SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  130
ศิลปินแห่งชาติ กับมหาวิทยาลัยศิลปากร รายวิชา  080101  มนุษย์กับการสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์  จังหวัดนครปฐม
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความสำคัญของศิลปินแห่งชาติ ,[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],คุณสมบัติของศิลปินแห่งชาติ ๑ )  เป็นผู้มีสัญชาติไทยและยังมีชีวิตอยู่ในวันตัดสิน  ๒ )  เป็นผู้ที่มีความสามารถ มีความเชี่ยวชาญ และมีผลงานดีเด่น เป็นที่ยอมรับของวงการศิลปินแขนงนั้น  ๓ )  เป็นผู้สร้างสรรค์และพัฒนาศิลปะแขนงนั้นจนถึงปัจจุบัน  ๔ )  เป็นผู้ผดุงและถ่ายทอดศิลปะแขนงนั้น  ๕ )  เป็นผู้ปฏิบัติงานศิลปะแขนงนั้นอยู่ในปัจจุบัน  ๖ )  เป็นผู้มีคุณธรรมและมีความรักในวิชาชีพของตน  ๗ )  เป็นผู้มีผลงานที่ยังประโยชน์ต่อสังคมและมนุษยชาติ 
 
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ชื่อศิลปิน :   นาย เฟื้อ หริพิทักษ์ สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  จิตรกรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๒๘ ประวัติด้านการศึกษา นาย เฟื้อ หริพิทักษ์ ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา - ประเทศอิตาลี - โรงเรียนเพาะช่าง - โรงเรียนประณีตศิลปกรรม - ประเทศอินเดีย ๒๔๖๓ ประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนประถมวัดสุทัศนเทพวราราม ๒๔๖๖ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนมัธยมวัดราชบพิธ ๒๔๖๘ มัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ๒๔๖๙ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนวัดราชบพิธ
ประวัติด้านการทำงาน รางวัล   &  เกียรติคุณ ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๕๐๒ อาจารย์โท มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๕ อาจารย์หัวหน้าแผนก มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๐ อาจารย์เอก ๒๕๑๐ เป็นกรรมการอนุรักษ์หอพระไตรปิฎก วัดระฆังโฆสิตาราม ๒๕๑๒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๓ กรรมการควบคุมการบูรณะปฏิสังขรณ์ธรรมาสน์ วัดวรจรรยาวาส ๒๕๒๕ ประธานโครงการคัดลอกจิตรกรรมฝาผนัง พระอุโบสถวัดประดู่ในทรงธรรม จังหวัดอยุธยา ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๒ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ๒๔๙๓ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ๒๕๐๐ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ๒๕๒๓ รับพระราชทานปริญญาศิลปะดุษฎีบัณฑิตกิติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๖ รางวัลแม็กไซไซ ๒๕๒๘ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  ประติมากรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๒๙ นาย ไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ คำประกาศเกียรติคุณ นายไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ เกิดเมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๔๖๕ เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญในด้านประติมกรรม ที่มีผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับในวงการศิลปะและทั่วไป ได้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมทั้งที่เป็นงานศิลปะแบบปัจจุบันและประเพณีไว้มากมาย ได้ส่งผลงานเข้าร่วมแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ได้รับรางวัลเกียรตินิยมเหรียญทองหลายครั้งและได้เป็นศิลปินชั้นเยี่ยม  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าปฏิบัติราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณ ในพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน  เมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๘ ได้รับราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณจนเกษียณอายุราชการ ผลงานประติมากรรมมีแสดงถาวรอยู่ในพิพิธภัณฑสถานทั้งในประเทศ  และต่างประเทศผลงานประติมากรรมแบบปัจจุบันเป็นผลงานบุกเบิกในแนวทางสัจจะนิยมของประเทศไทยและผลงานประเพณีเป็นการอนุรักษ์และสืบต่อศิลปะแบบประเพณีของชาติ ในด้านวิชาการนั้นได้เป็นอาจารย์สอนวิชาประติมากรรมในยุคบุกเบิก  และก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๘๖ และยังทำหน้าที่นี้อยู่ในฐานะอาจารย์พิเศษ ด้วยบทบาทที่สำคัญในด้านวิชาการนี้ จึงได้รับปริญญาศิลปะดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วยความสามารถดีเด่น จึงได้รับเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( ประติมากรรม )  ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๒๙
ประวัติด้านการศึกษา ประวัติด้านการทำงาน ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา สถาบันวิจิตรศิลป์ แห่งเพนน์ซิลวาเนีย วัดพระทรง โรงเรียนวัดคงคาราม โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๘๓ วิชาประติมากรรม โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๘๗ ช่างจัตวา แผนกหัตศิลป์  กองสถาปัตยกรรม  กรมศิลปากร ๒๕๐๘ ปฏิบัติราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณ ถวายงานตามพระราชประสงค์ พระตำหนักจิตรดารโหฐาน ๒๕๑๙ ประติมากรรมระดับ ๗ กองสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร
รางวัล   &  เกียรติคุณ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล เหรียญอิสริยาภรณ์ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๔๙๒ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๔๙๓ ได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑  เหรียญทอง ๒๔๙๔ ได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑  เหรียญทอง ๒๔๙๖ ได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑  เหรียญทอง ๒๔๙๗ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๕๐๖ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๐ เหรียญอิสริยาภรณ์ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๕๑๒ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๒ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๖ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๖ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๕๒๕ ได้รับปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ประยุกต์ศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๗ ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินเกียรติคุณอาวุโส ๒๕๒๙ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๓๓ ได้รับการประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็นศิลปินห่งชาติ ชื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๓๐ คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๓๖ ได้รับเกียรติเป็นศิลปินอาเซียนที่ประเทศบรูไน ๒๕๔๑ ได้รับปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย ประสงค์ ปัทมานุช สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  จิตรกรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๒๙ คำประกาศเกียรติคุ ณ นายประสงค์ ปัทมานุช ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ เกิดวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๔๖๑เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญในด้านจิตรกรรมที่มีผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับในวงการศิลปะและทั่วไป ได้สร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมที่เป็นงานศิลปะแบบปัจจุบันและแบบประเพณีไว้มากมายหลายแห่ง ได้ส่งผลงานเข้าร่วมการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติตั้งแต่ครั้งที่ ๑ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๒ ได้รับรางวัลเกียรตินิยมเหรียญทองหลายครั้ง และได้เป็นศิลปินชั้นเยี่ยมผลงานที่สำคัญได้รับการติดตั้งแสดงถาวรในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นอกจากนี้ยังเป็นผู้บุกเบิกในทางจิตรกรรมสัญลักษณ์นิยมอีกด้วย ในด้านวิชาการนั้นเป็นอาจารย์รุ่นแรกของมหาวิทยาลัยศิลปากร สมัยบุกเบิก เมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๖ เป็นผู้ที่มีความสามารถในการเขียนภาพทั้งแบบใหม่และแบบเก่า มีบทบาทในการอนุรักษ์สืบต่อศิลปะแบบไทยประเพณีนิยมกรมศิลปากรได้จัดนิทรรศการเชิดชูเกียรติ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ เมื่อพุทธศักราช ๒๕๒๙ ท่านได้อุทิศเวลาอันยาวนานทำงานศิลปะ ด้วยความสามารถพิเศษในทางจิตรกรรม จึงได้รับเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( จิตรกรรม )  ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๒๙
ประวัติด้านการศึกษา ประวัตด้านการทำงาน รางวัล   &  เกียรติคุณ ลูกศิษย์ ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา วิชาสามัญ โรงเรียนวัดพิชัยญาติ ๒๔๘๐ ศิลปะขั้นต้น โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๘๓ จิตรกรรม โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๘๔ รับราชการ แผนกหัตถศิลป กรมศิลปากร ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ศิลปินชั้นเยี่ยม รางวัลเกียรตินิยม เหรียญทอง ๒๕๒๙ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๒๙ ศิลปินอาวุโส จัดนิทรรศการเชิดชูเกียรติ กรมศิลปากร ชื่อ -  นามสกุล สวัสดิ์  ตันติสุข บัณจบ พลาวงศ์
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย พูน เกษจำรัส สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  ศิลปะภาพถ่าย ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๑ นายพูน เกษจำรัส เกิดวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๔๖๔ ที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญด้านศิลปะถ่ายภาพซึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือในวงการศิลปะภาพถ่ายโดยทั่วไป มีผลงานดีเด่นและแพร่หลายเป็นเวลายาวนานเกือบ ๔๐ ปี จากผลงานภาพถ่ายศิลปะเหล่านี้ทำให้นายพูน เกษจำรัส ได้รับเกียรตินิยมจากสมาคมภาพถ่ายแห่งประเทศไทย สมาคมสโมสรสยามคัลเลอร์สไลด์ และสหพันธ์ศิลปะการถ่ายภาพนานาชาติประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นนายกสมาคมและที่ปรึกษาสมาคมภาพถ่ายแห่งประเทศไทยได้รับเชิญแสดงผลงานในการแสดงภาพถ่ายของสมาคมถ่ายภาพ และการแสดงภาพเขียนและภาพถ่ายของอาเซียน ในด้านการถ่ายทอดวิชาความรู้ทางศิลปะภาพถ่ายนั้น นายพูน เกษจำรัส ได้เป็นอาจารย์สอนภาพถ่ายที่วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ เป็นเวลาเกือบ ๔๐ ปี มีศิษย์เป็นจำนวนมากทั่ว
ประเทศได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าคณะวิชาช่างภาพและช่างพิมพ์จนเกษียณอายุราชการ ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์พิเศษของวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ หรือสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลในปัจจุบัน นายพูน  เกษจำรัส เป็นศิลปินที่มีบทบาทและให้บริการแก่สังคมอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้ยังได้เผยแพร่ศิลปะและวิทยาการภาพถ่ายทางสื่อมวลชนอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานกว่า ๒๐ ปี นายพูน เกษจำรัส ดำรงชีวิตและสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเพื่อประโยชน์ส่วนรวม และเข้าร่วมกิจกรรมศิลปะและสังคมอย่างดีงาม เป็นตัวอย่างที่ดีแก่อนุชนรุ่นหลัง    นายพูน เกษจำรัส สมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( ศิลปะภาพถ่าย )  ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๑ ประวัติด้านการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ประถมศึกษาปีที่ ๓ หลักสูตรประโยคครูประถมการช่าง ( ปป . ช .) โรงเรียนเพาะช่าง อนุปริญญาจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๔๘๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนประจำจังหวัดเพรชบุรี
