SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
ชวนถกประเด็นต่ างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้ วิจารณญาณ1

ในระยะ 4-5 ปี ที่ผานมา คาว่า ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารื อ (พัชรี สิโรรส / ชานาญ จันทร์ เรื อง / สมเกียรติ ตังนะโม / พิชญ์
                  ่                                                                                       ้
พงศ์สวัสดิ/์ ไชยันต์ ไชยพร) ประชาธิปไตยแบบร่วมปรึกษาหารื อ (บูฆอรี ยีหมะ) ประชาธิปไตยที่ใช้ วจารณญาณ (ชัยวัฒน์ ถิระ
                                                                                               ิ
พันธุ์) ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารื อ ไตร่ตรองร่วมกัน (เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ) ประชาธิปไตยพลเมือง (พลเดช ปิ่ นประทีป)
ประชาธิปไตยแบบถกแถลง และสนทนาปรึกษาหารื อ (ประภาส ปิ่ นตบแต่ง) ประชาธิปไตยแบบร่ วมไตร่ตรอง (สารานุกรม
ปรัชญาออนไลน์) หรื อที่ในภาษาอังกฤษใช้ คาที่เหมือนกันว่า deliberative democracy นัน ถูกเขียนและกล่าวถึงมากขึ ้น
                                                                                      ้
เรื่ อยๆ โดยเฉพาะในช่วงที่สงคมไทยย่างก้ าวเข้ าสูสงครามกีฬาสี ด้ วยเชื่อว่ากระบวนการพูดคุยของสาธารณะ (ไม่เฉพาะแกน
                           ั                     ่
นาของสีเท่านัน) อย่างพิจารณาใคร่ครวญ (public deliberation) จะช่วยลดช่องว่างความแตกต่างของความคิดความเชื่อได้
               ้

ความสาคัญของประชาธิปไตยในชื่อเรี ยกต่างๆ ข้ างต้ น ตามความเห็นของผม2 ก็คือ ทางเลือกหนึ่งของกระบวนการพัฒนา
ความเป็ นพลเมืองและประชาธิปไตยทางตรง โดยดึงเอาประเด็นปั ญหาส่วนรวม (public issue) เข้ าสูการพิจารณาของปั จเจก
                                                                                                  ่
และต้ องทาการตัดสินใจในฐานะกลุ่มหรื อชุมชน ซึ่งก็มีทงส่วนคล้ ายและแตกต่างไปจากความเห็นของอาจารย์รัฐศาสตร์ จาก
                                                       ั้
สานักต่างๆ เช่น น่าจะเหมาะกับระดับท้ องถิ่น (บูฆอรี ยีหมะ, 2551) เหมาะกับระดับชุมชนและท้ องถิ่น (เอนก เหล่าธรรมทัศน์
2553) เป็ นแนวทางการพัฒนาประชาธิปไตยที่กาลังเป็ นทางเลือกจากประชาธิปไตยแบบตัวแทน (บูฆอรี ยีหมะ 2551, พิชญ์
พงศ์สวัสดิ์ 2549) เป็ นพัฒนาการของประชาธิปไตยรูปแบบใหม่ (พัชรี สิโรรส) ในขณะที่แผนพัฒนาการเมือง ที่จดทาโดย   ั
สถาบันพัฒนาการเมือง (2552 - ซึ่ง อ.พัชรี สิโรรส ก็เป็ นผู้หนึ่งที่มีบทบาทสาคัญในการผลักดันให้ มีการกาหนดเรื่ องนี ้เข้ าไว้ ใน
แผน) ก็ระบุถึง deliberative democracy ให้ ฐานะทางเลือกใหม่ทางการเมืองที่ต้องนาพาสังคมไทยที่ความแตกต่าง
หลากหลายได้ ปรากฏตัวมากยิ่งขึ ้น เดินไปในเส้ นทางนี ้

กล่าวโดยสรุป ผมเห็นว่าเรื่ อง deliberative democracy ได้ มายืนรอเคาะประตูเรี ยกต่อหน้ าสังคมไทยเป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว

อย่างไรก็ดี จากการติดตามอ่านงานเกี่ยวกับประชาธิปไตยที่ใช้ วจารณญาณ หรื อในชื่ออื่นๆ ของ deliberative democracy ใน
                                                                 ิ
ภาคภาษาไทยจากนักวิชาการรัฐศาสตร์ (ซึ่งผมจัดให้ อยู่ในกลุมนักทฤษฎี) ที่มีปรากฏออกมาอย่างต่อเนื่องนัน ผมเห็นว่ามี
                                                               ่                                   ้
ประเด็นที่ชวนให้ ถกเถียงจากมุมความคิดของผม (ในฐานะนักปฏิบตการอยู่บ้าง) จึงขอยกประเด็นเหล่านีขึ ้นมาชวนให้ เกิดการ
                                                                      ัิ                        ้
ถกเถียงเพื่อความเข้ าใจที่กว้ างขวางมากยิ่งขึ ้นเป็ นประเด็นๆ ดังนี ้

1
    วีรบูรณ์ วิสารทสกุล เขียนขึ ้นในโอกาสเกษี ยณอายุครู “เนาวรัตน์ พลายน้ อย” กันยายน 2555. รศ.ดร.เนาวรัตน์ พลายน้ อย ร่วมกับ
คณาจารย์ในสาขาวิชาประชากรศึกษา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ เคยนาเอาแนวคิดและปฏิบติการทาง
                                                                                                      ั
สังคมเรื่ องประชาธิ ปไตยทีใช้ วิจารณญาณ มาใช้ ประโยชน์ในการทางานวิจยเชิงปฏิบติเมือปี พ.ศ. 2551
                          ่                                        ั        ั ่
2
    ในฐานะผู้ที่เคยผ่านการฝึ กอบรมเรื่องนี ้จากมูลนิธิแคเทอริ่ ง (Kettering Foundation) เราได้ รับการบอกเล่าว่า พวกเขาได้ สงเสริ มและ
                                                                                                                           ่
สนับสนุนให้ มีการใช้ กระบวนการนี ้ไปทัวอเมริ กาเพื่อฟื นฟูหวจิตหัวใจของความเป็ นพลเมืองที่เอาธุระกับส่วนรวมให้ กลับมาใหม่อีกครัง
                                      ่                ้ ั                                                                     ้

                                                                                                                                        1
1. ประเด็นเรื่อง ความเห็นพ้ องต้ องกัน หรือ ฉันทามติ (consensus)
มีงานเขียนจากนักวิชาการรัฐศาสตร์ อย่างน้ อยอยู่ 2 ชิ ้น ได้ แก่ งานของ อ.พัชรี สิโรรส อ.ชานาญ จันเรือง ที่ระบุวา ผลผลิตของ
                                                                                                               ่
กระบวนการปรึกษาหารื อ คือ จะได้ ความเห็นพ้ องต้ องกันหรื อฉันทามติ (consensus) แต่ก็เป็ นจุดอ่อนโดยตัวมันเอง เพราะใน
กระบวนการ เราไม่สามารถทาให้ เกิดความเห็นพ้ องต้ องกันได้ เสมอไป

