SlideShare a Scribd company logo
1 of 143
Download to read offline
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย
ทาเลที่ตั้ง 
ประเทศไทยตั้งอยู่บนคาบสมุทรอินโดจีน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบไปด้วย แผ่นดินใหญ่ ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม และมาเลเซีย กับ ส่วนที่เป็นหมู่เกาะ เช่น หมู่เกาะอินโดนิเซีย ฟิลิปปินส์ บางส่วนของมาเลเซีย สิงคโปร์ และ ติมอร์ตะวันออก 
ประเทศไทยตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 5 องศา 37 ลิปดาเหนือ กับ 20 องศา 27 ลิปดาเหนือ และระหว่างลองติจูดที่ 97 องศา 22 ลิปดา ตะวันออกถึง 105 องศา 37 ลิปดาตะวันออก
ขนาดและรูปร่าง 
ประเทศไทยมีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 321 ล้านไร่ ถ้าเทียบขนาดกับประเทศที่อยู่ในภูมิภาค เดียวกันแล้วจะมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของภูมิภาค รอง จากอินโดนิเซียและพม่า 
ความยาวสุดของประเทศ วัดจากเหนือสุดที่อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายถึงอาเภอเบตง จึงหวัดยะลา ประมาณ 1,620 กิโลเมตร 
ความกว้างที่สุดวัดจากด่านเจดีย์สามองค์ อาเภอสังขละบุรี ถึงอาเภอสิรินธร จังกวัดอุบลราชธานี ประมาณ 780 กม. 
ส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทยอยู่ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ วัดจากพรมแดนพม่าถึงฝั่งทะเล ด้านตะวันออก (อ่าวไทย)มีระยะทางประมาณ 10.6 กม.
อาณาเขตติดต่อ 
1) พรมแดนด้านเหนือ ติดต่อกับประเทศ พม่า ได้แก่ ดินแดนเหนือสุดในเขต อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายไปทาง ตะวันตกจนถึงจังหวัดแม่ฮ่องสอน ตาม แนวทิวเขาแดนลาว ทิวเขาถนนธงชัย และแม่น้าเมย เป็นพรมแดนธรรมชาติ ส่วนด้านตะวันออกของภาคเหนือติดต่อ กับประเทศลาว ในเขตอาเภอเชียงแสน จังกวัดเชียงราย เข้าสู่จังหวัดพะเยา น่าน อุตรดิตถ์ มีทิวเขาหลวงพระบาง เป็น พรมแดนธรรมชาติ
อาณาเขตติดต่อ 
2) พรมแดนด้านตะวันออก ติดต่อกับประเทศลาวกัมพูชา พรมแดนที่ติดกับประเทศ ลาวเริ่มจากจังหวัดเลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อานาจเจริญ และอุบลราชธานี มีแม่น้าโขงเป็นพรมแดนธรรมชาติ พรมแดนที่ติดกับประเทศกัมพูชา ได้แก่ พื้นที่ บางส่วนขิงภาคตะวันนออกเฉียงเหนือ (อีสานตอนล่าง) จากอาเภอน้ายืน จังหวัด อุบลราชธานี บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ แล้วไปภาคตะวันออกที่จังหวัดสระแก้ว จันทร บุรี และตราด โดยมีทิวเขาพนมดงรัก และทิวเขาบรรทัดเป็นพรมแดนธรรมชาติ 
3) พรมแดนด้านตะวันตก ติดต่อกับประเทศพม่า เริ่มที่จังหวัดตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และระนอง มีทิวเขาถนนธงชัย และทิวเขาตะนาวศรี แม่น้าเมย แม่น้ากระบุรี เป็นพรมแดนธรรมชาติ 
4) พรมแดนด้านใต้ ติดกับประเทศมาเลเซียมีพื้นที่ 4 จังหวัด คือ จังหวัดสตูล สงขลา ยะลา และนราธิวาส โดยมีทิวเขาสันกาลาคีรี และแม่น้าโก-ลก เป็นพรมแดนธรรมชาติ
ลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย 
ลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทย ลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทย สามารถแบ่งออกได้ 6 ลักษณะ คือ 
1) ที่ราบภาคกลาง 
2) ที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
3) เขตภูเขาและที่ราบระหว่างเขาภาคเหนือ 
4) เขตภูเขาสูงภาคตะวันตก 
5) เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออก 
6) เขตภูเขา และที่ราบชายฝั่งควบสมุทรภาคใต้
1. ที่ราบภาคกลาง 
ที่ราบภาคกลาง ได้แก่ บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าท่าจีน และแม่น้า กลอง ฯลฯ เป็นเขตที่ราบที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ เหมาะแก่การเพาะปลูก ทั้งนี้ เพราะดินเป็นดินตะกอนที่แม่น้าพัดพามาทับถม ทาให้ดินอุดมสมบูรณ์
2. ที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
ที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ พื้นที่บริเวณที่ราบสูง ตั้งแต่ทิวเขา เพชรบูรณ์ ทิวเขาดงพญาเย็น ทิวเขาพนมดงรัก ถึงแม่น้าโขง และที่ราบต่าของ กัมพูชาในทิศใต้
3. เขตภูเขาและที่ราบระหว่างเขาภาคเหนือ 
เขตภูเขาและที่ราบระหว่างเขาภาคเหนือ เป็นที่ราบแคบ ๆ สลับกับภูเขาใน ภาคเหนือ เช่น ที่ราบลุ่มแม่น้าปิง ลุ่มแม่น้าวัง ลุ่มแม่น้ายม ลุ่มแม่น้าน่าน เป็นต้น
4. เขตภูเขาสูงภาคตะวันตก 
เขตภูเขาสูงภาคตะวันตก มีลักษณะเป็นทิวเขายาวต่อเนื่องเรียงซื้อกันในแนว เหนือใต้ ทิวเขาสาคัญ ได้แก่ ทิวเขาถนนธงชัย ทิวเขาตะนาวศรี โดยมีแม่น้าสาย สาคัญ คือ แม่น้าแควใหญ่(ศีสวัสดิ์) แม่น้าแควน้อย (ไทรโยค) และแม่น้าแม่กลอง
5. เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออก 
เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออก มีทิวเขาจันทรบุรี วางตัวในแนวตะวันออกและ ตะวันตก ทาให้ภาคภาคตะวันออกตอนบนมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มแม่น้าบาง ปะกง และตอนล่างเป็นที่ราบชายฝั่งทะเล
6. เขตภูเขา และที่ราบชายฝั่งควบสมุทรภาคใต้ 
เขตภูเขา และที่ราบชายฝั่งควบสมุทรภาคใต้ ลักษณะภูมิประเทศเป็นคาบสมุทรยาวไป ทางใต้มี ทะเลขนาบทั้งสองด้าน คือ ด้านอ่าวไทย(ตะวันออก)และทะเลอันดามัน (ตะวันตก)
โครงสร้างและอายุหินในประเทศไทย 
กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม ได้สารวจและศึกษาถึงอายุของหินประเภทต่าง ๆ ที่พบ ในประเทศไทย พบหมู่หินต่าง ๆ ดังนี้ 
1) หมู่หินตะรูเตา เป็นหินทราย มีอายุประมาณ 700 ล้านปี มีความเก่าแก่ที่สุดใน ประเทศไทย 
2) หมู่หินทุ่งสง เป็นหินปูน สีเทาเข้ม พบที่อาเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 
3) หมู่หินตะนาวศรี เป็นหินดินดาน และหินทราย พบที่จังหวัดกาญจนบุรี 
4) หมู่หินราชบุรี เป็นหินปูนสีเทาอ่อน มีชั้นหนา สลับกับหินชนิดอื่น ๆ 
5) หมู่หินลาปาง เป็นหินทราย หินปูน หินดินดาน และหินภูเขาไฟแทรกอยู่ พบที่จังหวัด ลาปาง และบุรีรัมย์ (หินภูเขาไฟ) 
6) หมู่หินโคราช เป็นหินทราย หินกรวด และหินดินดาน บางแห่งมีชั้นหินเกลือแทรกอยู่ 
7) หมู่หินกระบี่ เป็นหินยุคใหม่ กึ่งแข็งกึ่งร่วน พบในจังหวัดกระบี่ และลาปาง เช่น หินไนต์ หินน้ามัน
ลักษณะภูมิอากาศของไทย 
ภูมิอากาศของประเทศไทยจัดอยู่ในเขตร้อน (A) เมื่อใช้ระบบการจาแนกประเภท อากาศของเคิปเปนแล้วสามารถแบ่งเขตอากาศในประเทศไทยได้ 2 แบบใหญ่ คือ 
1. เขตอากาศแบบมรสุมเมืองร้อน (Am) มีลักษณะเด่น ดังนี้ 
1. อุณหภูมิสูงตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ย 27 องศาเซลเซียส 
2. มีฝนตกเป็นฤดูกาลตามระยะเวลาการพัดของลมประจา มีฤดูแล้งสลับกับ ฤดูฝนมีเดือนที่มีฝนตกตกไม่ถึง 60 มิลลิเมตรอยู่บ้าง 
3. เป็นบริเวณที่ตั้งรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ 
4. ป่าไม้เป็นป่าดงดิบที่เขียวตลอดปี และมีป่าชายเลน 
5. บริเวณที่มีอากาศแบบนี้ ได้แก่ บริเวณภาคใต้ และด้านตะวันออกของภาค ตะวันออก
ลักษณะภูมิอากาศของไทย 
2. เขตอากาศแบบสะวันนา ( Aw ) มีลักษณะเด่น ดังนี้ 
1. อุณหภูมิสูงตลอดปี เฉลี่ย 26 - 28 องศาเซลเซียส 
2. มีฝนตกน้อยและอากาศแห้งแล้งชัดเจนในฤดูหนาวปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 1,000 - 1,250 มิลลิเมตร 
3. พืชพันธุ์ธรรมชาติเป็นทุ่งหญ้าสลับกับป่าไม้ ป่าที่พบ คือ ป่าดิบเขา ป่าสน เขา ป่าเบญจพรรณ ป่าแดง ( ป่าแพะ ป่าโคก ป่าเต็งรัง ) ส่วนทุ่งหญ้าเป็นทุ่ง หญ้าเขตร้อนหรือทุ่งหญ้าสะวันนา 
4. บริเวณที่มีอากาศแบบนี้มีอาณาเขตกว้างขวางมาก ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันตก ภาคกลาง และด้านตะวันตกของ ภาคตะวันออก
ฤดูกาลในประเทศไทย 
ฤดูกาล 
ระยะเวลา 
สภาพภูมิอากาศ 
ฤดู หนาว 
กลางเดือนพฤศจิกายน 
ถึง 
กลางเดือนกุมภาพันธ์ 
1. อากาศค่อนข้างหนาวเย็นโดยเฉพาะในภาคเหนือ และภาค 
ตะวันออกเฉียงเหนือ 
2. โดยทั่วไปไม่มีฝนตก ยกเว้นชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของภาคใต้ 
3. ช่วงเวลาที่อากาศเย็นมักเกิดในระยะสั้นๆ ความหนาวเย็นจะมาก 
หรือน้อยขึ้นอยู่กับความกดอากาศสูงในไซบีเรีย หรือมองโกลเลีย 
ฤดูร้อน 
กลางเดือนกุมภาพันธ์ 
ถึง 
กลางเดือนพฤษภาคม 
1. อากาศร้อนอบอ้าว โดยเฉพาะในเดือนเมษายน ส่วนในเดือน 
พฤษภาคมมีฝนตกมากขึ้นทาให้อากาศคลายความร้อนลงไปมาก 
2. โดยทั่วไปยังแล้งฝนต่อเนื่องจากฤดูหนาว แต่อาจมีฟ้าคะนอง 
บางครั้งในต้นเดือนเมษายน ซึ่งเรียกว่า ฝนหัวสงกรานต์ 
ฤดูฝน 
กลางเดือนพฤษภาคม 
ถึง 
กลางเดือนตุลาคม 
1. มีฝนตกมากโดยทั่วไป โดยเฉพาะพื้นที่รับลมมรสุมตะวันตกเฉียง 
ใต้ ได้แก่ บริเวณจังหวัดตราด และระนอง 
2. ฝนจะตกมากที่สุดในเดือนกันยายน 
3. จะมีช่วงอากาศแล้งเกิดขึ้นบ้างเป็นครั้งคราวในเดือนมิถุนายน
องค์ประกอบของภูมิอากาศในประเทศไทย 
1. อุณหภูมิ อุณหภูมิของอากาศในประเทศไทยส่วนใหญ่มีอุณหภูมิอยู่ในเกณฑ์สูง (เฉลี่ย 27 องศาเซลเซียส) โดยเดือนเมษายนจะมีอุณหภูมิสูงที่สุดประมาณ 34 องศา เซลเซียส 
2. ความกดอากาศ ในฤดูร้อนประเทศไทยจะได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้ซึ่งเป็นความกดอากาศต่า ส่วนในฤดูหนาวจะได้รับอิทธิพลของลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นความกดอากาศสูง 
3. ลมและทิศทางลม ลมจะเป็นตัวนาฝนมาตกในบริเวณต่างๆ ของประเทศไทย ทั้ง ลมประจาปีและลมมรสุมทั้ง 2 ฤดูกาล 