ประวัติด้านการทำงาน รางวัล   &  เกียรติคุณ ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๘๙ ครูสอนศิลปะ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน ๒๔๙๐ ครูตรี โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๙๗ ครู แผนกวิชาช่างภาพ วิทยาลัยเทคนิค ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ เกียรตินิยมสูงสุด สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เกียรตินิยมสูงสุด สมาคมถ่ายภาพสยามคัลเลอร์สไลด์ เกียรตินิยม สหพันธ์ศิลปะการถ่ายภาพนานาชาติ แห่งสวิตเซอร์แลนด์ เกียรตินิยมสูงสุด สมาคมถ่ายภาพเวียดนาม ๒๕๓๑ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๓๓ บุคคลดีเด่นของชาติ ๒๕๓๔ ๒๕๓๖ นักศึกษาเก่าดีเด่น
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย พิมาน มูลประมุข สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  ประติมากรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๑ คำประกาศเกียรติคุณ นายพิมาน มูลประมุข เกิดวันที่ ๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๕๕ ที่กรุงเทพหมานคร เป็นศิลปินอาวุโสที่มีเกียรติประวัติและผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับนับถือของวงการศิลปะและศิลปศึกษาโดยทั่วไป มีความเป็นเลิศด้านประติมากรรมการปั้นหล่อผลงานศิลปะทั้งแบบสมัยใหม่และแบบประเพณี ได้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมไว้เป็นจำนวนมากด้วยระยะเวลาที่ยาวนานติดต่อกันมากกว่า ๕๐ ปี มีผลงานปรากฏอยู่ในสาธารณะ วัด พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหอศิลป์ นิทรรศการผลงานศิลปะไทยทั้งในและต่างประเทศ ได้รับเกียรตินิยมจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ได้รับการประกาศเกียรติคุณจากหอศิลป์ พีระศรี เป็นศิลปินเกียรติคุณอาวุโส ในด้านการถ่ายทอดวิชาความรู้ทางศิลปะ เป็นอาจารย์สอน
ศิลปะยุคบุกเบิกของมหาวิทยาลัยศิลปากร มีศิษย์เป็นจำนวนมาก เคยเป็นผู้รักษาการในตำแหน่งคณบดีคณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากรและหัวหน้าแผนกงานปั้นหล่อของกรมศิลปากร รับผิดชอบงานสำคัญของชาติตลอดเวลาที่รับราชการ ได้ให้บริการแก่สังคมอย่างกว้างขวาง ด้วยผลงานศิลปะและวิชาการ ดำรงชีวิตสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเพื่อส่วนรวมด้วยความดีงามเป็นตัวอย่างที่ดีแก่อนุชนรุ่นหลังจะ ดำเนินรอยตามสืบไป   นายพิมาน มูลประมุข สมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( ประติมากรรม )  ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๑ การประวัติด้านการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนโฆสิตสโมสร โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๘๐ ศิลปะทางจิตรกรรมและประติมากรรม โรงเรียนศิลปากร
ประวัติการทำงาน รางวัล   &  เกียรติคุณ ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ช่างโท กองหัตถศิลป ๒๔๘๑ รับราชการชั้นจัตวา ตำแหน่งช่างชั้น ๒ กองสถาปัตยกรรม ๒๔๘๕ ช่างจัตวา แผนกหัตถศิลป กองสถาปัตยกรรม ๒๔๘๙ ช่างตรี แผนกหัตถศิลป กองสถาปัตยกรรม ๒๔๙๘ ช่างโท กองหัตถศิลป ๒๕๐๔ หัวหน้าแผนกช่างปั้น กองหัตถศิลป ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๒ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๔๙๔ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๔๙๗ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๐๘ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๑ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๓๑ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย สนิท ดิษฐพันธุ์ สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  จิตรกรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๒ คำประกาศเกียรติคุ ณ นายสนิท ดิษฐพันธุ์ เกิดเมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๖๕ ที่กรุงเทพมหานคร เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญด้านจิตรกรรมผู้บุกเบิกศิลปะสมัยใหม่ ของประเทศไทย และมีผลงานจิตรกรรมดีเด่นเป็นที่ยอมรับในวงการศิลปะและศิลปศึกษาเป็นศิลปินที่อุทิศตนให้กับการสร้างสรรค์ศิลปะเป็นเวลายาวนานกว่า ๕๐ ปี ผลงานบุกเบิกที่สำคัญคือผลงานจิตรกรรมแบบสมัยใหม่ ที่นำเอารูปแบบและเรื่องราวประเพณีไทยโบราณมาผสมผสานกับรูปแบบและวิธีการใหม่ และผลงานจิตรกรรมภาพเหมือนคนสีน้ำมันในแบบสากล นอกจากงานสร้างสรรค์ ยังมีบทบาทในการอนุรักษ์ศิลปะและให้บริการสังคมด้วยศิลปะและวิชาการอย่างกว้างขวาง ได้แสดงผลงานต่อสาธารณะในนิทรรศการศิลปะทั้งในและต่างประเทศ
จนได้รับรางวัลและเกียรติคุณมากมาย ในด้านการถ่ายทอดประสบการณ์และวิชาการเป็นอาจารย์สอนวิชาจิตรกรรมที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ในยุคก่อตั้งและรับราชการในกองหัตถศิลป์ กรมศิลปากร ตั้งแต่ พ . ศ . ๒๔๘๓ ได้ลาออกจากราชการเมื่ออายุครบ ๕๕ ปี เพื่อสร้างสรรค์ศิลปะอย่างอิสระ ได้อุทิศตนเองให้แก่งานราชการอย่างเต็มที่ ในปัจจุบันยังคงสร้างสรรค์งานศิลปะและใช้ชีวิตอย่างสงบเรียบง่าย เป็นศิลปินผู้มีคุณสมบัติเพียบพร้อมทุกประการ เป็นแบบอย่างที่ดีแก่อนุชนรุ่นหลังได้เป็นอย่างดี     นายสนิท ดิษฐพันธุ์ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( จิตรกรรม )  ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๒ ประวัติด้านการศึกษา ประวัติด้านการทำงาน ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ๒๔๗๘ โรงเรียนศิลปากร ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๘๓ ผู้ช่วยช่าง กรมศิลปากร
รางวัล   &  เกียรติคุณ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ รางวัลในการประกวดศิลปะ โดยกลุ่มจักรวรรดิ์ศิลปิน ๒๔๙๑ รางวัลเกียรติยศ สถาบันวัฒนธรรมญี่ปุ่นจัดขึ้นที่อาคาร ถนนราชดำเนิน ๒๔๙๒ รางวัลเกียรติยศ ๒๔๙๓ รางวัลเกียรตินิยมเหรียญเงิน ๒๔๙๖ รางวัลเกียรตินิยมเหรียญเงิน ๒๕๓๒ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย ทวี นันทขว้าง สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  จิตรกรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๓ คำประกาศเกียรติคุณ นายทวี นันทขว้าง เกิดเมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๖๘ ที่จังหวัดลำพูน เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญด้านจิตกรรม ซึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือในวงการศิลปะและศิลปศึกษาโดยทั่วไปได้สร้างสรรค์ผลงานจิตกรรมไว้เป็นจำนวนมาก ได้รับรางวัลเกียรตินิยมเหรียญทองหลายครั้งและได้เป็นศิลปินชั้นเยี่ยมจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ เป็นผู้หนึ่งที่บุกเบิกงานด้านจิตกรรมที่มีอิทธิพลแก่ยุวศิลปินอีกหลายคน ในด้านวิชาการนั้นเป็นอาจารย์ของมหาวิทยาลัยศิลปากรจนเกษียณอายุราชการ เป็นศิลปินที่ไม่ยอมหยุดนิ่ง ได้พัฒนาและคลี่คลายผลงานอยู่ตลอดเวลา มีผลงานการสร้างสรรค์ที่ผสมผสานระหว่างแบบเหมือนจริงกับแบบเหนือจริงตามแบบของตนเองอันเป็นคุณลักษณะพิเศษในเรื่องความงามและความรู้สึกซึ่งรังสรรค์
ขึ้นมาจาก จินตนาการที่สร้างสรรค์อย่างอิสระ ผลงานในช่วงหลังจนถึงปัจจุบันไม่ผาดโผนเป็นไปอย่างเรียบ ๆ แต่มีความประณีต ลึกซึ้ง มีสมาธิ วุฒิภาวะและมีความมั่นใจ ถึงแม้จะไม่ไปข้างหน้าแต่ก็ไปทางลึกและทางสงบ ได้ใช้ผลงานศิลปะและวิชาการบริการสังคมมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน และยังคงสร้างสรรค์ผลงานอยู่ตลอดเวลา นับว่าเป็นศิลปินผู้มีคุณสมบัติเพียบพร้อมทุกประการ เป็นแบบอย่างที่ดียิ่งแก่อนุชนรุ่นหลัง   นายทวี นันทขว้าง จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( จิตรกรรม )  ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๓   ประวัติด้านการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ประถมศึกษาปีที่๔ โรงเรียนมงฟอร์ดวิทยาลัย มัธยมศึกษาปีที่๖ โรงเรียนประจำจังหวัดลำพูน ๒๔๘๖ โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๘๘ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๔ DIPLOMA ACADEMY OF FINE ARTS OF ROME
ประวัติด้านการทำงาน ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๙๒ ตำแหน่งครูชั้นตรี โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๙๗ ประจำแผนกเผยแพร่และประกวด กองส่งเสริมและเผยแพร่กรมการข่าว ๒๔๙๙ ผู้ถวายคำแนะนำด้านศิลปะ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๕ อาจารย์โท มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะจิตรกรรมประติมากรรม ๒๕๑๑ อาจารย์เอก มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะจิตกรรมประติมากรรม ๒๕๑๖ หัวหน้าภาควิชาจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๓ ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ ๗ ภาควิชาประยุกต์ศิลป์ คณะ มัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๘ ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ ๘ ภาควิชาประยุกต์ศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
รางวัล   &  เกียรติคุณ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๓ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๒ ๒๔๙๔ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๓ ๒๔๙๖ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๔ ๒๔๙๙ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๗ ๒๔๙๙ ได้รับเกียรติยกย่องให้เป็นศิลปินชั้นเยี่ยมประเภทจิตรกรรม ๒๕๐๐ รางวัลพิเศษ จากนิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติ ผลงานทิวทัศน์ยอดเยี่ยมประจำปี ๒๕๐๑ รางวัลพิเศษ จากนิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติ ผลงานภาพเหมือนยอดเยี่ยมประจำปี ๒๕๐๔ รางวัลที่ ๒ เหรียญเงิน จากนิทรรศการศิลปะ ณ เมือง  BRACCIANO  ประเทศอิตาลี ๒๕๓๓ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย สวัสดิ์ ตันติสุข สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  จิตรกรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๔ คำประกาศเกียรติคุณ นายสวัสดิ์ ตันติสุข เกิดเมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๖๘ ที่กรุงเทพมหานคร เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญผู้บุกเบิกศิลปะสมัยใหม่ของประเทศ มีผลงานจิตกรรมดีเด่นเป็นที่ยอมรับของวงการศิลปะทั้งในอดีตและปัจจุบันได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะอย่างต่อเนื่องเป็นเวลายาวนานกว่า ๕๐ ปี การบุกเบิกงานจิตกรรมที่สำคัญคือได้สร้างสรรค์ผลงานจากแบบที่เป็นรูปธรรมเข้าสู่แบบนามธรรมซึ่งมีผลต่อพัฒนาการด้านจิตกรรมของศิลปินรุ่นหลังเป็นอย่างมาก ทำให้ศิลปินไทยประสบความสำเร็จในวงการศิลปะนานาชาติ และยังได้อุทิศตน ให้กับการสอนและการเผยแพร่ศิลปะ