ในประเด็นนี ้ ผมเห็นด้ วยว่าเราไม่สามารถทาให้ เกิดความเห็นพ้ องต้ องกันได้ ในประเด็นปั ญหาสาธารณะอย่างแน่นอน
เนื่องจากประเด็นปั ญหาสาธารณะโดยตัวมันเอง มีลกษณะที่มีความเห็นพ้ องจากผู้เกี่ยวข้ องน้ อย หรื อกล่าวได้ วาผู้เกี่ยวข้ องให้
                                                   ั                                                     ่
ความหมายต่อปั ญหาหรื อปรากฏการณ์ แตกต่างกันออกไปตามมุมมอง ทัศนคติ ซึ่งหากพิจารณาตามรูปกราฟข้ างล่าง3 ปั ญหา
สาธารณะ (พื ้นที่เหนือเส้ นปะ) จะมีลกษณะยุ่งยากที่จะทาความเข้ าใจโครงสร้ างของปั ญหา (complicated) และ ซับซ้ อน-ยุ่ง
                                     ั
เหยิงเกินกว่าจะคาดเดาพฤติกรรมของปั ญหาได้ (complex-chaotic)




แต่ในกระบวนการพิจารณาที่ใช้ วจารณาญาณสาธารณะ (public deliberation) นัน สิงที่นกปฏิบตการแบบผมมองหา คือ
                                  ิ                                              ้ ่ ั   ัิ
ความเห็นร่ วมบางส่วนจากความเห็นที่แตกต่างหลากหลาย หรื อ common ground เท่านัน สิงสาคัญของ ความเห็นร่วม
                                                                                     ้ ่
บางส่วนนัน ชี ้ให้ เห็นว่า “เราสามารถเห็นร่วมกันได้ แม้ วาจุดยืนของเรายังแตกต่างกัน”
         ้                                               ่




3
  กราฟจาก ธี รเดช ฉายอรุ ณ (2555) เอกสารประกอบการสอนวิชา กระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยการวิจย หลักสูตรปริ ญญาเอก สาขาวิชา
                                                                                         ั
ประชากรศึกษา ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
                                                                                                                         2
พื ้นที่ที่มีความเห็น                     ทางเลือก B              ทางเลือก C                           พื ้นที่บางส่วนที่เราเห็นร่วมกัน
   แตกต่างกัน.เราเชื่อบน                   อยู่บนหลักการ B         อยู่บนหลักการ C                        (common ground) ในฐานะ
   หลักการที่ไม่เหมือนกัน..                                                                               ชุมชนหรื อสาธารณะ และการ
   ดังนัน ต่างคนก็ตางไปทา
         ้             ่
                                                                                                          เห็นร่วมกันจะนาไปสูการทา
                                                                                                                             ่
   กิจกรรม หรื อการ
                                                                                                          กิจกรรมเพื่อแก้ ไขปั ญหา
   เคลื่อนไหวตามที่ตนเอง
   เชื่อ                                                   ทางเลือก A                                     ส่วนรวมของคนที่มีจุดยืน
                                                         อยู่บนหลักการ A                                  แตกต่างกัน
                                                                v


หัวใจของการค้ นหาความเห็นร่วมในขณะที่ปัจเจกในนามสาธารณะกาลังไตร่ ตรองปั ญหาส่วนรวมนัน คือ การนาไปสูการลงมือ
                                                                                              ้    ่
ปฏิบตเิ พื่อแก้ ไขปั ญหาสาธารณะรวมกัน ซึ่งเป็ นฟื นฟูการเมืองของภาคประชาชนให้ เกิดขึ ้นนันเอง
     ั                                            ้                                      ่

2. ประเด็นเรื่อง จะเรียกกระบวนการว่ า “ปรึกษาหารือ” หรือ “เสวนา” หรือ “ไตร่ ตรอง”
โดยส่วนใหญ่ของเอกสารภาษาไทย นักวิชาการด้ านรัฐศาสตร์ มกจะใช้ คาเรี ยกว่า “(ร่วม) ปรึกษาหารื อ” มีบางชิ ้นใช้ คาว่า
                                                       ั
“เสวนา” เช่น ประชาเสวนา (citizen dialogue) ส่วนผมเสนอให้ ใช้ คาว่า “พิจารณาไตร่ตรอง” “วิจารณญาณสาธารณะ” หรื อ”
การใคร่ครวญสาธารณะ”

ในทางปฏิบติในกระบวนการที่เราชวนให้ ปัจเจกเข้ ามาสูวงแห่งการพูดคุย วงแห่งการฟั ง การสนทนากับคนอื่นๆ ในประเด็น
          ั                                       ่
ปั ญหาสาธารณะนัน ผมเห็นว่าการปรึกษาหารื อ หรื อเสวนา หรื อ (dialogue) เพื่อความเข้ าอกเข้ าใจในความหลากหลาย ใน
                 ้
ความแตกต่าง เป็ นแค่สวนหนึ่งของกระบวนการเท่านัน
                     ่                          ้

แต่สวนที่มีความสาคัญมากกว่า คือ การได้ ไตร่ตรอง ได้ ใช้ วจารณญาณ ชังน ้าหนัก พิจารณาทางเลือกต่างๆ (options) ที่เป็ น
    ่                                                     ิ            ่
การแก้ ไขปั ญหา พิจารณาข้ อดีข้อเสียของทางเลือกต่างๆ รวมถึง พิจารณาสิงที่ต้องแลกได้ แลกเสีย (trade-off) อย่างรอบคอบ
                                                                           ่
เพราะเมื่อไรก็ตามที่เรื่ องที่เรากาลังพูดคุยและจะหาทางออกเพื่อการแก้ ไขนัน ไม่วาจะเลือกทางเลือกใดเพื่อแก้ ไขปั ญหา ทุกๆ
                                                                         ้     ่
ทางเลือกจะมีผ้ ที่ได้ รับผลกระทบตามมาและมักจะนาไปสูความขัดแย้ ง อีกทังในทุกทางเลือกที่เลือกจะต้ องมีสิ่งที่เราต้ องพร้ อม
               ู                                        ่                    ้
จะแลกได้ แลกเสียเสมอ

แต่น่าเสียดายที่กระบวนการกลุ่มย่อยแบบที่เราคุ้นเคย ไม่ได้ ให้ ความสาคัญ หรื อไม่ได้ กระตุ้นให้ ผ้ เู ข้ าร่ วมในกลุ่มเกิดการคิด
พิจารณาไตร่ตรอง ใช้ วจารณญาณพิจารณาทางเลือกหรื อข้ อเสนอต่างๆ อย่างรอบด้ าน ถ้ วนถี่ ชังน ้าหนักข้ อดี ข้ อเสีย สิงที่แลก
                          ิ                                                                    ่                           ่
ได้ แลกเสียร่วมกับคนอื่นที่ประชุมด้ วยกันอย่างจริงจิง ในวงประชุมเรามักเสนอแนวทางแก้ ไขต่อที่ประชุม แบบที่ผมอยากจะ
เรี ยกว่า “พ่นๆ” สิงที่เตรี ยมจากบ้ านออกมา โดยไม่เคยคิดพิจารณาถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ ้น ที่สาคัญ คือ เสนออกไปโดยไม่คด
                   ่                                                                                                            ิ

                                                                                                                                  3
ว่าต้ องมีสวนรับผิดชอบต่อข้ อเสนออย่างไร กล่าวคือ เสนอเสร็จก็กลับบ้ าน สบายใจ ที่เป็ นเช่นนี ้เพราะชีวตปั จเจกแบบของเรา
           ่                                                                                          ิ
                                         4
ถูกตัดขาดจากเรื่ องส่วนรวมอย่างสิ ้นเชิง