4. พายุโซนร้อน ในช่วงระยะปลายฤดูฝนจะมีพายุดีเพรสชัน หรือพายุโซนร้อนจาก ทะเลจีนใต้เคลื่อนเข้าสู่ทะเลจีนใต้และเคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยเฉลี่ยปีละ 3 - 4 ลูก ทา ให้เกิดลมแรง ท้องฟ้าเต็มไปด้วยเมฆและมีฝนตกหนักติดต่อกันนานหลายวัน
องค์ประกอบของภูมิอากาศในประเทศไทย 
5. ความชื้นและปริมาณน้าฝน ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะเป็นลมที่นาความชุ่มชื้น เข้ามาสู่ประเทศไทย ส่วนลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะนาเอาความแห้งแล้งมาให้ ความชื้นสัมพัทธ์ในระยะนี้จะต่ามาก ยกเว้นภาคใต้ฝั่งตะวันออก 
6. ฝนในประเทศไทย โดยเฉลี่ยในประเทศไทยจะมีปริมาณฝนตกทั้งประเทศประมาณ ปีละ 1,550 มิลลิเมตรมี 3 ชนิด คือ 
1. ฝนภูเขา เกิดจากลมที่พัดพาเอาเมฆที่มีความชุ่มชื้นมาปะทะภูเขาด้านหน้า เขา ทาให้เกิดฝนตกแผ่กระจายอย่างหนาแน่น 
2. ฝนปะทะมวลอากาศหรือฝนปะทะมรสุม เป็นฝนที่เกิดจากการที่เกิดการปะทะ ของลมมรสุมทั้งสองฤดูกาล โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดร่องมรสุม 
3. ฝนพาความร้อน เป็นฝนทั่วไปที่ตกในฤดูร้อนที่มีอากาศร้อนระอุตั้งแต่เช้า และเก็บน้าในอากาศมากในตอนบ่าย และจะตกเป็นฝนในระยะเวลาสั้น
ปัจจัยที่มีผลต่อลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทย 
1. ที่ตั้งหรือละติจูด ประเทศไทยตั้งอยู่บริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร โดยอยู่ที่ละติจูดที่ 5 37 เหนือ ถึง 20 27 เหนือ ทาให้ได้รับแสงตรงจากดวงอาทิตย์ตลอดทั้งปี จึงมีอุณหภูมิ เฉลี่ยถึง 33-38 องศาเซลเซียส 
2. ความสูงต่าของพื้นที่ บริเวณที่มีพื้นที่สูงความกดอากาศก็จะสูง (อุณหภูมิต่า) ส่วน พื้นที่ที่มีความต่า (ที่ราบ) ความกดอากาศก็จะต่า (อุณหภูมิสูง) ทุก ๆ ความสูง 180 เมตร อุณหภูมิจะลดลง 1 องศาเซลเซียส 
3. ระยะทางห่างจากทะเล และมหาสมุทร ภาคตะวันออก และภาคใต้ของประเทศไทย จะได้รับอิทธิพลจากทะเล และ มหาสมุทร มากกว่าภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ทาให้ได้รับความชุ่มชื้นและปริมาณน้าฝนสูง 
4. การกีดขวางตัวของภูเขา การที่ประเทศไทยมีทิวเขาตะนาวศรี และทิวเขาถนนธงชัย ทาให้ภาคตะวันตกและภาคกลางตอนบนได้รับประมาณน้าฝนน้อยลง เช่นเดียวกับ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแนวทิวเขาเพชรบูรณ์ ดงพญาเย็น และสันกาแพง ขวาง ทิศทางลม ทาให้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นที่อับฝน
ปัจจัยที่มีผลต่อลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทย 
5. ทิศทางลมประจา ลมประจาที่พัดผ่านประเทศไทย ได้แก่ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งพัดจากมกาสมุทรอินเดีย เข้าสู่ประเทศไทย ซึ่งทาให้บริเวณที่พัดผ่านมีความชุ่มชื้น และมีปริมาณน้าฝนมาก ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม และมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพัดมาจากประเทศจีนในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือน กุมภาพันธ์ โดยบริเวณที่พัดผ่านจะมีความหนาวเย็นและแห้งแล้งยกเว้นภาคใต้ด้าน ตะวันออก เนื่องจากลมได้พัดผ่านอ่าวไทย จึงนาเอาความชุ่มชื้นจากทะเลเข้าสู่ด้าน ตะวันออกของภาคใต้ 
6. พายุ ประเทศไทยได้รับอิทธิพลของพายุดีเปรสชั่น ซึ่งพัดมาจากทะเลจีนใต้ ทาให้ บางช่วงเกิดฝนตกหนักในบางพื้นที่ในประเทศ
ลมกับภูมิอากาศของประเทศไทย 
ลมเกิดจากอากาศที่มีการเคลื่อนที่โดยเกิดจากความแตกต่างของความดันอากาศหรือ ความร้อนสองจุดบนผิวโลก โดยลมจะพัดจากบริเวณที่มีความดันอากาศสูง ไปยัง บริเวณที่มีความดันอากาศต่า
ลมมรสุมกับภูมิอากาศของประเทศไทย 
ลมมรสุม เป็นการหมุนเวียนส่วนหนึ่งของลมที่พัดตามฤดูกาล คือลม ประจาฤดู เป็นลมแน่ทิศและสม่าเสมอ คาว่า "มรสุม" หรือ Monsoon มา จากคาว่า Mausim ในภาษาอาหรับ แปลว่า ฤดูกาล (Season) 
ประเทศไทยอยู่ภายใต้อิทธิพลของมรสุมสองชนิด คือ 
1. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ 
2. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ 
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดปกคลุมประเทศไทย ระหว่างกลางเดือนพฤษภาคมถึง กลางเดือน ตุลาคม โดยมีแหล่งกาเนิดจากบริเวณความกด อากาศสูงในซีกโลกใต้ บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งพัดออกจากศูนย์กลางเป็นลมตะวันออกเฉียง ใต้ และเปลี่ยนเป็น ลมตะวันตกเฉียงใต้เมื่อพัด ข้ามเส้นศูนย์สูตร มรสุมนี้จะนามวลอากาศชื้น จากมหาสมุทรอินเดีย มาสู่ประเทศไทย ทาให้มี เมฆมากและฝนตกชุกทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตามบริเวณชายฝั่งทะเล และเทือกเขาด้านรับลม จะมีฝนมากกว่าบริเวณอื่น
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ 
หลังจากหมดอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียง ใต้แล้ว ประมาณกลางเดือนตุลาคมจะมีลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทยจนถึง กลางเดือนกุมภาพันธ์ มรสุมนี้มีแหล่งกาเนิดจาก บริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกเหนือแถบ ประเทศมองโกเลียและจีน จึงพัดพาเอามวลอากาศ เย็นและแห้งจากแหล่งกาเนิดเข้ามาปกคลุม ประเทศไทย ทาให้ท้องฟ้าโปร่ง อากาศหนาวเย็น และแห้งแล้งทั่วไป โดยเฉพาะภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคใต้จะมีฝนชุก โดยเฉพาะภาคใต้ฝั่งตะวันออก เนื่องจากมรสุมนี้ นาความชุ่มชื้นจากอ่าวไทยเข้ามาปกคลุม
ร่องความกดอากาศต่า 
ร่องความกดอากาศต่าเป็นบริเวณที่ลมจากซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้มา พบกันเป็นบริเวณที่มีความกดอากาศต่ากว่าบริเวณใกล้เคียงเป็นแนวยาว คุณสมบัติเด่น คือบริเวณที่ร่องความกดอากาศต่าพาดผ่านจะมีลักษณะ อากาศแปรปรวน โดยมวลอากาศอุ่นลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบนมีกระแสลม ใกล้เคียงพัดเข้าหาบริเวณความกดอากาศต่าเกิดเมฆก่อตัวในแนวตั้ง มี ฝนตกหนักเป็นบริเวณกว้าง
ร่องความกดอากาศต่า
พายุหมุนเขตร้อน 
พายุหมุนเขตร้อน หมายถึง พายุที่เกิดขึ้น เหนือมหาสมุทร ในเขตร้อน (ละติจูดต่า หรือ ใกล้เส้นศูนย์สูตร) เนื่องจากกระบวนการ ถ่ายเทพลังงาน ของอากาศชื้น เหนือ มหาสมุทร เมื่อเกิดขึ้นแล้ว มักจะเคลื่อนตัวไปตามกระแสลมรอบข้าง อาจมีกาลังแรง ขึ้น หรืออ่อนลง ตามแต่ลักษณะอากาศ ที่เคลื่อนผ่านไป แต่เมื่อเคลื่อนเข้าสู่แผ่นดิน จะ อ่อนกาลังลง เพราะไม่มีพลังงานจากไอน้า มาเสริมกาลังต่อ 
ปัจจุบัน เราแบ่งพายุหมุนเขตร้อน ออกเป็น 3 กลุ่ม ตามระดับความรุนแรง โดยวัดจาก ความเร็วลม ณ ศูนย์กลางพายุเป็นหลัก ดังนี้ 
1. พายุดีเปรสชั่น (Tropical Depression) 
2. พายุโซนร้อน (Tropical Storm) 
3. พายุระดับรุนแรงที่สุด (Tropical Cyclone)
พายุดีเปรสชั่น (Tropical Depression) 
พายุดีเปรสชั่น (Tropical Depression) มีความเร็วลมไม่เกิน 63 km/h (ประมาณ 17 m/s) มองจากดาวเทียม จะเห็นเป็นกลุ่มเมฆ หนาทึบ เป็นวงกลม ยังไม่มีแนวขดเป็นเกลียว หรือ ตาพายุ ชัดเจน
พายุโซนร้อน (Tropical Storm) 
พายุโซนร้อน (Tropical Storm) มีความเร็วลมสูงกว่า ดีเปรสชั่น แต่ไม่เกิน 118 km/h (ประมาณ 32 m/s) จากภาพถ่ายดาวเทียม อาจเริ่มเห็นเกลียวแขนของกลุ่มเมฆบ้าง พายุ ระดับนี้ จะได้รับการกาหนดชื่อให้ โดยหน่วยงานด้านอุตุนิยมวิทยานานาชาติ (ยกเว้น ประเทศฟิลิปปินส์ จะเริ่มตั้งชื่อพายุที่เข้ามาในเขตประเทศ ตั้งแต่ยังเป็น ดีเปรสชั่น)
พายุระดับรุนแรงที่สุด 
พายุระดับรุนแรงที่สุด เรียกกันง่ายๆ ว่า Tropical Cyclone (เพียงเพื่อให้แตกต่างจาก พายุ 2 กลุ่มแรก เท่านั้น) แต่จะมีชื่อเรียกหลากหลายชื่อ ตามแต่พื้นที่ที่เกิดพายุ เช่น 
ในแถบแปซิฟิค เรียกว่า ไต้ฝุ่น (Typhoon) 
แถบอเมริกากลาง เรียกว่า เฮอร์ริเคน (Hurricane) 
แถบมหาสมุทรอินเดีย เรียกว่า ไซโคลน (Cyclone) 
ส่วนในแถบมหาสมุทรอินเดีย ใกล้ออสเตรเลีย เรียกว่า วิลลี่ วิลลี่ (Willi Willi)
การแบ่งภาคภูมิศาสตร์ของประเทศไทย 
ภาค ภูมิภาค เขต (region ,area) หมายถึง บริเวณหน่วยใดหน่วยหนึ่งของพื้นแผ่นดินใน โลกที่มีลักษณะทางใดทางหนึ่งหรือหลายๆอย่างที่คล้ายคลึงกัน เช่น ในทางธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ ทางวัฒนธรรม ทางการเมือง หรือมีลักษณะสาคัญที่เด่นชัดเหมือนกัน อย่างใดอย่างหนึ่งจนรวมเป็นภาคเดียว บริเวณเดียวกัน และในขณะเดียวกันก็มี ลักษณะแตกต่างออกไป จากบริเวณใกล้เคียงโดยรอบ 
การแบ่งเขตลักษณะต่างๆ ล้วนมีวัตถุประสงค์ที่จะแบ่งซอยพื้นที่ให้มีขนาดเล็กลง เพื่อ สะดวกในการเรียกชื่อการปกครอง ในการศึกษาสภาพพื้นที่นั้นๆในด้านใดด้านหนึ่ง 
ความมุ่งหมายในการแบ่งภาคภูมิศาสตร์ (Geographic region) คือ เพื่อให้สามารถใน การกาหนดขอบเขตของพื้นที่ขนาดต่างๆที่มีลักษณะทางภูมิศาสตร์ เป็นเฉพาะตนเอง แตกต่างจากพื้นที่อื่นๆและสามารถเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะของพื้นที่นั้นๆได้ชัดเจนและ สะดวกยิ่งขึ้น
สาเหตุของการแบ่งภาคภูมิศาสตร์ 
1. ทาให้ทราบข้อเท็จจริงของบริเวณนั้นๆ หรือให้ภาพของภาคนั้นๆ ได้ลึกซึ้ง มากขึ้นกว่าแบบรวม ๆ 
2. ทาให้ทราบสภาพแวดล้อมในแต่ละภูมิภาค ที่มีลักษณะคล้ายกันหรือ แตกต่างกันในเชิงเปรียบเทียบ ซึ่งจะช่วยให้ทราบปัญหาที่มีอยู่ในท้องถิ่นของ แต่ละภาค อันจะนาไปสู่การแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง 