โบราณและสมัยใหม่ให้แก่นักศึกษาในสถาบันการศึกษาและประชาชนทั่วไป ได้ร่วมแสดงผลงานในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ศิลปะนานาชาติ และการแสดงศิลปะอื่นๆ มากมายจนถึงปัจจุบัน ผลงานศิลปะและวิชาการทางศิลปะเป็นประโยชน์ต่อสังคมในทางสร้างสรรค์เป็นอย่างมาก ได้รับรางวัลและเกียรติคุณจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติและนานาชาติ เป็นศิลปินชั้นเยี่ยมของการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ดำรงชีวิต สร้างสรรค์ศิลปะ และประกอบกิจการงานด้วยคุณธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่อนุชนรุ่นหลัง     นายสวัสดิ์ ตันติสุข จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( จิตรกรรม )  ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ ประวัติด้านการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ๒๔๘๕ ประกาศนียบัตรประโยคครูประถมการช่าง ( ป . ป . ช .) โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๘๘ อนุปริญญา มหาวิทยาลัยศิลปากร
ประวัติด้านการทำงาน รางวัล   &  เกียรติคุณ รักษาการในตำแหน่งคณบดีคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร หัวหน้าภาควิชาประติมากรรม คณะจิตรกรรมฯ ประธานกรรมการบริหารประจำคณะจิตรกรรมฯ ๒๔๙๙ ทำการแทนเลขาธิการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๓ อาจารย์ใหญ่ โรงเรียนช่างศิลป กรมศิลปากร ๒๕๒๘ ผู้อำนวยการวิทยาลัยช่างศิลป กรมศิลปากร ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๒ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ เหรียญทองแดง  ( จิตรกรรม )  การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๑ ๒๔๙๓ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน  ( จิตรกรรม )  การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๒ ๒๔๙๔ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน  ( จิตรกรรม )  การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๓ ๒๔๙๖ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน  ( จิตรกรรม )  การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๔
รางวัล   &  เกียรติคุณ ๒๔๙๗ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง  ( จิตรกรรม )  การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๕ ๒๔๙๘ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง  ( จิตรกรรม )  การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ ๒๔๙๘ ศิลปินชั้นเยี่ยม จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ๒๕๐๒ รางวัลเหรียญทอง การประกวดภาพเขียน เมืองราเวนนา อิตาลี ๒๕๐๓ รางวัลที่ ๑ การประกวดภาพเขียนของมหาวิทยาลัยแห่งโรม ๒๕๐๔ รางวัลที่ ๑ ประเภทสีน้ำ การประกวดภาพเขียน ขององค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ๒๕๐๕ รางวัลที่ ๒ การแสดงศิลปะนานาชาติ กรุงไซง่อน ประเทศเวียดนามใต้ ๒๕๑๒ รางวัลงานมหกรรมศิลปะ ณ เมืองคานส์ ประเทศฝรั่งเศส ๒๕๒๗ ศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมาศักดิ์ สาขาจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๘ ศิลปินอาวุโส กรมศิลปากร ๒๕๓๔ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๓๕ ราชบัณฑิต ประเภทวิจิตรศิลป์ สาขาจิตรกรรม
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย ประยูร อุลุชาฎะ สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  จิตรกรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๕ คำประกาศเกียรติคุ ณ นายประยูร อุลุชาฎะ เกิดเมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๗๑ ที่จังหวัดสมุทรปราการ เป็นศิลปินที่มีความสามารถเป็นพิเศษในด้านจิตกรรมแบบเก่าและแบบใหม่เป็นผู้บุกเบิกจิตรกรรมแบบใหม่และอนุรักษ์จิตรกรรมแบบเก่า เป็นทั้งศิลปินและนักวิชาการได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะต่อเนื่องตลอดมาเป็นเวลามากกว่า ๕๐ ปี ผลงานเป็นที่ยอมรับของวงการศิลปะและสถาบันศิลปะ มีผลงานในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ การแสดงศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัยของไทยในต่างประเทศ และติดตั้งถาวรในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ และได้รับปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยศิลปากร
จากการอุทิศตนให้กับการสร้างสรรค์และอนุรักษ์ศิลปะเป็นเวลาอันยาวนาน คุณค่าของผลงานศิลปะและวิชาการของนายประยูร อุลุชาฎะ แสดงถึงความมีคุณธรรมและจริยธรรม จึงได้รับการยอมรับนับถือเป็นปูชนียบุคคลในวงการศิลปะและวิชาการ และในฐานะศิลปินคนสำคัญที่ยังสร้างสรรค์ และอุทิศตนให้กับสังคมในปัจจุบัน เป็นตัวอย่างที่ดีงามแก่อนุชนรุ่นหลัง   นายประยูร อุลุชาฎะ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( จิตรกรรม )  ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๕ ประวัติด้านการศึกษา ประวัติด้านการทำงาน ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ๒๔๘๖ มัธยมศึกษา โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๙๒ อนุปริญญาศิลปบัณฑิตด้านจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน นายกสมาคม สมาคมจิตรกร ประติมากรสมาคมแห่งประเทศไทย ๒๔๙๗ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนศิลปศึกษา เตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๔๙๙ เลขาธิการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
รางวัล   &  เกียรติคุณ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๓ รางวัลที่ ๓ เหรียญทองแดง ๒๔๙๖ รางวัลที่ ๓ เหรียญทองแดง ๒๔๙๘ รางวัลที่ ๑ เหรียญทอง ๒๔๙๙ รางวัลที่ ๓ เหรียญทองแดง ๒๕๐๓ รางวัลที่ ๓ เหรียญทองแดง ๒๕๒๖ ปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ๒๕๒๗ ศิลปินอาวุโส มูลนิธิหอศิลป ๒๕๓๐ พระราชทานกิตติบัตร สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๒๕๓๐ รางวัลชมเชย ๒๕๓๕ รางวัลชมเชย ในการประกวดหนังสือดีเด่น คณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ ๒๕๓๕ โล่เกียรติคุณนักศึกษาดีเด่น ๒๕๓๕ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๓๖ เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎไทย ชั้นที่ ๔ ชื่อ จัตุราถาภรณ์
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย พินิจ สุวรรณะบุญย์ สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  การออกแบบประยุกต์ศิลป์ ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๖ คำประกาศเกียรติคุณ นายพินิจ สุวรรณะบุณย์ เกิดเมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๔๖๙ ที่จังหวัดสมุทรสาคร เป็นนักออกแบบประยุกต์ศิลป์อาวุโสคนสำคัญ ที่มีผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับในวงการศิลปะและการออกแบบ ได้อุทิศตนให้กับงานศิลปะการออกแบบเพื่อส่วนรวมมาเป็นเวลามากกว่า ๔๕ ปี เป็นนักออกแบบที่ได้นำเอาศิลปะแบบประเพณีของไทยมาใช้ในการออกแบบอย่างได้ผลดี นอกจากมีความสามารถในการสร้างสรรค์แล้วยังทำหน้าที่ในการอนุรักษ์และสืบต่อศิลปะแบบประเพณีอย่างต่อเนื่อง ออกแบบเหรียญตรา เครื่องหมาย ซึ่งใช้ในพระราชพิธีและในงานของราชการที่สำคัญเป็นจำนวนมาก อีกทั้งเขียนภาพและคัดลอกจิตกรรมไทยแบบประเพณีเพื่อการตกแต่งและงานอนุรักษ์   
ได้ให้การบริการและเผยแพร่ผลงานศิลปะและการออกแบบมาเป็นเวลาอันยาวนาน ในด้านวิทยาทานนั้นเคยเป็นอาจารย์ในแผนกช่างสิบหมู่ โรงเรียนศิลปศึกษา ใน คณะ สถาปัตยกรรมไทยและคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นผู้ที่ให้วิทยาทานและให้ความร่วมมือแก่ชุมชนเป็นอย่างดี ได้รับราชการในกองหัตถศิลป กรมศิลปากร เมื่อ พ . ศ .  ๒๔๘๗ อุทิสตนให้กับงานราชการเพื่อส่วนรวมเป็นเวลา ๔๒ ปี ได้รับการยกย่องเป็นข้าราชการตัวอย่าง ในด้านศิลปะนั้นได้รับรางวัลเกียรตินิยมในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ และปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิจิตรศิลป์ จากมหาวิทยาลัยเคลตันมลรัฐแคลิเฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันนี้ยังคงสร้างผลงานการออกแบบและให้บริการทางวิชาการ ใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และอย่างมีคุณธรรม ยังประโยชน์แก่สังคม เป็นศิลปินที่อยู่ในคุณงามความดี เป็นแบบอย่างแก่อนุชนรุ่นหลัง ได้ดำเนินรอยตามสืบไป     นายพินิจ สุวรรณะบุณย์ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( การออกแบบประยุกต์ศิลป์ )  ประจำพุทธศักราช ๒๕๓๖ ประวัติด้านการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ประถมศึกษาที่ ๖ โรงเรียนหอมทวนลม มัธยมศึกษาที่ ๔ โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข ๒๔๘๓ - โรงเรียนศิลปากร ( ประณีตศิลปกรรม )
ประวัติด้านการทำงาน ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๘๗ ช่างจัตวา กองสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร ๒๔๙๖ อาจารย์แผนกช่างสิบหมู่ โรงเรียนศิลปศึกษา ๒๔๙๖ ช่างตรี กองหัตถศิลป กรมศิลปากร ๒๔๙๘ อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๓ ช่างศิลปตรี กรมศิลปากร ๒๕๐๔ ช่างศิลปโท กรมศิลปากร ๒๕๑๒ อาจารย์พิเศษ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๓ รองประธานกรรมการ ฝ่ายประณีตศิลป ๒๕๑๔ ช่างศิลปเอก แผนกช่างเขียน กรมศิลปากร ๒๕๑๘ นายช่างศิลปกรรม ๖ กองหัตถศิลป กรมศิลปากร ๒๕๒๐ อนุกรรมการสร้างและซ่อมแซมปรับปรุงพระที่นั่งอนันตสมาคม ฝ่ายสถาปัตยกรรมและจิตรกรรมฝาผนัง ๒๕๒๑ อนุกรรมการฝ่ายศิลปกรรม ๒๕๒๑ นายช่างศิลปกรรม ๗ กองหัตถศิลป กรมศิลปากร ๒๕๒๓ กรรมการในคณะกรรมการวางแผนผลิตเหรียญกษาปณ์และเหรียญที่ระลึก กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ๒๕๒๕ คณะทำงานกำหนดแบบศิลปะ และวิธีการบูรณะบุษบกทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฎิมากร
ประวัติด้านการทำงาน รางวัล   &  เกียรติคุณ ๒๕๒๕ นายช่างศิลปกรรม ๘ กองหัตถศิลป กรมศิลปากร ๒๕๒๗ ผู้ช่วยหัวหน้างานสถาปัตยกรรมและงานศิลปกรรม ๒๕๒๘ ผู้แทนกรมศิลปากรในคณะกรรมการวางแผนการผลิตเหรียญที่ระลึก กระทรวงการคลัง ๒๕๓๐ ผู้ตรวจงานซ่อมบูรณะปฎิสังขรณ์ฉัตรประดับรอบฐานชุกชีพระพุทธมหามณีรัตนปฎิมากร สำนักราชเลขาธิการ ๒๕๓๓ กระทรวงศึกษาธิการ กรรมการในคณะกรรมการพิจารณาการสร้างอนุสาวรีย์แห่งชาติ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๗ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๐ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๒ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๕ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๒๐ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๒๒ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๒๔ ข้าราชการตัวอย่าง กระทรวงศึกษาธิการ
รางวัล   &  เกียรติคุณ ๒๕๒๕ พ่อตัวอย่าง ๒๕๒๗ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๒๙ ปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยเคลตั้น  ( CLAYTON UNIVERSITY)  มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ๒๕๓๐ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๓๔ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๓๖ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๓๘ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๔๐ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๔๓ เครื่องราชอิสริยาภรณ์
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย ชำเรือง วิเชียรเขตต์ สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  ประติมากรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๙ คำประกาศเกียรติคุณ นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ เกิดเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๔ ที่จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญด้านประติมากรรม ซึ่งมีผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับในวงการศิลปะและศิลปศึกษาโดยทั่วไป ได้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมจำนวนมากและอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน มีผลงานแสดงในนิทรรศการศิลปะและสถาบันศิลปะทั้งในและต่างประเทศ และมีผลงานติดตั้งในสาธารณสถานหลายแห่ง ได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ประเภทประติมากรรมจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ และได้รับเลือกเป็นผู้แทนไทยในการประชุม