เช่น เหตุการณ์น ้าท่วมในปี ที่แล้ วได้ ข้ อเสนอหนึ่งที่ได้ ยินอยู่บอยๆ คือ การจัดการผังเมืองใหม่ ข้ อเสนอแบบนี หากปฏิบตจริง
                                                                   ่                                           ้      ัิ
ย่อมมีผ้ ได้ รับกระทบที่กว้ างขวาง แต่เราก็เสนอโดยไม่ได้ สนใจว่าใครบ้ างจะได้ รับผลกระทบ แล้ วเขาคิด รู้สกอย่างไร และหาก
          ู                                                                                                 ึ
คนที่ได้ รับผลกระทบเป็ นบ้ านเรา เราจะยังยืนยันในข้ อเสนอนี ้หรื อไม่ เป็ นต้ น

การ “ไตร่ตรอง” “ใคร่ครวญ” หรื อ “ใช้ วจารณญาณ” ที่อยู่ในกระบวนการ จึงถือเป็ นหัวใจสาคัญเพราะ นอกจากจะเป็ นการคิด
                                      ิ
พิจารณาใคร่ครวญกับตัวเองว่าภายใต้ ข้อดี ข้ อเสีย ข้ อขัดแย้ งกับคนอื่นๆ หรื อสิงที่ต้องแลกได้ แลกเสียของทางเลือกต่างๆ เรา
                                                                               ่
จะเลือกทางเลือกใด และเมื่อต้ องปรึกษาหารื อ พูดคุยกับคนอื่นๆ ในวงประชุมที่แต่ละคนก็มีความเชื่อ มีเหตุมีผลต่อการเลือก
ทางเลือกที่แตกต่างกัน เราจะฝ่ าข้ ามความแตกต่างและความขัดแย้ งของทางเลือก โดยหาพื ้นที่บางส่วนที่เห็นร่วมกันได้ อย่างไร

ผมอยากจะย ้าอีกครังว่าในกระบวนการที่เรี ยกว่า deliberation นัน เราไม่ได้ แค่ต้องการการปรึกษาหารื อ ระดมความคิดเห็น
                     ้                                                ้
หรื อแค่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อให้ ได้ ความเห็นพ้ องต้ องกัน แต่เรากาลังต้ องพิจารณาไตร่ ตรอง ใช้ วจารณญาณอย่างถ้ วน
                                                                                                           ิ
ถี่ รอบด้ าน คานึงถึงผลกระทบต่างๆ ที่คนอื่นๆ อาจจะได้ รับ ซึ่งท้ ายที่สดข้ อดีข้อเสีย สิงที่ต้องแลกได้ แลกเสียของแต่ละ
                                                                           ุ             ่
ทางเลือกเพื่อการแก้ ไขปั ญหา จะเป็ นตัวเหนี่ยวรังไม่ให้ เกิดสิงที่เรี ยกว่า ความเห็นพ้ องต้ องกันหรื อฉันทามติ (consensus) ของ
                                                ้             ่
ผู้เข้ าร่วมประชุมแบบ 100% แต่สงที่พอจะเป็ นไปได้ คือ สิงที่เรี ยกว่า ความเห็นร่วมบางส่วน (common ground) ที่ได้ กล่าวถึง
                               ิ่                           ่
ในข้ างต้ น

3.ประเด็นเรื่องผู้เข้ าร่ วมเวที ต้ องเป็ น ตัวแทนกลุ่ม ตัวแทนสาธารณะเพื่อให้ ได้ ความเห็นของสาธารณะที่แท้ จริง
ในงานของ พัชรี สิโรรส (มปป. น.7) ระบุวาเงื่อนไขสาคัญของกระบวนการ deliberation ว่า ผู้เข้ าร่วมในกระบวนการ
                                            ่
จาเป็ นต้ องเป็ นตัวแทนของสาธารณชนโดยทัวไป เพราะให้ เหตุผลว่า “ส่วนรวมที ่มีขนาดใหญ่ มีคนมาร่ วมเป็ นจานวนมาก แต่
                                               ่
พวกเขาเหล่านัน มิได้เป็ นตัวแทนของทุกกลุ่มทีเ่ กี ่ยวข้อง ก็ไม่อาจสะท้อนข้อมูลที ่ว่า ประชาชนต้องการทางเลื อกนโยบายอัน
                 ้
ไหนมากกว่ากัน ในทางตรงกันข้าม ถ้ามีการมีส่วนร่ วมที ่มีขนาดเล็ก แต่เป็ นตัวแทนทีถูกต้อง แม่นยา ย่อมสามารถเป็ นตัว
                                                                                      ่
สะท้อนความต้องการของชุมชนได้ดีกว่า”



4
   ควรต้ องกล่าวไว้ อีกอย่างด้ วยว่าในกระบวนการ public deliberation ที่สงเสริ มโดย Kettering Foundation นัน จะจัดกระบวนการโดยใช้
                                                                        ่                                    ้
เครื่ องมือที่สาคัญอีก 1 อย่าง นันคือ Issue Book ซึงจะช่วยตีกรอบการถกเถียงให้ มีความชัดเจน (framing) ตรึงประเด็นให้ เกิดการใช้
                                 ้                 ่
วิจารณญาณที่ต้องใคร่ครวญอย่างรอบด้ าน เนื่องจากใน issue book นอกจากจะได้ รวบรวมข้ อมูลสาคัญที่ชี ้ให้ เห็นปั ญหาทีชดเจนแล้ ว ยังได้
                                                                                                                          ่ั
ระบุทางเลือกหรื อทางแก้ ไขปั ญหาสาธารณะ 3-4 ทางเลือก ตามฐานคิดความเชื่อและหลักการที่ตางกันซึงจะครอบคลุมหลักคิกของแนว
                                                                                              ่      ่
ทางการแก้ ไขที่คนในสังคมยึดถืออยู่ และ ทางเลือกแต่ละทางเลือก ยังระบุถงข้ อดี ข้ อเสีย ประเด็นที่คนอื่นๆ โต้ แย้ ง ไม่เห็นด้ วย และสิ่งที่ต้อง
                                                                          ึ
แลกได้ แลกเสียหากเลือกทางเลือกนี ้
                                                                                                                                            4
ความข้ างต้ นสะท้ อนให้ เห็นว่า อ.พัชรี ให้ น ้าหนัก กับ ผลผลิตสุดท้ ายในฐานะ “ทางเลือก” ที่ผานการปรึกษาหารื อของภาค
                                                                                             ่
ประชาชนมาแล้ ว อย่างไรก็ตามผมมีเหตุผลที่ต้องแย้ งเพื่อชี ้ว่าไม่มีความจาเป็ นที่ต้องเป็ นตัวแทนใครเพื่อมาเข้ าร่วมวงพูดคุยที่
ใช้ วจารณญาณ กล่าวคือ
     ิ