3. ทาให้เกิดประโยชน์ในการใช้ข้อมูลเพื่อตัดสินใจวางแผนพัฒนาท้องถิ่นใน ภาคนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การแบ่งภาคภูมิศาสตร์ของประเทศไทย 
ประเทศไทยมีการแบ่งภาคภูมิศาสตร์เมื่อ พ.ศ.2520 โดยคณะกรรมการ ภูมิศาสตร์แห่งชาติได้พิจารณาตกลงให้มีการแบ่งภาคภูมิศาสตร์ของประเทศ ไทยออกเป็น 6 ภาค โดยอาศัยหลักเกณฑ์ดังนี้ 
1. การเรียกชื่อภาคให้ใช้ทิศเป็นสาคัญ เช่น ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคใต้ และภาคตะวันตก 
2. การกาหนดขอบเขตอาณาบริเวณของแต่ละภาค พิจารณาองค์ประกอบ หลายอย่าง เช่น ลักษณะภูมิประเทศ พืชพันธุ์ธรรมชาติ ลักษณะภูมิอากาศ ท้องถิ่น เชื้อชาติ ภาษา ลักษณะสังคม เศรษฐกิจ การดารงชีวิต และ วัฒนธรรมของท้องถิ่น รวมทั้งการประกอบอาชีพ 
3. ขอบเขตของแต่ละภาค ใช้แนวการแบ่งเขตจังหวัดเป็นสาคัญ
ภาคภูมิศาสตร์ของประเทศไทย 
ภาคภูมิศาสตร์ของประเทศไทย 6 ภาค ได้แก่ 
1. ภาคเหนือ ประกอบด้วย 9 จังหวัด ดังนี้ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาพูน ลาปาง แพร่ พะเยา น่าน อุตรดิตถ์ มีเนื้อที่ภาคเป็นอันดับ 2 คือ 93,691 ตร.กม. 
2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบ 19 จังหวัด ดังนี้ เลย หนองบัวลาภู อุดรธานี หนองคาย นครพนม สกลนคร มุกดาหาร บุรีรัมย์ นครราชสีมา ชัยภูมิ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ ศรีสะเกษ สุรินทร์ อุบลราชธานี ยโสธร อานาจเจริญ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด มีเนื้อที่มากเป็นอันดับ 1 คือ 168,854 ตร.กม. และมีประชากรมากเป็นอันดับ 1 
3. ภาคกลาง มี 22 จังหวัด ดังนี้ สุโขทัย กาแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ พิษณุโลก อุทัยธานี ชัยนาท สุพรรณบุรี นครปฐม นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรปราการ กรุงเทพฯ นครสวรรค์ ลพบุรี สิงห์บุรี สระบุรี อ่างทอง ปทุมธานี นครนายก มีเนื้อที่ภาคเป็นอันดับ 3 คือ 91,795 ตร.กม. มีประชากรมากเป็น อันดับ 2
ภาคภูมิศาสตร์ของประเทศไทย 
4. ภาคตะวันออก ประกอบ 7 จังหวัด ดังนี้ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง ปราจีนบุรี สระแก้ว จันทบุรี ตราด มีเนื้อ ที่ภาคเป็นอันดับสุดท้าย คือ 34,381 ตร.กม. 
5. ภาคตะวันตก ประกอบ 5 จังหวัด ดังนี้ ตาก กาญจนบุรี เพชรบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ มีเนื้อที่ ภาคเป็นอันดับ 5 คือ 53,679 ตร.กม. มีประชากรน้อย ที่สุด 
6. ภาคใต้ ประกอบด้วย 14 จังหวัด ดังนี้ ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง สตูล ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ยะลา สงขลา พัทลุง นราธิวาส ปัตตานี มีเนื้อที่ภาคเป็นอันดับ 4 คือ 70,715 ตร.กม. มี ประชากรมากเป็นอันดับ 3
จังหวัดที่มีพรมแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน 
1. พรมแดนไทย-ลาว ติดต่อกับภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก อานาจเจริญ เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร และอุบลราชธานี 
2. พรมแดนไทย-กัมพูชา ติดต่อกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ได้แก่จังหวัด บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี สระแก้ว จันทบุรี ตราด 
3. พรมแดนไทย-พม่า ติดต่อกับภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ ได้แก่ จังหวัด เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และระนอง 
4. พรมแดนไทย-มาเลเซีย ติดต่อกับภาคใต้ ได้แก่จังหวัดสตูล สงขลา ยะลา นราธิวาส
ทรัพยากรดิน 
ดินเกิดจากการผุพังของหินที่อยู่บนผิวโลก ด้วยการกระทาของอากาศ น้า ต้นไม้ สัตว์ ตลอดจนมนุษย์ ดินเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะไม่อยู่กับที่ โดยเฉพาะดินในบริเวณ ลาดเขาหรือที่สูง จะถูกพัดพาไปสู่ที่ต่า เช่น พาไปไว้ตามหุบเขา หรือตามปาก แม่น้า เป็นต้น 
ดินในประเทศไทยส่วนมากเป็นดินที่ถูกพัดพามาจากที่สูง เช่น จากเทือกเขาผี ปันน้า เป็นต้น ดินพวกนี้เรียกว่า ดินตะกอน ดังนั้นตามหุบเขาทางภาคเหนือ เช่นลุ่มแม่น้าปิง จังหวัดเชียงใหม่ ตามเชิงเขาแถบลุ่มน้ายม จะมีดินตะกอนตก ตามปากลาธาร ทาให้เกิดดินรูปสามเหลี่ยมคล้ายพัด ถ้าเป็นที่ราบปากแม่น้า เช้นแม่น้าเจ้าพระยา จะเรียกว่า ดินดอนสามเหลี่ยม เป็นต้น
1. ดินในที่ลุ่ม 
ดินในที่ลุ่ม หมายถึง พื้นที่ซึ่งมีระดับราบและมีการระบายน้าไม่ดี เช่น ที่ราบดินตะกอน พบมากในเขตที่ราบภาคกลาง รวมทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และที่ราบชายฝั่ง ภาคใต้ฝั่งตะวันออก เป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสาหรับการปลูกข้าวและปลูก พืชโดยการยกร่อง
2. ดินที่อยู่ตามที่ราบแบนและที่เนินเขา 
 2. ดินที่อยู่ตามที่ราบแบนและที่เนินเขา คือ ดิน ที่อยู่ตามปากแม่น้าลาธารเก่าๆ บริเวณชานภูเขา ตามข้างภูเขา และตามเชิงเขา พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และที่ราบชายฝั่งภาคใต้ เป็นดินที่มีธาตุอาหารประเภทด่างน้อย เหมาะสาหรับ เพาะปลูกพืชไร่ เช่น มันสาปะหลัง อ้อย ข้าวโพด เป็นต้น
3. ดินในบริเวณภูเขา 
ดินในบริเวณภูเขา เป็นดินที่อยู่ตามภูเขาภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือถ้าพื้นที่ ไม้สูงชันมาก ชาวไร่หรือชาวเขาเผ่าต่างๆ จะถางเพื่อทาไร่ ปลูกข้าว ข้าวโพดและผัก ต่างๆ นอกนั้นปล่อยทิ้งไว้เป็นพื้นที่ป่าไม้ เพื่อรักษาต้นน้าและผลผลิตไม้ทางเศรษฐกิจ
4. ดินในบริเวณที่เป็นชายฝั่งทะเล 
ดินในบริเวณที่เป็นชายฝั่งทะเล ซึ่งมีเนินทรายหรือหาดทรายจะมีดินเป็นทรายจัด เป็น ดินความอุดมสมบูรณ์ต่ามาก ใช้เพาะปลูกเกือบไม่ได้ เช่น ชายฝั่งจังหวัดนราธิวาส และ จังหวัดสงขลา
การอนุรักษ์ทรัพยากรดินในประเทศไทย 
การปลูกพืชคลุมดิน โดยปลูกพืชใบหนาและมีรากแน่น เช่น พืชตระกูลหญ้า ตระกูลถั่ว 
การปลูกพืชหมุนเวียน คือการปลูกพืชต่างชนิดบนพื้นที่เดียวกัน 
การคลุมดิน คือการสร้างสิ่งรองรับแรงปะทะของกระแสน้าหรือลมด้วยวัสดุแทน การปลูกพืช 
การปลูกพืชตามแนวระดับ โดยปลูกพืชตามแนวขวางในพื้นที่ที่มีความลาดเท 
การปลูกพืชสลับเป็นแถว คือการปลูกพืชต่างชนิดบนพื้นที่เดียวกันขวางความลาด ชันของพื้นที่ 
การทาคันดินขั้นบันได โดยการทาคันดินขวางความลาดเทของพื้นที่ลดหลั่นกัน ไปคล้ายบันได
ปัญหาทรัพยากรดินในประเทศไทย 
ปัญหาที่เกิดโดยธรรมชาติ ได้แก่ 
ปัญหาการชะล้างแร่ธาตุในดิน เนื่องมาจากฝนตกชุก 
ปัญหาการสึกกร่อนพังทลายของดิน บริเวณภูเขาหรือที่ลาดชัน 
ปัญหาที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ ได้แก่ 
ปัญหาการปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้าซาก ทาให้ดินจืด ธาตุอาหารบางอย่างหมดเร็ว 
ปัญหาการปลูกพืชโดยไม่บารุงดิน 
ปัญหาการทาลายป่าเพื่อเพาะปลูก 
ปัญหาการเผาป่าหรือไร่นาซึ่งทาให้เกิดผลเสียแก่ดินระยะยาว
การแก้ไขปรับปรุงดินตามสภาพปัญหา 
1. ปัญหาดินเค็ม คือ ดินที่มีปริมาณ เกลือในดินสูง วิธีแก้ปัญหาดินเค็ม ได้แก่ การใช้น้าชะล้างเกลือในดินให้ เจือจางลง การป้องกันการทานาเกลือใน ภาคตะวันออก ตะวันออกเฉียงเหนือ การจัดระบบชลประทานที่เหมาะสมกับ ดินแถบชายทะเลที่น้าขึ้นลง
การแก้ไขปรับปรุงดินตามสภาพปัญหา 
2. ปัญหาดินเปรี้ยว คือ ดินที่มีความเป็น กรดจัด แก้ไขโดยการปล่อยน้าให้ชะล้าง กรดในดินให้ลดลงและใช้ปูนขาวเติมลงใน ดิน 
3. ปัญหาดินทราย คือ ดินที่ไม่อุ้มน้าและมี อาหารพืชต่า แก้ไขโดยใช้การชลประทานที่ เหมาะสมและการใช้ปุ๋ยเพิ่มธาตุอาหารใน ดิน
การแก้ไขปรับปรุงดินตามสภาพปัญหา 
4. ปัญหาดินพรุ คือ ดินในที่ลุ่มมีน้าแช่ขัง มักมีสภาพเป็นกรดรุนแรง แก้ไขโดยการ ระบายน้าออกแล้วเติมปูนขาวลงในดิน 
5. ปัญหาดินได้รับมลพิษจากสารเคมี เกิด จากการใช้สารเคมีไม่ถูกต้องและมากเกิน ความจาเป็น แก้ไขโดยการให้ความรู้แก่ เกษตรกรหรือผู้ใช้สารเคมี
การแก้ไขปรับปรุงดินตามสภาพปัญหา 
6. ปัญหาการทรุดตัวของดิน เกิดจากการ สูบน้าบาดาลมาใช้ทาให้แผ่นดินทรุดตัว แก้ไขโดยวิธีการป้องกันการใช้น้าบาดาลใน เขตพื้นที่มีการทรุดตัว และจะต้องอัดน้าลง ใต้ดินเพื่อเพิ่มระดับน้าบาดาลให้สูงขึ้น 
7. ปัญหาการพังทลายของดินที่เกิดจากการ กัดเซาะของกระแสน้า วิธีการแก้ไขคือ การ ปลูกพืชตามริมฝั่งน้าเพื่อยึดดินไว้
ทรัพยากรธรรมชาติน้า 
น้าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่เหลือเฟือไม่หมดสิ้น เช่น น้าทะเลมีอยู่ บนผิวโลกประมาณร้อยละ 71 ของผิวโลกทั้งหมด น้าฝนและน้าในดิน นอกจากนี้น้ายังเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วเสื่อมคุณภาพ แต่บูรณะให้กลับมี สภาพดีดังเดิมและนกลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น น้าเสียที่ออกจากโรงงาน อุตสาหกรรม ทรัพยากรน้ามีการเปลี่ยนแปลงตามวัฏจักรของน้า โดย พลังงานจากดวงอาทิตย์เป็นตัวการที่ทาให้เกิดน้าฝน น้าบนดิน น้าใต้ดิน หรือน้าบาดาล น้าจาแนกออกเป็น 2 ชนิด คือ 
1. น้าผิวพื้นหรือน้าท่า (Surface Water) 
2. น้าใต้ดิน ( Ground)
1. น้าผิวพื้นหรือน้าท่า (Surface Water) 
น้าผิวพื้นหรือน้าท่า (Surface Water) คือ น้าที่เกิดจากน้าฝนและขังอยู่ ตามผิวดิน ห้วย หนอง คลอง บึง น้าในแม่น้า หรือตามที่อื่นๆ
2. น้าใต้ดิน (Ground) 
น้าใต้ดิน ( Ground) มี 2 ชนิด คือ 
1) น้าใต้ดินเกิดจากน้าฝน หรือน้าที่อยู่บนดิน หรือหิมะ หรือก้อนน้าแข็ง ละลายซึมลงไปในดินและตามช่องว่างระหว่างชั้นหิน น้าในดินมีระดับไม่ ลึกนักโดยชั้นบนสุดมักจะอยู่ระดับเดียวกับน้าในแม่น้าลาคลอง