ปฏิบัติการประติมากรรมอาเซียน นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ เป็นผู้บุกเบิกและยืนหยัดการสร้างสรรค์ประติมากรรมเป็นเวลาสี่สิบกว่าปีหลังจากที่ศึกษาวิชาศิลปะที่โรงเรียนเพาะช่างและที่มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นเวลา ๗ ปี ได้คลี่คลายผลงานจากประติมากรรมแบบจริงไปสู่แบบนามธรรม เป็นประติมากรนามธรรมคนแรกของไทยผลงานประติมากรรมของนายชำเรือง วิเชียรเขตต์ อยู่ในแนวสร้างสรรค์ศิลปะแล้ว นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ ได้ทำหน้าที่เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ โดยเป็นอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่วิทยาลัยช่างศิลป์ และมหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นเวลา ๓๔ ปี และหลังจากที่ลาออกจากราชการเพื่ออุทิศตนให้กับการสร้างสรรค์ศิลปะเมื่อ พ . ศ .  ๒๕๓๐ ยังคงเป็นอาจารย์พิเศษที่มหาวิทยาลัยศิลปากรและสถาบันอื่นอีกหลายแห่ง ในด้านให้บริการแก่ชุมชนนั้น นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ ได้เข้าร่วมกิจกรรมทางศิลปะเพื่อสังคม และให้บริการทางวิชาการเมื่อได้รับการขอความร่วมมือโดยตลอดมา อาจจะกล่าวได้ว่า นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ เป็นหลักสำคัญในด้านประติมากรรมของวงการศิลปะและศิลปศึกษาของไทยเรา นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ ดำรงชีวิตและสร้างสรรค์ศิลปะอย่างเรียบง่ายด้วยคุณธรรมและจริยธรรมอุทิศตนให้กับศิลปะและสังคมมาเป็นเวลาอันยาวนาน เป็นตัวอย่างแก่คนรุ่นหลังเป็นอย่างดียิ่ง     นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์  ( ประติมากรรม )  ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๙  
ประวัติการศึกษา ประวัติด้านการทำงาน รางวัล   &  เกียรติคุณ ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๙๓ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๙๗ อาจารย์สอนวิชาศิลปะ โรงเรียนศิลปศึกษา ๒๕๐๒ อาจารย์ คณะจิตกรรมและประติมากรรม ๒๕๑๗ อาจารย์สอนภาควิชาประยุกต์ศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๘ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๔๙๙ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ เหรียญทองแดง ๒๕๐๐ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๐๑ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๐๒ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๐๖ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๐๗ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๐๘ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ๒๕๑๐ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๑๑ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๑๒ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ เหรียญทองแดง ๒๕๓๙ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย ชลูด นิ่มเสมอ สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  ประติมากรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๔๑ คำประกาศเกียรติคุณ ศาสตราจารย์ชะลูด นิ่มเสมอ เกิดเมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๔๗๒ ที่จังหวัดธนบุรี ได้รับปริญญาตรีศิลปะบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ ๑  ( ด้านประติมากรรม )  จากมหาวิทยาลัยศิลปากร รับราชการครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ดีโพลมาจากสถาบันประณีตศิลป์ แห่งกรุงโรม ประเทศอิตาลี ได้รับทุนไปศึกษาดูงาน ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา อิตาลี ประเทศฝรั่งเศส เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถในการสร้างสรรค์งานศิลปะอันมีคุณค่า ทั้งงานจิตรกรรม ประติมากรรม และ ภาพพิมพ์ เป็นอาจารย์สอนวิชาวาดเส้น องค์ประกอบศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ทัศนียวิทยา ทฤษฎีสี ฯลฯ เคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์
ซึ่งนอกจากงานสอน งานบริหารแล้ว ยังได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะด้านจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์และสื่อผสม ที่มีคุณค่าทางศิลปะไว้เป็นจำนวนมากจนได้รับรางวัลเหรียญทอง เหรียญเงินและเหรียญทองแดงทั้งในและต่างประเทศ จำนวน ๑๓ รางวัล ศาสตราจารย์ชลูด เป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะช่วงรอยต่อระหว่างยุคเก่ากับยุคใหม่ของวงการศิลปะสมัยใหม่ของไทย ผลงานยุคแรก ๆ เป็นผลงานด้านจิตรกรรมที่นำเรื่องราวของคนชนบทมาเป็นเนื้อหาในการแสดงออกถึงความสัมพันธ์และความเอื้ออาทรต่อกันเป็นการสะท้อนวัฒนธรรมของคนไทยในรูปของงานศิลปะในชุดชาวนาไทย ,  สงกรานต์ ,  ความบริสุทธิ์แห่งธรรมชาติ ระยะต่อมาศาสตราจารย์ชะลูด ได้สร้างสรรค์ผลงานด้านประติมากรรมที่มีชื่อเสียงจำนวนมากที่พิเศษอันมีชื่อเสียงเป็นที่ประจักษ์คือ งานประติมากรรมที่ติดตั้งภายนอกอาคาร นอกจากจะมีคุณค่าสูงในทางประติมากรรมที่มีความสัมพันธ์กับอาคารสถานที่แล้ว ยังทำให้เกิดบรรยากาศพิเศษที่งดงามรวมไปด้วย ประติมากรรมเหล่านี้ตั้งให้สาธารณชนได้ชื่นชมในที่สาธารณะ เช่น  “  เงินพดด้วง  ”  หน้าอาคารสำนักงานใหญ่ธนาคารกสิกรไทย  “  โลกุตระ  ”  ที่หน้าอาคารศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์  “  พระบรมโพธิสมภาร  ”  ที่หน้าอาคารมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ฯลฯ ซึ่งประติมากรรมดังกล่าวเป็นที่ยกย่องในความคิดและปรัชญาของผู้สร้างสรรค์จนเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย  
ในขณะรับราชการศาสตราจารย์ชะลูด ได้สร้างคุณูปการทางศิลปะแก่แผ่นดินไว้เป็นจำนวนมาก เป็นผู้บุกเบิกความรู้ทางวิชาการศิลปะให้แก่ประเทศไทย จนนับได้ว่าเป็นเสาหลักคนหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย์ชะลูดเป็นคณบดีของคณะจิตรกรรมที่สร้างลูกศิษย์ทางศิลปะที่มีคุณภาพมาเป็นจำนวนมาก ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม สาขาทัศนศิลป์  ( ประติมากรรม )  เมื่อ พ . ศ .  ๒๕๓๙   ศาสตราจารย์ชะลูด นิ่มเสมอ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( ประติมากรรม )  ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๔๑     ประวัติการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ๒๔๘๖ มัธยมศึกษาปีที่๖ โรงเรียนวัดนวลนรดิส ๒๔๙๒ ฝึกหัดครูประถมการช่างชั้นปีที่๒ โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๙๗ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๔๙๙ ประกาศนียบัตร Academy of Fine Arts ,Rome ๒๕๐๖ ประกาศนียบัตร สหรัฐอเมริกา
ประวัติด้านการทำงาน ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๙๘ อาจารย์ตรี คณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๖ อาจารย์โท คณะจิตรกรรมและประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๘ อาจารย์ ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๒ หัวหน้าภาควิชาภาพพิมพ์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๗ หัวหน้าภาควิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๙ คณะบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๐ รักษาการหัวหน้าภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๕ รองศาสตราจารย์ ระดับ๙ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๓๒ ศาสตราจารย์ สาขาทัศนศิลป ระดับ ๑๐ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
รางวัล   &  เกียรติคุณ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ รางวัลภาพพิมพ์ จาก  INTERNATIONAL BIENNIAL OF PRINTS IN TOKYO,  ญี่ปุ่น ๒๕๐๗ ๒๔๙๘ เกียรตินิยม อันดับ ๑  ( เอกณรงค์ ) ๒๔๙๘ เกียรตินิยม อันดับ ๒  ( จิตรกรรม ) ๒๔๙๘ เกียรตินิยม อันดับ ๒  ( ประติมากรรม ) ๒๔๙๙ เกียรตินิยม อันดับ ๑  ( จิตรกรรม ) ๒๔๙๙ เกียรตินิยม อันดับ ๑  ( เอกรงค์ ) ๒๔๙๙ เกียรตินิยม อันดับ ๒  ( ประติมากรรม ) ๒๕๐๒ เกียรตินิยมอันดับ ๑  ( จิตรกรรม ) ๒๕๐๒ ศิลปินชั้นเยี่ยม สาขาจิตรกรรม ๒๕๐๖ รางวัลภาพพิมพ์ จาก  INTERNATIONAL BIENNIAL OF GRAPHIC ART,  ยูโกสลาเวีย ๒๕๔๑ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ศาสตราจารย์ ประหยัด พงษ์ดำ สาขา :   ทัศนศิลป์  ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย :  ภาพพิมพ์ ปีที่ได้รับ :   ๒๕๔๑ คำประกาศเกียรติคุณ ศาสตราจารย์ ประหยัด พงษ์ดำ เกิดเมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม พ . ศ .  ๒๔๗๗ ที่จังหวัดสิงห์บุรี สนใจวาดภาพสัตว์ต่าง ๆ มาตั้งแต่เด็ก หลังจากเข้ารับการศึกษาศิลปะที่โรงเรียนเพาะช่างและมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับปริญญาตรีศิลปะบัณฑิต  ( จิตรกรรม )  แล้ว ได้รับทุนการศึกษาจากรัฐบาลอิตาลีไปศึกษาต่อ ณ สถาบันประณีตศิลป์แห่งกรุงโรมศึกษาจบหลักสูตรได้รับดีโพลมา ในปี พ . ศ .  ๒๕๐๔ ศาสตราจารย์ประหยัดได้สร้างชื่อเสียงการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ได้รับรางวัลในการแสดงงานศิลปะ ณ ประเทศอิตาลีหลายรางวัล และเมื่อกลับมาเมืองไทยแล้วได้คิดค้นสร้างสรรค์กรรมวิธีภาพพิมพ์ด้วยเทคนิควิธีแปลกใหม่ ที่มีคุณประโยชน์อย่างมาก แก่วงการศิลปะภาพพิมพ์ เป็นผู้ริเริ่มออกแบบ
สร้างสรรค์ดวงตราไปรษณียากรที่มีคุณค่าทางศิลปะอันงดงาม สร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์ จนได้รับรางวัลทั้งในและต่างประเทศ พ . ศ .  ๒๕๐๖ ได้รับเลือกเป็นศิลปินเกียรติยศ สาขาภาพพิมพ์ จากสถาบันศิลปะ กรุงฟลอเรนซ์ อิตาลี โดยรัฐบาลอิตาลี พ . ศ .  ๒๕๒๔ ได้รับเกียรติเป็นศิลปินชั้นเยี่ยมในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติในประเทศไทย พ . ศ .  ๒๕๓๙ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม ได้รับพระกรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้เขียนภาพประกอบในหนังสือพระมหาชนก จำนวน ๔ ภาพ ศาตราจารย์ประหยัด ยังได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน ผลงานมีคุณค่าเป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ เป็นผู้มีอาวุโสผู้หนึ่งที่ยังให้การศึกษาแก่ศิษย์ ในคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากรในปัจจุบัน เคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาภาพพิมพ์ คณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งหอศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้สร้างคุณประโยชน์อย่างมากไว้แก่วงการศิลปะ และการศึกษาศิลปะของไทย   ศาสตราจารย์ประหยัด พงษ์ดำ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์  ( ภาพพิมพ์ )  ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๔๑
ประวัติการศึกษา ประวัติด้านการทำงาน ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา มัธยมศึกษาปีที่๖ โรงเรียนสิงหวัฒนาพาหะ มัธยมศึกษาปีที่๕ โรงเรียนนาคประดิษฐ์วิทยาลัย ประถมศึกษาปีที่๔ โรงเรียนประชาบาลวัดกุฎีทอง ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๕๐๑ อาจารย์ตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๔ อาจารย์โท คณะจิตกรรมฯ มหาวิทย�
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university
Artis of silapakorn university