    1) ผลผลิตที่เป็ น “ทางเลือก” ที่ผานกระบวนการปรึกษาหารื อ หรื อใช้ วจารณญาณใคร่ครวญของประชาชนนัน ถึงที่สด
                                            ่                                   ิ                                   ้     ุ
       เมื่อเป็ นข้ อเสนอไปถึงมือผู้มีอานาจตัดสินใจหรื อรัฐบาล การตัดสินใจอาจเป็ นอีกอย่างที่ไม่สอดคล้ องกับ “ทางเลือก”
       ที่ผานการปรึกษาหารื อ ก็ได้ เพราะการพิจารณาทางเลือกที่เป็ นนโยบายสาธารณะนัน มีเรื่ องของผู้ที่เกี่ยวข้ องที่เป็ น
            ่                                                                                      ้
       เหตุให้ การออกนโยบายเฉไปอีกทางหนึ่งก็เกิดขึ ้นเป็ นประจา
                      ทางออกต่อเรื่ องนี ้ ข้ อเสนอที่เสนอต่อรัฐบาลนัน จึงควรเน้ นให้ เห็น น ้าหนักการตัดสินใจของประชาชน ใน
                                                                     ้
       ทุกทางเลือกว่าแต่ละทางเลือกประชาชนที่เข้ าร่วมในเวทีปรึกษาหารื อ หรื อใช้ วจารณญาณนัน ให้ น ้าหนักมากน้ อย
                                                                                               ิ          ้
       ต่างกันอย่างไร และที่สาคัญที่สด ในข้ อเสนอนัน ต้ องบรรจุไว้ ด้วย ข้ อห่วงใย ข้ อกังวล ข้ อขัดแย้ งระหว่างทางเลือก
                                               ุ             ้
       ต่างๆ สิงหรื อประเด็นที่ประชาชนจะไม่ยอมรับหากมีการตัดสินใจใช้ ทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง สิงเหล่านี ้ที่ปรากฏอยู่
                  ่                                                                                          ่
       ในข้ อเสนอต่างหาก ที่จะทาให้ การตัดสินใจกาหนดนโยบายสาธารณะของรัฐบาลมีความรอบครอบและรัดกุมมาก
       ยิ่งขึ ้น เมื่อเป็ นเช่นนี ้ ทางเลือกในฐานะผลผลิตจากตัวแทนสาธารณะจึงไม่ใช่สงจาเป็ น  ิ่

    2) เมื่อผลผลิตสุดท้ ายที่เป็ นทางเลือกที่จะนาเสนอต่อรัฐบาลเป็ นสิงที่เราควบคุมไม่ได้ ว่ารัฐบาลจะนาข้ อเสนอไป
                                                                        ่
       ดาเนินการมากน้ อยเพียงใด เราจึงควรให้ นาหนัก ทุ่มเทไปสูสงที่พวกเราจะควบคุมได้ นันคือ การค้ นหา “ความเห็น
                                                  ้             ่ ิ่                           ่
       ร่วมเพียงบางส่วน” (common ground) ที่จะนาไปสูการปฏิบตการร่วมกันของผู้คนที่เข้ าร่วมอยู่ในวงพูดคุยที่ใช้
                                                          ่          ัิ
       วิจารณญาณ

จากเหตุผลข้ างต้ น ตามความเห็นของผม ผู้ที่เข้ าร่ วมในกระบวนการหารื อ จึงเป็ นใครก็ได้ ไม่จาเป็ นต้ องเป็ นตัวแทนกลุมหรื อ
                                                                                                                    ่
ตัวแทนสาธารณะ ผมไม่อยากให้ ลืมว่าเรากาลังชวนกันก้ าวให้ พ้น “ความเป็ นตัวแทน” มาสู่ “ความเป็ นตัวจริง” แต่เป็ นผู้คน
ธรรมดาที่ห่วงใยในปั ญหาส่วนรวม ปั ญหาสาธารณะ และพร้ อมจะลงมือปฏิบตการร่วมกันกับคนอื่นๆ ในนามกลุม / ชุมชน /
                                                                            ัิ                                  ่
สาธารณะ เพื่อแก้ ไขปั ญหาโดยไม่รอรัฐส่วนกลาง หรื อรัฐท้ องถิ่นอีกต่อไป นันจึงทาให้ งานส่งเสริมสนับสนุนเรื่ อง deliberative
                                                                          ่
democracy ของ Kettering Foundation เน้ นว่า ผู้ที่เข้ าร่วมในเวทีควรเป็ นพลเมืองที่ตื่นรู้ ใส่ใจปั ญหาสาธารณะ มากกว่าเป็ น
ตัวแทนของใคร

นอกจากประเด็นข้ างต้ นแล้ ว นักวิชาการด้ านรัฐศาสาสตร์ ยงมีความเชื่อว่า ประชาธิปไตยที่ใช้ วจารญาณ เป็ นการพูดคุย
                                                         ั                                 ิ
ปรึกษาหารื อและจะยุตกนด้ วยเหตุด้วยผล ด้ วยข้ อมูล ข้ อเท็จจริง แต่ในมุมมองของผู้ปฏิบตการ หลักเหตุผลเพียงอย่างเดียว
                       ิั                                                            ั ิ
มักจะนาไปสู่ข้อขัดแย้ งเสมอ

สิงสาคัญที่อยู่เหนือเหตุผลและต้ องสร้ างให้ เกิดขึ ้นในกระบวนการ ก่อนการพูดคุยด้ วยเหตุและผล คือ ความเข้ าใจ ความเห็นอก
  ่
เห็นใจในเพื่อนมนุษย์ ที่ผานประสบการณ์และได้ รับผลกระทบที่แตกต่างจากเรา ผลกระทบจากปั ญหาที่เกิดขึ ้นกับแต่ละคน มี
                         ่
                                                                                                                                5
ส่วนหล่อหลอมให้ เราเลือกทางเลือก เลือกข้ อเสนอในการแก้ ไขปั ญหาที่แตกต่างกันออกไป การใช้ เหตุผลที่อยู่ฐานความเข้ าใจ
และตระหนักถึงความแตกต่างเช่นนี ้ต่างหากจะสามารถช่วยให้ เราก้ าวข้ ามความขัดแย้ งของทางเลือกต่างๆ ไปได้

ผมขอจบบทความนี ้ โดยยกเอาคาคมของครูที่สอนเรื่ อง public deliberation ให้ กบผม ซึ่งเขามักเน้ นย ้าบอกกับผู้เข้ าร่ วม
                                                                          ั
ฝึ กอบรมเชิงปฏิบตการเสมอๆ ว่า
                ัิ
                         Public Deliberation does not change the way people think.
                       It does change the way people think about other people think



                                                     เอกสารอ้ างอิง

ไชยันต์ ไชยพร (2549) แนวคิด "Deliberative Democracy and Deliberative Polls" (1 และ 2) ใน ร้ อยแปดวิถีทศน์ :
                                                                                                      ั
กรุงเทพธุรกิจ วันจันทร์ ที่ 20 พฤศจิกายน และ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ตามลาดับ
http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q4/2006november20p7.htm

ธีรเดช ฉายอรุณ (2555) เอกสารประกอบการสอนวิชา กระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยการวิจย หลักสูตรปริ ญญาเอก
                                                                             ั
สาขาวิชาประชากรศึกษา ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

บูฆอรี ยีหมะ (2551) “การบริหารจัดการท้ องถิ่นด้ วยแนวคิดประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารื อ,” วารสารพัฒนาท้ องถิ่น
(มิถนายน-กันยายน 2551): 11-24.
    ุ

พิชญ์ พงศ์สวัสดิ์ (2549) “ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารื อ : บททดลองเสนอ” http://www.onopen.com/node/3708

พัชรี สิโรรส (มปป.) “การเสริ มสร้ างประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารื อ ”
http://www.polsci.chula.ac.th/prapart/การเมืองภาคประชาชน 14022551/ประชาธิปไตยทางตรง
11022551/deliberative_democracy_24_08_07.pdf

เอนก เหล่าธรรมทัศน์ (2553) ประชาธิปไตยชุมชน รั ฐศาสตร์ สาหรับสภาองค์ กรชุมชน. สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน

เนาวรัตน์ พลายน้ อย (บรรณาธิการ)(2551) เครื่องมือทางสังคมเพื่อการเรียนรู้ในบริบทเปลี่ยนผ่ าน : ชุดความรู้
ขับเคลื่อนประเด็นสาธารณะ (Issue Book) . กรุงเทพฯ: พี.เอ. ลีฟวิง.


