พระพุทธศาสนา

นายวินิตย์ ศรีทวี
นายวินิตย์ ศรีทวีนายวินิตย์ ศรีทวี
LOGO




       วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง
เนื้อหา

                บทนา
1   ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธ
2    ความสาคัญของพระพุทธศาสนา
3    ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา
4    หลักการสาคัญของศาสนาพุทธ
5   องค์ประกอบของพระพุทธศาสนา
6    หลักธรรมสาคัญของศาสนาพุทธ
7      การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
8      นิกายของพระพุทธศาสนา
ยอดเขาเอเวอร์เรส สูงสุดของโลกที่เทือกเขาหิมาลัย



                                             ภาพ : ยอดเอเวอร์เรส / เขตเทือกเขาสูง หิมาลัย
                                             ที่มา : http://www.world.th.in




ภาพ : ลักษณะภูมิประเทศในเขตเนปาล / หิมาลัย
ที่มา : http://www.world.th.in
เทือกเขาหิมาลัย ดินแดนสูงสุดของโลกอยู่ในเนปาล



                                                 ภาพ : ลักษณะภูมิประเทศในเขตเนปาล / หิมาลัย
                                                 ที่มา : http://www.world.th.in




ภาพ : ลักษณะภูมิประเทศในเขตเทือกเขาสูง หิมาลัย
ที่มา : http://www.world.th.in
ดินแดนชมพูทวีป ถิ่นกาเนิดพระพุทธศาสนา

                                                                         ภาพ : แผนที่แสดงอาณาเขตชมพูทวีป
                                                                         ที่มา : http://www.palungjit.com




ภาพ : พระพุทธรูปรุ่นแรก/แบบคัณธาราฐ
ที่มา : http://www.1080ip.com

                                      ภาพ : แผนที่แสดงอาณาเขตแคว้นมคธ
                                      ที่มา : http://www.palungjit.com
ดินแดนชมพูทวีป ถิ่นกาเนิดพระพุทธศาสนา




ภาพ : ภาพจาลองทวีปต่าง ๆของโลก
ที่มา : http://www.osesao.net

         ภาพ : ภาพจาลองทีตงแสดงชมพูทวีปทัง 16 แคว้น
                              ่ ั้         ้
         ที่มา : http://mcucity.tripod.com
เมืองโบราณ กรุงกบิลพัสดุ์ในเขตประเทศเนปาล




                                          วีดทัศน์พุทธประวัติ : 25 นาที
                                             ิ
เมืองโบราณ กบิลพัสดุ์                     ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha

ที่มา : http://www.palungjit.com
หลักฐานประวัติศาสตร์แคว้นสักกะ




เมืองโบราณ กบิลพัสดุ์
ที่มา : http://www.palungjit.com
ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา




ภาพ : พระสถูปเมืองรามคาม กรุงเทวทหะ
ที่มา : http://www.palungjit.com

                                               ภาพ : พระพุทธรูปรุ่นแรก/แบบคัณธาราฐ
                                               ที่มา : http://www.1080ip.com

                      หลักฐานประวัติศาสตร์สมัยพุทธกาล
ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา




ภาพ : ป่าสาละระหว่างทางกบิลพัสด์ กับ กรุงเทวทหะ
ที่มา : http://www.palungdham.com

                                                  ภาพ : แผนที่แสดงอาณาเขตแคว้นมคธ
     วีดทัศน์กาเนิดสิทธัตถะ
        ิ                                         ที่มา : http://www.palungjit.com

ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha
ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา



                                                     ภาพ : สิทธัตถะนคร ชายแดนอินเดียกับเนปาล
                                                             สาธารณรัฐอินเดีย
                                                     ที่มา : http://www.palungdham.com




ภาพ : หมู่บ้านปริปาวะห์ ชายแดน สาธารณรัฐอินเดียกับ
        ราชอาณาจักรเนปาล
ที่มา : http://www.palungdham.com


           วีดทัศน์แคว้นสักกะ
              ิ
ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา




ภาพ : วิหารมายาเทวี ชายแดน สาธารณรัฐอินเดียกับ
        ราชอาณาจักรเนปาล
ที่มา : http://www.palungdham.com

          วีดิทัศน์ นางมายาสิ้นพระชนม์
                ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha
ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา


                                                   ภาพ : เมืองโบราณบริเวณวิหารมายาเทวี
                                                           ราชอาณาจักรเนปาล
                                                   ที่มา : http://www.palungdham.com




ภาพ : สระน้าบริเวณวิหารมายาเทวี ราชอาณาจักรเนปาล
ที่มา : http://www.palungdham.com

       วีดทัศน์ พระนางพิมพา/สิทธัตถะ
          ิ
             ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha
ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา
                                                                             ภาพ : พระพุทธรูปแบบคัณธาราฐ
                                                                             ที่มา : http://www.1080ip.com




ภาพ : วิหารมายาเทวี ชายแดน สาธารณรัฐอินเดียกับ
        ราชอาณาจักรเนปาล
ที่มา : http://www.palungdham.com

                                                 ภาพ : แผนที่แสดงอาณาเขตแคว้นมคธ
                                                 ที่มา : http://www.palungjit.com
ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา




                                                    ภาพ : ประตูเมือง กรุงกบิลพัสดุ์ด้านตะวันตก
                                                    ที่มา : http://www.radompon.com


ภาพ : ร่องรอยประตูเมือง กรุงกบิลพัสดุด้านตะวันออก
                                     ์
ที่มา : http://www.radompon.com



              วีดิทัศน์ออกผนวช 1
          ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha
ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา
                                             หลักฐานประวัติศาสตร์
                                             อินเดียสมัยพุทธกาล
                                           ภาพ : ร่องรอยเมืองโบราณกบิลพัสดุ์ ประตูเมืองด้าน
                                                 ตะวันตก
                                           ที่มา : http://www.palungjit.com




ภาพ : เมืองโบราณ สารนาถ สถานที่ปฐม เทศนา
ที่มา : http://www.thaigoodview.com


         วีดิทัศน์ ออกผนวช 2
     ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha
ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา




ภาพ : การศึกษาหลักฐาน สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
ที่มา : http://www.panorama.com

         หลักฐานประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
พระพุทธศาสนาเผยแผ่ทั่วภูมิภาคของโลก
 เพราะบทบาทของพระเจ้าอโศกมหาราช
ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา
   กาเนิดขึ้นในดินแดนชมพูทวีป(เอเชียใต้)
มี พระสัมมาสัมพุทธเจ้า (เจ้าชายสิทธัตถะ)
เป็นศาสดา ทรงแสวงหาสัจธรรม เมื่อ 29
พรรษา และ ทรงตรัสรู้วันขึ้น 15 ค่า
เดือนวิสาขะ(เดือน 6) ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์
แคว้นมคธ ในขณะมีพระชนม์ 35 พรรษา
ก่อนพุทธศักราช 45 ปี                        ภาพ : พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใต้ต้นโพธิ์
                                            ที่มา : http://www.whitemdia.org
       วีดทัศน์ แสวงหา 6 ปี
          ิ
   ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha
ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา
                                 ภาพ : พระพุทธเจ้าตรัสรู้
                                 ที่มา : http://www.radompon.com

                                         วีดทัศน์ ตรัสรู้วันเพ็ญเดือน
                                            ิ
                                         ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha




 ลาดับเหตุการณ์ คืนวันพุธเพ็ญเดือน 6 (วันวิสาขะบูชา)
บุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ ความระลึกชาติได้
จุตูปปาตญาณ คือ ความหยั่งรู้ในการเกิดของมนุษย์และสัตว์
อาสวักขยญาณ คือ ความรู้ในการขจัดกิเลสที่หมักหมมให้หมดสิ้น
ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา

       สถานที่ตรัสรู้ คือพุทธคยา ริมแม่น้าเนรัญชราและประกาศ
   ศาสนาที่สารนาถ(ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน) และแพร่หลายไปทั่ว
   อินเดีย จนเสด็จปรินิพพาน เริ่มใช้ พุทธศักราช หลัง
   ปรินิพพานราว 100 ปี พระพุทธศาสนา แบ่งแยกนิกายต่าง ๆ




ภาพ : พระพุทธเจ้าตรัสรู้
ที่มา : http://www.wikipedia.org
ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา



                      ภาพ : เทือกเขาหิมาลัย
                      ที่มา : http://www.radompon.com

   พระพุทธเจ้ามีบรรพบุรุษเป็นเชือสายอาระยันที่เข้ามา
                                  ้
ปกครองตนเองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในแคว้นสักกะ
ดินแดนชมพูทวีป แหล่งอุดมสมบูรณ์ด้วยแหล่งน้าและพืช
พรรณ ทั้งข้าวเจ้าข้าวสาลี ตั้งเมืองกบิลพัสดุอยู่ เชิงเขา
                                            ์
หิมาลัย ชายแดนอินเดียกับเนปาลปัจจุบัน
ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา



                ภาพ : จาลองลักษณะชาวอาระยัน
                ที่มา : http://www.mucity.triod.com

  ชาวอาระยันอพยพมาจากบริเวณยูเรเชีย พบแหล่งอุดม
สมบูรณ์แถบลุ่มแม่น้าคงคาและสินธุ ปกครองตนเองเป็น
แคว้นต่าง ๆ ประมาณ 21 แคว้น มีการใช้ศักราชตามสมัยของ
บุคคลสาคัญ เช่น อัญชันศักราช ของ แคว้นสักกะ
ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา

    แคว้นมคธ ในสมัยพระเจ้าจันทรคุปต์ปฐมราชวงศ์โมริยะ
สามารถ รวมชนเผ่าเป็นแคว้นขนาดใหญ่ มีบทบาทในการ
ปกครองรวมดินแดนให้เป็นหนึ่งเดียว มีวัฒนธรรมและวิถีชีวิต
ชาวพุทธเด่นกว่าแคว้นอื่น ๆ จึงเป็นแคว้นสาคัญของชมพูทวีป
    พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในชมพูทวีป ใน
สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช องค์อุปถัมภกพุทธศาสนาเถรวาท
ซึ่งที่มีหลักปฏิบัติทางสายกลาง( มัชฌิมาปฏิปทา)
ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา

  แคว้นมคธ เป็นแคว้นที่มีนักบวชลัทธิต่าง ๆ แสวงหาสัจธรรม
กันมากมาย โดยเฉพาะที่ อุรุเวลาเสนานิคม
  แนวทางการค้นหาสัจธรรมในชมพูทวีป 3 แนวทาง
    1. กามสุขัลลิกานุโยค (หมกมุ่นเสพสุขทางกามารมณ์ )
    2. อัตตกิลมถานุโยค (ทรมานตนให้ลาบาก )
    3. โยควิธี ฝึกจิตให้สงบ ที่ อาฬารดาบส กาลามโตคร กับ
อุทกดาบส รามบุตร เคยฝึกให้กับเจ้าชายสิทธัตถะ
ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา

การค้นหาสัจธรรมของพระพุทธเจ้าก่อนตรัสรู้
     1. ศึกษาจากสานักศิลปะวิทยาต่างๆ เช่น กับ อุทกดาบส
     2. บาเพ็ญทุกรกิริยา (อัตตกิลมถานุโยค)
     3. บาเพ็ญเพียรทางจิต
  เจ้าชายสิทธัตถะมีความรู้สูงสุดขั้น สมาบัติ 8 ศึกษามา 18
 สาขาศิลปะศาสตร์บัณฑิต เทียบได้กับปริญญาเอกทุกสาขาใน
 โลกปัจจุบัน
ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา


                                                                          ทรงประกาศศาสนาพุทธ
                                                                         เมื่อ วันเพ็ญ เดือน 8
                                                                         ก่อนพุทธศักราช 45 ปี
                                                                         (วันอาสาฬหบูชา)
                                            ภาพ : จิตรกรรมพระพุทธเจ้าทรงบาเพ็ญเพียร
                                            ที่มา : ผลงานนักเรียนโครงการอนุรักษ์


ภาพ : พระพุทธเจ้าทรงปฐมเทศนาแก่ปัจวัคคีย์
ที่มา : http://www.atclound.com
ความสาคัญของพระพุทธศาสนา

    พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาที่เกิดขึ้นมาเพื่อปรับปรุง และ
แก้ไขสังคมอินเดียในยุคนันให้ดีขึ้น จากการกดขี่ ชนชั้นวรรณะ
                          ้
ของสังคมพราหมณ์-ฮินดู การเหลื่อมล้าทางสังคม การถือ
ชั้นวรรณะ การใช้สัตว์เพื่อบวงสรวง บูชายัญ การกดขี่สตรีเพศ
    พระพุทธศาสนา จึงเป็นเสมือนน้าทิพย์ชโลมสังคมอินเดีย
โบราณให้ขาวสะอาด คาสอนของพระพุทธศาสนาทาให้สังคม
โดยทั่วไปสงบร่มเย็น
ความสาคัญของพระพุทธศาสนา

   พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาประเภท อเทวนิยม
เป็นหนึ่งในศาสนาสาคัญของโลกมีศาสนิกชนมากอันดับ 4
   พระพุทธศาสนา เป็น ศาสนาที่มุ่งการพ้นทุกข์หรือสอน
ให้รู้จักทุกข์และวิธีแก้ทุกข์ ให้พ้นจากความโลภ ความโกรธ
ความหลง และอวิชชา (การไม่รู้ความจริงในธรรมชาติ)
   เน้นการปฏิบัติด้วยปัญญา การทาความเข้าใจ และพิสูจน์
ทราบข้อเท็จจริง จนมองเห็นเหตุและผล และความเป็นไป
ตามธรรมชาติ
ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา

เป็นศาสนาแห่งความรู้และความจริง
 พุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งความรู้ เพราะเป็นศาสนาแห่ง
การตรัสรู้ของพระพุทธองค์เอง จากปัญญาของพระองค์ และ
ธรรมที่พระองค์ตรัสรู้คือ อริยสัจ 4 ก็เป็นความจริงอย่างแท้จริง
ทรงตรัสรู้โดยไม่มีใครสั่งสอน นักปราชญ์ทั้งหลายทั้งในอดีต
และปัจจุบันจึงกล่าวยกย่องว่าเป็นศาสนาที่ประกาศความเป็น
อิสระของมนุษย์ให้ปรากฏแก่โลกยิ่งกว่าศาสนาใดๆที่มีมา
ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา

 เป็นศาสนาแห่งอิสระเสรีภาพ
 พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ไม่ผูกติดกับพระเจ้า ไม่ได้
ผูกมัดตนเองไว้กับพระเจ้า ไม่พึ่งพาอานาจของพระเจ้า
     เชื่อในความสามารถของมนุษย์ว่ามีศักยภาพเพียงพอ โดย
ไม่ต้องพึ่งอานาจใด ๆ เชื่อว่ามนุษย์เองสามารถปลดเปลื้อง
ความทุกข์ได้โดยไม่รอการดลบันดาล พุทธศาสนาไม่มีการ
บังคับให้คนศรัทธา หรือเชื่อ แต่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยตนเอง
ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา

    ชาวพุทธทุกคน คือ พระเจ้าของตัวเอง เนื่องจากตัวเองเป็น
คนกาหนดชะตาชีวิตของตัวเอง ว่าจะมีความเจริญรุ่งเรืองใน
ชีวิตหรือมีความตกต่าในชีวิต จากการประพฤติปฏิบัติของ
ตัวเอง
    ซึ่งต่างกับศาสนาที่มีพระเจ้า ที่ชะตาชีวิตทั้งหมดล้วนเป็นสิ่ง
ที่พระเจ้ากาหนดมาแล้วเปลี่ยนแปลงไม่ได้ ไม่ว่าจะเจอเรื่องดี
หรือร้ายก็ต้องทนรับชะตากรรมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา

เป็นศาสนาประเภท อเทวนิยม
   พระพุทธศาสนาไม่มีความเชื่อว่าพระเจ้าดลบันดาลทุกสิ่ง
   ผู้สร้างทุกสิ่ง
ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา

 พระพุทธศาสนาเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎแห่งธรรมชาติ
3 ลักษณะ คือ
   1. กฎแห่งสภาวะ หรือมีธาตุทั้งสี่คอ ดิน น้า ลม และ ไฟ
                                    ื
ที่เปลี่ยนสถานะเป็นธาตุต่าง ๆกลับไปกลับมา
   2. กฎแห่งพระไตรลักษณ์
   3.กฎแห่งเหตุผล
 จึงเรียกว่าศาสนา อเทวนิยม คือ ศาสนาที่ไม่เชื่อในพระเจ้า
ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา

 เป็นศาสนาแห่งสันติภาพ
   พระพุทธศาสนาได้รับการยกย่องว่า เป็นศาสนา
แห่งสันติภาพอย่างแท้จริง เพราะไม่ปรากฏว่ามีสงครามศาสนา
เกิดขึ้นเลย
   การเผยแผ่ศาสนาไม่มีการบังคับผู้อื่นมานับถือ ให้เสรีภาพใน
การพิจารณา ให้มีปัญญากากับความศรัทธา
หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา

   พุทธศาสนา สอน "สัจธรรม" คือความจริงแท้ของชีวิตและ
กฎธรรมชาติ โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือการหลุดพ้นจากวงจรแห่ง
ทุกข์
   หัวใจของพุทธศาสนา (โอวาทปาติโมกข์) คือ " การไม่ทา
ความชั่วทั้งปวง การบาเพ็ญแต่ความดี การทาจิตให้ผ่องใส"
   พุทธศาสนา กล่าวว่าสิ่งทั้งหลายในโลกนี้ต่างมีเหตุให้เกิด เมื่อ
มีเหตุเกิดขึ้นผลก็เกิดขึ้นตาม เมื่อเหตุนั้นไม่มีผลก็ดับไป
หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา

  อริยสัจ 4 หลักความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ คือ
 ทุกข์ (มีความยากลาบาก หรือ มองตัวปัญหา)
 สมุทัย (ความทุกข์นั้นมีสาเหตุให้เกิด หรือ มองสาเหตุของปัญหา)
 นิโรธ (ความหมดสิ้นแห่งทุกข์ หรือ มองจุดมุงหมายในการ
                                             ่
แก้ปัญหา)
 มรรค (วิถีทางอันประเสริฐที่จะนาให้ถึงความดับทุกข์ หรือ ลงมือ
ปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหานั้น ๆ)
หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา

    สติปัฏฐาน 4 เป็นวิธีการฝึกฝนกายและจิต เพื่อให้
เข้าถึง ซึ่งความดับทุกข์ โดยเฉพาะเจาะจง
  หมายถึงมรรคองค์ที่ 7 คือ สัมมาสติ หมายถึง หลักการ
ฝึกฝนโดยรวมทั้งหมดเพือให้เกิดนิโรธ
                          ่
หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา

  ไตรลักษณ์ เป็นลักษณะสากลทีมีในทุกสิ่งดังนี้คือ
                                 ่
     อนิจจัง (ความไม่เที่ยงแท้ มีอันต้องแปรปรวนไป)
     ทุกขัง (ความทนอยู่อย่างเดิมไม่ได้)
     อนัตตา (ความไม่มีแก่นสารอะไรให้ถือเอาเป็นตัวตน
ของใครๆ ได้อย่างแท้จริง)
หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา

   กฎแห่งกรรม คือการกระทาทุกอย่างทั้งทางกาย วาจา
และใจ ที่มีเจตนาสั่งการโดยจิต ไม่ว่า เป็นการกระทาที่ดี
(บุญ/กุศล) หรือไม่ดี (บาป/อกุศล)
   ผลของการกระทา ไม่สูญหายไปไหน แต่รอเวลาที่จะให้
ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับการกระทานั้น ๆ สะท้อนกลับ
หาผู้กระทา โดยไม่สามารถนาบุญกับบาปมาหักล้างกันได้
   กฎแห่งกรรมนี้เป็นเงื่อนไขสาคัญที่กาหนดความเป็นไป
ของแต่ละจิตวิญญาณในสังสารวัฏ
หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา

   นิพพาน คือ สภาพที่พ้นออกไปเหนือโลก ออกไปจาก
สังสารวัฏ เป็นอิสระจากพันธนาการทุกอย่าง เป็นความสุข
อันแท้จริง เป็นเป้าหมายอันสูงสุดที่พระพุทธศาสนาสอนให้
บรรลุถึง
หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา

  พรหมวิหาร 4 หลักธรรมเพือให้ตนดารงชีวิตได้อย่าง
                                 ่
ประเสริฐและบริสุทธิ์ มี 4 ประการ
   เมตตา (ความปรารถนาอยากให้ผู้อื่นมีความสุข)
   กรุณา (ความปรารถนาอยากให้ผู้อื่นพ้นทุกข์)
   มุทิตา (ความยินดีที่ผู้อื่นมีความสุขในทางที่เป็นกุศล)
   อุเบกขา (การวางจิตเป็นกลาง จิตตนจะไม่เป็นทุกข์)
หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา

    สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ที่ได้เคยกระทาไว้ จะดี
หรือชั่วก็ตาม กรรมนั้นย่อมส่งผลอย่างยุติธรรมตามที่เขาผู้
นั้นได้เคยกระทาไว้อย่างแน่นอน(กฎแห่งกรรม)
หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา

   สังสารวัฏ คือการเวียนว่ายตายเกิดของจิตวิญญาณทั้งหลาย
นับชาติไม่ถ้วน ผ่านไประหว่าง ภพภูมิ คือ มิติต่าง ๆ ตั้งแต่
เลวร้ายที่สุดไปจนถึงสุขสบายที่สุด
หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา

 การเกิดของสิ่งมีชีวิต การเวียนว่ายของจิตวิญญาณ
    มีเหตุมาจาก "อวิชชา"คือความที่จิตไม่รู้ถึงความเป็นจริง
ไปหลงยึดเอาว่าสิ่งต่าง ๆ มีตัวตน ซึงเป็นรากเหง้าของกิเลส
                                   ่
ทั้งหลาย ทางออกไปจากสังสารวัฏ มีทางเดียว คือ การดาเนิน
ตามเส้นทางอริยมรรค(มรรค 8)
หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา

    หลักการปฏิบัติของพุทธศาสนา มีหลักใหญ่ 3 ประการ คือ
     ละเว้นอกุศล (ความไม่ฉลาด) ทางกาย วาจา จิตใจ
     หมั่นสร้างกุศล (ความฉลาด) ทางกาย วาจา จิตใจ
     ฝึกจิตให้หลุดพ้น (จากความไม่รู้สัจธรรม ที่พันธนาการจิตไว้)
 ศีล (ฝึกกายและจิตให้ละเว้นจากการเบียดเบียนตนเองและผู้อื่น)
 สมาธิ (ฝึกความตั้งมั่นของจิต จนเกิดสติรับรู้สิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง)
 ปัญญา (ให้จตพิจารณาความเป็นจริง จนกระทั่งทาลาย อวิชชาความไม่รู้
             ิ
ได้ในที่สุด)
องค์ประกอบสาคัญของพระพุทธศาสนา

    องค์ประกอบสาคัญ เรียกว่า พระรัตนตรัย ได้แก่ พระพุทธ
พระธรรม และ พระสงฆ์
    โดย "พระพุทธเจ้า" ทรงตรัสรู้"พระธรรม" แล้วทรงสอนให้
พระภิกษุได้รู้ธรรม ทรงจัดตั้งชุมชนของพระภิกษุให้อยู่ร่วมกัน
เพื่อศึกษาและฝึกฝนตนเอง เรียกว่า "พระสงฆ์" (สงฆ์แปลว่า
หมู่,ชุมนุม) ทรงมอบหมายให้พระสงฆ์ทั้งหลายเผยแผ่พระ
ธรรม เพื่อประโยชน์สุขของชาวโลก
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา

    หลักคาสอนของพระพุทธศาสนาบันทึกเป็นลายลักษณ์
อักษรจะเรียกว่า "พระธรรมวินัย"
   "พระธรรม" คือ ความรู้ ในสัจธรรมต่างๆ ที่พระพุทธเจ้า
ทรงตรัสรู้ กับ "พระวินย" คือกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ทรงบัญญัติ
                         ั
ขึ้นไว้สาหรับผู้ที่ออกบวช เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันมี
กฏเกณฑ์เป็นคณะสงฆ์ อันเป็นตัวอย่างการดาเนินชีวิตเพื่อ
ความพ้นทุกข์ โดยมีหมวด”พระอภิธรรม” ไว้อธิบายคาศัพท์
ในหมวดพระธรรม และมี หมวดอภิวินัย ไว้อธิบายคาจากัด
ความคาศัพท์ในส่วนพระวินัย
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา
  การสังคายนาพระธรรมวินัย ครั้งที่ ๓ สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
 แคว้นมคธ จึงเรียกว่า พระไตรปิฏก จารึกเป็นภาษามคธ(บาลี)ออก
เผยแผ่อย่างกว้างขวางทั้งชมพูทวีป




  ภาพ : อนุสาวรีย์พระเจ้าอโศกมหาราช
  ที่มา : http://www.radompon.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา

   พระพุทธเจ้า ทรงเผยแผ่คาสอนในชมพูทวีป ตั้งแต่ 45 ปีก่อน
พุทธศักราช ด้วยพระองค์เองและสาวกสาคัญ
   พระพุทธศาสนา เผยแผ่ในดินแดนชมพูทวีป เพราะมี
พระเจ้าพิมพิสาร กษัตริย์แคว้นมคธ ทรงเป็นองค์อุปถัมภก
  หลัง ราว พ.ศ. 300 มีพระเจ้าอโศกมหาราชทรงอุปถัมภก เผย
แผ่ออกนอกภูมิภาค จนมีพุทธศาสนิกชนอยู่ทั่วโลก
ส่วนใหญ่ในทวีปเอเชีย (เอเชียกลาง เอเชียตะวันออก และเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้)
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา

   หลังพระพุทธเจ้า ปรินิพพาน ชาวชมพูทวีปได้สร้าง
สถูปเจดีย์บรรจุอัฐิธาตุ เพื่อระลึกถึงพระองค์ เป็นศาสนสถานที่
นิยมสร้างสืบต่อกันมา
   การสร้างพระพุทธรูปปรากฏในดินแดน แคว้นคัณธาราฐ
ก่อนบริเวณอื่น โดยพระเจ้ากนิษกะมหาราช ทรงเป็นองค์
อุปถัมภก ราว พ.ศ. 500
   ระยะแรกรูปแบบ เป็นแนวคิดของช่างชาวกรีก ต่อมาอาศัย
รูปแบบจากมหาปุริสลักษณะ เป็นต้นแบบพระพุทธรูปแบบ
อินเดีย มีเมืองศูนย์กลาง สร้างพระพุทธรูป คือ เมือง มถุรา
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา




   ภาพ : พระพุทธรูปรุ่นแรก/แบบคัณธาราฐ
   ที่มา : http://www.1080ip.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา

  สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ทรงเผยแผ่คาสอนทั้งใน
ชมพูทวีปและนอกภูมิภาค 9 เส้นทาง ส่ง สมณทูต พระโสณะ
เถระและพระอุตตระเถระมายังดินแดนสุวรรณภูมิ ส่งพระ
มัชฌิมเถระยังดินแดนเนปาล ส่งพระมหินทเถระยังดินแดน
ศรีลังกา

                   ภาพ : พระเจ้าอโศกมหาราช
                   ที่มา : http://www.radompon.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา

  สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ทรงเผยแผ่คาสอนทั้งใน
ชมพูทวีปและนอกภูมิภาค 9 เส้นทาง ส่ง สมณทูต พระโสณะ
เถระและพระอุตตระเถระมายังดินแดนสุวรรณภูมิ ส่งพระ
มัชฌิมเถระยังดินแดนเนปาล ส่งพระมหินทเถระยังดินแดน
ศรีลังกา

                   ภาพ : พระเจ้าอโศกมหาราช
                   ที่มา : http://www.radompon.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา

  สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ทรงเผยแผ่คาสอนทั้งใน
ชมพูทวีปและนอกภูมิภาค 9 เส้นทาง ส่ง สมณทูต พระโสณะ
เถระและพระอุตตระเถระมายังดินแดนสุวรรณภูมิ ส่งพระ
มัชฌิมเถระยังดินแดนเนปาล ส่งพระมหินทเถระยังดินแดน
ศรีลังกา

                   ภาพ : พระเจ้าอโศกมหาราช
                   ที่มา : http://www.radompon.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา

  สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ทรงเผยแผ่คาสอนทั้งใน
ชมพูทวีปและนอกภูมิภาค 9 เส้นทาง ส่ง สมณทูต พระโสณะ
เถระและพระอุตตระเถระมายังดินแดนสุวรรณภูมิ ส่งพระ
มัชฌิมเถระยังดินแดนเนปาล ส่งพระมหินทเถระยังดินแดน
ศรีลังกา

                   ภาพ : พระเจ้าอโศกมหาราช
                   ที่มา : http://www.radompon.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา

ภาพ : หัวเสาพระเจ้าอโศกมหาราช
ที่มา : http://www.radompon.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
  หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ดินแดนชมพูทวีปแยกเป็นรัฐอิสระ
พระสงฆ์ศรีลังกาจัดตั้งองค์กรพุทธศาสนาสัมพันธ์แห่งโลกขึน
                                                      ้
  พระสงฆ์ทิเบตมีส่วนเผยแผ่ไปไกลถึงทวีปออสเตรเลีย
เมื่อศาสนาอิสลามเข้ามาในเอเชียใต้ โบราณสถานโบราณวัตถุ
ของชาวพุทธถูกทาลาย โดยเฉพาะในอินเดียตะวันตกเฉียงเหนือ
ถึง อัฟกานิสถาน


                     ภาพ : แผนที่ภูมิภาคเอเชียใต้
                     ที่มา : http://www.radompon.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
  เมืองลาซา เป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พุทธศาสนามหายานในทิเบตสู่
เอเชียตะวันออก




                                     ภาพ : เมืองลาซา ทิเบตพุทธศาสนามหายาน
ภาพ : ดาไล ลามะ พระทิเบตพุทธมหายาน   ที่มา : http://www.radompon.com
ที่มา : http://www.radompon.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
   ประชากรจีนนับถือพระพุทธศาสนามากที่สุด ประมาณ 1,000 กว่า
ล้านคน ( จีนมีผู้นับถืออิสลาม 11ล้าน นับถือคริสต์ 9 ล้าน ที่เหลือนับถือ
พุทธศาสนาโดยนับถือรวมไปกับศาสนาเต๋าและขงจื้อ)




           ภาพ : นักบวชนิกายมหายานในเอเชียตะวันออก
           ที่มา : http://www.radompon.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา


                               ภาพ : ศาสนสถานพุทธในรัสเซีย
                               ที่มา : http://www.radompon.com




ภาพ : เมืองลาซา ทิเบตพุทธศาสนามหายาน
ที่มา : http://www.radompon.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา


                                              ภาพ : การทาลายพระพุทธรูปในอัฟกานิสถาน
                                              ที่มา : http://www.bloggang.com




ภาพ : พระพุทธรูปบาบิยันในอัฟกานิสถาน
ที่มา : http://www.bloggang.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
  ประชากรไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา เถรวาท
ประเทศไทย จึงเป็นศูนย์กลางของศาสนาพุทธโลกปัจจุบัน

                            ภาพ : ศูนย์กลางพุทธศาสนาโลกพุทธมณฑล
                            ที่มา : http://www.radompon.com




ภาพ : วัดมหาธาตุสุโขทัยพุทธ ผสมพราหมณ์
ที่มา : http://www.radompon.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา

   ศูนย์กลางพระพุทธศาสนาในอินเดียปัจจุบัน คือ
รัฐอุตตระประเทศ(ที่ตั้งของแคว้นมคธในสมัยพุทธกาล )
ประชากรที่นับถือเป็นกลุ่มวรรณะศูทร ประมาณ 5
เปอร์เซ็นต์ ( ชาวอินเดียส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดู )
   ประเทศภูฏานประชากรส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา
เถรวาทเป็นประเทศที่มีวิถีชีวิตชาวพุทธอย่างเรียบง่าย
   ภาพ : วัดปูนาดาซอง ในภูฏาน
   ที่มา : http://www.1bp.blogspot.com
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา

   พระภิกษุสงฆ์(ชาย)และพระภิกษุณีสงฆ์ (หญิง) คือผู้ที่ได้บวช
เพื่อศึกษาและฝึกฝนตามคาสอนเพื่อความหลุดพ้น
   ฆราวาส( ผู้ที่ไม่ได้บวช) คืออุบาสก (ชาย) อุบาสิกา (หญิง)
   พุทธบริษัท 4 ( ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา) คือ กลุ่มผู้
ร่วมกันนับถือเป็นพุทธศาสนิกชน พุทธมามกะ พุทธสาวก อัน
เป็นบุคคลที่ร่วมกันศึกษา และร่วมกันบารุงรักษา
พระพุทธศาสนาไว้
นิกายของพระพุทธศาสนา

ศาสนาพุทธ แบ่งเป็นนิกายใหญ่ ๆ 2 นิกาย
 1. เถรวาท หรือ หีนยาน
 2. มหายาน
แต่อาจพบนิกายย่อย ๆในแต่ละบริเวณต่าง ๆ เช่น เซน(ชินโต)
ในญี่ปุ่น
นิกายของพระพุทธศาสนา

เถรวาท หรือ หินยาน
   ยึดมั่นใน คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า และ หลักปฏิบัติ
เป็นไปตามพระไตรปิฎก
   แพร่หลายอยู่ ในประเทศไทย ศรีลังกา พม่า ลาว กัมพูชา และ
เวียดนาม(เป็นชาวเขมรที่เข้าไปอาศัย) บังกลาเทศ และ มาเลเซีย
ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน
นิกายของพระพุทธศาสนา

 อาจาริยวาท หรือ มหายาน
    แพร่หลายใน จีน ญี่ปุ่น มองโกเลีย ภูฏาน ไต้หวัน เกาหลี
เหนือ เกาหลีใต้ และ สิงคโปร์ และบางส่วนของ อินเดีย
อินโดนีเซีย มาเลเซีย(ส่วนมากเป็นชาวจีน) เนปาล บรูไน
(ส่วนมากเป็นชาวจีน) ฟิลิปปินส์(ส่วนมากเป็นชาวจีน)
อุซเบกิสถาน และ ทาจิกิสถาน
นิกายของพระพุทธศาสนา

วัชรยาน หรือ มหายานพิเศษ
     ปัจจุบันมีใน อินเดียบริเวณลาดักในรัฐซัมมูและกัษมีร์ และ
ในรัฐสิกขิม ประเทศเนปาล ภูฏาน ปากีสถาน มองโกเลีย และ
เขตปกครองตนเองทิเบต(จีน)
พระพุทธศาสนามีคณค่าต่อโลกปัจจุบัน
                       ุ
    นิกายมหายาน เป็นยอมรับนับถือในเอเชียกลาง เอเชีย
ตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    พุทธศาสนานิกายมหายาน ประยุกต์ตัวเองให้อยู่คู่คน
เอเชียกลาง เอเชียตะวันออก ใน จีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม
   นิกายเถรวาท เป็นที่ยอมรับในศรีลังกา เอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ และชาวตะวันตกหันมานับถือพุทธศาสนามากขึ้น
ในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
สรุปพระพุทธศาสนา
            ศาสดา                        คัมภีร์และหนังสือ
     พระสัมมาสัมพุทธเจ้า                    พระไตรปิฎก
 จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา       พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระ
                                            อภิธรรมปิฎก
    พ้นทุกข์ / ความดับทุกข์
                                        หลักธรรมที่น่าสนใจ
          ไตรสรณะ
                                             ไตรลักษณ์
พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์        บัญญัติ · ขันธ์ · ปรมัตถธรรม
   ความเชื่อและการปฏิบัติ                       นิกาย
         ศีล · ธรรม           เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน
     ศีลห้า · เบญจธรรม                          · เซน
      สมถะ · วิปัสสนา                    สังคมพุทธศาสนา
  บทสวดมนต์และพระคาถา         เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสาคัญ · ศาสน
                                          สถาน · วัตถุมงคล
LOGO                          เอกสารอ้างอิง
                         http://th.wikipedia.org
                         http://www.radompon.com
                         http://www.mcucity.tripod.com
                         http://www.bloggang.com
                         http://www.palungjit.com




                                      คลิกเพื่อทาแบบฝึกหัด
 วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง
1 sur 72