Contenu connexe

Similaire à Artis of silapakorn university

บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักPN17
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงPN17
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักnonmorning
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..PN17
 

Similaire à Artis of silapakorn university (13)

ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
รวมศิลปินP
รวมศิลปินPรวมศิลปินP
รวมศิลปินP
 
รวมศิลปินPnew
รวมศิลปินPnewรวมศิลปินPnew
รวมศิลปินPnew
 
รวมศิลปินP
รวมศิลปินPรวมศิลปินP
รวมศิลปินP
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุงบ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
บ้านจ๊างนัก บ้านถวาย บ้านเหมืองกุง
 
รวมศิลปินPongchangetoweb
รวมศิลปินPongchangetowebรวมศิลปินPongchangetoweb
รวมศิลปินPongchangetoweb
 
รวมศิลปินPongchangetoweb
รวมศิลปินPongchangetowebรวมศิลปินPongchangetoweb
รวมศิลปินPongchangetoweb
 
รวมศิลปินPonewupdate
รวมศิลปินPonewupdateรวมศิลปินPonewupdate
รวมศิลปินPonewupdate
 
รวมศิลปินPo
รวมศิลปินPoรวมศิลปินPo
รวมศิลปินPo
 
ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011
ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011
ราชบุรีไชน่าทาวน์ 2011
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..ศิวกานต์+..
ศิวกานต์+..
 