                                                                                                                       6

Contenu connexe

Similaire à ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ

9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691CUPress
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบsivapong klongpanich
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านprincess Thirteenpai
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1Prapaporn Boonplord
 

Similaire à ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ (20)

9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
วิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบวิธีคิดกระบวนระบบ
วิธีคิดกระบวนระบบ
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Innovation & creativity
Innovation & creativityInnovation & creativity
Innovation & creativity
 
Communication skill
Communication skillCommunication skill
Communication skill
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ภาษากับการคิด
ภาษากับการคิดภาษากับการคิด
ภาษากับการคิด
 
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
 

Plus de weeraboon wisartsakul

ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.weeraboon wisartsakul
 
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตยภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตยweeraboon wisartsakul
 
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...weeraboon wisartsakul
 
จำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจนจำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจนweeraboon wisartsakul
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบweeraboon wisartsakul
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยweeraboon wisartsakul
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยweeraboon wisartsakul
 
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการการจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการweeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกweeraboon wisartsakul
 
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูลความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูลweeraboon wisartsakul
 
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อนคู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อนweeraboon wisartsakul
 

Plus de weeraboon wisartsakul (14)

ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
 
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตยภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
 
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
 
จำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจนจำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจน
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการการจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรก
 
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูลความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
 
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อนคู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
 

ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ

  • 1. ชวนถกประเด็นต่ างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้ วิจารณญาณ1 ในระยะ 4-5 ปี ที่ผานมา คาว่า ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารื อ (พัชรี สิโรรส / ชานาญ จันทร์ เรื อง / สมเกียรติ ตังนะโม / พิชญ์ ่ ้ พงศ์สวัสดิ/์ ไชยันต์ ไชยพร) ประชาธิปไตยแบบร่วมปรึกษาหารื อ (บูฆอรี ยีหมะ) ประชาธิปไตยที่ใช้ วจารณญาณ (ชัยวัฒน์ ถิระ ิ พันธุ์) ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารื อ ไตร่ตรองร่วมกัน (เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ) ประชาธิปไตยพลเมือง (พลเดช ปิ่ นประทีป) ประชาธิปไตยแบบถกแถลง และสนทนาปรึกษาหารื อ (ประภาส ปิ่ นตบแต่ง) ประชาธิปไตยแบบร่ วมไตร่ตรอง (สารานุกรม ปรัชญาออนไลน์) หรื อที่ในภาษาอังกฤษใช้ คาที่เหมือนกันว่า deliberative democracy นัน ถูกเขียนและกล่าวถึงมากขึ ้น ้ เรื่ อยๆ โดยเฉพาะในช่วงที่สงคมไทยย่างก้ าวเข้ าสูสงครามกีฬาสี ด้ วยเชื่อว่ากระบวนการพูดคุยของสาธารณะ (ไม่เฉพาะแกน ั ่ นาของสีเท่านัน) อย่างพิจารณาใคร่ครวญ (public deliberation) จะช่วยลดช่องว่างความแตกต่างของความคิดความเชื่อได้ ้ ความสาคัญของประชาธิปไตยในชื่อเรี ยกต่างๆ ข้ างต้ น ตามความเห็นของผม2 ก็คือ ทางเลือกหนึ่งของกระบวนการพัฒนา ความเป็ นพลเมืองและประชาธิปไตยทางตรง โดยดึงเอาประเด็นปั ญหาส่วนรวม (public issue) เข้ าสูการพิจารณาของปั จเจก ่ และต้ องทาการตัดสินใจในฐานะกลุ่มหรื อชุมชน ซึ่งก็มีทงส่วนคล้ ายและแตกต่างไปจากความเห็นของอาจารย์รัฐศาสตร์ จาก ั้ สานักต่างๆ เช่น น่าจะเหมาะกับระดับท้ องถิ่น (บูฆอรี ยีหมะ, 2551) เหมาะกับระดับชุมชนและท้ องถิ่น (เอนก เหล่าธรรมทัศน์ 2553) เป็ นแนวทางการพัฒนาประชาธิปไตยที่กาลังเป็ นทางเลือกจากประชาธิปไตยแบบตัวแทน (บูฆอรี ยีหมะ 2551, พิชญ์ พงศ์สวัสดิ์ 2549) เป็ นพัฒนาการของประชาธิปไตยรูปแบบใหม่ (พัชรี สิโรรส) ในขณะที่แผนพัฒนาการเมือง ที่จดทาโดย ั สถาบันพัฒนาการเมือง (2552 - ซึ่ง อ.พัชรี สิโรรส ก็เป็ นผู้หนึ่งที่มีบทบาทสาคัญในการผลักดันให้ มีการกาหนดเรื่ องนี ้เข้ าไว้ ใน แผน) ก็ระบุถึง deliberative democracy ให้ ฐานะทางเลือกใหม่ทางการเมืองที่ต้องนาพาสังคมไทยที่ความแตกต่าง หลากหลายได้ ปรากฏตัวมากยิ่งขึ ้น เดินไปในเส้ นทางนี ้ กล่าวโดยสรุป ผมเห็นว่าเรื่ อง deliberative democracy ได้ มายืนรอเคาะประตูเรี ยกต่อหน้ าสังคมไทยเป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ ว อย่างไรก็ดี จากการติดตามอ่านงานเกี่ยวกับประชาธิปไตยที่ใช้ วจารณญาณ หรื อในชื่ออื่นๆ ของ deliberative democracy ใน ิ ภาคภาษาไทยจากนักวิชาการรัฐศาสตร์ (ซึ่งผมจัดให้ อยู่ในกลุมนักทฤษฎี) ที่มีปรากฏออกมาอย่างต่อเนื่องนัน ผมเห็นว่ามี ่ ้ ประเด็นที่ชวนให้ ถกเถียงจากมุมความคิดของผม (ในฐานะนักปฏิบตการอยู่บ้าง) จึงขอยกประเด็นเหล่านีขึ ้นมาชวนให้ เกิดการ ัิ ้ ถกเถียงเพื่อความเข้ าใจที่กว้ างขวางมากยิ่งขึ ้นเป็ นประเด็นๆ ดังนี ้ 1 วีรบูรณ์ วิสารทสกุล เขียนขึ ้นในโอกาสเกษี ยณอายุครู “เนาวรัตน์ พลายน้ อย” กันยายน 2555. รศ.ดร.เนาวรัตน์ พลายน้ อย ร่วมกับ คณาจารย์ในสาขาวิชาประชากรศึกษา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ เคยนาเอาแนวคิดและปฏิบติการทาง ั สังคมเรื่ องประชาธิ ปไตยทีใช้ วิจารณญาณ มาใช้ ประโยชน์ในการทางานวิจยเชิงปฏิบติเมือปี พ.ศ. 2551 ่ ั ั ่ 2 ในฐานะผู้ที่เคยผ่านการฝึ กอบรมเรื่องนี ้จากมูลนิธิแคเทอริ่ ง (Kettering Foundation) เราได้ รับการบอกเล่าว่า พวกเขาได้ สงเสริ มและ ่ สนับสนุนให้ มีการใช้ กระบวนการนี ้ไปทัวอเมริ กาเพื่อฟื นฟูหวจิตหัวใจของความเป็ นพลเมืองที่เอาธุระกับส่วนรวมให้ กลับมาใหม่อีกครัง ่ ้ ั ้ 1
  • 2. 1. ประเด็นเรื่อง ความเห็นพ้ องต้ องกัน หรือ ฉันทามติ (consensus) มีงานเขียนจากนักวิชาการรัฐศาสตร์ อย่างน้ อยอยู่ 2 ชิ ้น ได้ แก่ งานของ อ.พัชรี สิโรรส อ.ชานาญ จันเรือง ที่ระบุวา ผลผลิตของ ่ กระบวนการปรึกษาหารื อ คือ จะได้ ความเห็นพ้ องต้ องกันหรื อฉันทามติ (consensus) แต่ก็เป็ นจุดอ่อนโดยตัวมันเอง เพราะใน กระบวนการ เราไม่สามารถทาให้ เกิดความเห็นพ้ องต้ องกันได้ เสมอไป ในประเด็นนี ้ ผมเห็นด้ วยว่าเราไม่สามารถทาให้ เกิดความเห็นพ้ องต้ องกันได้ ในประเด็นปั ญหาสาธารณะอย่างแน่นอน เนื่องจากประเด็นปั ญหาสาธารณะโดยตัวมันเอง มีลกษณะที่มีความเห็นพ้ องจากผู้เกี่ยวข้ องน้ อย หรื อกล่าวได้ วาผู้เกี่ยวข้ องให้ ั ่ ความหมายต่อปั ญหาหรื อปรากฏการณ์ แตกต่างกันออกไปตามมุมมอง ทัศนคติ ซึ่งหากพิจารณาตามรูปกราฟข้ างล่าง3 ปั ญหา สาธารณะ (พื ้นที่เหนือเส้ นปะ) จะมีลกษณะยุ่งยากที่จะทาความเข้ าใจโครงสร้ างของปั ญหา (complicated) และ ซับซ้ อน-ยุ่ง ั เหยิงเกินกว่าจะคาดเดาพฤติกรรมของปั ญหาได้ (complex-chaotic) แต่ในกระบวนการพิจารณาที่ใช้ วจารณาญาณสาธารณะ (public deliberation) นัน สิงที่นกปฏิบตการแบบผมมองหา คือ ิ ้ ่ ั ัิ ความเห็นร่ วมบางส่วนจากความเห็นที่แตกต่างหลากหลาย หรื อ common ground เท่านัน สิงสาคัญของ ความเห็นร่วม ้ ่ บางส่วนนัน ชี ้ให้ เห็นว่า “เราสามารถเห็นร่วมกันได้ แม้ วาจุดยืนของเรายังแตกต่างกัน” ้ ่ 3 กราฟจาก ธี รเดช ฉายอรุ ณ (2555) เอกสารประกอบการสอนวิชา กระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยการวิจย หลักสูตรปริ ญญาเอก สาขาวิชา ั ประชากรศึกษา ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2