2. น้าใต้ดิน (Ground) 
2) น้าในชั้นดินหรือน้าบาดาล เป็นน้าที่เกิดจากน้าฝนและน้าบนดินซึม ลึกลงไปตามชั้นหินประเภทต่างๆ ได้แก่ น้าบาดาลที่เกิดจากน้าฝนไหล ซึมผ่านชั้นหินทรายต่างๆ พบมากในแอ่งที่ลุ่มที่มีแนวชั้นหินทราย ต่อเนื่องไปถึง เช่น น้าฝนที่ซึมผ่านชั้นหินในภาคเหนือของประเทศไทย ตามแนวโครงสร้างต่อเนื่อง ลดต่าลงมาจนถึงที่ราบภาคกลาง เมื่อเจาะ ผ่านชั้นหินไปลึกๆ ก็พบน้าขังอยู่ในชั้นหินทรายข้างล่างและน้าบาดาลที่ ไหลผ่านหินชั้นต่างๆ และไปขังรวมตัวกันในตอนบนของชั้นดินดาน เนื่องจากซึมผ่านไปไม่สะดวก น้าบาดาลนี้ผ่านการกลั่นทางธรรมชาติ แล้ว จึงสะอาดกว่าน้าในดินมาก
แหล่งน้าที่สาคัญของประเทศไทย 
 แหล่งน้า หมายถึง บริเวณที่รองรับน้าทั้งหมด ได้แก่ ต้นน้าลาธาร ห้วย หนอง บึง ทะเลสาบ น้าใต้ดิน และแม่น้า
แหล่งน้าที่สาคัญของประเทศไทย 
1. ภาคเหนือ ภาคเหนือมีภูมิประเทศเป็นทิวเขาสลับกับที่ราบหุบเขา จึงมี บริเวณต้นน้าลาธาร และมีแม่น้าไหลผ่าน ได้แก่ แม่น้าปิง แม่น้าวัง แม่น้ายม แม่น้าน่าน แม่น้าอิง แม่น้ากก กว๊านพะเยาในจังหวัดพะเยา 
2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่กว้างขวาง และไม่มีทิวเขากั้น จึงมีแม่น้าน้อย ได้แก่ แม่น้าชี แม่น้ามูล แม่น้าลา พระเพลิง แม่น้าลาตะคอง แม่น้าลาปลายมาศ แม่น้าลาเซ แม่น้าลาโดม น้อย ลาปาว นอกจากนี้มีบึงน้าจืดหลายแห่ง ได้แก่ หนองหาน จังหวัด สกลนคร หนองหานกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี และหนองญาติ จังหวัด นครพนม
แหล่งน้าที่สาคัญของประเทศไทย 
3. ภาคกลาง ภาคกลางเป็นแหล่งน้าที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดของประเทศ เพราะมีทั้งแหล่ง น้าบนผิวดินและใต้ดิน น้าบนผิวดิน ได้แก่ แม่น้าสายต่างๆ เช่น แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าแม่กลอง แม่น้าสะแกกรัง แม่น้าท่าจีน แม่น้าลพบุรี แม่น้าป่าสัก นอกจากนี้มี บึงน้าจืดหลายแห่ง ได้แก่ บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ บึงสีไฟ จังหวัดพิจิตร บึง สรรพยา จังหวัดชัยนาท และทะเลแก้ว จังหวัดพิษณุโลก 
4. ภาคตะวันตก ภาคตะวันตกมีแม่น้าไม่มากนัก ได้แก่ แม่น้าแควน้อยและแม่น้า แควใหญ่ ซึ่งไหลไปรวมกันเป็นแม่น้าแม่กลอง นอกจากนี้มีแม่น้าเมย แม่น้าเพชรบุรี และแม่น้าปราณบุรี 
5. ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกมีแม่น้าสายสั้นๆ ได้แก่ แม่น้าประแส แม่น้าเวฬุ แม่น้าจันทบุรี แม่น้าตราด และแม่น้าระยอง 
6. ภาคใต้ ภาคใต้มีแม่น้าสายสั้นๆ ได้แก่ แม่น้าตานี แม่น้าปากจั่น แม่น้าตรัง แม่น้าหลังสวน แม่น้าปัตตานี แม่น้าคีรีรัฐ แม่น้าชุมพร แม่น้าสายบุรี
ประโยชน์ของน้า 
น้าเป็นแหล่งกาเนิดชีวิตของสัตว์และพืชคนเรามีชีวิตอยู่โดยขาดน้าได้ไม่เกิน 3 วัน และน้ายังมีความจาเป็นทั้งในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่งมีความสาคัญ อย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศ ประโยชน์ของน้า ได้แก่ 
น้าเป็นสิ่งจาเป็นที่เราใช้สาหรับการดื่มกิน การประกอบอาหาร ชาระร่างกาย ฯลฯ 
น้ามีความจาเป็นสาหรับการเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ แหล่งน้าเป็นที่อยู่อาศัยของปลาและ สัตว์น้าอื่น ๆ ซึ่งคนเราใช้เป็นอาหาร 
ในการอุตสาหกรรม ต้องใช้น้าในขบวนการผลิตใช้ล้างของเสียใช้หล่อเครื่องจักรและ ระบายความร้อน ฯลฯ 
การทานาเกลือโดยการระเหยน้าเค็มจากทะเล 
น้าเป็นแหล่งพลังงาน พลังงานจากน้าใช้ทาระหัด ทาเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 
แม่น้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งที่สาคัญ 
ทัศนียภาพของริมฝั่งทะเลและน้าที่ใสสะอาดเป็นแหล่งท่องเที่ยวของมนุษย์
ปัญหาของทรัพยากรน้า 
ปัญหาสาคัญๆ ที่เกิดขึ้น คือ 
1. ปัญหาการมีน้าน้อยเกินไป เกิดการขาดแคลนอันเป็นผลเนื่องจากการ ตัดไม้ทาลายป่า ทาให้ปริมาณน้าฝนน้อยลง เกิดความแห้งแล้งเสียหายต่อ พืชเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์ 
2. ปัญหาการมีน้ามากเกินไป เป็นผลมาจากการตัดไม้มากเกินไป ทาให้ เกิดน้าท่วมไหลบ่าในฤดูฝน สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน
ปัญหาน้าเสีย
ปัญหาของทรัพยากรน้า 
3. ปัญหาน้าเสีย เป็นปัญหาใหม่ในปัจจุบัน สาเหตุที่ทาให้เกิดน้าเสีย ได้แก่ 
น้าทิ้งจากบ้านเรือน ขยะมูลฝอยและสิ่งปฎิกูลที่ถูกทิ้งสู่แม่น้าลาคลอง 
น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม 
น้าฝนพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างจากแหล่งเกษตรกรรมลงสู่แม่น้าลา คลอง 
น้าเสียที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลเสียหายทั้งต่อสุขภาพอนามัย เป็นอันตรายต่อสัตว์ น้า และมนุษย์ ส่งกลิ่นเหม็น รบกวน ทาให้ไม่สามารถนาแหล่งน้านั้นมาใช้ ประโยชน์ได้ทั้งการอุปโภค บริโภค เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม
การอนุรักษ์ทรัพยากรน้า 
1. การใช้น้าอย่างประหยัด การใช้น้าอย่างประหยัดนอกจากจะลด ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้าลงได้แล้ว ยังทาให้ปริมาณน้าเสียที่จะทิ้งลงแหล่ง น้ามีปริมาณน้อย และป้องกันการขาดแคลนน้าได้ด้วย 
2. การสงวนน้าไว้ใช้ ในบางฤดูหรือในสภาวะที่มีน้ามากเหลือใช้ควรมีการ เก็บน้าไว้ใช้ เช่น การทาบ่อเก็บน้า การสร้างโอ่งน้า ขุดลอกแหล่งน้า รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้า และระบบชลประทาน 
3. การพัฒนาแหล่งน้า ในบางพื้นที่ที่ขาดแคลนน้า จาเป็นที่จะต้องหา แหล่งน้าเพิ่มเติม เพื่อให้สามารถมีน้าไว้ใช้ ทั้งในครัวเรือนและใน การเกษตรได้อย่างพอเพียง ปัจจุบันการนาน้าบาดาลขึ้นมาใช้กาลัง แพร่หลายมากขึ้นแต่อาจมีปัญหาเรื่องแผ่นดินทรุด
ปัญหาของทรัพยากรน้า 
4. การป้องกันน้าเสีย การไม่ทิ้งขยะและสิ่งปฎิกูลและสารพิษลงในแหล่งน้า น้าเสียที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล ควรมีการบาบัดและ ขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้า 
5. การนาน้าเสียกลับไปใช้ น้าที่ไม่สามารถใช้ได้ในกิจการอย่างหนึ่งอาจ ใช้ได้ในอีกกิจการหนึ่ง เช่น น้าทิ้งจากการล้างภาชนะอาหาร สามารถ นาไปรดต้นไม้ได้
ทรัพยากรป่าไม้ 
ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตร้อน ป่าไม้ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้ใบกว้าง การ จาแนกประเภทป่าไม้จึงไม่อาจดาเนินรอยตามแบบ ของซีกโลกตะวันตก ซึ่งแบ่งป่าไม้ออกเป็นประเภทตระกูลสน หรือไม้เนื้ออ่อน ซึ่งมีใบเรียวแคบ เหมือนเข็ม และป่าใบกว้าง แต่ได้จาแนกประเภทของป่า โดยถือลักษณะ ของใบเป็นเกณฑ์ว่า เป็นประเภทที่ไม่ทิ้งใบ คือ เป็นป่าดงดิบ (evergreen) และป่าประเภททิ้งใบ หรือผลัดใบ (deciduous) เช่น ป่าเต็งรัง
ป่าไม้ไม่ผลัดใบ 
ป่าประเภทนี้มองดูเขียวชอุ่มตลอดปี เนื่องจากต้นไม้แทบทั้งหมดที่ขึ้นอยู่ เป็นประเภทที่ไม่ผลัดใบ ป่าชนิดสาคัญซึ่งจัดอยู่ในประเภทนี้ ได้แก่ 
1. ป่าดงดิบ (Tropical Evergreen Forest or Rain Forest) 
2. ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) 
3. ป่าสนเขา (Pine Forest) 
4. ป่าชายเลน (Mangrove Forest) 
5. ป่าพรุ (Swamp Forest) 
6. ป่าชายหาด (Beach Forest)
1. ป่าดงดิบ (Tropical Evergreen Forest or Rain Forest) 
ป่าดงดิบ มีลักษณะเป็นป่ารกทึบ มีพันธุ์ไม้มากมายหลายชนิดขึ้นเบียดเสียดกันแน่น พบอยู่ในบริเวณที่มีฝนตกซุก พันธุ์ไม้ที่สาคัญได้แก่ ยาง ตะเคียน กะบาก เคี่ยม มะม่วงป่า มะยมป่า จาปาป่า ไผ่ ระกา หวาย ฯลฯ พบมากในภาคใต้และ ภาคตะวันออก
2. ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) 
2. ป่าดิบเขา มีลักษณะคล้ายป่าดงดิบแต่ไม่ค่อยรกทึบนัก พันธุ์ไม้สาคัญได้แก่ไม้สกุล ก่อ จาปีป่า มะขามป้อม ดงหว้า และไม้สนเขาขึ้นปะปนด้วย ตามลาต้นของไม้ใหญ่มี พืชอาศัยประเภท มอส เฟิน กล้วยไม้เกาะติดอยู่ทั่วไป เป็นป่าต้นน้าลาธาร มีความสูง ตั้งแต่ 1,000 เมตรจากระดับน้าทะเลขึ้นไป พบมากในภาคเหนือ
3. ป่าสนเขา (Pine Forest) 
ป่าสนเขา มักขึ้นบริเวณที่มีความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 700 เมตรขึ้นไป สน พื้นเมืองในประเทศไทยมี 2 ชนิด คือ สนสองใบและสนสามใบ พบมากในภาคเหนือ
4. ป่าชายเลน (Mangrove Forest) 
ป่าชายเลน หรือเรียกว่า ป่าเลนน้าเค็ม ไม้สาคัญ ได้แก่ โกงกาง แสมทะเล ปรง ตะบูน ลาพู มักมีลักษณะพิเศษคือ มีรากงอกออกมาจากส่วนต่าง ๆ ของลาต้น พบ มากบริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันตก
5. ป่าพรุ (Swamp Forest) 
ป่าพรุ คือป่าไม้ที่ขึ้นบริเวณพื้นที่ลุ่ม มีน้าท่วมขัง การระบายน้าไม่ดี เช่นตามขอบแอ่ง หนองบึง หรือตามที่ราบชายฝั่งทะเล ป่าพรุน้าจืดมักมีต้นสนุน จิก หวายน้า อ้อ และ แขม ส่วนป่าพรุน้ากร่อยมักมีต้น เสม็ด และ กกเป็นพันธุ์ไม้สาคัญ
6. ป่าชายหาด (Beach Forest) 
ป่าชายหาด คือป่าตามบริเวณริมหาดชายทะเลที่น้าท่วมไม่ถึง มีพันธุ์ไม้สาคัญ คือ หู กวาง สนทะเล โพทะเล กระทิง และตีนเป็ด
ป่าประเภทผลัดใบ (Declduous) 
ต้นไม้ที่ขึ้นอยู่ในป่าประเภทนี้เป็นจาพวกผลัดใบแทบทั้งสิ้น ในฤดูฝนป่า ประเภทนี้จะมองดูเขียวชอุ่มพอถึงฤดูแล้งต้นไม้ ส่วนใหญ่จะพากันผลัดใบ ทาให้ป่ามองดูโปร่งขึ้น และมักจะเกิดไฟป่าเผาไหม้ใบไม้และต้นไม้เล็ก ๆ ป่าชนิดสาคัญซึ่งอยู่ในประเภทนี้ ได้แก่ 
1. ป่าเบญจพรรณ (Mixed Declduous Forest) 
2. ป่าเต็งรัง (Declduous Dipterocarp Forest) 
3. ป่าหญ้า (Savanna Forest)