Recommandé

ศาสนาพราหมณ์ par
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์นายวินิตย์ ศรีทวี
9.3K vues46 diapositives
ความหมายและประเภทของศาสนา par
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนานายวินิตย์ ศรีทวี
24.3K vues48 diapositives
ศาสนาคริสต์ par
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์นายวินิตย์ ศรีทวี
20.7K vues55 diapositives
ศาสนาซิกส์ par
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์นายวินิตย์ ศรีทวี
1.9K vues54 diapositives
ศาสนาคริสต์ par
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
21.3K vues62 diapositives
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
22.7K vues134 diapositives

Contenu connexe

Tendances

พระพุทธศาสนา par
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
20.6K vues104 diapositives
การบริหารจิตและเจริญปัญญา par
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
17K vues21 diapositives
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา par
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
26.1K vues56 diapositives
ศาสนาอิสลาม par
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
8.9K vues14 diapositives
ศาสนายิว par
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
38.9K vues49 diapositives
ศาสนาเชน par
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
23.8K vues48 diapositives

Tendances(20)

พระพุทธศาสนา par Padvee Academy
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy20.6K vues
การบริหารจิตและเจริญปัญญา par พัน พัน
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา par Padvee Academy
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
Padvee Academy26.1K vues
ศาสนาชินโต par Padvee Academy
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
Padvee Academy26.5K vues
พุทธศาสนานิกายมหายาน par Chainarong Maharak
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
Chainarong Maharak19.7K vues
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย par Bom Anuchit
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
Bom Anuchit11.4K vues
ศาสนาสากล par ThanaponSuwan
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
ThanaponSuwan1.5K vues
ศาสนาเปรียบเทียบ par thnaporn999
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn99954.5K vues
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ par Proud N. Boonrak
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
Proud N. Boonrak3.4K vues
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา par Thongsawan Seeha
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha8.9K vues
ศาสนาอิสลาม par Padvee Academy
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
Padvee Academy25.1K vues
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น) par พัน พัน
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
พัน พัน32.7K vues