  • 3. พื ้นที่ที่มีความเห็น ทางเลือก B ทางเลือก C พื ้นที่บางส่วนที่เราเห็นร่วมกัน แตกต่างกัน.เราเชื่อบน อยู่บนหลักการ B อยู่บนหลักการ C (common ground) ในฐานะ หลักการที่ไม่เหมือนกัน.. ชุมชนหรื อสาธารณะ และการ ดังนัน ต่างคนก็ตางไปทา ้ ่ เห็นร่วมกันจะนาไปสูการทา ่ กิจกรรม หรื อการ กิจกรรมเพื่อแก้ ไขปั ญหา เคลื่อนไหวตามที่ตนเอง เชื่อ ทางเลือก A ส่วนรวมของคนที่มีจุดยืน อยู่บนหลักการ A แตกต่างกัน v หัวใจของการค้ นหาความเห็นร่วมในขณะที่ปัจเจกในนามสาธารณะกาลังไตร่ ตรองปั ญหาส่วนรวมนัน คือ การนาไปสูการลงมือ ้ ่ ปฏิบตเิ พื่อแก้ ไขปั ญหาสาธารณะรวมกัน ซึ่งเป็ นฟื นฟูการเมืองของภาคประชาชนให้ เกิดขึ ้นนันเอง ั ้ ่ 2. ประเด็นเรื่อง จะเรียกกระบวนการว่ า “ปรึกษาหารือ” หรือ “เสวนา” หรือ “ไตร่ ตรอง” โดยส่วนใหญ่ของเอกสารภาษาไทย นักวิชาการด้ านรัฐศาสตร์ มกจะใช้ คาเรี ยกว่า “(ร่วม) ปรึกษาหารื อ” มีบางชิ ้นใช้ คาว่า ั “เสวนา” เช่น ประชาเสวนา (citizen dialogue) ส่วนผมเสนอให้ ใช้ คาว่า “พิจารณาไตร่ตรอง” “วิจารณญาณสาธารณะ” หรื อ” การใคร่ครวญสาธารณะ” ในทางปฏิบติในกระบวนการที่เราชวนให้ ปัจเจกเข้ ามาสูวงแห่งการพูดคุย วงแห่งการฟั ง การสนทนากับคนอื่นๆ ในประเด็น ั ่ ปั ญหาสาธารณะนัน ผมเห็นว่าการปรึกษาหารื อ หรื อเสวนา หรื อ (dialogue) เพื่อความเข้ าอกเข้ าใจในความหลากหลาย ใน ้ ความแตกต่าง เป็ นแค่สวนหนึ่งของกระบวนการเท่านัน ่ ้ แต่สวนที่มีความสาคัญมากกว่า คือ การได้ ไตร่ตรอง ได้ ใช้ วจารณญาณ ชังน ้าหนัก พิจารณาทางเลือกต่างๆ (options) ที่เป็ น ่ ิ ่ การแก้ ไขปั ญหา พิจารณาข้ อดีข้อเสียของทางเลือกต่างๆ รวมถึง พิจารณาสิงที่ต้องแลกได้ แลกเสีย (trade-off) อย่างรอบคอบ ่ เพราะเมื่อไรก็ตามที่เรื่ องที่เรากาลังพูดคุยและจะหาทางออกเพื่อการแก้ ไขนัน ไม่วาจะเลือกทางเลือกใดเพื่อแก้ ไขปั ญหา ทุกๆ ้ ่ ทางเลือกจะมีผ้ ที่ได้ รับผลกระทบตามมาและมักจะนาไปสูความขัดแย้ ง อีกทังในทุกทางเลือกที่เลือกจะต้ องมีสิ่งที่เราต้ องพร้ อม ู ่ ้ จะแลกได้ แลกเสียเสมอ แต่น่าเสียดายที่กระบวนการกลุ่มย่อยแบบที่เราคุ้นเคย ไม่ได้ ให้ ความสาคัญ หรื อไม่ได้ กระตุ้นให้ ผ้ เู ข้ าร่ วมในกลุ่มเกิดการคิด พิจารณาไตร่ตรอง ใช้ วจารณญาณพิจารณาทางเลือกหรื อข้ อเสนอต่างๆ อย่างรอบด้ าน ถ้ วนถี่ ชังน ้าหนักข้ อดี ข้ อเสีย สิงที่แลก ิ ่ ่ ได้ แลกเสียร่วมกับคนอื่นที่ประชุมด้ วยกันอย่างจริงจิง ในวงประชุมเรามักเสนอแนวทางแก้ ไขต่อที่ประชุม แบบที่ผมอยากจะ เรี ยกว่า “พ่นๆ” สิงที่เตรี ยมจากบ้ านออกมา โดยไม่เคยคิดพิจารณาถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ ้น ที่สาคัญ คือ เสนออกไปโดยไม่คด ่ ิ 3
  • 4. ว่าต้ องมีสวนรับผิดชอบต่อข้ อเสนออย่างไร กล่าวคือ เสนอเสร็จก็กลับบ้ าน สบายใจ ที่เป็ นเช่นนี ้เพราะชีวตปั จเจกแบบของเรา ่ ิ 4 ถูกตัดขาดจากเรื่ องส่วนรวมอย่างสิ ้นเชิง เช่น เหตุการณ์น ้าท่วมในปี ที่แล้ วได้ ข้ อเสนอหนึ่งที่ได้ ยินอยู่บอยๆ คือ การจัดการผังเมืองใหม่ ข้ อเสนอแบบนี หากปฏิบตจริง ่ ้ ัิ ย่อมมีผ้ ได้ รับกระทบที่กว้ างขวาง แต่เราก็เสนอโดยไม่ได้ สนใจว่าใครบ้ างจะได้ รับผลกระทบ แล้ วเขาคิด รู้สกอย่างไร และหาก ู ึ คนที่ได้ รับผลกระทบเป็ นบ้ านเรา เราจะยังยืนยันในข้ อเสนอนี ้หรื อไม่ เป็ นต้ น การ “ไตร่ตรอง” “ใคร่ครวญ” หรื อ “ใช้ วจารณญาณ” ที่อยู่ในกระบวนการ จึงถือเป็ นหัวใจสาคัญเพราะ นอกจากจะเป็ นการคิด ิ พิจารณาใคร่ครวญกับตัวเองว่าภายใต้ ข้อดี ข้ อเสีย ข้ อขัดแย้ งกับคนอื่นๆ หรื อสิงที่ต้องแลกได้ แลกเสียของทางเลือกต่างๆ เรา ่ จะเลือกทางเลือกใด และเมื่อต้ องปรึกษาหารื อ พูดคุยกับคนอื่นๆ ในวงประชุมที่แต่ละคนก็มีความเชื่อ มีเหตุมีผลต่อการเลือก ทางเลือกที่แตกต่างกัน เราจะฝ่ าข้ ามความแตกต่างและความขัดแย้ งของทางเลือก โดยหาพื ้นที่บางส่วนที่เห็นร่วมกันได้ อย่างไร ผมอยากจะย ้าอีกครังว่าในกระบวนการที่เรี ยกว่า deliberation นัน เราไม่ได้ แค่ต้องการการปรึกษาหารื อ ระดมความคิดเห็น ้ ้ หรื อแค่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อให้ ได้ ความเห็นพ้ องต้ องกัน แต่เรากาลังต้ องพิจารณาไตร่ ตรอง ใช้ วจารณญาณอย่างถ้ วน ิ ถี่ รอบด้ าน คานึงถึงผลกระทบต่างๆ ที่คนอื่นๆ อาจจะได้ รับ ซึ่งท้ ายที่สดข้ อดีข้อเสีย สิงที่ต้องแลกได้ แลกเสียของแต่ละ ุ ่ ทางเลือกเพื่อการแก้ ไขปั ญหา จะเป็ นตัวเหนี่ยวรังไม่ให้ เกิดสิงที่เรี ยกว่า ความเห็นพ้ องต้ องกันหรื อฉันทามติ (consensus) ของ ้ ่ ผู้เข้ าร่วมประชุมแบบ 100% แต่สงที่พอจะเป็ นไปได้ คือ สิงที่เรี ยกว่า ความเห็นร่วมบางส่วน (common ground) ที่ได้ กล่าวถึง ิ่ ่ ในข้ างต้ น 3.ประเด็นเรื่องผู้เข้ าร่ วมเวที ต้ องเป็ น ตัวแทนกลุ่ม ตัวแทนสาธารณะเพื่อให้ ได้ ความเห็นของสาธารณะที่แท้ จริง ในงานของ พัชรี สิโรรส (มปป. น.7) ระบุวาเงื่อนไขสาคัญของกระบวนการ deliberation ว่า ผู้เข้ าร่วมในกระบวนการ ่ จาเป็ นต้ องเป็ นตัวแทนของสาธารณชนโดยทัวไป เพราะให้ เหตุผลว่า “ส่วนรวมที ่มีขนาดใหญ่ มีคนมาร่ วมเป็ นจานวนมาก แต่ ่ พวกเขาเหล่านัน มิได้เป็ นตัวแทนของทุกกลุ่มทีเ่ กี ่ยวข้อง ก็ไม่อาจสะท้อนข้อมูลที ่ว่า ประชาชนต้องการทางเลื อกนโยบายอัน ้ ไหนมากกว่ากัน ในทางตรงกันข้าม ถ้ามีการมีส่วนร่ วมที ่มีขนาดเล็ก แต่เป็ นตัวแทนทีถูกต้อง แม่นยา ย่อมสามารถเป็ นตัว ่ สะท้อนความต้องการของชุมชนได้ดีกว่า” 4 ควรต้ องกล่าวไว้ อีกอย่างด้ วยว่าในกระบวนการ public deliberation ที่สงเสริ มโดย Kettering Foundation นัน จะจัดกระบวนการโดยใช้ ่ ้ เครื่ องมือที่สาคัญอีก 1 อย่าง นันคือ Issue Book ซึงจะช่วยตีกรอบการถกเถียงให้ มีความชัดเจน (framing) ตรึงประเด็นให้ เกิดการใช้ ้ ่ วิจารณญาณที่ต้องใคร่ครวญอย่างรอบด้ าน เนื่องจากใน issue book นอกจากจะได้ รวบรวมข้ อมูลสาคัญที่ชี ้ให้ เห็นปั ญหาทีชดเจนแล้ ว ยังได้ ่ั ระบุทางเลือกหรื อทางแก้ ไขปั ญหาสาธารณะ 3-4 ทางเลือก ตามฐานคิดความเชื่อและหลักการที่ตางกันซึงจะครอบคลุมหลักคิกของแนว ่ ่ ทางการแก้ ไขที่คนในสังคมยึดถืออยู่ และ ทางเลือกแต่ละทางเลือก ยังระบุถงข้ อดี ข้ อเสีย ประเด็นที่คนอื่นๆ โต้ แย้ ง ไม่เห็นด้ วย และสิ่งที่ต้อง ึ แลกได้ แลกเสียหากเลือกทางเลือกนี ้ 4