1. ป่าเบญจพรรณ (Mixed Declduous Forest) 
ป่าเบญจพรรณ มีลักษณะเป็นป่าโปร่ง พันธุ์ไม้ที่สาคัญ ได้แก่ สัก ประดู่ แดง ตะแบก เสลา มะค่าโมง มะเกลือ ยมหอม เป็นป่าที่มีความสาคัญทางด้านเศรษฐกิจสูงมาก พบ มากในภาคเหนือและภาคกลาง
2. ป่าเต็งรัง (Declduous Dipterocarp Forest) 
ป่าเต็งรัง หรือป่าแดง มีชื่อเรียกแตกต่างกันอีกหลายชื่อ คือ ป่าโคก ป่าแพะ หรือป่า เต็งรัง มีลักษณะเป็นป่าโปร่ง มักขึ้นในดินที่ไม่ค่อยอุดมสมบูรณ์ เช่น ดินตื้น ดินเป็น ทราย ดินลูกรัง ฤดูแล้งจะแล้งจัด ไม้สาคัญ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง พะยอม มะค่า ติ้ว แต้ว พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
3. ป่าหญ้า (Savanna Forest) 
ป่าหญ้า (Savanna Forest) เป็นป่าที่เกิดหลังจากป่าชนิดอื่นๆถูกทาลายไปหมด ดิน เสื่อมโทรม ต้นไม้ไม่อาจเจริญเติบโตต่อไปได้ ป่าหญ้าจึงเข้ามาแทนที่พบได้ทุกภาคใน ประเทศ ป่าหญ้าจึงเข้ามาแทนที่ส่วนใหญ่เป็นหญ้าคา แฝกหอม เป็นต้น
ทรัพยากรแร่ 
แร่เป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีความสาคัญและมีบทบาทที่สนองความ ต้องการ ทางด้านปัจจัยต่าง ๆ ของประชากร ทั้งทางด้านอุตสาหกรรมและพลังงาน ความสาคัญและประโยชน์ของแร่ธาตุที่จะนามาใช้ขึ้นอยู่กับระยะเวลาความเจริญทาง เทคโนโลยี ตลอดจนความต้องการในการนาไปใช้ของมนุษย์ 
ทรัพยากรแร่ธาตุ ที่มนุษย์เราใช้ส่วนใหญ่มาจากแผ่นดิน ซึ่งค่อย ๆ ลดจานวนลงทาให้ มีการสารวจค้นคว้าหาแหล่งทรัพยากรแร่ธาตุใหม่ ๆ อยู่เสมอ ปัจจุบันได้มีการบุกเบิก หาแหล่งทรัพยากรแร่ธาตุในทะเล เช่น น้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ 
ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และระยะเวลาทาให้ความสาคัญของแร่ธาตุ เปลี่ยนแปลงไปจากชนิดหนึ่งไปใช้อีกชนิดหนึ่ง เช่น จากการใช้ถ่านหินมาใช้น้ามัน ปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติจากการใช้เหล็กมาใช้อลูมิเนียมแทน
ความสาคัญของแร่ธาตุ 
1. ด้านความมั่นคงและมั่งคั่งของประเทศ ประเทศที่มีแร่ธาตุต่าง ๆ มากมายและ สามารถนาไปใช้แปรรูปเป็นผลผลิตต่าง ๆ ที่ทาประโยชน์ต่อมนุษย์ เช่น ด้านอาวุธ ด้านอุตสาหกรรม 
2. ด้านความเป็นอยู่ของมนุษย์ ได้มีการนาแร่ธาตุต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์และสร้างขึ้น เป็นสิ่งต่าง ๆ เช่น ภาชนะใช้สอย พาหนะที่ช่วยในการคมนาคม อาคารบ้านเรือน ก๊าซ หุงต้ม พลังงานไฟฟ้า 
3. ด้านการสร้างงานแก่ประชาชน ทาให้ประชาชนมีรายได้จากการขุดแร่ ไปจนถึงแปร รูปเป็นผลิตภัณฑ์ไปสู่ผู้บริโภค นอกจากนี้แร่ธาตุชนิดต่าง ๆ มีคุณสมบัติต่างกัน จึงมี ประโยชน์แตกต่างกัน เช่น แร่วุลแฟรม นามาทาไส้หลอดไฟฟ้า ใช้ในอุตสาหรกรรม เครื่องแก้ว แร่พลวงนามาใช้ทาตัวพิมพ์หนังสือ ทาสี แบตเตอรี รัตนชาติ เป็นแร่ที่มี สีสันสวยงาม นามาใช้ทาเครื่องประดับต่าง ๆ มากมาย
แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย 
1. ดีบุก มักเกิดร่วมกับแร่ทังสเตน แหล่งแร่พวกนี้จะอยู่ในเขตหินแกรนิต แหล่งแร่ดีบุก ที่สาคัญ คือ อาเภอทองภาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และใน เขตตะวันตกของ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ภาคตะวันตกนับเป็นภาคที่มีการผลิตแร่ ดีบุก มากเป็นอันดับที่สอง รองจาก ภาคใต้
แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย 
2. วุลแฟรม หรือ ทังสเตน มีแหล่งผลิตที่อาเภอท่าสองยาง จังหวัด ตาก และที่เหมืองปิล็อก อาเภอทองผาภูมิ จังหวัด กาญจนบุรี ปัจจุบันที่อาเภอ ท่าสองยาง มีน้อยมาก
แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย 
3. เหล็ก แหล่งผลิตที่สาคัญอยู่ที่เขาทับควาย จังหวัดลพบุรี
แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย 
4. ฟลูออไรด์ มีในเขตอาเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี
แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย 
 5. ตะกั่ว – สังกะสี มักพบอยู่ในบริเวณเดียวกัน แต่ตะกั่วมีแหล่งผลิตที่ อาเภอศรีสวัสดิ์และ อาเภอทองผาภูมิ จังหวัด กาญจนบุรี ส่วนแร่สังกะสีมี ที่อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก
แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย 
 6. แร่รัตนชาติ มีแหล่งที่สาคัญในจังหวัดกาญจนบุรี โดยเฉพาะที่อาเภอ บ่อพลอย มีการขุดพลอย กันมาก เป็นแหล่งพลอยสีน้าเงินและนิลที่ขึ้นชื่อ ของประเทศ
แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย 
 7. หินน้ามัน (oil shale) พบมากที่แอ่งแอ่งแม่สอด จังหวัดตาก อ.ลี้ จังหวัด ลาพูน อ.เมือง จังหวัดกระบี่
สาเหตุและผลกระทบปัญหาทรัพยากรแร่ 
1. ปัญหาสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ทาเหมืองแร่แล้วทาให้สภาพดินไม่อุดม สมบูรณ์ สกปรกพื้นที่ขรุขระมีหลุมบ่อมากมายจึงถูกปล่อยทิ้งให้ประโยชน์ ไม่เต็มที่ 
2. ปัญหาการใช้แร่ธาตุบางประเภทเป็นจานวนมาก เช่น แร่เหล็กถูก นามาใช้มาก และแพร่หลายที่สุด ถ่านหิน น้ามันปิโตรเลียม ดีบุก ฯลฯ 
3. ปัญหาการใช้แร่ไม่คุ้มค่า ได้แก่ พวกแร่ที่ใช้แล้วยังเหลืออยู่ ยังสามารถ นากลับไปใช้อีก เช่น เหล็ก ส่วนแร่ที่นาไปใช้แล้วหมดไป เช่น ถ่านหิน น้ามัน ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ เราจึงต้องใช้อย่างคุ้มค่าและประหยัด
การอนุรักษ์แร่ธาตุ 
1. การใช้แร่ธาตุอย่างประหยัด ในการทาเหมืองแร่บางอย่างนั้นบางทีทรัพยากร แร่ธาตุที่ได้มาอาจมีหลายชนิด ดังนั้นจึงควรจะพยายามใช้ให้คุ้มค่าทุกชนิด อย่างประหยัดและลดการสูญเปล่า 
2. การสารวจแหล่งแร่ ควรมีการเร่งรัดการสารวจทรัพยากรแร่ธาตุให้ครอบคลุม ทั่วประเทศ เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า 
3. การใช้แร่ชนิดอื่นทดแทน พยายามหาแร่ธาตุอื่น ๆ มาใช้ทดแทนแร่ที่ใช้กัน มาก อาทิการใช้อลูมิเนียมแทนเหล็ก 
4. นาแร่ที่ใช้แล้วกลับมาใช้อีก อาทิภาชนะเครื่องใช้ที่เป็นอลูมิเนียมบางอย่างที่ หมดสภาพการใช้แล้วสามารถนากลับมาหลอมใช้ใหม่ได้อีก 
5. การจัดเก็บภาษีและค่าภาคหลวงแร่ ต้องให้สอดคล้องกับจานวนแร่และราคา ของแร่ด้วย
ทรัพยากรสัตว์ป่า 
สัตว์ป่า คือสัตว์ทุกชนิดไม่ว่าสัตว์บก สัตว์น้า สัตว์ปีก แมลง หรือแมง ซึ่ง โดยสภาพตามธรรมชาติย่อมเกิดและดารงชีวิตอยู่ในป่าหรือในน้า และ รวมถึงไข่ของสัตว์ป่าทุกชนิด 
เพื่อเป็นการปกป้องรักษาสัตว์ป่าให้มีชีวิตสืบต่อไปถึงอนุชนรุ่นหลังจึงมี การออกพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ภูมิพล อดุลเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2535 เป็นปีที่ 47 ในรัชกาล ปัจจุบัน แบ่งสัตว์ป่าออกเป็น 2 ประเภท คือ 
1. สัตว์ป่าสงวน 
2. สัตว์ป่าคุ้มครอง
ทรัพยากรสัตว์ป่า 
บทลงโทษ ทั้งสัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าคุ้มครองและซากของสัตว์ป่าสงวนหรือ ซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง ห้ามมิให้ผู้ใดทาการล่ามีไว้ในครอบครอง ค้าขาย และนาเข้าหรือส่งออก หากผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสี่ปีหรือ ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ 
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 ได้มีการตรา พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2503 รัฐบาลจึงกาหนดให้วันที่ 26 ธันวาคม ของทุกปีเป็น “วันคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ”
ประเภทของสัตว์ป่า 
1. สัตว์ป่าสงวน เป็นสัตว์ป่าที่หายากและปัจจุบันมีจานวนน้อยมากบาง ชนิดสูญพันธุ์ไปแล้วมีอยู่ 15 ชนิด คือ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร แรด กระซู่ กูปรีหรือโคไพร ควายป่า ละองหรือละมั่ง สมันหรือ เนื้อสมัน เลียงผา นก แต้วแล้วท้องดา นกกระเรียน แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ เก้งหม้อและ พะยูนหรือหมูน้า
ประเภทของสัตว์ป่า 
2. สัตว์ป่าคุ้มครอง หมายถึง สัตว์ป่าตามกฎกระทรวงกาหนดเป็นสัตว์ป่า คุ้มครอง โดยไม่แบ่งแยกเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 แบ่งออกเป็น 7 ประเภท คือ 
1. สัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนม 
2. สัตว์ป่าจาพวกนก 
3. สัตว์ป่าจาพวกเลื้อยคลาน 
4. สัตว์ป่าจาพวกครึ่งบกครึ่งน้า 
5. สัตว์ป่าประเภทปลา 
6. สัตว์ป่าจาพวกแมลง 
7. สัตว์ป่าจาพวกไม่มีกระดูกสันหลัง
สาเหตุที่ทาให้สัตว์ป่าสูญพันธุ์ 
1. การลดน้อยลง หรือการสูญพันธุ์ไปโดยธรรมชาติ สัตว์ป่าหลายชนิดไม่ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ 
2. การลดน้อยลง หรือการสูญพันธุ์ไปโดยการล่า 
3. การลดลง หรือการสูญพันธุ์ จากการทาลายแหล่งที่อยู่อาศัย 
4. การลดลงหรือการสูญพันธุ์เนื่องจากสารพิษ 
5. การลดลงหรือการสูญพันธุ์เนื่องจากนาสัตว์อื่นมาทดแทน เนื่องจาก อาจทาให้สัตว์เลี้ยงไปแย่งอาหาร หรือทาให้เกิดโรคระบาดได้ 
6. การลดลงหรือการสูญพันธุ์เนื่องจากการใช้ ประโยชน์อาหารของสัตว์ ป่าเองอย่างจากัดเช่น หมีแพนด้าที่กินเฉพาะใบไผ่ เมื่อป่าถูกทาลายลงทา ให้หมีไม่มีอาหารกิน และสูญพันธุ์ได้
สาเหตุที่ทาให้สัตว์ป่าสูญพันธุ์ 
7. ถูกจับไปทดลองหรือไปเลี้ยง 
8. ขาดคู่ผสมพันธุ์ 
9. การผสมพันธุ์ในเครือญาติ ทาให้ลูกหลานที่เกิดมาใหม่ไม่แข็งแรง ไม่มี ภูมิคุ้มกันโรค และเสียชีวิตในที่สุด 
10. มลภาวะ สภาพของน้า และอากาศที่เสีย ทาให้สัตว์ปรับตัว หรือสร้าง ความต้านทานไม่ได้
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4