Artis of silapakorn university

  • 1. ศิลปินแห่งชาติ กับมหาวิทยาลัยศิลปากร รายวิชา 080101 มนุษย์กับการสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.  
  • 7. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ชื่อศิลปิน :   นาย เฟื้อ หริพิทักษ์ สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : จิตรกรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๒๘ ประวัติด้านการศึกษา นาย เฟื้อ หริพิทักษ์ ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา - ประเทศอิตาลี - โรงเรียนเพาะช่าง - โรงเรียนประณีตศิลปกรรม - ประเทศอินเดีย ๒๔๖๓ ประถมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนประถมวัดสุทัศนเทพวราราม ๒๔๖๖ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนมัธยมวัดราชบพิธ ๒๔๖๘ มัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ๒๔๖๙ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนวัดราชบพิธ
  • 8. ประวัติด้านการทำงาน รางวัล & เกียรติคุณ ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๕๐๒ อาจารย์โท มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๕ อาจารย์หัวหน้าแผนก มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๐ อาจารย์เอก ๒๕๑๐ เป็นกรรมการอนุรักษ์หอพระไตรปิฎก วัดระฆังโฆสิตาราม ๒๕๑๒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๓ กรรมการควบคุมการบูรณะปฏิสังขรณ์ธรรมาสน์ วัดวรจรรยาวาส ๒๕๒๕ ประธานโครงการคัดลอกจิตรกรรมฝาผนัง พระอุโบสถวัดประดู่ในทรงธรรม จังหวัดอยุธยา ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๒ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ๒๔๙๓ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ๒๕๐๐ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ๒๕๒๓ รับพระราชทานปริญญาศิลปะดุษฎีบัณฑิตกิติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๖ รางวัลแม็กไซไซ ๒๕๒๘ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
  • 9. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : ประติมากรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๒๙ นาย ไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ คำประกาศเกียรติคุณ นายไพฑูรย์ เมืองสมบูรณ์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ เกิดเมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๔๖๕ เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญในด้านประติมกรรม ที่มีผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับในวงการศิลปะและทั่วไป ได้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมทั้งที่เป็นงานศิลปะแบบปัจจุบันและประเพณีไว้มากมาย ได้ส่งผลงานเข้าร่วมแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ได้รับรางวัลเกียรตินิยมเหรียญทองหลายครั้งและได้เป็นศิลปินชั้นเยี่ยม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าปฏิบัติราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณ ในพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๘ ได้รับราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณจนเกษียณอายุราชการ ผลงานประติมากรรมมีแสดงถาวรอยู่ในพิพิธภัณฑสถานทั้งในประเทศ และต่างประเทศผลงานประติมากรรมแบบปัจจุบันเป็นผลงานบุกเบิกในแนวทางสัจจะนิยมของประเทศไทยและผลงานประเพณีเป็นการอนุรักษ์และสืบต่อศิลปะแบบประเพณีของชาติ ในด้านวิชาการนั้นได้เป็นอาจารย์สอนวิชาประติมากรรมในยุคบุกเบิก และก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๘๖ และยังทำหน้าที่นี้อยู่ในฐานะอาจารย์พิเศษ ด้วยบทบาทที่สำคัญในด้านวิชาการนี้ จึงได้รับปริญญาศิลปะดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยศิลปากรด้วยความสามารถดีเด่น จึงได้รับเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( ประติมากรรม ) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๒๙
  • 10. ประวัติด้านการศึกษา ประวัติด้านการทำงาน ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา สถาบันวิจิตรศิลป์ แห่งเพนน์ซิลวาเนีย วัดพระทรง โรงเรียนวัดคงคาราม โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๘๓ วิชาประติมากรรม โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๘๗ ช่างจัตวา แผนกหัตศิลป์ กองสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร ๒๕๐๘ ปฏิบัติราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณ ถวายงานตามพระราชประสงค์ พระตำหนักจิตรดารโหฐาน ๒๕๑๙ ประติมากรรมระดับ ๗ กองสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร
  • 11. รางวัล & เกียรติคุณ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล เหรียญอิสริยาภรณ์ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๔๙๒ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๔๙๓ ได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ๒๔๙๔ ได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ๒๔๙๖ ได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ๒๔๙๗ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๕๐๖ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๐ เหรียญอิสริยาภรณ์ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๕๑๒ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๒ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๖ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๖ เหรียญอิสริยาภรณ์ ๒๕๒๕ ได้รับปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ประยุกต์ศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๗ ได้รับการยกย่องเป็นศิลปินเกียรติคุณอาวุโส ๒๕๒๙ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๓๓ ได้รับการประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็นศิลปินห่งชาติ ชื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๓๐ คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๓๖ ได้รับเกียรติเป็นศิลปินอาเซียนที่ประเทศบรูไน ๒๕๔๑ ได้รับปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 12. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย ประสงค์ ปัทมานุช สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : จิตรกรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๒๙ คำประกาศเกียรติคุ ณ นายประสงค์ ปัทมานุช ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ เกิดวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๔๖๑เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญในด้านจิตรกรรมที่มีผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับในวงการศิลปะและทั่วไป ได้สร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมที่เป็นงานศิลปะแบบปัจจุบันและแบบประเพณีไว้มากมายหลายแห่ง ได้ส่งผลงานเข้าร่วมการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติตั้งแต่ครั้งที่ ๑ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๒ ได้รับรางวัลเกียรตินิยมเหรียญทองหลายครั้ง และได้เป็นศิลปินชั้นเยี่ยมผลงานที่สำคัญได้รับการติดตั้งแสดงถาวรในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นอกจากนี้ยังเป็นผู้บุกเบิกในทางจิตรกรรมสัญลักษณ์นิยมอีกด้วย ในด้านวิชาการนั้นเป็นอาจารย์รุ่นแรกของมหาวิทยาลัยศิลปากร สมัยบุกเบิก เมื่อพุทธศักราช ๒๔๘๖ เป็นผู้ที่มีความสามารถในการเขียนภาพทั้งแบบใหม่และแบบเก่า มีบทบาทในการอนุรักษ์สืบต่อศิลปะแบบไทยประเพณีนิยมกรมศิลปากรได้จัดนิทรรศการเชิดชูเกียรติ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ เมื่อพุทธศักราช ๒๕๒๙ ท่านได้อุทิศเวลาอันยาวนานทำงานศิลปะ ด้วยความสามารถพิเศษในทางจิตรกรรม จึงได้รับเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( จิตรกรรม ) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๒๙
  • 13. ประวัติด้านการศึกษา ประวัตด้านการทำงาน รางวัล & เกียรติคุณ ลูกศิษย์ ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา วิชาสามัญ โรงเรียนวัดพิชัยญาติ ๒๔๘๐ ศิลปะขั้นต้น โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๘๓ จิตรกรรม โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๘๔ รับราชการ แผนกหัตถศิลป กรมศิลปากร ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ศิลปินชั้นเยี่ยม รางวัลเกียรตินิยม เหรียญทอง ๒๕๒๙ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๒๙ ศิลปินอาวุโส จัดนิทรรศการเชิดชูเกียรติ กรมศิลปากร ชื่อ - นามสกุล สวัสดิ์ ตันติสุข บัณจบ พลาวงศ์
  • 14. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย พูน เกษจำรัส สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : ศิลปะภาพถ่าย ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๑ นายพูน เกษจำรัส เกิดวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๔๖๔ ที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญด้านศิลปะถ่ายภาพซึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือในวงการศิลปะภาพถ่ายโดยทั่วไป มีผลงานดีเด่นและแพร่หลายเป็นเวลายาวนานเกือบ ๔๐ ปี จากผลงานภาพถ่ายศิลปะเหล่านี้ทำให้นายพูน เกษจำรัส ได้รับเกียรตินิยมจากสมาคมภาพถ่ายแห่งประเทศไทย สมาคมสโมสรสยามคัลเลอร์สไลด์ และสหพันธ์ศิลปะการถ่ายภาพนานาชาติประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นนายกสมาคมและที่ปรึกษาสมาคมภาพถ่ายแห่งประเทศไทยได้รับเชิญแสดงผลงานในการแสดงภาพถ่ายของสมาคมถ่ายภาพ และการแสดงภาพเขียนและภาพถ่ายของอาเซียน ในด้านการถ่ายทอดวิชาความรู้ทางศิลปะภาพถ่ายนั้น นายพูน เกษจำรัส ได้เป็นอาจารย์สอนภาพถ่ายที่วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ เป็นเวลาเกือบ ๔๐ ปี มีศิษย์เป็นจำนวนมากทั่ว
  • 15. ประเทศได้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าคณะวิชาช่างภาพและช่างพิมพ์จนเกษียณอายุราชการ ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์พิเศษของวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ หรือสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลในปัจจุบัน นายพูน เกษจำรัส เป็นศิลปินที่มีบทบาทและให้บริการแก่สังคมอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้ยังได้เผยแพร่ศิลปะและวิทยาการภาพถ่ายทางสื่อมวลชนอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานกว่า ๒๐ ปี นายพูน เกษจำรัส ดำรงชีวิตและสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเพื่อประโยชน์ส่วนรวม และเข้าร่วมกิจกรรมศิลปะและสังคมอย่างดีงาม เป็นตัวอย่างที่ดีแก่อนุชนรุ่นหลัง  นายพูน เกษจำรัส สมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( ศิลปะภาพถ่าย ) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๑ ประวัติด้านการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ประถมศึกษาปีที่ ๓ หลักสูตรประโยคครูประถมการช่าง ( ปป . ช .) โรงเรียนเพาะช่าง อนุปริญญาจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๔๘๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนประจำจังหวัดเพรชบุรี
  • 16. ประวัติด้านการทำงาน รางวัล & เกียรติคุณ ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๘๙ ครูสอนศิลปะ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน ๒๔๙๐ ครูตรี โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๙๗ ครู แผนกวิชาช่างภาพ วิทยาลัยเทคนิค ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ เกียรตินิยมสูงสุด สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เกียรตินิยมสูงสุด สมาคมถ่ายภาพสยามคัลเลอร์สไลด์ เกียรตินิยม สหพันธ์ศิลปะการถ่ายภาพนานาชาติ แห่งสวิตเซอร์แลนด์ เกียรตินิยมสูงสุด สมาคมถ่ายภาพเวียดนาม ๒๕๓๑ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๓๓ บุคคลดีเด่นของชาติ ๒๕๓๔ ๒๕๓๖ นักศึกษาเก่าดีเด่น
  • 17. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย พิมาน มูลประมุข สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : ประติมากรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๑ คำประกาศเกียรติคุณ นายพิมาน มูลประมุข เกิดวันที่ ๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๕๕ ที่กรุงเทพหมานคร เป็นศิลปินอาวุโสที่มีเกียรติประวัติและผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับนับถือของวงการศิลปะและศิลปศึกษาโดยทั่วไป มีความเป็นเลิศด้านประติมากรรมการปั้นหล่อผลงานศิลปะทั้งแบบสมัยใหม่และแบบประเพณี ได้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมไว้เป็นจำนวนมากด้วยระยะเวลาที่ยาวนานติดต่อกันมากกว่า ๕๐ ปี มีผลงานปรากฏอยู่ในสาธารณะ วัด พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหอศิลป์ นิทรรศการผลงานศิลปะไทยทั้งในและต่างประเทศ ได้รับเกียรตินิยมจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ได้รับการประกาศเกียรติคุณจากหอศิลป์ พีระศรี เป็นศิลปินเกียรติคุณอาวุโส ในด้านการถ่ายทอดวิชาความรู้ทางศิลปะ เป็นอาจารย์สอน
  • 18. ศิลปะยุคบุกเบิกของมหาวิทยาลัยศิลปากร มีศิษย์เป็นจำนวนมาก เคยเป็นผู้รักษาการในตำแหน่งคณบดีคณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากรและหัวหน้าแผนกงานปั้นหล่อของกรมศิลปากร รับผิดชอบงานสำคัญของชาติตลอดเวลาที่รับราชการ ได้ให้บริการแก่สังคมอย่างกว้างขวาง ด้วยผลงานศิลปะและวิชาการ ดำรงชีวิตสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเพื่อส่วนรวมด้วยความดีงามเป็นตัวอย่างที่ดีแก่อนุชนรุ่นหลังจะ ดำเนินรอยตามสืบไป   นายพิมาน มูลประมุข สมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( ประติมากรรม ) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๑ การประวัติด้านการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนโฆสิตสโมสร โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๘๐ ศิลปะทางจิตรกรรมและประติมากรรม โรงเรียนศิลปากร
  • 19. ประวัติการทำงาน รางวัล & เกียรติคุณ ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ช่างโท กองหัตถศิลป ๒๔๘๑ รับราชการชั้นจัตวา ตำแหน่งช่างชั้น ๒ กองสถาปัตยกรรม ๒๔๘๕ ช่างจัตวา แผนกหัตถศิลป กองสถาปัตยกรรม ๒๔๘๙ ช่างตรี แผนกหัตถศิลป กองสถาปัตยกรรม ๒๔๙๘ ช่างโท กองหัตถศิลป ๒๕๐๔ หัวหน้าแผนกช่างปั้น กองหัตถศิลป ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๒ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๔๙๔ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๔๙๗ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๐๘ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๑ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๓๑ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