  • 5. ความข้ างต้ นสะท้ อนให้ เห็นว่า อ.พัชรี ให้ น ้าหนัก กับ ผลผลิตสุดท้ ายในฐานะ “ทางเลือก” ที่ผานการปรึกษาหารื อของภาค ่ ประชาชนมาแล้ ว อย่างไรก็ตามผมมีเหตุผลที่ต้องแย้ งเพื่อชี ้ว่าไม่มีความจาเป็ นที่ต้องเป็ นตัวแทนใครเพื่อมาเข้ าร่วมวงพูดคุยที่ ใช้ วจารณญาณ กล่าวคือ ิ 1) ผลผลิตที่เป็ น “ทางเลือก” ที่ผานกระบวนการปรึกษาหารื อ หรื อใช้ วจารณญาณใคร่ครวญของประชาชนนัน ถึงที่สด ่ ิ ้ ุ เมื่อเป็ นข้ อเสนอไปถึงมือผู้มีอานาจตัดสินใจหรื อรัฐบาล การตัดสินใจอาจเป็ นอีกอย่างที่ไม่สอดคล้ องกับ “ทางเลือก” ที่ผานการปรึกษาหารื อ ก็ได้ เพราะการพิจารณาทางเลือกที่เป็ นนโยบายสาธารณะนัน มีเรื่ องของผู้ที่เกี่ยวข้ องที่เป็ น ่ ้ เหตุให้ การออกนโยบายเฉไปอีกทางหนึ่งก็เกิดขึ ้นเป็ นประจา ทางออกต่อเรื่ องนี ้ ข้ อเสนอที่เสนอต่อรัฐบาลนัน จึงควรเน้ นให้ เห็น น ้าหนักการตัดสินใจของประชาชน ใน ้ ทุกทางเลือกว่าแต่ละทางเลือกประชาชนที่เข้ าร่วมในเวทีปรึกษาหารื อ หรื อใช้ วจารณญาณนัน ให้ น ้าหนักมากน้ อย ิ ้ ต่างกันอย่างไร และที่สาคัญที่สด ในข้ อเสนอนัน ต้ องบรรจุไว้ ด้วย ข้ อห่วงใย ข้ อกังวล ข้ อขัดแย้ งระหว่างทางเลือก ุ ้ ต่างๆ สิงหรื อประเด็นที่ประชาชนจะไม่ยอมรับหากมีการตัดสินใจใช้ ทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง สิงเหล่านี ้ที่ปรากฏอยู่ ่ ่ ในข้ อเสนอต่างหาก ที่จะทาให้ การตัดสินใจกาหนดนโยบายสาธารณะของรัฐบาลมีความรอบครอบและรัดกุมมาก ยิ่งขึ ้น เมื่อเป็ นเช่นนี ้ ทางเลือกในฐานะผลผลิตจากตัวแทนสาธารณะจึงไม่ใช่สงจาเป็ น ิ่ 2) เมื่อผลผลิตสุดท้ ายที่เป็ นทางเลือกที่จะนาเสนอต่อรัฐบาลเป็ นสิงที่เราควบคุมไม่ได้ ว่ารัฐบาลจะนาข้ อเสนอไป ่ ดาเนินการมากน้ อยเพียงใด เราจึงควรให้ นาหนัก ทุ่มเทไปสูสงที่พวกเราจะควบคุมได้ นันคือ การค้ นหา “ความเห็น ้ ่ ิ่ ่ ร่วมเพียงบางส่วน” (common ground) ที่จะนาไปสูการปฏิบตการร่วมกันของผู้คนที่เข้ าร่วมอยู่ในวงพูดคุยที่ใช้ ่ ัิ วิจารณญาณ จากเหตุผลข้ างต้ น ตามความเห็นของผม ผู้ที่เข้ าร่ วมในกระบวนการหารื อ จึงเป็ นใครก็ได้ ไม่จาเป็ นต้ องเป็ นตัวแทนกลุมหรื อ ่ ตัวแทนสาธารณะ ผมไม่อยากให้ ลืมว่าเรากาลังชวนกันก้ าวให้ พ้น “ความเป็ นตัวแทน” มาสู่ “ความเป็ นตัวจริง” แต่เป็ นผู้คน ธรรมดาที่ห่วงใยในปั ญหาส่วนรวม ปั ญหาสาธารณะ และพร้ อมจะลงมือปฏิบตการร่วมกันกับคนอื่นๆ ในนามกลุม / ชุมชน / ัิ ่ สาธารณะ เพื่อแก้ ไขปั ญหาโดยไม่รอรัฐส่วนกลาง หรื อรัฐท้ องถิ่นอีกต่อไป นันจึงทาให้ งานส่งเสริมสนับสนุนเรื่ อง deliberative ่ democracy ของ Kettering Foundation เน้ นว่า ผู้ที่เข้ าร่วมในเวทีควรเป็ นพลเมืองที่ตื่นรู้ ใส่ใจปั ญหาสาธารณะ มากกว่าเป็ น ตัวแทนของใคร นอกจากประเด็นข้ างต้ นแล้ ว นักวิชาการด้ านรัฐศาสาสตร์ ยงมีความเชื่อว่า ประชาธิปไตยที่ใช้ วจารญาณ เป็ นการพูดคุย ั ิ ปรึกษาหารื อและจะยุตกนด้ วยเหตุด้วยผล ด้ วยข้ อมูล ข้ อเท็จจริง แต่ในมุมมองของผู้ปฏิบตการ หลักเหตุผลเพียงอย่างเดียว ิั ั ิ มักจะนาไปสู่ข้อขัดแย้ งเสมอ สิงสาคัญที่อยู่เหนือเหตุผลและต้ องสร้ างให้ เกิดขึ ้นในกระบวนการ ก่อนการพูดคุยด้ วยเหตุและผล คือ ความเข้ าใจ ความเห็นอก ่ เห็นใจในเพื่อนมนุษย์ ที่ผานประสบการณ์และได้ รับผลกระทบที่แตกต่างจากเรา ผลกระทบจากปั ญหาที่เกิดขึ ้นกับแต่ละคน มี ่ 5
  • 6. ส่วนหล่อหลอมให้ เราเลือกทางเลือก เลือกข้ อเสนอในการแก้ ไขปั ญหาที่แตกต่างกันออกไป การใช้ เหตุผลที่อยู่ฐานความเข้ าใจ และตระหนักถึงความแตกต่างเช่นนี ้ต่างหากจะสามารถช่วยให้ เราก้ าวข้ ามความขัดแย้ งของทางเลือกต่างๆ ไปได้ ผมขอจบบทความนี ้ โดยยกเอาคาคมของครูที่สอนเรื่ อง public deliberation ให้ กบผม ซึ่งเขามักเน้ นย ้าบอกกับผู้เข้ าร่ วม ั ฝึ กอบรมเชิงปฏิบตการเสมอๆ ว่า ัิ Public Deliberation does not change the way people think. It does change the way people think about other people think เอกสารอ้ างอิง ไชยันต์ ไชยพร (2549) แนวคิด "Deliberative Democracy and Deliberative Polls" (1 และ 2) ใน ร้ อยแปดวิถีทศน์ : ั กรุงเทพธุรกิจ วันจันทร์ ที่ 20 พฤศจิกายน และ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ตามลาดับ http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q4/2006november20p7.htm ธีรเดช ฉายอรุณ (2555) เอกสารประกอบการสอนวิชา กระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยการวิจย หลักสูตรปริ ญญาเอก ั สาขาวิชาประชากรศึกษา ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล บูฆอรี ยีหมะ (2551) “การบริหารจัดการท้ องถิ่นด้ วยแนวคิดประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารื อ,” วารสารพัฒนาท้ องถิ่น (มิถนายน-กันยายน 2551): 11-24. ุ พิชญ์ พงศ์สวัสดิ์ (2549) “ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารื อ : บททดลองเสนอ” http://www.onopen.com/node/3708 พัชรี สิโรรส (มปป.) “การเสริ มสร้ างประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารื อ ” http://www.polsci.chula.ac.th/prapart/การเมืองภาคประชาชน 14022551/ประชาธิปไตยทางตรง 11022551/deliberative_democracy_24_08_07.pdf เอนก เหล่าธรรมทัศน์ (2553) ประชาธิปไตยชุมชน รั ฐศาสตร์ สาหรับสภาองค์ กรชุมชน. สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน เนาวรัตน์ พลายน้ อย (บรรณาธิการ)(2551) เครื่องมือทางสังคมเพื่อการเรียนรู้ในบริบทเปลี่ยนผ่ าน : ชุดความรู้ ขับเคลื่อนประเด็นสาธารณะ (Issue Book) . กรุงเทพฯ: พี.เอ. ลีฟวิง. 6