More Related Content

What's hot

ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...Earn Supeerapat
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนKwandjit Boonmak
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 

What's hot (20)

ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 

Viewers also liked

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2Bow Rattikarn
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยwittawat_name
 
วิชาภูมิศาสตร์
วิชาภูมิศาสตร์วิชาภูมิศาสตร์
วิชาภูมิศาสตร์พัน พัน
 
สไลด์ ภูมิศาสาตร์ประเทศไทย ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f07-1page
สไลด์ ภูมิศาสาตร์ประเทศไทย ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f07-1pageสไลด์ ภูมิศาสาตร์ประเทศไทย ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f07-1page
สไลด์ ภูมิศาสาตร์ประเทศไทย ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f07-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
เฉลยข้อสอบเรื่องแผนที่ม.1
เฉลยข้อสอบเรื่องแผนที่ม.1เฉลยข้อสอบเรื่องแผนที่ม.1
เฉลยข้อสอบเรื่องแผนที่ม.1Onlyu Pandpat
 
แผนที่ ลูกโลก
แผนที่   ลูกโลกแผนที่   ลูกโลก
แผนที่ ลูกโลกthnaporn999
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6Pukkawin Ngamdee
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่ครูอ้อ วิรยา
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
ปัญหาภูมิศาสตร์ประเทศไทย เรื่องทรัพยากร ธรรมชาติ(รวม)
ปัญหาภูมิศาสตร์ประเทศไทย เรื่องทรัพยากร ธรรมชาติ(รวม)ปัญหาภูมิศาสตร์ประเทศไทย เรื่องทรัพยากร ธรรมชาติ(รวม)
ปัญหาภูมิศาสตร์ประเทศไทย เรื่องทรัพยากร ธรรมชาติ(รวม)Chanittapon Kongtong
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
สไลด์ เที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป.3+456+dltvsocp3+55t2soc p03 f25-1page
สไลด์  เที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป.3+456+dltvsocp3+55t2soc p03 f25-1pageสไลด์  เที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป.3+456+dltvsocp3+55t2soc p03 f25-1page
สไลด์ เที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป.3+456+dltvsocp3+55t2soc p03 f25-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติWuttipong Tubkrathok
 

Viewers also liked (20)

ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทยภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
วิชาภูมิศาสตร์
วิชาภูมิศาสตร์วิชาภูมิศาสตร์
วิชาภูมิศาสตร์
 
สไลด์ ภูมิศาสาตร์ประเทศไทย ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f07-1page
สไลด์ ภูมิศาสาตร์ประเทศไทย ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f07-1pageสไลด์ ภูมิศาสาตร์ประเทศไทย ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f07-1page
สไลด์ ภูมิศาสาตร์ประเทศไทย ป.5+486+dltvsocp5+55t2soc p05 f07-1page
 
เฉลยข้อสอบเรื่องแผนที่ม.1
เฉลยข้อสอบเรื่องแผนที่ม.1เฉลยข้อสอบเรื่องแผนที่ม.1
เฉลยข้อสอบเรื่องแผนที่ม.1
 
แผนที่ ลูกโลก
แผนที่   ลูกโลกแผนที่   ลูกโลก
แผนที่ ลูกโลก
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
ปัญหาภูมิศาสตร์ประเทศไทย เรื่องทรัพยากร ธรรมชาติ(รวม)
ปัญหาภูมิศาสตร์ประเทศไทย เรื่องทรัพยากร ธรรมชาติ(รวม)ปัญหาภูมิศาสตร์ประเทศไทย เรื่องทรัพยากร ธรรมชาติ(รวม)
ปัญหาภูมิศาสตร์ประเทศไทย เรื่องทรัพยากร ธรรมชาติ(รวม)
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
สไลด์ เที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป.3+456+dltvsocp3+55t2soc p03 f25-1page
สไลด์  เที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป.3+456+dltvsocp3+55t2soc p03 f25-1pageสไลด์  เที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป.3+456+dltvsocp3+55t2soc p03 f25-1page
สไลด์ เที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป.3+456+dltvsocp3+55t2soc p03 f25-1page
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
You tube[1]
You tube[1]You tube[1]
You tube[1]
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 

Similar to ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4

บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1neena5339
 
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้Artit Boonket
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
ทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าleemeanxun
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)Kornnicha Wonglai
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.Mod Haha
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309chanok
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาkrunimsocial
 

Similar to ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4 (20)

บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1
 
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอนจังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
 
Geo_thai.ppt
Geo_thai.pptGeo_thai.ppt
Geo_thai.ppt
 
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
 
ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกาใหม่
ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกาใหม่ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกาใหม่
ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกาใหม่
 
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรปลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิประเทศของทวีปยุโรป
 
Bdc412 Africa
Bdc412 AfricaBdc412 Africa
Bdc412 Africa
 
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
ทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่าทวีปแอฟริก่า
ทวีปแอฟริก่า
 
North america
North americaNorth america
North america
 
309
309309
309
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ
 
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป 2.4
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป 2.4ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป 2.4
ภูมิศาสตร์ของทวีปยุโรป 2.4
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
 