พระพุทธศาสนา

  • 1. LOGO วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง
  • 2. เนื้อหา บทนา 1 ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธ 2 ความสาคัญของพระพุทธศาสนา 3 ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา 4 หลักการสาคัญของศาสนาพุทธ 5 องค์ประกอบของพระพุทธศาสนา 6 หลักธรรมสาคัญของศาสนาพุทธ 7 การเผยแผ่พระพุทธศาสนา 8 นิกายของพระพุทธศาสนา
  • 3. ยอดเขาเอเวอร์เรส สูงสุดของโลกที่เทือกเขาหิมาลัย ภาพ : ยอดเอเวอร์เรส / เขตเทือกเขาสูง หิมาลัย ที่มา : http://www.world.th.in ภาพ : ลักษณะภูมิประเทศในเขตเนปาล / หิมาลัย ที่มา : http://www.world.th.in
  • 4. เทือกเขาหิมาลัย ดินแดนสูงสุดของโลกอยู่ในเนปาล ภาพ : ลักษณะภูมิประเทศในเขตเนปาล / หิมาลัย ที่มา : http://www.world.th.in ภาพ : ลักษณะภูมิประเทศในเขตเทือกเขาสูง หิมาลัย ที่มา : http://www.world.th.in
  • 5. ดินแดนชมพูทวีป ถิ่นกาเนิดพระพุทธศาสนา ภาพ : แผนที่แสดงอาณาเขตชมพูทวีป ที่มา : http://www.palungjit.com ภาพ : พระพุทธรูปรุ่นแรก/แบบคัณธาราฐ ที่มา : http://www.1080ip.com ภาพ : แผนที่แสดงอาณาเขตแคว้นมคธ ที่มา : http://www.palungjit.com
  • 6. ดินแดนชมพูทวีป ถิ่นกาเนิดพระพุทธศาสนา ภาพ : ภาพจาลองทวีปต่าง ๆของโลก ที่มา : http://www.osesao.net ภาพ : ภาพจาลองทีตงแสดงชมพูทวีปทัง 16 แคว้น ่ ั้ ้ ที่มา : http://mcucity.tripod.com
  • 7. เมืองโบราณ กรุงกบิลพัสดุ์ในเขตประเทศเนปาล วีดทัศน์พุทธประวัติ : 25 นาที ิ เมืองโบราณ กบิลพัสดุ์ ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha ที่มา : http://www.palungjit.com
  • 9. ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา ภาพ : พระสถูปเมืองรามคาม กรุงเทวทหะ ที่มา : http://www.palungjit.com ภาพ : พระพุทธรูปรุ่นแรก/แบบคัณธาราฐ ที่มา : http://www.1080ip.com หลักฐานประวัติศาสตร์สมัยพุทธกาล
  • 10. ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา ภาพ : ป่าสาละระหว่างทางกบิลพัสด์ กับ กรุงเทวทหะ ที่มา : http://www.palungdham.com ภาพ : แผนที่แสดงอาณาเขตแคว้นมคธ วีดทัศน์กาเนิดสิทธัตถะ ิ ที่มา : http://www.palungjit.com ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha
  • 11. ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา ภาพ : สิทธัตถะนคร ชายแดนอินเดียกับเนปาล สาธารณรัฐอินเดีย ที่มา : http://www.palungdham.com ภาพ : หมู่บ้านปริปาวะห์ ชายแดน สาธารณรัฐอินเดียกับ ราชอาณาจักรเนปาล ที่มา : http://www.palungdham.com วีดทัศน์แคว้นสักกะ ิ
  • 12. ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา ภาพ : วิหารมายาเทวี ชายแดน สาธารณรัฐอินเดียกับ ราชอาณาจักรเนปาล ที่มา : http://www.palungdham.com วีดิทัศน์ นางมายาสิ้นพระชนม์ ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha
  • 13. ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา ภาพ : เมืองโบราณบริเวณวิหารมายาเทวี ราชอาณาจักรเนปาล ที่มา : http://www.palungdham.com ภาพ : สระน้าบริเวณวิหารมายาเทวี ราชอาณาจักรเนปาล ที่มา : http://www.palungdham.com วีดทัศน์ พระนางพิมพา/สิทธัตถะ ิ ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha
  • 14. ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา ภาพ : พระพุทธรูปแบบคัณธาราฐ ที่มา : http://www.1080ip.com ภาพ : วิหารมายาเทวี ชายแดน สาธารณรัฐอินเดียกับ ราชอาณาจักรเนปาล ที่มา : http://www.palungdham.com ภาพ : แผนที่แสดงอาณาเขตแคว้นมคธ ที่มา : http://www.palungjit.com
  • 15. ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา ภาพ : ประตูเมือง กรุงกบิลพัสดุ์ด้านตะวันตก ที่มา : http://www.radompon.com ภาพ : ร่องรอยประตูเมือง กรุงกบิลพัสดุด้านตะวันออก ์ ที่มา : http://www.radompon.com วีดิทัศน์ออกผนวช 1 ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha
  • 16. ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา หลักฐานประวัติศาสตร์ อินเดียสมัยพุทธกาล ภาพ : ร่องรอยเมืองโบราณกบิลพัสดุ์ ประตูเมืองด้าน ตะวันตก ที่มา : http://www.palungjit.com ภาพ : เมืองโบราณ สารนาถ สถานที่ปฐม เทศนา ที่มา : http://www.thaigoodview.com วีดิทัศน์ ออกผนวช 2 ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha
  • 17. ดินแดนชมพูทวีปถิ่นกาเนิด พระพุทธศาสนา ภาพ : การศึกษาหลักฐาน สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ที่มา : http://www.panorama.com หลักฐานประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
  • 19. ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา กาเนิดขึ้นในดินแดนชมพูทวีป(เอเชียใต้) มี พระสัมมาสัมพุทธเจ้า (เจ้าชายสิทธัตถะ) เป็นศาสดา ทรงแสวงหาสัจธรรม เมื่อ 29 พรรษา และ ทรงตรัสรู้วันขึ้น 15 ค่า เดือนวิสาขะ(เดือน 6) ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ แคว้นมคธ ในขณะมีพระชนม์ 35 พรรษา ก่อนพุทธศักราช 45 ปี ภาพ : พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใต้ต้นโพธิ์ ที่มา : http://www.whitemdia.org วีดทัศน์ แสวงหา 6 ปี ิ ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha
  • 20. ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา ภาพ : พระพุทธเจ้าตรัสรู้ ที่มา : http://www.radompon.com วีดทัศน์ ตรัสรู้วันเพ็ญเดือน ิ ที่มา : ภาพยนตร์ the little buddha ลาดับเหตุการณ์ คืนวันพุธเพ็ญเดือน 6 (วันวิสาขะบูชา) บุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ ความระลึกชาติได้ จุตูปปาตญาณ คือ ความหยั่งรู้ในการเกิดของมนุษย์และสัตว์ อาสวักขยญาณ คือ ความรู้ในการขจัดกิเลสที่หมักหมมให้หมดสิ้น
  • 21. ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา สถานที่ตรัสรู้ คือพุทธคยา ริมแม่น้าเนรัญชราและประกาศ ศาสนาที่สารนาถ(ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน) และแพร่หลายไปทั่ว อินเดีย จนเสด็จปรินิพพาน เริ่มใช้ พุทธศักราช หลัง ปรินิพพานราว 100 ปี พระพุทธศาสนา แบ่งแยกนิกายต่าง ๆ ภาพ : พระพุทธเจ้าตรัสรู้ ที่มา : http://www.wikipedia.org
  • 22. ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา ภาพ : เทือกเขาหิมาลัย ที่มา : http://www.radompon.com พระพุทธเจ้ามีบรรพบุรุษเป็นเชือสายอาระยันที่เข้ามา ้ ปกครองตนเองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในแคว้นสักกะ ดินแดนชมพูทวีป แหล่งอุดมสมบูรณ์ด้วยแหล่งน้าและพืช พรรณ ทั้งข้าวเจ้าข้าวสาลี ตั้งเมืองกบิลพัสดุอยู่ เชิงเขา ์ หิมาลัย ชายแดนอินเดียกับเนปาลปัจจุบัน
  • 23. ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา ภาพ : จาลองลักษณะชาวอาระยัน ที่มา : http://www.mucity.triod.com ชาวอาระยันอพยพมาจากบริเวณยูเรเชีย พบแหล่งอุดม สมบูรณ์แถบลุ่มแม่น้าคงคาและสินธุ ปกครองตนเองเป็น แคว้นต่าง ๆ ประมาณ 21 แคว้น มีการใช้ศักราชตามสมัยของ บุคคลสาคัญ เช่น อัญชันศักราช ของ แคว้นสักกะ
  • 24. ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา แคว้นมคธ ในสมัยพระเจ้าจันทรคุปต์ปฐมราชวงศ์โมริยะ สามารถ รวมชนเผ่าเป็นแคว้นขนาดใหญ่ มีบทบาทในการ ปกครองรวมดินแดนให้เป็นหนึ่งเดียว มีวัฒนธรรมและวิถีชีวิต ชาวพุทธเด่นกว่าแคว้นอื่น ๆ จึงเป็นแคว้นสาคัญของชมพูทวีป พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในชมพูทวีป ใน สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช องค์อุปถัมภกพุทธศาสนาเถรวาท ซึ่งที่มีหลักปฏิบัติทางสายกลาง( มัชฌิมาปฏิปทา)
  • 25. ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา แคว้นมคธ เป็นแคว้นที่มีนักบวชลัทธิต่าง ๆ แสวงหาสัจธรรม กันมากมาย โดยเฉพาะที่ อุรุเวลาเสนานิคม แนวทางการค้นหาสัจธรรมในชมพูทวีป 3 แนวทาง 1. กามสุขัลลิกานุโยค (หมกมุ่นเสพสุขทางกามารมณ์ ) 2. อัตตกิลมถานุโยค (ทรมานตนให้ลาบาก ) 3. โยควิธี ฝึกจิตให้สงบ ที่ อาฬารดาบส กาลามโตคร กับ อุทกดาบส รามบุตร เคยฝึกให้กับเจ้าชายสิทธัตถะ
  • 26. ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา การค้นหาสัจธรรมของพระพุทธเจ้าก่อนตรัสรู้ 1. ศึกษาจากสานักศิลปะวิทยาต่างๆ เช่น กับ อุทกดาบส 2. บาเพ็ญทุกรกิริยา (อัตตกิลมถานุโยค) 3. บาเพ็ญเพียรทางจิต เจ้าชายสิทธัตถะมีความรู้สูงสุดขั้น สมาบัติ 8 ศึกษามา 18 สาขาศิลปะศาสตร์บัณฑิต เทียบได้กับปริญญาเอกทุกสาขาใน โลกปัจจุบัน
  • 27. ประวัติความเป็นมาของพระพุทธศาสนา ทรงประกาศศาสนาพุทธ เมื่อ วันเพ็ญ เดือน 8 ก่อนพุทธศักราช 45 ปี (วันอาสาฬหบูชา) ภาพ : จิตรกรรมพระพุทธเจ้าทรงบาเพ็ญเพียร ที่มา : ผลงานนักเรียนโครงการอนุรักษ์ ภาพ : พระพุทธเจ้าทรงปฐมเทศนาแก่ปัจวัคคีย์ ที่มา : http://www.atclound.com
