ไม่หวั่นไหว เกษม มั่นคง ปลอดโปร่งได้ นั่นคือมงคลอันอุดม
ถ้าถึงขั้นนี้แล้ว ก็เรียกว่าเราได้ประสบประโยชน์สุขขั้นสูงสุด ชีวิตก็จะสมบูรณ์
อยู่ในโลกก็จะมีความสุขเป็นเนื้อแท้ของจิตใจ ถึงแม้ไปเจอความทุกข์เข้าก็ไม่มีปัญหา
ก็สุขได้แม้แต่ในท่ามกลางความทุกข์
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
ไม่ว่าพระพุทธเจ้าจะอุบัติขึ้นหรือไม่ก็ตาม
ความจริงก็ดารงอยู่ตามธรรมดาของมันอย่างเป็นกลางๆ
พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้คือ ค้นพบความจริงนั้นแล้วนามาเปิดเผยไว้
ผู้ที่มองสิ่งทั้งหลายตามที่มันเป็น ไม่ใช่มองตามที่ตนอยากหรือไม่อยากให้มันเป็น ...
จึงจะเข้าใจความจริงที่เป็นกลางนี้ได้
เมื่อเข้าใจธรรมที่เป็นกลางนี้แล้ว ก็ย่อมมองเห็นความจริงอย่างกว้างๆ ครอบคลุมทั่วไปทั้งหมด
มีทัศนะเปิดกว้าง หลุดพ้นเป็นอิสระอย่างแท้จริง
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
พระพุทธเจ้าทรงสอนเรื่อง “ทุกข์” มิใช่เพื่อให้เป็นทุกข์
แต่เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นที่จะดับทุกข์
เพราะทรงรู้ว่า ทุกข์หรือปัญหานั้นเป็นสิ่งที่แก้ไขได้ ดับได้
มิใช่ของเที่ยงแท้แน่นอน
ถ้าดับทุกข์ แก้ปัญหาแล้ว หรือได้สร้างความสามารถในการดับทุกข์
แก้ปัญหาไว้พร้อมแล้ว
ชีวิตก็จะปลอดโปร่งโล่งเบา พบสุขที่แท้จริง
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
อย่ามองอะไรแค่ “ชอบ”กับ”ชัง” ให้มองว่าเราเรียนรู้อะไรจากมันได้บ้าง
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
โลกถูกความแก่และความตายบดขยี้อย่างนี้เอง
ปราชญ์ทั้งหลายรู้เท่าทันกระบวนความเป็นไปของโลกแล้ว จึงไม่เศร้าโศก
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
การอยู่อย่างไม่สูญเสียอิสรภาพ อย่างที่ว่าอยู่อย่างไม่ยึดมั่นถือมั่น
หรือการมีชีวิตอยู่ด้วยปัญญา ถือว่าเป็นการมีชีวิตอยู่อย่างประเสริฐสุด
ตามพุทธภาษิตว่า “ปญฺญาชีวี ชีวิตมาหุ เสฎฐ” (ขุ.สุ.๒๕/๓๑๑/๓๖๐)
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
เมื่อดารงชีวิตอยู่อย่างผู้ไม่รู้เท่าทันสภาวะ
ย่อมถูกฉุดลากให้กระเสือกกระสนกระวนกระวายไป
ตามภาพที่สร้างขึ้นลวงตนเองนั้น เรียกว่า อยู่อย่างเป็นทาส
แต่ผู้รู้เท่าทันสภาวะ ย่อมอยู่อย่างเป็นอิสระ
และสามารถถือเอาประโยชน์จากกฎธรรมดาเหล่านี้ได้
นิพนธ์ของ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
คนเรานี่เวลามีภัยคุกคาม มีทุกข์บีบคั้นก็ลุกขึ้น ดิ้นรนขวนขวาย
พอสุขสบายก็นอนต่อไป พระพุทธศาสนาก็จึงต้องย้าด้วยความไม่ประมาท
เพราะว่า เมื่อสบายแล้วคนโน้มเอียงจะประมาท
ใครทั้งๆ ที่สุขสบายก็ไม่ประมาทได้ก็คนนั้นแหละ เป็นคนที่ปฏิบัติธรรมได้ผล
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
..การเกิดขึ้นแห่งกุศลกรรมเป็นการฉลองวันเกิดที่สมค่าอย่างแท้จริง..
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

More Related Content

Similar to Payutto

Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์math015
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์sofia-m15
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์nurul027
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์saleehah053
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์math015
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้Tawanat Ruamphan
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyleAtivitt Crystalbell
 
ความเฉื่อยในองค์กร
ความเฉื่อยในองค์กรความเฉื่อยในองค์กร
ความเฉื่อยในองค์กรLomony Tempopo
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12PaChArIn27
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1NusaiMath
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1pattamasatun
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Yee022
 

Similar to Payutto (20)

Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyle
 
ความเฉื่อยในองค์กร
ความเฉื่อยในองค์กรความเฉื่อยในองค์กร
ความเฉื่อยในองค์กร
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
ทฤษฎีของเฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

More from MI

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกMI
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกMI
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตMI
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญMI
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนMI
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำMI
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์MI
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙MI
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo larMI
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarmMI
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11MI
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotesMI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20MI
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20MI
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113MI
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112MI
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1MI
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3MI
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2MI
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1MI
 

More from MI (20)

คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโตคำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
คำสอนหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
 
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญคำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
คำสอนหลวงปู่จาม มหาปุญโญ
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
 
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำคำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
คำสอนแม่ชีแก้ว เสียงล้ำ
 
คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์คำสอนบูรพาจารย์
คำสอนบูรพาจารย์
 
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
พระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสของรัชกาลที่๙
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo lar
 
Luangpoo jarm
Luangpoo jarmLuangpoo jarm
Luangpoo jarm
 
Luangta 11
Luangta 11Luangta 11
Luangta 11
 
Buddha's quotes
Buddha's quotesBuddha's quotes
Buddha's quotes
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20Luangpor intawai 20
Luangpor intawai 20
 
Luangpor intawai113
Luangpor intawai113Luangpor intawai113
Luangpor intawai113
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
 
Great dharma masters1
Great dharma masters1Great dharma masters1
Great dharma masters1
 
Luangta mahabua3
Luangta mahabua3Luangta mahabua3
Luangta mahabua3
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
 

Payutto