Europe
EuropeEurope
Europe
 
ลักษณะภูมิอากาศ 2.1
ลักษณะภูมิอากาศ 2.1ลักษณะภูมิอากาศ 2.1
ลักษณะภูมิอากาศ 2.1
 

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4

  • 2. ทาเลที่ตั้ง ประเทศไทยตั้งอยู่บนคาบสมุทรอินโดจีน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบไปด้วย แผ่นดินใหญ่ ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม และมาเลเซีย กับ ส่วนที่เป็นหมู่เกาะ เช่น หมู่เกาะอินโดนิเซีย ฟิลิปปินส์ บางส่วนของมาเลเซีย สิงคโปร์ และ ติมอร์ตะวันออก ประเทศไทยตั้งอยู่ระหว่างละติจูดที่ 5 องศา 37 ลิปดาเหนือ กับ 20 องศา 27 ลิปดาเหนือ และระหว่างลองติจูดที่ 97 องศา 22 ลิปดา ตะวันออกถึง 105 องศา 37 ลิปดาตะวันออก
  • 3. ขนาดและรูปร่าง ประเทศไทยมีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 321 ล้านไร่ ถ้าเทียบขนาดกับประเทศที่อยู่ในภูมิภาค เดียวกันแล้วจะมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของภูมิภาค รอง จากอินโดนิเซียและพม่า ความยาวสุดของประเทศ วัดจากเหนือสุดที่อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายถึงอาเภอเบตง จึงหวัดยะลา ประมาณ 1,620 กิโลเมตร ความกว้างที่สุดวัดจากด่านเจดีย์สามองค์ อาเภอสังขละบุรี ถึงอาเภอสิรินธร จังกวัดอุบลราชธานี ประมาณ 780 กม. ส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทยอยู่ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ วัดจากพรมแดนพม่าถึงฝั่งทะเล ด้านตะวันออก (อ่าวไทย)มีระยะทางประมาณ 10.6 กม.
  • 4. อาณาเขตติดต่อ 1) พรมแดนด้านเหนือ ติดต่อกับประเทศ พม่า ได้แก่ ดินแดนเหนือสุดในเขต อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายไปทาง ตะวันตกจนถึงจังหวัดแม่ฮ่องสอน ตาม แนวทิวเขาแดนลาว ทิวเขาถนนธงชัย และแม่น้าเมย เป็นพรมแดนธรรมชาติ ส่วนด้านตะวันออกของภาคเหนือติดต่อ กับประเทศลาว ในเขตอาเภอเชียงแสน จังกวัดเชียงราย เข้าสู่จังหวัดพะเยา น่าน อุตรดิตถ์ มีทิวเขาหลวงพระบาง เป็น พรมแดนธรรมชาติ
  • 5. อาณาเขตติดต่อ 2) พรมแดนด้านตะวันออก ติดต่อกับประเทศลาวกัมพูชา พรมแดนที่ติดกับประเทศ ลาวเริ่มจากจังหวัดเลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อานาจเจริญ และอุบลราชธานี มีแม่น้าโขงเป็นพรมแดนธรรมชาติ พรมแดนที่ติดกับประเทศกัมพูชา ได้แก่ พื้นที่ บางส่วนขิงภาคตะวันนออกเฉียงเหนือ (อีสานตอนล่าง) จากอาเภอน้ายืน จังหวัด อุบลราชธานี บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ แล้วไปภาคตะวันออกที่จังหวัดสระแก้ว จันทร บุรี และตราด โดยมีทิวเขาพนมดงรัก และทิวเขาบรรทัดเป็นพรมแดนธรรมชาติ 3) พรมแดนด้านตะวันตก ติดต่อกับประเทศพม่า เริ่มที่จังหวัดตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และระนอง มีทิวเขาถนนธงชัย และทิวเขาตะนาวศรี แม่น้าเมย แม่น้ากระบุรี เป็นพรมแดนธรรมชาติ 4) พรมแดนด้านใต้ ติดกับประเทศมาเลเซียมีพื้นที่ 4 จังหวัด คือ จังหวัดสตูล สงขลา ยะลา และนราธิวาส โดยมีทิวเขาสันกาลาคีรี และแม่น้าโก-ลก เป็นพรมแดนธรรมชาติ
  • 6. ลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย ลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทย ลักษณะภูมิประเทศของประเทศไทย สามารถแบ่งออกได้ 6 ลักษณะ คือ 1) ที่ราบภาคกลาง 2) ที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3) เขตภูเขาและที่ราบระหว่างเขาภาคเหนือ 4) เขตภูเขาสูงภาคตะวันตก 5) เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออก 6) เขตภูเขา และที่ราบชายฝั่งควบสมุทรภาคใต้
  • 7. 1. ที่ราบภาคกลาง ที่ราบภาคกลาง ได้แก่ บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าท่าจีน และแม่น้า กลอง ฯลฯ เป็นเขตที่ราบที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ เหมาะแก่การเพาะปลูก ทั้งนี้ เพราะดินเป็นดินตะกอนที่แม่น้าพัดพามาทับถม ทาให้ดินอุดมสมบูรณ์
  • 8. 2. ที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ พื้นที่บริเวณที่ราบสูง ตั้งแต่ทิวเขา เพชรบูรณ์ ทิวเขาดงพญาเย็น ทิวเขาพนมดงรัก ถึงแม่น้าโขง และที่ราบต่าของ กัมพูชาในทิศใต้
  • 9. 3. เขตภูเขาและที่ราบระหว่างเขาภาคเหนือ เขตภูเขาและที่ราบระหว่างเขาภาคเหนือ เป็นที่ราบแคบ ๆ สลับกับภูเขาใน ภาคเหนือ เช่น ที่ราบลุ่มแม่น้าปิง ลุ่มแม่น้าวัง ลุ่มแม่น้ายม ลุ่มแม่น้าน่าน เป็นต้น
  • 10. 4. เขตภูเขาสูงภาคตะวันตก เขตภูเขาสูงภาคตะวันตก มีลักษณะเป็นทิวเขายาวต่อเนื่องเรียงซื้อกันในแนว เหนือใต้ ทิวเขาสาคัญ ได้แก่ ทิวเขาถนนธงชัย ทิวเขาตะนาวศรี โดยมีแม่น้าสาย สาคัญ คือ แม่น้าแควใหญ่(ศีสวัสดิ์) แม่น้าแควน้อย (ไทรโยค) และแม่น้าแม่กลอง
  • 11. 5. เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออก เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออก มีทิวเขาจันทรบุรี วางตัวในแนวตะวันออกและ ตะวันตก ทาให้ภาคภาคตะวันออกตอนบนมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มแม่น้าบาง ปะกง และตอนล่างเป็นที่ราบชายฝั่งทะเล
  • 12. 6. เขตภูเขา และที่ราบชายฝั่งควบสมุทรภาคใต้ เขตภูเขา และที่ราบชายฝั่งควบสมุทรภาคใต้ ลักษณะภูมิประเทศเป็นคาบสมุทรยาวไป ทางใต้มี ทะเลขนาบทั้งสองด้าน คือ ด้านอ่าวไทย(ตะวันออก)และทะเลอันดามัน (ตะวันตก)
  • 13. โครงสร้างและอายุหินในประเทศไทย กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม ได้สารวจและศึกษาถึงอายุของหินประเภทต่าง ๆ ที่พบ ในประเทศไทย พบหมู่หินต่าง ๆ ดังนี้ 1) หมู่หินตะรูเตา เป็นหินทราย มีอายุประมาณ 700 ล้านปี มีความเก่าแก่ที่สุดใน ประเทศไทย 2) หมู่หินทุ่งสง เป็นหินปูน สีเทาเข้ม พบที่อาเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 3) หมู่หินตะนาวศรี เป็นหินดินดาน และหินทราย พบที่จังหวัดกาญจนบุรี 4) หมู่หินราชบุรี เป็นหินปูนสีเทาอ่อน มีชั้นหนา สลับกับหินชนิดอื่น ๆ 5) หมู่หินลาปาง เป็นหินทราย หินปูน หินดินดาน และหินภูเขาไฟแทรกอยู่ พบที่จังหวัด ลาปาง และบุรีรัมย์ (หินภูเขาไฟ) 6) หมู่หินโคราช เป็นหินทราย หินกรวด และหินดินดาน บางแห่งมีชั้นหินเกลือแทรกอยู่ 7) หมู่หินกระบี่ เป็นหินยุคใหม่ กึ่งแข็งกึ่งร่วน พบในจังหวัดกระบี่ และลาปาง เช่น หินไนต์ หินน้ามัน
  • 14. ลักษณะภูมิอากาศของไทย ภูมิอากาศของประเทศไทยจัดอยู่ในเขตร้อน (A) เมื่อใช้ระบบการจาแนกประเภท อากาศของเคิปเปนแล้วสามารถแบ่งเขตอากาศในประเทศไทยได้ 2 แบบใหญ่ คือ 1. เขตอากาศแบบมรสุมเมืองร้อน (Am) มีลักษณะเด่น ดังนี้ 1. อุณหภูมิสูงตลอดปี อุณหภูมิเฉลี่ย 27 องศาเซลเซียส 2. มีฝนตกเป็นฤดูกาลตามระยะเวลาการพัดของลมประจา มีฤดูแล้งสลับกับ ฤดูฝนมีเดือนที่มีฝนตกตกไม่ถึง 60 มิลลิเมตรอยู่บ้าง 3. เป็นบริเวณที่ตั้งรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ 4. ป่าไม้เป็นป่าดงดิบที่เขียวตลอดปี และมีป่าชายเลน 5. บริเวณที่มีอากาศแบบนี้ ได้แก่ บริเวณภาคใต้ และด้านตะวันออกของภาค ตะวันออก
  • 15. ลักษณะภูมิอากาศของไทย 2. เขตอากาศแบบสะวันนา ( Aw ) มีลักษณะเด่น ดังนี้ 1. อุณหภูมิสูงตลอดปี เฉลี่ย 26 - 28 องศาเซลเซียส 2. มีฝนตกน้อยและอากาศแห้งแล้งชัดเจนในฤดูหนาวปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 1,000 - 1,250 มิลลิเมตร 3. พืชพันธุ์ธรรมชาติเป็นทุ่งหญ้าสลับกับป่าไม้ ป่าที่พบ คือ ป่าดิบเขา ป่าสน เขา ป่าเบญจพรรณ ป่าแดง ( ป่าแพะ ป่าโคก ป่าเต็งรัง ) ส่วนทุ่งหญ้าเป็นทุ่ง หญ้าเขตร้อนหรือทุ่งหญ้าสะวันนา 4. บริเวณที่มีอากาศแบบนี้มีอาณาเขตกว้างขวางมาก ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันตก ภาคกลาง และด้านตะวันตกของ ภาคตะวันออก
  • 16. ฤดูกาลในประเทศไทย ฤดูกาล ระยะเวลา สภาพภูมิอากาศ ฤดู หนาว กลางเดือนพฤศจิกายน ถึง กลางเดือนกุมภาพันธ์ 1. อากาศค่อนข้างหนาวเย็นโดยเฉพาะในภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 2. โดยทั่วไปไม่มีฝนตก ยกเว้นชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของภาคใต้ 3. ช่วงเวลาที่อากาศเย็นมักเกิดในระยะสั้นๆ ความหนาวเย็นจะมาก หรือน้อยขึ้นอยู่กับความกดอากาศสูงในไซบีเรีย หรือมองโกลเลีย ฤดูร้อน กลางเดือนกุมภาพันธ์ ถึง กลางเดือนพฤษภาคม 1. อากาศร้อนอบอ้าว โดยเฉพาะในเดือนเมษายน ส่วนในเดือน พฤษภาคมมีฝนตกมากขึ้นทาให้อากาศคลายความร้อนลงไปมาก 2. โดยทั่วไปยังแล้งฝนต่อเนื่องจากฤดูหนาว แต่อาจมีฟ้าคะนอง บางครั้งในต้นเดือนเมษายน ซึ่งเรียกว่า ฝนหัวสงกรานต์ ฤดูฝน กลางเดือนพฤษภาคม ถึง กลางเดือนตุลาคม 1. มีฝนตกมากโดยทั่วไป โดยเฉพาะพื้นที่รับลมมรสุมตะวันตกเฉียง ใต้ ได้แก่ บริเวณจังหวัดตราด และระนอง 2. ฝนจะตกมากที่สุดในเดือนกันยายน 3. จะมีช่วงอากาศแล้งเกิดขึ้นบ้างเป็นครั้งคราวในเดือนมิถุนายน
  • 17. องค์ประกอบของภูมิอากาศในประเทศไทย 1. อุณหภูมิ อุณหภูมิของอากาศในประเทศไทยส่วนใหญ่มีอุณหภูมิอยู่ในเกณฑ์สูง (เฉลี่ย 27 องศาเซลเซียส) โดยเดือนเมษายนจะมีอุณหภูมิสูงที่สุดประมาณ 34 องศา เซลเซียส 2. ความกดอากาศ ในฤดูร้อนประเทศไทยจะได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้ซึ่งเป็นความกดอากาศต่า ส่วนในฤดูหนาวจะได้รับอิทธิพลของลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเป็นความกดอากาศสูง 3. ลมและทิศทางลม ลมจะเป็นตัวนาฝนมาตกในบริเวณต่างๆ ของประเทศไทย ทั้ง ลมประจาปีและลมมรสุมทั้ง 2 ฤดูกาล 4. พายุโซนร้อน ในช่วงระยะปลายฤดูฝนจะมีพายุดีเพรสชัน หรือพายุโซนร้อนจาก ทะเลจีนใต้เคลื่อนเข้าสู่ทะเลจีนใต้และเคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยเฉลี่ยปีละ 3 - 4 ลูก ทา ให้เกิดลมแรง ท้องฟ้าเต็มไปด้วยเมฆและมีฝนตกหนักติดต่อกันนานหลายวัน
  • 18. องค์ประกอบของภูมิอากาศในประเทศไทย 5. ความชื้นและปริมาณน้าฝน ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะเป็นลมที่นาความชุ่มชื้น เข้ามาสู่ประเทศไทย ส่วนลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะนาเอาความแห้งแล้งมาให้ ความชื้นสัมพัทธ์ในระยะนี้จะต่ามาก ยกเว้นภาคใต้ฝั่งตะวันออก 6. ฝนในประเทศไทย โดยเฉลี่ยในประเทศไทยจะมีปริมาณฝนตกทั้งประเทศประมาณ ปีละ 1,550 มิลลิเมตรมี 3 ชนิด คือ 1. ฝนภูเขา เกิดจากลมที่พัดพาเอาเมฆที่มีความชุ่มชื้นมาปะทะภูเขาด้านหน้า เขา ทาให้เกิดฝนตกแผ่กระจายอย่างหนาแน่น 2. ฝนปะทะมวลอากาศหรือฝนปะทะมรสุม เป็นฝนที่เกิดจากการที่เกิดการปะทะ ของลมมรสุมทั้งสองฤดูกาล โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดร่องมรสุม 3. ฝนพาความร้อน เป็นฝนทั่วไปที่ตกในฤดูร้อนที่มีอากาศร้อนระอุตั้งแต่เช้า และเก็บน้าในอากาศมากในตอนบ่าย และจะตกเป็นฝนในระยะเวลาสั้น
  • 19. ปัจจัยที่มีผลต่อลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทย 1. ที่ตั้งหรือละติจูด ประเทศไทยตั้งอยู่บริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตร โดยอยู่ที่ละติจูดที่ 5 37 เหนือ ถึง 20 27 เหนือ ทาให้ได้รับแสงตรงจากดวงอาทิตย์ตลอดทั้งปี จึงมีอุณหภูมิ เฉลี่ยถึง 33-38 องศาเซลเซียส 2. ความสูงต่าของพื้นที่ บริเวณที่มีพื้นที่สูงความกดอากาศก็จะสูง (อุณหภูมิต่า) ส่วน พื้นที่ที่มีความต่า (ที่ราบ) ความกดอากาศก็จะต่า (อุณหภูมิสูง) ทุก ๆ ความสูง 180 เมตร อุณหภูมิจะลดลง 1 องศาเซลเซียส 3. ระยะทางห่างจากทะเล และมหาสมุทร ภาคตะวันออก และภาคใต้ของประเทศไทย จะได้รับอิทธิพลจากทะเล และ มหาสมุทร มากกว่าภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ทาให้ได้รับความชุ่มชื้นและปริมาณน้าฝนสูง 4. การกีดขวางตัวของภูเขา การที่ประเทศไทยมีทิวเขาตะนาวศรี และทิวเขาถนนธงชัย ทาให้ภาคตะวันตกและภาคกลางตอนบนได้รับประมาณน้าฝนน้อยลง เช่นเดียวกับ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแนวทิวเขาเพชรบูรณ์ ดงพญาเย็น และสันกาแพง ขวาง ทิศทางลม ทาให้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นที่อับฝน