  • 28. ความสาคัญของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาที่เกิดขึ้นมาเพื่อปรับปรุง และ แก้ไขสังคมอินเดียในยุคนันให้ดีขึ้น จากการกดขี่ ชนชั้นวรรณะ ้ ของสังคมพราหมณ์-ฮินดู การเหลื่อมล้าทางสังคม การถือ ชั้นวรรณะ การใช้สัตว์เพื่อบวงสรวง บูชายัญ การกดขี่สตรีเพศ พระพุทธศาสนา จึงเป็นเสมือนน้าทิพย์ชโลมสังคมอินเดีย โบราณให้ขาวสะอาด คาสอนของพระพุทธศาสนาทาให้สังคม โดยทั่วไปสงบร่มเย็น
  • 29. ความสาคัญของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาประเภท อเทวนิยม เป็นหนึ่งในศาสนาสาคัญของโลกมีศาสนิกชนมากอันดับ 4 พระพุทธศาสนา เป็น ศาสนาที่มุ่งการพ้นทุกข์หรือสอน ให้รู้จักทุกข์และวิธีแก้ทุกข์ ให้พ้นจากความโลภ ความโกรธ ความหลง และอวิชชา (การไม่รู้ความจริงในธรรมชาติ) เน้นการปฏิบัติด้วยปัญญา การทาความเข้าใจ และพิสูจน์ ทราบข้อเท็จจริง จนมองเห็นเหตุและผล และความเป็นไป ตามธรรมชาติ
  • 30. ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา เป็นศาสนาแห่งความรู้และความจริง  พุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งความรู้ เพราะเป็นศาสนาแห่ง การตรัสรู้ของพระพุทธองค์เอง จากปัญญาของพระองค์ และ ธรรมที่พระองค์ตรัสรู้คือ อริยสัจ 4 ก็เป็นความจริงอย่างแท้จริง ทรงตรัสรู้โดยไม่มีใครสั่งสอน นักปราชญ์ทั้งหลายทั้งในอดีต และปัจจุบันจึงกล่าวยกย่องว่าเป็นศาสนาที่ประกาศความเป็น อิสระของมนุษย์ให้ปรากฏแก่โลกยิ่งกว่าศาสนาใดๆที่มีมา
  • 31. ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา เป็นศาสนาแห่งอิสระเสรีภาพ  พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ไม่ผูกติดกับพระเจ้า ไม่ได้ ผูกมัดตนเองไว้กับพระเจ้า ไม่พึ่งพาอานาจของพระเจ้า เชื่อในความสามารถของมนุษย์ว่ามีศักยภาพเพียงพอ โดย ไม่ต้องพึ่งอานาจใด ๆ เชื่อว่ามนุษย์เองสามารถปลดเปลื้อง ความทุกข์ได้โดยไม่รอการดลบันดาล พุทธศาสนาไม่มีการ บังคับให้คนศรัทธา หรือเชื่อ แต่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยตนเอง
  • 32. ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา ชาวพุทธทุกคน คือ พระเจ้าของตัวเอง เนื่องจากตัวเองเป็น คนกาหนดชะตาชีวิตของตัวเอง ว่าจะมีความเจริญรุ่งเรืองใน ชีวิตหรือมีความตกต่าในชีวิต จากการประพฤติปฏิบัติของ ตัวเอง ซึ่งต่างกับศาสนาที่มีพระเจ้า ที่ชะตาชีวิตทั้งหมดล้วนเป็นสิ่ง ที่พระเจ้ากาหนดมาแล้วเปลี่ยนแปลงไม่ได้ ไม่ว่าจะเจอเรื่องดี หรือร้ายก็ต้องทนรับชะตากรรมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
  • 33. ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา เป็นศาสนาประเภท อเทวนิยม พระพุทธศาสนาไม่มีความเชื่อว่าพระเจ้าดลบันดาลทุกสิ่ง ผู้สร้างทุกสิ่ง
  • 34. ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎแห่งธรรมชาติ 3 ลักษณะ คือ 1. กฎแห่งสภาวะ หรือมีธาตุทั้งสี่คอ ดิน น้า ลม และ ไฟ ื ที่เปลี่ยนสถานะเป็นธาตุต่าง ๆกลับไปกลับมา 2. กฎแห่งพระไตรลักษณ์ 3.กฎแห่งเหตุผล จึงเรียกว่าศาสนา อเทวนิยม คือ ศาสนาที่ไม่เชื่อในพระเจ้า
  • 35. ลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา เป็นศาสนาแห่งสันติภาพ พระพุทธศาสนาได้รับการยกย่องว่า เป็นศาสนา แห่งสันติภาพอย่างแท้จริง เพราะไม่ปรากฏว่ามีสงครามศาสนา เกิดขึ้นเลย การเผยแผ่ศาสนาไม่มีการบังคับผู้อื่นมานับถือ ให้เสรีภาพใน การพิจารณา ให้มีปัญญากากับความศรัทธา
  • 36. หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา พุทธศาสนา สอน "สัจธรรม" คือความจริงแท้ของชีวิตและ กฎธรรมชาติ โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือการหลุดพ้นจากวงจรแห่ง ทุกข์ หัวใจของพุทธศาสนา (โอวาทปาติโมกข์) คือ " การไม่ทา ความชั่วทั้งปวง การบาเพ็ญแต่ความดี การทาจิตให้ผ่องใส" พุทธศาสนา กล่าวว่าสิ่งทั้งหลายในโลกนี้ต่างมีเหตุให้เกิด เมื่อ มีเหตุเกิดขึ้นผลก็เกิดขึ้นตาม เมื่อเหตุนั้นไม่มีผลก็ดับไป
  • 37. หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา อริยสัจ 4 หลักความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ คือ ทุกข์ (มีความยากลาบาก หรือ มองตัวปัญหา) สมุทัย (ความทุกข์นั้นมีสาเหตุให้เกิด หรือ มองสาเหตุของปัญหา) นิโรธ (ความหมดสิ้นแห่งทุกข์ หรือ มองจุดมุงหมายในการ ่ แก้ปัญหา) มรรค (วิถีทางอันประเสริฐที่จะนาให้ถึงความดับทุกข์ หรือ ลงมือ ปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหานั้น ๆ)
  • 38. หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา สติปัฏฐาน 4 เป็นวิธีการฝึกฝนกายและจิต เพื่อให้ เข้าถึง ซึ่งความดับทุกข์ โดยเฉพาะเจาะจง หมายถึงมรรคองค์ที่ 7 คือ สัมมาสติ หมายถึง หลักการ ฝึกฝนโดยรวมทั้งหมดเพือให้เกิดนิโรธ ่
  • 39. หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา ไตรลักษณ์ เป็นลักษณะสากลทีมีในทุกสิ่งดังนี้คือ ่ อนิจจัง (ความไม่เที่ยงแท้ มีอันต้องแปรปรวนไป) ทุกขัง (ความทนอยู่อย่างเดิมไม่ได้) อนัตตา (ความไม่มีแก่นสารอะไรให้ถือเอาเป็นตัวตน ของใครๆ ได้อย่างแท้จริง)
  • 40. หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา กฎแห่งกรรม คือการกระทาทุกอย่างทั้งทางกาย วาจา และใจ ที่มีเจตนาสั่งการโดยจิต ไม่ว่า เป็นการกระทาที่ดี (บุญ/กุศล) หรือไม่ดี (บาป/อกุศล) ผลของการกระทา ไม่สูญหายไปไหน แต่รอเวลาที่จะให้ ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับการกระทานั้น ๆ สะท้อนกลับ หาผู้กระทา โดยไม่สามารถนาบุญกับบาปมาหักล้างกันได้ กฎแห่งกรรมนี้เป็นเงื่อนไขสาคัญที่กาหนดความเป็นไป ของแต่ละจิตวิญญาณในสังสารวัฏ
  • 41. หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา นิพพาน คือ สภาพที่พ้นออกไปเหนือโลก ออกไปจาก สังสารวัฏ เป็นอิสระจากพันธนาการทุกอย่าง เป็นความสุข อันแท้จริง เป็นเป้าหมายอันสูงสุดที่พระพุทธศาสนาสอนให้ บรรลุถึง
  • 42. หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา พรหมวิหาร 4 หลักธรรมเพือให้ตนดารงชีวิตได้อย่าง ่ ประเสริฐและบริสุทธิ์ มี 4 ประการ เมตตา (ความปรารถนาอยากให้ผู้อื่นมีความสุข) กรุณา (ความปรารถนาอยากให้ผู้อื่นพ้นทุกข์) มุทิตา (ความยินดีที่ผู้อื่นมีความสุขในทางที่เป็นกุศล) อุเบกขา (การวางจิตเป็นกลาง จิตตนจะไม่เป็นทุกข์)
  • 43. หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ที่ได้เคยกระทาไว้ จะดี หรือชั่วก็ตาม กรรมนั้นย่อมส่งผลอย่างยุติธรรมตามที่เขาผู้ นั้นได้เคยกระทาไว้อย่างแน่นอน(กฎแห่งกรรม)
  • 44. หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา สังสารวัฏ คือการเวียนว่ายตายเกิดของจิตวิญญาณทั้งหลาย นับชาติไม่ถ้วน ผ่านไประหว่าง ภพภูมิ คือ มิติต่าง ๆ ตั้งแต่ เลวร้ายที่สุดไปจนถึงสุขสบายที่สุด
  • 45. หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา การเกิดของสิ่งมีชีวิต การเวียนว่ายของจิตวิญญาณ มีเหตุมาจาก "อวิชชา"คือความที่จิตไม่รู้ถึงความเป็นจริง ไปหลงยึดเอาว่าสิ่งต่าง ๆ มีตัวตน ซึงเป็นรากเหง้าของกิเลส ่ ทั้งหลาย ทางออกไปจากสังสารวัฏ มีทางเดียว คือ การดาเนิน ตามเส้นทางอริยมรรค(มรรค 8)
  • 46. หลักการสาคัญของพระพุทธศาสนา หลักการปฏิบัติของพุทธศาสนา มีหลักใหญ่ 3 ประการ คือ  ละเว้นอกุศล (ความไม่ฉลาด) ทางกาย วาจา จิตใจ  หมั่นสร้างกุศล (ความฉลาด) ทางกาย วาจา จิตใจ  ฝึกจิตให้หลุดพ้น (จากความไม่รู้สัจธรรม ที่พันธนาการจิตไว้) ศีล (ฝึกกายและจิตให้ละเว้นจากการเบียดเบียนตนเองและผู้อื่น) สมาธิ (ฝึกความตั้งมั่นของจิต จนเกิดสติรับรู้สิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง) ปัญญา (ให้จตพิจารณาความเป็นจริง จนกระทั่งทาลาย อวิชชาความไม่รู้ ิ ได้ในที่สุด)
  • 47. องค์ประกอบสาคัญของพระพุทธศาสนา องค์ประกอบสาคัญ เรียกว่า พระรัตนตรัย ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ โดย "พระพุทธเจ้า" ทรงตรัสรู้"พระธรรม" แล้วทรงสอนให้ พระภิกษุได้รู้ธรรม ทรงจัดตั้งชุมชนของพระภิกษุให้อยู่ร่วมกัน เพื่อศึกษาและฝึกฝนตนเอง เรียกว่า "พระสงฆ์" (สงฆ์แปลว่า หมู่,ชุมนุม) ทรงมอบหมายให้พระสงฆ์ทั้งหลายเผยแผ่พระ ธรรม เพื่อประโยชน์สุขของชาวโลก
  • 48. หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หลักคาสอนของพระพุทธศาสนาบันทึกเป็นลายลักษณ์ อักษรจะเรียกว่า "พระธรรมวินัย" "พระธรรม" คือ ความรู้ ในสัจธรรมต่างๆ ที่พระพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้ กับ "พระวินย" คือกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ทรงบัญญัติ ั ขึ้นไว้สาหรับผู้ที่ออกบวช เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกันมี กฏเกณฑ์เป็นคณะสงฆ์ อันเป็นตัวอย่างการดาเนินชีวิตเพื่อ ความพ้นทุกข์ โดยมีหมวด”พระอภิธรรม” ไว้อธิบายคาศัพท์ ในหมวดพระธรรม และมี หมวดอภิวินัย ไว้อธิบายคาจากัด ความคาศัพท์ในส่วนพระวินัย