  • 20. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย สนิท ดิษฐพันธุ์ สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : จิตรกรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๒ คำประกาศเกียรติคุ ณ นายสนิท ดิษฐพันธุ์ เกิดเมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๖๕ ที่กรุงเทพมหานคร เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญด้านจิตรกรรมผู้บุกเบิกศิลปะสมัยใหม่ ของประเทศไทย และมีผลงานจิตรกรรมดีเด่นเป็นที่ยอมรับในวงการศิลปะและศิลปศึกษาเป็นศิลปินที่อุทิศตนให้กับการสร้างสรรค์ศิลปะเป็นเวลายาวนานกว่า ๕๐ ปี ผลงานบุกเบิกที่สำคัญคือผลงานจิตรกรรมแบบสมัยใหม่ ที่นำเอารูปแบบและเรื่องราวประเพณีไทยโบราณมาผสมผสานกับรูปแบบและวิธีการใหม่ และผลงานจิตรกรรมภาพเหมือนคนสีน้ำมันในแบบสากล นอกจากงานสร้างสรรค์ ยังมีบทบาทในการอนุรักษ์ศิลปะและให้บริการสังคมด้วยศิลปะและวิชาการอย่างกว้างขวาง ได้แสดงผลงานต่อสาธารณะในนิทรรศการศิลปะทั้งในและต่างประเทศ
  • 21. จนได้รับรางวัลและเกียรติคุณมากมาย ในด้านการถ่ายทอดประสบการณ์และวิชาการเป็นอาจารย์สอนวิชาจิตรกรรมที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ในยุคก่อตั้งและรับราชการในกองหัตถศิลป์ กรมศิลปากร ตั้งแต่ พ . ศ . ๒๔๘๓ ได้ลาออกจากราชการเมื่ออายุครบ ๕๕ ปี เพื่อสร้างสรรค์ศิลปะอย่างอิสระ ได้อุทิศตนเองให้แก่งานราชการอย่างเต็มที่ ในปัจจุบันยังคงสร้างสรรค์งานศิลปะและใช้ชีวิตอย่างสงบเรียบง่าย เป็นศิลปินผู้มีคุณสมบัติเพียบพร้อมทุกประการ เป็นแบบอย่างที่ดีแก่อนุชนรุ่นหลังได้เป็นอย่างดี   นายสนิท ดิษฐพันธุ์ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( จิตรกรรม ) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๒ ประวัติด้านการศึกษา ประวัติด้านการทำงาน ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ๒๔๗๘ โรงเรียนศิลปากร ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๘๓ ผู้ช่วยช่าง กรมศิลปากร
  • 22. รางวัล & เกียรติคุณ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ รางวัลในการประกวดศิลปะ โดยกลุ่มจักรวรรดิ์ศิลปิน ๒๔๙๑ รางวัลเกียรติยศ สถาบันวัฒนธรรมญี่ปุ่นจัดขึ้นที่อาคาร ถนนราชดำเนิน ๒๔๙๒ รางวัลเกียรติยศ ๒๔๙๓ รางวัลเกียรตินิยมเหรียญเงิน ๒๔๙๖ รางวัลเกียรตินิยมเหรียญเงิน ๒๕๓๒ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
  • 23. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย ทวี นันทขว้าง สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : จิตรกรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๓ คำประกาศเกียรติคุณ นายทวี นันทขว้าง เกิดเมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๖๘ ที่จังหวัดลำพูน เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญด้านจิตกรรม ซึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือในวงการศิลปะและศิลปศึกษาโดยทั่วไปได้สร้างสรรค์ผลงานจิตกรรมไว้เป็นจำนวนมาก ได้รับรางวัลเกียรตินิยมเหรียญทองหลายครั้งและได้เป็นศิลปินชั้นเยี่ยมจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ เป็นผู้หนึ่งที่บุกเบิกงานด้านจิตกรรมที่มีอิทธิพลแก่ยุวศิลปินอีกหลายคน ในด้านวิชาการนั้นเป็นอาจารย์ของมหาวิทยาลัยศิลปากรจนเกษียณอายุราชการ เป็นศิลปินที่ไม่ยอมหยุดนิ่ง ได้พัฒนาและคลี่คลายผลงานอยู่ตลอดเวลา มีผลงานการสร้างสรรค์ที่ผสมผสานระหว่างแบบเหมือนจริงกับแบบเหนือจริงตามแบบของตนเองอันเป็นคุณลักษณะพิเศษในเรื่องความงามและความรู้สึกซึ่งรังสรรค์
  • 24. ขึ้นมาจาก จินตนาการที่สร้างสรรค์อย่างอิสระ ผลงานในช่วงหลังจนถึงปัจจุบันไม่ผาดโผนเป็นไปอย่างเรียบ ๆ แต่มีความประณีต ลึกซึ้ง มีสมาธิ วุฒิภาวะและมีความมั่นใจ ถึงแม้จะไม่ไปข้างหน้าแต่ก็ไปทางลึกและทางสงบ ได้ใช้ผลงานศิลปะและวิชาการบริการสังคมมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน และยังคงสร้างสรรค์ผลงานอยู่ตลอดเวลา นับว่าเป็นศิลปินผู้มีคุณสมบัติเพียบพร้อมทุกประการ เป็นแบบอย่างที่ดียิ่งแก่อนุชนรุ่นหลัง   นายทวี นันทขว้าง จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( จิตรกรรม ) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๓   ประวัติด้านการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ประถมศึกษาปีที่๔ โรงเรียนมงฟอร์ดวิทยาลัย มัธยมศึกษาปีที่๖ โรงเรียนประจำจังหวัดลำพูน ๒๔๘๖ โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๘๘ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๔ DIPLOMA ACADEMY OF FINE ARTS OF ROME
  • 25. ประวัติด้านการทำงาน ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๙๒ ตำแหน่งครูชั้นตรี โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๙๗ ประจำแผนกเผยแพร่และประกวด กองส่งเสริมและเผยแพร่กรมการข่าว ๒๔๙๙ ผู้ถวายคำแนะนำด้านศิลปะ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๕ อาจารย์โท มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะจิตรกรรมประติมากรรม ๒๕๑๑ อาจารย์เอก มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะจิตกรรมประติมากรรม ๒๕๑๖ หัวหน้าภาควิชาจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๓ ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ ๗ ภาควิชาประยุกต์ศิลป์ คณะ มัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๘ ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ ๘ ภาควิชาประยุกต์ศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 26. รางวัล & เกียรติคุณ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๓ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๒ ๒๔๙๔ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๓ ๒๔๙๖ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๔ ๒๔๙๙ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๗ ๒๔๙๙ ได้รับเกียรติยกย่องให้เป็นศิลปินชั้นเยี่ยมประเภทจิตรกรรม ๒๕๐๐ รางวัลพิเศษ จากนิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติ ผลงานทิวทัศน์ยอดเยี่ยมประจำปี ๒๕๐๑ รางวัลพิเศษ จากนิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติ ผลงานภาพเหมือนยอดเยี่ยมประจำปี ๒๕๐๔ รางวัลที่ ๒ เหรียญเงิน จากนิทรรศการศิลปะ ณ เมือง BRACCIANO ประเทศอิตาลี ๒๕๓๓ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
  • 27. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย สวัสดิ์ ตันติสุข สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : จิตรกรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๔ คำประกาศเกียรติคุณ นายสวัสดิ์ ตันติสุข เกิดเมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๖๘ ที่กรุงเทพมหานคร เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญผู้บุกเบิกศิลปะสมัยใหม่ของประเทศ มีผลงานจิตกรรมดีเด่นเป็นที่ยอมรับของวงการศิลปะทั้งในอดีตและปัจจุบันได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะอย่างต่อเนื่องเป็นเวลายาวนานกว่า ๕๐ ปี การบุกเบิกงานจิตกรรมที่สำคัญคือได้สร้างสรรค์ผลงานจากแบบที่เป็นรูปธรรมเข้าสู่แบบนามธรรมซึ่งมีผลต่อพัฒนาการด้านจิตกรรมของศิลปินรุ่นหลังเป็นอย่างมาก ทำให้ศิลปินไทยประสบความสำเร็จในวงการศิลปะนานาชาติ และยังได้อุทิศตน ให้กับการสอนและการเผยแพร่ศิลปะ
  • 28. โบราณและสมัยใหม่ให้แก่นักศึกษาในสถาบันการศึกษาและประชาชนทั่วไป ได้ร่วมแสดงผลงานในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ศิลปะนานาชาติ และการแสดงศิลปะอื่นๆ มากมายจนถึงปัจจุบัน ผลงานศิลปะและวิชาการทางศิลปะเป็นประโยชน์ต่อสังคมในทางสร้างสรรค์เป็นอย่างมาก ได้รับรางวัลและเกียรติคุณจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติและนานาชาติ เป็นศิลปินชั้นเยี่ยมของการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ดำรงชีวิต สร้างสรรค์ศิลปะ และประกอบกิจการงานด้วยคุณธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่อนุชนรุ่นหลัง   นายสวัสดิ์ ตันติสุข จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( จิตรกรรม ) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ ประวัติด้านการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ๒๔๘๕ ประกาศนียบัตรประโยคครูประถมการช่าง ( ป . ป . ช .) โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๘๘ อนุปริญญา มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 29. ประวัติด้านการทำงาน รางวัล & เกียรติคุณ รักษาการในตำแหน่งคณบดีคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร หัวหน้าภาควิชาประติมากรรม คณะจิตรกรรมฯ ประธานกรรมการบริหารประจำคณะจิตรกรรมฯ ๒๔๙๙ ทำการแทนเลขาธิการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๓ อาจารย์ใหญ่ โรงเรียนช่างศิลป กรมศิลปากร ๒๕๒๘ ผู้อำนวยการวิทยาลัยช่างศิลป กรมศิลปากร ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๒ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ เหรียญทองแดง ( จิตรกรรม ) การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๑ ๒๔๙๓ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ( จิตรกรรม ) การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๒ ๒๔๙๔ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ( จิตรกรรม ) การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๓ ๒๔๙๖ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ( จิตรกรรม ) การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๔
  • 30. รางวัล & เกียรติคุณ ๒๔๙๗ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ( จิตรกรรม ) การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๕ ๒๔๙๘ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ( จิตรกรรม ) การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ ๒๔๙๘ ศิลปินชั้นเยี่ยม จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ๒๕๐๒ รางวัลเหรียญทอง การประกวดภาพเขียน เมืองราเวนนา อิตาลี ๒๕๐๓ รางวัลที่ ๑ การประกวดภาพเขียนของมหาวิทยาลัยแห่งโรม ๒๕๐๔ รางวัลที่ ๑ ประเภทสีน้ำ การประกวดภาพเขียน ขององค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ๒๕๐๕ รางวัลที่ ๒ การแสดงศิลปะนานาชาติ กรุงไซง่อน ประเทศเวียดนามใต้ ๒๕๑๒ รางวัลงานมหกรรมศิลปะ ณ เมืองคานส์ ประเทศฝรั่งเศส ๒๕๒๗ ศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมาศักดิ์ สาขาจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๘ ศิลปินอาวุโส กรมศิลปากร ๒๕๓๔ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๓๕ ราชบัณฑิต ประเภทวิจิตรศิลป์ สาขาจิตรกรรม
  • 31. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย ประยูร อุลุชาฎะ สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : จิตรกรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๕ คำประกาศเกียรติคุ ณ นายประยูร อุลุชาฎะ เกิดเมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๗๑ ที่จังหวัดสมุทรปราการ เป็นศิลปินที่มีความสามารถเป็นพิเศษในด้านจิตกรรมแบบเก่าและแบบใหม่เป็นผู้บุกเบิกจิตรกรรมแบบใหม่และอนุรักษ์จิตรกรรมแบบเก่า เป็นทั้งศิลปินและนักวิชาการได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะต่อเนื่องตลอดมาเป็นเวลามากกว่า ๕๐ ปี ผลงานเป็นที่ยอมรับของวงการศิลปะและสถาบันศิลปะ มีผลงานในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ การแสดงศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัยของไทยในต่างประเทศ และติดตั้งถาวรในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ และได้รับปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 32. จากการอุทิศตนให้กับการสร้างสรรค์และอนุรักษ์ศิลปะเป็นเวลาอันยาวนาน คุณค่าของผลงานศิลปะและวิชาการของนายประยูร อุลุชาฎะ แสดงถึงความมีคุณธรรมและจริยธรรม จึงได้รับการยอมรับนับถือเป็นปูชนียบุคคลในวงการศิลปะและวิชาการ และในฐานะศิลปินคนสำคัญที่ยังสร้างสรรค์ และอุทิศตนให้กับสังคมในปัจจุบัน เป็นตัวอย่างที่ดีงามแก่อนุชนรุ่นหลัง   นายประยูร อุลุชาฎะ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( จิตรกรรม ) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๕ ประวัติด้านการศึกษา ประวัติด้านการทำงาน ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ๒๔๘๖ มัธยมศึกษา โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๙๒ อนุปริญญาศิลปบัณฑิตด้านจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน นายกสมาคม สมาคมจิตรกร ประติมากรสมาคมแห่งประเทศไทย ๒๔๙๗ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนศิลปศึกษา เตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๔๙๙ เลขาธิการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 33. รางวัล & เกียรติคุณ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๓ รางวัลที่ ๓ เหรียญทองแดง ๒๔๙๖ รางวัลที่ ๓ เหรียญทองแดง ๒๔๙๘ รางวัลที่ ๑ เหรียญทอง ๒๔๙๙ รางวัลที่ ๓ เหรียญทองแดง ๒๕๐๓ รางวัลที่ ๓ เหรียญทองแดง ๒๕๒๖ ปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ๒๕๒๗ ศิลปินอาวุโส มูลนิธิหอศิลป ๒๕๓๐ พระราชทานกิตติบัตร สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ๒๕๓๐ รางวัลชมเชย ๒๕๓๕ รางวัลชมเชย ในการประกวดหนังสือดีเด่น คณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ ๒๕๓๕ โล่เกียรติคุณนักศึกษาดีเด่น ๒๕๓๕ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๓๖ เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎไทย ชั้นที่ ๔ ชื่อ จัตุราถาภรณ์
  • 34. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย พินิจ สุวรรณะบุญย์ สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : การออกแบบประยุกต์ศิลป์ ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๖ คำประกาศเกียรติคุณ นายพินิจ สุวรรณะบุณย์ เกิดเมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๔๖๙ ที่จังหวัดสมุทรสาคร เป็นนักออกแบบประยุกต์ศิลป์อาวุโสคนสำคัญ ที่มีผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับในวงการศิลปะและการออกแบบ ได้อุทิศตนให้กับงานศิลปะการออกแบบเพื่อส่วนรวมมาเป็นเวลามากกว่า ๔๕ ปี เป็นนักออกแบบที่ได้นำเอาศิลปะแบบประเพณีของไทยมาใช้ในการออกแบบอย่างได้ผลดี นอกจากมีความสามารถในการสร้างสรรค์แล้วยังทำหน้าที่ในการอนุรักษ์และสืบต่อศิลปะแบบประเพณีอย่างต่อเนื่อง ออกแบบเหรียญตรา เครื่องหมาย ซึ่งใช้ในพระราชพิธีและในงานของราชการที่สำคัญเป็นจำนวนมาก อีกทั้งเขียนภาพและคัดลอกจิตกรรมไทยแบบประเพณีเพื่อการตกแต่งและงานอนุรักษ์  
  • 35. ได้ให้การบริการและเผยแพร่ผลงานศิลปะและการออกแบบมาเป็นเวลาอันยาวนาน ในด้านวิทยาทานนั้นเคยเป็นอาจารย์ในแผนกช่างสิบหมู่ โรงเรียนศิลปศึกษา ใน คณะ สถาปัตยกรรมไทยและคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นผู้ที่ให้วิทยาทานและให้ความร่วมมือแก่ชุมชนเป็นอย่างดี ได้รับราชการในกองหัตถศิลป กรมศิลปากร เมื่อ พ . ศ . ๒๔๘๗ อุทิสตนให้กับงานราชการเพื่อส่วนรวมเป็นเวลา ๔๒ ปี ได้รับการยกย่องเป็นข้าราชการตัวอย่าง ในด้านศิลปะนั้นได้รับรางวัลเกียรตินิยมในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ และปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิจิตรศิลป์ จากมหาวิทยาลัยเคลตันมลรัฐแคลิเฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันนี้ยังคงสร้างผลงานการออกแบบและให้บริการทางวิชาการ ใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และอย่างมีคุณธรรม ยังประโยชน์แก่สังคม เป็นศิลปินที่อยู่ในคุณงามความดี เป็นแบบอย่างแก่อนุชนรุ่นหลัง ได้ดำเนินรอยตามสืบไป   นายพินิจ สุวรรณะบุณย์ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( การออกแบบประยุกต์ศิลป์ ) ประจำพุทธศักราช ๒๕๓๖ ประวัติด้านการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ประถมศึกษาที่ ๖ โรงเรียนหอมทวนลม มัธยมศึกษาที่ ๔ โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข ๒๔๘๓ - โรงเรียนศิลปากร ( ประณีตศิลปกรรม )
  • 36. ประวัติด้านการทำงาน ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๘๗ ช่างจัตวา กองสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร ๒๔๙๖ อาจารย์แผนกช่างสิบหมู่ โรงเรียนศิลปศึกษา ๒๔๙๖ ช่างตรี กองหัตถศิลป กรมศิลปากร ๒๔๙๘ อาจารย์พิเศษ คณะสถาปัตยกรรมไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๓ ช่างศิลปตรี กรมศิลปากร ๒๕๐๔ ช่างศิลปโท กรมศิลปากร ๒๕๑๒ อาจารย์พิเศษ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๓ รองประธานกรรมการ ฝ่ายประณีตศิลป ๒๕๑๔ ช่างศิลปเอก แผนกช่างเขียน กรมศิลปากร ๒๕๑๘ นายช่างศิลปกรรม ๖ กองหัตถศิลป กรมศิลปากร ๒๕๒๐ อนุกรรมการสร้างและซ่อมแซมปรับปรุงพระที่นั่งอนันตสมาคม ฝ่ายสถาปัตยกรรมและจิตรกรรมฝาผนัง ๒๕๒๑ อนุกรรมการฝ่ายศิลปกรรม ๒๕๒๑ นายช่างศิลปกรรม ๗ กองหัตถศิลป กรมศิลปากร ๒๕๒๓ กรรมการในคณะกรรมการวางแผนผลิตเหรียญกษาปณ์และเหรียญที่ระลึก กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ๒๕๒๕ คณะทำงานกำหนดแบบศิลปะ และวิธีการบูรณะบุษบกทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฎิมากร
  • 37. ประวัติด้านการทำงาน รางวัล & เกียรติคุณ ๒๕๒๕ นายช่างศิลปกรรม ๘ กองหัตถศิลป กรมศิลปากร ๒๕๒๗ ผู้ช่วยหัวหน้างานสถาปัตยกรรมและงานศิลปกรรม ๒๕๒๘ ผู้แทนกรมศิลปากรในคณะกรรมการวางแผนการผลิตเหรียญที่ระลึก กระทรวงการคลัง ๒๕๓๐ ผู้ตรวจงานซ่อมบูรณะปฎิสังขรณ์ฉัตรประดับรอบฐานชุกชีพระพุทธมหามณีรัตนปฎิมากร สำนักราชเลขาธิการ ๒๕๓๓ กระทรวงศึกษาธิการ กรรมการในคณะกรรมการพิจารณาการสร้างอนุสาวรีย์แห่งชาติ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๗ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๐ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๒ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๑๕ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๒๐ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๒๒ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๒๔ ข้าราชการตัวอย่าง กระทรวงศึกษาธิการ
  • 38. รางวัล & เกียรติคุณ ๒๕๒๕ พ่อตัวอย่าง ๒๕๒๗ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๒๙ ปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยเคลตั้น ( CLAYTON UNIVERSITY) มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ๒๕๓๐ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๓๔ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๓๖ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕๓๘ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๔๐ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ๒๕๔๓ เครื่องราชอิสริยาภรณ์
  • 39. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย ชำเรือง วิเชียรเขตต์ สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : ประติมากรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๓๙ คำประกาศเกียรติคุณ นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ เกิดเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๔ ที่จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญด้านประติมากรรม ซึ่งมีผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับในวงการศิลปะและศิลปศึกษาโดยทั่วไป ได้สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมจำนวนมากและอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน มีผลงานแสดงในนิทรรศการศิลปะและสถาบันศิลปะทั้งในและต่างประเทศ และมีผลงานติดตั้งในสาธารณสถานหลายแห่ง ได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ประเภทประติมากรรมจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ และได้รับเลือกเป็นผู้แทนไทยในการประชุม
  • 40. ปฏิบัติการประติมากรรมอาเซียน นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ เป็นผู้บุกเบิกและยืนหยัดการสร้างสรรค์ประติมากรรมเป็นเวลาสี่สิบกว่าปีหลังจากที่ศึกษาวิชาศิลปะที่โรงเรียนเพาะช่างและที่มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นเวลา ๗ ปี ได้คลี่คลายผลงานจากประติมากรรมแบบจริงไปสู่แบบนามธรรม เป็นประติมากรนามธรรมคนแรกของไทยผลงานประติมากรรมของนายชำเรือง วิเชียรเขตต์ อยู่ในแนวสร้างสรรค์ศิลปะแล้ว นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ ได้ทำหน้าที่เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ โดยเป็นอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่วิทยาลัยช่างศิลป์ และมหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นเวลา ๓๔ ปี และหลังจากที่ลาออกจากราชการเพื่ออุทิศตนให้กับการสร้างสรรค์ศิลปะเมื่อ พ . ศ . ๒๕๓๐ ยังคงเป็นอาจารย์พิเศษที่มหาวิทยาลัยศิลปากรและสถาบันอื่นอีกหลายแห่ง ในด้านให้บริการแก่ชุมชนนั้น นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ ได้เข้าร่วมกิจกรรมทางศิลปะเพื่อสังคม และให้บริการทางวิชาการเมื่อได้รับการขอความร่วมมือโดยตลอดมา อาจจะกล่าวได้ว่า นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ เป็นหลักสำคัญในด้านประติมากรรมของวงการศิลปะและศิลปศึกษาของไทยเรา นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ ดำรงชีวิตและสร้างสรรค์ศิลปะอย่างเรียบง่ายด้วยคุณธรรมและจริยธรรมอุทิศตนให้กับศิลปะและสังคมมาเป็นเวลาอันยาวนาน เป็นตัวอย่างแก่คนรุ่นหลังเป็นอย่างดียิ่ง   นายชำเรือง วิเชียรเขตต์ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ ( ประติมากรรม ) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๙  
  • 41. ประวัติการศึกษา ประวัติด้านการทำงาน รางวัล & เกียรติคุณ ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๙๓ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๙๗ อาจารย์สอนวิชาศิลปะ โรงเรียนศิลปศึกษา ๒๕๐๒ อาจารย์ คณะจิตกรรมและประติมากรรม ๒๕๑๗ อาจารย์สอนภาควิชาประยุกต์ศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ ๒๔๙๘ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๔๙๙ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ เหรียญทองแดง ๒๕๐๐ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๐๑ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๐๒ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๐๖ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๐๗ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๐๘ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทอง ๒๕๑๐ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๑๑ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๒ เหรียญเงิน ๒๕๑๒ รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ เหรียญทองแดง ๒๕๓๙ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
  • 42. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ นาย ชลูด นิ่มเสมอ สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : ประติมากรรม ปีที่ได้รับ :   ๒๕๔๑ คำประกาศเกียรติคุณ ศาสตราจารย์ชะลูด นิ่มเสมอ เกิดเมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๔๗๒ ที่จังหวัดธนบุรี ได้รับปริญญาตรีศิลปะบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ ๑ ( ด้านประติมากรรม ) จากมหาวิทยาลัยศิลปากร รับราชการครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ดีโพลมาจากสถาบันประณีตศิลป์ แห่งกรุงโรม ประเทศอิตาลี ได้รับทุนไปศึกษาดูงาน ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา อิตาลี ประเทศฝรั่งเศส เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถในการสร้างสรรค์งานศิลปะอันมีคุณค่า ทั้งงานจิตรกรรม ประติมากรรม และ ภาพพิมพ์ เป็นอาจารย์สอนวิชาวาดเส้น องค์ประกอบศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ทัศนียวิทยา ทฤษฎีสี ฯลฯ เคยดำรงตำแหน่งคณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์
  • 43. ซึ่งนอกจากงานสอน งานบริหารแล้ว ยังได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะด้านจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์และสื่อผสม ที่มีคุณค่าทางศิลปะไว้เป็นจำนวนมากจนได้รับรางวัลเหรียญทอง เหรียญเงินและเหรียญทองแดงทั้งในและต่างประเทศ จำนวน ๑๓ รางวัล ศาสตราจารย์ชลูด เป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะช่วงรอยต่อระหว่างยุคเก่ากับยุคใหม่ของวงการศิลปะสมัยใหม่ของไทย ผลงานยุคแรก ๆ เป็นผลงานด้านจิตรกรรมที่นำเรื่องราวของคนชนบทมาเป็นเนื้อหาในการแสดงออกถึงความสัมพันธ์และความเอื้ออาทรต่อกันเป็นการสะท้อนวัฒนธรรมของคนไทยในรูปของงานศิลปะในชุดชาวนาไทย , สงกรานต์ , ความบริสุทธิ์แห่งธรรมชาติ ระยะต่อมาศาสตราจารย์ชะลูด ได้สร้างสรรค์ผลงานด้านประติมากรรมที่มีชื่อเสียงจำนวนมากที่พิเศษอันมีชื่อเสียงเป็นที่ประจักษ์คือ งานประติมากรรมที่ติดตั้งภายนอกอาคาร นอกจากจะมีคุณค่าสูงในทางประติมากรรมที่มีความสัมพันธ์กับอาคารสถานที่แล้ว ยังทำให้เกิดบรรยากาศพิเศษที่งดงามรวมไปด้วย ประติมากรรมเหล่านี้ตั้งให้สาธารณชนได้ชื่นชมในที่สาธารณะ เช่น “ เงินพดด้วง ” หน้าอาคารสำนักงานใหญ่ธนาคารกสิกรไทย “ โลกุตระ ” ที่หน้าอาคารศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ “ พระบรมโพธิสมภาร ” ที่หน้าอาคารมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ฯลฯ ซึ่งประติมากรรมดังกล่าวเป็นที่ยกย่องในความคิดและปรัชญาของผู้สร้างสรรค์จนเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย  
  • 44. ในขณะรับราชการศาสตราจารย์ชะลูด ได้สร้างคุณูปการทางศิลปะแก่แผ่นดินไว้เป็นจำนวนมาก เป็นผู้บุกเบิกความรู้ทางวิชาการศิลปะให้แก่ประเทศไทย จนนับได้ว่าเป็นเสาหลักคนหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย์ชะลูดเป็นคณบดีของคณะจิตรกรรมที่สร้างลูกศิษย์ทางศิลปะที่มีคุณภาพมาเป็นจำนวนมาก ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม สาขาทัศนศิลป์ ( ประติมากรรม ) เมื่อ พ . ศ . ๒๕๓๙   ศาสตราจารย์ชะลูด นิ่มเสมอ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( ประติมากรรม ) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๔๑   ประวัติการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา ๒๔๘๖ มัธยมศึกษาปีที่๖ โรงเรียนวัดนวลนรดิส ๒๔๙๒ ฝึกหัดครูประถมการช่างชั้นปีที่๒ โรงเรียนเพาะช่าง ๒๔๙๗ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๔๙๙ ประกาศนียบัตร Academy of Fine Arts ,Rome ๒๕๐๖ ประกาศนียบัตร สหรัฐอเมริกา
  • 45. ประวัติด้านการทำงาน ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๔๙๘ อาจารย์ตรี คณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๖ อาจารย์โท คณะจิตรกรรมและประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๘ อาจารย์ ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๒ หัวหน้าภาควิชาภาพพิมพ์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๗ หัวหน้าภาควิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๑๙ คณะบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๐ รักษาการหัวหน้าภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๒๕ รองศาสตราจารย์ ระดับ๙ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๓๒ ศาสตราจารย์ สาขาทัศนศิลป ระดับ ๑๐ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 46. รางวัล & เกียรติคุณ ปีที่ได้รับ ชื่อรางวัล หน่วยงานที่มอบ รางวัลภาพพิมพ์ จาก INTERNATIONAL BIENNIAL OF PRINTS IN TOKYO, ญี่ปุ่น ๒๕๐๗ ๒๔๙๘ เกียรตินิยม อันดับ ๑ ( เอกณรงค์ ) ๒๔๙๘ เกียรตินิยม อันดับ ๒ ( จิตรกรรม ) ๒๔๙๘ เกียรตินิยม อันดับ ๒ ( ประติมากรรม ) ๒๔๙๙ เกียรตินิยม อันดับ ๑ ( จิตรกรรม ) ๒๔๙๙ เกียรตินิยม อันดับ ๑ ( เอกรงค์ ) ๒๔๙๙ เกียรตินิยม อันดับ ๒ ( ประติมากรรม ) ๒๕๐๒ เกียรตินิยมอันดับ ๑ ( จิตรกรรม ) ๒๕๐๒ ศิลปินชั้นเยี่ยม สาขาจิตรกรรม ๒๕๐๖ รางวัลภาพพิมพ์ จาก INTERNATIONAL BIENNIAL OF GRAPHIC ART, ยูโกสลาเวีย ๒๕๔๑ รางวัล ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
  • 47. ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ศาสตราจารย์ ประหยัด พงษ์ดำ สาขา :   ทัศนศิลป์ ( วิจิตรศิลป์ ) สาขาย่อย : ภาพพิมพ์ ปีที่ได้รับ :   ๒๕๔๑ คำประกาศเกียรติคุณ ศาสตราจารย์ ประหยัด พงษ์ดำ เกิดเมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม พ . ศ . ๒๔๗๗ ที่จังหวัดสิงห์บุรี สนใจวาดภาพสัตว์ต่าง ๆ มาตั้งแต่เด็ก หลังจากเข้ารับการศึกษาศิลปะที่โรงเรียนเพาะช่างและมหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับปริญญาตรีศิลปะบัณฑิต ( จิตรกรรม ) แล้ว ได้รับทุนการศึกษาจากรัฐบาลอิตาลีไปศึกษาต่อ ณ สถาบันประณีตศิลป์แห่งกรุงโรมศึกษาจบหลักสูตรได้รับดีโพลมา ในปี พ . ศ . ๒๕๐๔ ศาสตราจารย์ประหยัดได้สร้างชื่อเสียงการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ได้รับรางวัลในการแสดงงานศิลปะ ณ ประเทศอิตาลีหลายรางวัล และเมื่อกลับมาเมืองไทยแล้วได้คิดค้นสร้างสรรค์กรรมวิธีภาพพิมพ์ด้วยเทคนิควิธีแปลกใหม่ ที่มีคุณประโยชน์อย่างมาก แก่วงการศิลปะภาพพิมพ์ เป็นผู้ริเริ่มออกแบบ
  • 48. สร้างสรรค์ดวงตราไปรษณียากรที่มีคุณค่าทางศิลปะอันงดงาม สร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์ จนได้รับรางวัลทั้งในและต่างประเทศ พ . ศ . ๒๕๐๖ ได้รับเลือกเป็นศิลปินเกียรติยศ สาขาภาพพิมพ์ จากสถาบันศิลปะ กรุงฟลอเรนซ์ อิตาลี โดยรัฐบาลอิตาลี พ . ศ . ๒๕๒๔ ได้รับเกียรติเป็นศิลปินชั้นเยี่ยมในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติในประเทศไทย พ . ศ . ๒๕๓๙ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม ได้รับพระกรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้เขียนภาพประกอบในหนังสือพระมหาชนก จำนวน ๔ ภาพ ศาตราจารย์ประหยัด ยังได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน ผลงานมีคุณค่าเป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ เป็นผู้มีอาวุโสผู้หนึ่งที่ยังให้การศึกษาแก่ศิษย์ ในคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากรในปัจจุบัน เคยดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาภาพพิมพ์ คณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งหอศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้สร้างคุณประโยชน์อย่างมากไว้แก่วงการศิลปะ และการศึกษาศิลปะของไทย   ศาสตราจารย์ประหยัด พงษ์ดำ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ( ภาพพิมพ์ ) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๔๑
  • 49. ประวัติการศึกษา ประวัติด้านการทำงาน ปีที่สำเร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาที่จบ สถานที่ศึกษา มัธยมศึกษาปีที่๖ โรงเรียนสิงหวัฒนาพาหะ มัธยมศึกษาปีที่๕ โรงเรียนนาคประดิษฐ์วิทยาลัย ประถมศึกษาปีที่๔ โรงเรียนประชาบาลวัดกุฎีทอง ปี ตำแหน่ง สถานที่ทำงาน ๒๕๐๑ อาจารย์ตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๐๔ อาจารย์โท คณะจิตกรรมฯ มหาวิทย