  • 49. หลักธรรมของพระพุทธศาสนา การสังคายนาพระธรรมวินัย ครั้งที่ ๓ สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช แคว้นมคธ จึงเรียกว่า พระไตรปิฏก จารึกเป็นภาษามคธ(บาลี)ออก เผยแผ่อย่างกว้างขวางทั้งชมพูทวีป ภาพ : อนุสาวรีย์พระเจ้าอโศกมหาราช ที่มา : http://www.radompon.com
  • 50. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้า ทรงเผยแผ่คาสอนในชมพูทวีป ตั้งแต่ 45 ปีก่อน พุทธศักราช ด้วยพระองค์เองและสาวกสาคัญ พระพุทธศาสนา เผยแผ่ในดินแดนชมพูทวีป เพราะมี พระเจ้าพิมพิสาร กษัตริย์แคว้นมคธ ทรงเป็นองค์อุปถัมภก หลัง ราว พ.ศ. 300 มีพระเจ้าอโศกมหาราชทรงอุปถัมภก เผย แผ่ออกนอกภูมิภาค จนมีพุทธศาสนิกชนอยู่ทั่วโลก ส่วนใหญ่ในทวีปเอเชีย (เอเชียกลาง เอเชียตะวันออก และเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้)
  • 51. หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หลังพระพุทธเจ้า ปรินิพพาน ชาวชมพูทวีปได้สร้าง สถูปเจดีย์บรรจุอัฐิธาตุ เพื่อระลึกถึงพระองค์ เป็นศาสนสถานที่ นิยมสร้างสืบต่อกันมา การสร้างพระพุทธรูปปรากฏในดินแดน แคว้นคัณธาราฐ ก่อนบริเวณอื่น โดยพระเจ้ากนิษกะมหาราช ทรงเป็นองค์ อุปถัมภก ราว พ.ศ. 500 ระยะแรกรูปแบบ เป็นแนวคิดของช่างชาวกรีก ต่อมาอาศัย รูปแบบจากมหาปุริสลักษณะ เป็นต้นแบบพระพุทธรูปแบบ อินเดีย มีเมืองศูนย์กลาง สร้างพระพุทธรูป คือ เมือง มถุรา
  • 52. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ภาพ : พระพุทธรูปรุ่นแรก/แบบคัณธาราฐ ที่มา : http://www.1080ip.com
  • 53. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ทรงเผยแผ่คาสอนทั้งใน ชมพูทวีปและนอกภูมิภาค 9 เส้นทาง ส่ง สมณทูต พระโสณะ เถระและพระอุตตระเถระมายังดินแดนสุวรรณภูมิ ส่งพระ มัชฌิมเถระยังดินแดนเนปาล ส่งพระมหินทเถระยังดินแดน ศรีลังกา ภาพ : พระเจ้าอโศกมหาราช ที่มา : http://www.radompon.com
  • 54. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ทรงเผยแผ่คาสอนทั้งใน ชมพูทวีปและนอกภูมิภาค 9 เส้นทาง ส่ง สมณทูต พระโสณะ เถระและพระอุตตระเถระมายังดินแดนสุวรรณภูมิ ส่งพระ มัชฌิมเถระยังดินแดนเนปาล ส่งพระมหินทเถระยังดินแดน ศรีลังกา ภาพ : พระเจ้าอโศกมหาราช ที่มา : http://www.radompon.com
  • 55. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ทรงเผยแผ่คาสอนทั้งใน ชมพูทวีปและนอกภูมิภาค 9 เส้นทาง ส่ง สมณทูต พระโสณะ เถระและพระอุตตระเถระมายังดินแดนสุวรรณภูมิ ส่งพระ มัชฌิมเถระยังดินแดนเนปาล ส่งพระมหินทเถระยังดินแดน ศรีลังกา ภาพ : พระเจ้าอโศกมหาราช ที่มา : http://www.radompon.com
  • 56. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ทรงเผยแผ่คาสอนทั้งใน ชมพูทวีปและนอกภูมิภาค 9 เส้นทาง ส่ง สมณทูต พระโสณะ เถระและพระอุตตระเถระมายังดินแดนสุวรรณภูมิ ส่งพระ มัชฌิมเถระยังดินแดนเนปาล ส่งพระมหินทเถระยังดินแดน ศรีลังกา ภาพ : พระเจ้าอโศกมหาราช ที่มา : http://www.radompon.com
  • 58. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ดินแดนชมพูทวีปแยกเป็นรัฐอิสระ พระสงฆ์ศรีลังกาจัดตั้งองค์กรพุทธศาสนาสัมพันธ์แห่งโลกขึน ้ พระสงฆ์ทิเบตมีส่วนเผยแผ่ไปไกลถึงทวีปออสเตรเลีย เมื่อศาสนาอิสลามเข้ามาในเอเชียใต้ โบราณสถานโบราณวัตถุ ของชาวพุทธถูกทาลาย โดยเฉพาะในอินเดียตะวันตกเฉียงเหนือ ถึง อัฟกานิสถาน ภาพ : แผนที่ภูมิภาคเอเชียใต้ ที่มา : http://www.radompon.com
  • 59. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา เมืองลาซา เป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พุทธศาสนามหายานในทิเบตสู่ เอเชียตะวันออก ภาพ : เมืองลาซา ทิเบตพุทธศาสนามหายาน ภาพ : ดาไล ลามะ พระทิเบตพุทธมหายาน ที่มา : http://www.radompon.com ที่มา : http://www.radompon.com
  • 60. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ประชากรจีนนับถือพระพุทธศาสนามากที่สุด ประมาณ 1,000 กว่า ล้านคน ( จีนมีผู้นับถืออิสลาม 11ล้าน นับถือคริสต์ 9 ล้าน ที่เหลือนับถือ พุทธศาสนาโดยนับถือรวมไปกับศาสนาเต๋าและขงจื้อ) ภาพ : นักบวชนิกายมหายานในเอเชียตะวันออก ที่มา : http://www.radompon.com
  • 61. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ภาพ : ศาสนสถานพุทธในรัสเซีย ที่มา : http://www.radompon.com ภาพ : เมืองลาซา ทิเบตพุทธศาสนามหายาน ที่มา : http://www.radompon.com
  • 62. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ภาพ : การทาลายพระพุทธรูปในอัฟกานิสถาน ที่มา : http://www.bloggang.com ภาพ : พระพุทธรูปบาบิยันในอัฟกานิสถาน ที่มา : http://www.bloggang.com
  • 63. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ประชากรไทยส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา เถรวาท ประเทศไทย จึงเป็นศูนย์กลางของศาสนาพุทธโลกปัจจุบัน ภาพ : ศูนย์กลางพุทธศาสนาโลกพุทธมณฑล ที่มา : http://www.radompon.com ภาพ : วัดมหาธาตุสุโขทัยพุทธ ผสมพราหมณ์ ที่มา : http://www.radompon.com
  • 64. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ศูนย์กลางพระพุทธศาสนาในอินเดียปัจจุบัน คือ รัฐอุตตระประเทศ(ที่ตั้งของแคว้นมคธในสมัยพุทธกาล ) ประชากรที่นับถือเป็นกลุ่มวรรณะศูทร ประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์ ( ชาวอินเดียส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮินดู ) ประเทศภูฏานประชากรส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนา เถรวาทเป็นประเทศที่มีวิถีชีวิตชาวพุทธอย่างเรียบง่าย ภาพ : วัดปูนาดาซอง ในภูฏาน ที่มา : http://www.1bp.blogspot.com
  • 65. การเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระภิกษุสงฆ์(ชาย)และพระภิกษุณีสงฆ์ (หญิง) คือผู้ที่ได้บวช เพื่อศึกษาและฝึกฝนตามคาสอนเพื่อความหลุดพ้น ฆราวาส( ผู้ที่ไม่ได้บวช) คืออุบาสก (ชาย) อุบาสิกา (หญิง) พุทธบริษัท 4 ( ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา) คือ กลุ่มผู้ ร่วมกันนับถือเป็นพุทธศาสนิกชน พุทธมามกะ พุทธสาวก อัน เป็นบุคคลที่ร่วมกันศึกษา และร่วมกันบารุงรักษา พระพุทธศาสนาไว้
  • 66. นิกายของพระพุทธศาสนา ศาสนาพุทธ แบ่งเป็นนิกายใหญ่ ๆ 2 นิกาย  1. เถรวาท หรือ หีนยาน  2. มหายาน แต่อาจพบนิกายย่อย ๆในแต่ละบริเวณต่าง ๆ เช่น เซน(ชินโต) ในญี่ปุ่น
  • 67. นิกายของพระพุทธศาสนา เถรวาท หรือ หินยาน ยึดมั่นใน คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า และ หลักปฏิบัติ เป็นไปตามพระไตรปิฎก แพร่หลายอยู่ ในประเทศไทย ศรีลังกา พม่า ลาว กัมพูชา และ เวียดนาม(เป็นชาวเขมรที่เข้าไปอาศัย) บังกลาเทศ และ มาเลเซีย ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน
  • 68. นิกายของพระพุทธศาสนา อาจาริยวาท หรือ มหายาน แพร่หลายใน จีน ญี่ปุ่น มองโกเลีย ภูฏาน ไต้หวัน เกาหลี เหนือ เกาหลีใต้ และ สิงคโปร์ และบางส่วนของ อินเดีย อินโดนีเซีย มาเลเซีย(ส่วนมากเป็นชาวจีน) เนปาล บรูไน (ส่วนมากเป็นชาวจีน) ฟิลิปปินส์(ส่วนมากเป็นชาวจีน) อุซเบกิสถาน และ ทาจิกิสถาน
  • 69. นิกายของพระพุทธศาสนา วัชรยาน หรือ มหายานพิเศษ ปัจจุบันมีใน อินเดียบริเวณลาดักในรัฐซัมมูและกัษมีร์ และ ในรัฐสิกขิม ประเทศเนปาล ภูฏาน ปากีสถาน มองโกเลีย และ เขตปกครองตนเองทิเบต(จีน)
  • 70. พระพุทธศาสนามีคณค่าต่อโลกปัจจุบัน ุ นิกายมหายาน เป็นยอมรับนับถือในเอเชียกลาง เอเชีย ตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนานิกายมหายาน ประยุกต์ตัวเองให้อยู่คู่คน เอเชียกลาง เอเชียตะวันออก ใน จีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม นิกายเถรวาท เป็นที่ยอมรับในศรีลังกา เอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และชาวตะวันตกหันมานับถือพุทธศาสนามากขึ้น ในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
  • 71. สรุปพระพุทธศาสนา ศาสดา คัมภีร์และหนังสือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระไตรปิฎก จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระ อภิธรรมปิฎก พ้นทุกข์ / ความดับทุกข์ หลักธรรมที่น่าสนใจ ไตรสรณะ ไตรลักษณ์ พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์ บัญญัติ · ขันธ์ · ปรมัตถธรรม ความเชื่อและการปฏิบัติ นิกาย ศีล · ธรรม เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน ศีลห้า · เบญจธรรม · เซน สมถะ · วิปัสสนา สังคมพุทธศาสนา บทสวดมนต์และพระคาถา เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสาคัญ · ศาสน สถาน · วัตถุมงคล
  • 72. LOGO เอกสารอ้างอิง http://th.wikipedia.org http://www.radompon.com http://www.mcucity.tripod.com http://www.bloggang.com http://www.palungjit.com คลิกเพื่อทาแบบฝึกหัด วินิตย์ ศรีทวี โรงเรียนประภัสสรรังสิต จ.พัทลุง