  • 20. ปัจจัยที่มีผลต่อลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทย 5. ทิศทางลมประจา ลมประจาที่พัดผ่านประเทศไทย ได้แก่ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งพัดจากมกาสมุทรอินเดีย เข้าสู่ประเทศไทย ซึ่งทาให้บริเวณที่พัดผ่านมีความชุ่มชื้น และมีปริมาณน้าฝนมาก ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม และมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพัดมาจากประเทศจีนในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือน กุมภาพันธ์ โดยบริเวณที่พัดผ่านจะมีความหนาวเย็นและแห้งแล้งยกเว้นภาคใต้ด้าน ตะวันออก เนื่องจากลมได้พัดผ่านอ่าวไทย จึงนาเอาความชุ่มชื้นจากทะเลเข้าสู่ด้าน ตะวันออกของภาคใต้ 6. พายุ ประเทศไทยได้รับอิทธิพลของพายุดีเปรสชั่น ซึ่งพัดมาจากทะเลจีนใต้ ทาให้ บางช่วงเกิดฝนตกหนักในบางพื้นที่ในประเทศ
  • 22. ลมมรสุมกับภูมิอากาศของประเทศไทย ลมมรสุม เป็นการหมุนเวียนส่วนหนึ่งของลมที่พัดตามฤดูกาล คือลม ประจาฤดู เป็นลมแน่ทิศและสม่าเสมอ คาว่า "มรสุม" หรือ Monsoon มา จากคาว่า Mausim ในภาษาอาหรับ แปลว่า ฤดูกาล (Season) ประเทศไทยอยู่ภายใต้อิทธิพลของมรสุมสองชนิด คือ 1. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ 2. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
  • 23. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดปกคลุมประเทศไทย ระหว่างกลางเดือนพฤษภาคมถึง กลางเดือน ตุลาคม โดยมีแหล่งกาเนิดจากบริเวณความกด อากาศสูงในซีกโลกใต้ บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งพัดออกจากศูนย์กลางเป็นลมตะวันออกเฉียง ใต้ และเปลี่ยนเป็น ลมตะวันตกเฉียงใต้เมื่อพัด ข้ามเส้นศูนย์สูตร มรสุมนี้จะนามวลอากาศชื้น จากมหาสมุทรอินเดีย มาสู่ประเทศไทย ทาให้มี เมฆมากและฝนตกชุกทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตามบริเวณชายฝั่งทะเล และเทือกเขาด้านรับลม จะมีฝนมากกว่าบริเวณอื่น
  • 24. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงเหนือ หลังจากหมดอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียง ใต้แล้ว ประมาณกลางเดือนตุลาคมจะมีลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทยจนถึง กลางเดือนกุมภาพันธ์ มรสุมนี้มีแหล่งกาเนิดจาก บริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกเหนือแถบ ประเทศมองโกเลียและจีน จึงพัดพาเอามวลอากาศ เย็นและแห้งจากแหล่งกาเนิดเข้ามาปกคลุม ประเทศไทย ทาให้ท้องฟ้าโปร่ง อากาศหนาวเย็น และแห้งแล้งทั่วไป โดยเฉพาะภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคใต้จะมีฝนชุก โดยเฉพาะภาคใต้ฝั่งตะวันออก เนื่องจากมรสุมนี้ นาความชุ่มชื้นจากอ่าวไทยเข้ามาปกคลุม
  • 25. ร่องความกดอากาศต่า ร่องความกดอากาศต่าเป็นบริเวณที่ลมจากซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้มา พบกันเป็นบริเวณที่มีความกดอากาศต่ากว่าบริเวณใกล้เคียงเป็นแนวยาว คุณสมบัติเด่น คือบริเวณที่ร่องความกดอากาศต่าพาดผ่านจะมีลักษณะ อากาศแปรปรวน โดยมวลอากาศอุ่นลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบนมีกระแสลม ใกล้เคียงพัดเข้าหาบริเวณความกดอากาศต่าเกิดเมฆก่อตัวในแนวตั้ง มี ฝนตกหนักเป็นบริเวณกว้าง
  • 27. พายุหมุนเขตร้อน พายุหมุนเขตร้อน หมายถึง พายุที่เกิดขึ้น เหนือมหาสมุทร ในเขตร้อน (ละติจูดต่า หรือ ใกล้เส้นศูนย์สูตร) เนื่องจากกระบวนการ ถ่ายเทพลังงาน ของอากาศชื้น เหนือ มหาสมุทร เมื่อเกิดขึ้นแล้ว มักจะเคลื่อนตัวไปตามกระแสลมรอบข้าง อาจมีกาลังแรง ขึ้น หรืออ่อนลง ตามแต่ลักษณะอากาศ ที่เคลื่อนผ่านไป แต่เมื่อเคลื่อนเข้าสู่แผ่นดิน จะ อ่อนกาลังลง เพราะไม่มีพลังงานจากไอน้า มาเสริมกาลังต่อ ปัจจุบัน เราแบ่งพายุหมุนเขตร้อน ออกเป็น 3 กลุ่ม ตามระดับความรุนแรง โดยวัดจาก ความเร็วลม ณ ศูนย์กลางพายุเป็นหลัก ดังนี้ 1. พายุดีเปรสชั่น (Tropical Depression) 2. พายุโซนร้อน (Tropical Storm) 3. พายุระดับรุนแรงที่สุด (Tropical Cyclone)
  • 28.
  • 29. พายุดีเปรสชั่น (Tropical Depression) พายุดีเปรสชั่น (Tropical Depression) มีความเร็วลมไม่เกิน 63 km/h (ประมาณ 17 m/s) มองจากดาวเทียม จะเห็นเป็นกลุ่มเมฆ หนาทึบ เป็นวงกลม ยังไม่มีแนวขดเป็นเกลียว หรือ ตาพายุ ชัดเจน
  • 30. พายุโซนร้อน (Tropical Storm) พายุโซนร้อน (Tropical Storm) มีความเร็วลมสูงกว่า ดีเปรสชั่น แต่ไม่เกิน 118 km/h (ประมาณ 32 m/s) จากภาพถ่ายดาวเทียม อาจเริ่มเห็นเกลียวแขนของกลุ่มเมฆบ้าง พายุ ระดับนี้ จะได้รับการกาหนดชื่อให้ โดยหน่วยงานด้านอุตุนิยมวิทยานานาชาติ (ยกเว้น ประเทศฟิลิปปินส์ จะเริ่มตั้งชื่อพายุที่เข้ามาในเขตประเทศ ตั้งแต่ยังเป็น ดีเปรสชั่น)
  • 31. พายุระดับรุนแรงที่สุด พายุระดับรุนแรงที่สุด เรียกกันง่ายๆ ว่า Tropical Cyclone (เพียงเพื่อให้แตกต่างจาก พายุ 2 กลุ่มแรก เท่านั้น) แต่จะมีชื่อเรียกหลากหลายชื่อ ตามแต่พื้นที่ที่เกิดพายุ เช่น ในแถบแปซิฟิค เรียกว่า ไต้ฝุ่น (Typhoon) แถบอเมริกากลาง เรียกว่า เฮอร์ริเคน (Hurricane) แถบมหาสมุทรอินเดีย เรียกว่า ไซโคลน (Cyclone) ส่วนในแถบมหาสมุทรอินเดีย ใกล้ออสเตรเลีย เรียกว่า วิลลี่ วิลลี่ (Willi Willi)
  • 32.
  • 33. การแบ่งภาคภูมิศาสตร์ของประเทศไทย ภาค ภูมิภาค เขต (region ,area) หมายถึง บริเวณหน่วยใดหน่วยหนึ่งของพื้นแผ่นดินใน โลกที่มีลักษณะทางใดทางหนึ่งหรือหลายๆอย่างที่คล้ายคลึงกัน เช่น ในทางธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ ทางวัฒนธรรม ทางการเมือง หรือมีลักษณะสาคัญที่เด่นชัดเหมือนกัน อย่างใดอย่างหนึ่งจนรวมเป็นภาคเดียว บริเวณเดียวกัน และในขณะเดียวกันก็มี ลักษณะแตกต่างออกไป จากบริเวณใกล้เคียงโดยรอบ การแบ่งเขตลักษณะต่างๆ ล้วนมีวัตถุประสงค์ที่จะแบ่งซอยพื้นที่ให้มีขนาดเล็กลง เพื่อ สะดวกในการเรียกชื่อการปกครอง ในการศึกษาสภาพพื้นที่นั้นๆในด้านใดด้านหนึ่ง ความมุ่งหมายในการแบ่งภาคภูมิศาสตร์ (Geographic region) คือ เพื่อให้สามารถใน การกาหนดขอบเขตของพื้นที่ขนาดต่างๆที่มีลักษณะทางภูมิศาสตร์ เป็นเฉพาะตนเอง แตกต่างจากพื้นที่อื่นๆและสามารถเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะของพื้นที่นั้นๆได้ชัดเจนและ สะดวกยิ่งขึ้น
  • 34. สาเหตุของการแบ่งภาคภูมิศาสตร์ 1. ทาให้ทราบข้อเท็จจริงของบริเวณนั้นๆ หรือให้ภาพของภาคนั้นๆ ได้ลึกซึ้ง มากขึ้นกว่าแบบรวม ๆ 2. ทาให้ทราบสภาพแวดล้อมในแต่ละภูมิภาค ที่มีลักษณะคล้ายกันหรือ แตกต่างกันในเชิงเปรียบเทียบ ซึ่งจะช่วยให้ทราบปัญหาที่มีอยู่ในท้องถิ่นของ แต่ละภาค อันจะนาไปสู่การแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง 3. ทาให้เกิดประโยชน์ในการใช้ข้อมูลเพื่อตัดสินใจวางแผนพัฒนาท้องถิ่นใน ภาคนั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 35. การแบ่งภาคภูมิศาสตร์ของประเทศไทย ประเทศไทยมีการแบ่งภาคภูมิศาสตร์เมื่อ พ.ศ.2520 โดยคณะกรรมการ ภูมิศาสตร์แห่งชาติได้พิจารณาตกลงให้มีการแบ่งภาคภูมิศาสตร์ของประเทศ ไทยออกเป็น 6 ภาค โดยอาศัยหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. การเรียกชื่อภาคให้ใช้ทิศเป็นสาคัญ เช่น ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคใต้ และภาคตะวันตก 2. การกาหนดขอบเขตอาณาบริเวณของแต่ละภาค พิจารณาองค์ประกอบ หลายอย่าง เช่น ลักษณะภูมิประเทศ พืชพันธุ์ธรรมชาติ ลักษณะภูมิอากาศ ท้องถิ่น เชื้อชาติ ภาษา ลักษณะสังคม เศรษฐกิจ การดารงชีวิต และ วัฒนธรรมของท้องถิ่น รวมทั้งการประกอบอาชีพ 3. ขอบเขตของแต่ละภาค ใช้แนวการแบ่งเขตจังหวัดเป็นสาคัญ
  • 36. ภาคภูมิศาสตร์ของประเทศไทย ภาคภูมิศาสตร์ของประเทศไทย 6 ภาค ได้แก่ 1. ภาคเหนือ ประกอบด้วย 9 จังหวัด ดังนี้ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาพูน ลาปาง แพร่ พะเยา น่าน อุตรดิตถ์ มีเนื้อที่ภาคเป็นอันดับ 2 คือ 93,691 ตร.กม. 2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบ 19 จังหวัด ดังนี้ เลย หนองบัวลาภู อุดรธานี หนองคาย นครพนม สกลนคร มุกดาหาร บุรีรัมย์ นครราชสีมา ชัยภูมิ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ ศรีสะเกษ สุรินทร์ อุบลราชธานี ยโสธร อานาจเจริญ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด มีเนื้อที่มากเป็นอันดับ 1 คือ 168,854 ตร.กม. และมีประชากรมากเป็นอันดับ 1 3. ภาคกลาง มี 22 จังหวัด ดังนี้ สุโขทัย กาแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ พิษณุโลก อุทัยธานี ชัยนาท สุพรรณบุรี นครปฐม นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรปราการ กรุงเทพฯ นครสวรรค์ ลพบุรี สิงห์บุรี สระบุรี อ่างทอง ปทุมธานี นครนายก มีเนื้อที่ภาคเป็นอันดับ 3 คือ 91,795 ตร.กม. มีประชากรมากเป็น อันดับ 2
  • 37. ภาคภูมิศาสตร์ของประเทศไทย 4. ภาคตะวันออก ประกอบ 7 จังหวัด ดังนี้ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง ปราจีนบุรี สระแก้ว จันทบุรี ตราด มีเนื้อ ที่ภาคเป็นอันดับสุดท้าย คือ 34,381 ตร.กม. 5. ภาคตะวันตก ประกอบ 5 จังหวัด ดังนี้ ตาก กาญจนบุรี เพชรบุรี ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ มีเนื้อที่ ภาคเป็นอันดับ 5 คือ 53,679 ตร.กม. มีประชากรน้อย ที่สุด 6. ภาคใต้ ประกอบด้วย 14 จังหวัด ดังนี้ ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง สตูล ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ยะลา สงขลา พัทลุง นราธิวาส ปัตตานี มีเนื้อที่ภาคเป็นอันดับ 4 คือ 70,715 ตร.กม. มี ประชากรมากเป็นอันดับ 3
  • 38. จังหวัดที่มีพรมแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน 1. พรมแดนไทย-ลาว ติดต่อกับภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก อานาจเจริญ เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร และอุบลราชธานี 2. พรมแดนไทย-กัมพูชา ติดต่อกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ได้แก่จังหวัด บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี สระแก้ว จันทบุรี ตราด 3. พรมแดนไทย-พม่า ติดต่อกับภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ ได้แก่ จังหวัด เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และระนอง 4. พรมแดนไทย-มาเลเซีย ติดต่อกับภาคใต้ ได้แก่จังหวัดสตูล สงขลา ยะลา นราธิวาส
  • 39. ทรัพยากรดิน ดินเกิดจากการผุพังของหินที่อยู่บนผิวโลก ด้วยการกระทาของอากาศ น้า ต้นไม้ สัตว์ ตลอดจนมนุษย์ ดินเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะไม่อยู่กับที่ โดยเฉพาะดินในบริเวณ ลาดเขาหรือที่สูง จะถูกพัดพาไปสู่ที่ต่า เช่น พาไปไว้ตามหุบเขา หรือตามปาก แม่น้า เป็นต้น ดินในประเทศไทยส่วนมากเป็นดินที่ถูกพัดพามาจากที่สูง เช่น จากเทือกเขาผี ปันน้า เป็นต้น ดินพวกนี้เรียกว่า ดินตะกอน ดังนั้นตามหุบเขาทางภาคเหนือ เช่นลุ่มแม่น้าปิง จังหวัดเชียงใหม่ ตามเชิงเขาแถบลุ่มน้ายม จะมีดินตะกอนตก ตามปากลาธาร ทาให้เกิดดินรูปสามเหลี่ยมคล้ายพัด ถ้าเป็นที่ราบปากแม่น้า เช้นแม่น้าเจ้าพระยา จะเรียกว่า ดินดอนสามเหลี่ยม เป็นต้น
  • 40. 1. ดินในที่ลุ่ม ดินในที่ลุ่ม หมายถึง พื้นที่ซึ่งมีระดับราบและมีการระบายน้าไม่ดี เช่น ที่ราบดินตะกอน พบมากในเขตที่ราบภาคกลาง รวมทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และที่ราบชายฝั่ง ภาคใต้ฝั่งตะวันออก เป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสาหรับการปลูกข้าวและปลูก พืชโดยการยกร่อง
  • 41. 2. ดินที่อยู่ตามที่ราบแบนและที่เนินเขา  2. ดินที่อยู่ตามที่ราบแบนและที่เนินเขา คือ ดิน ที่อยู่ตามปากแม่น้าลาธารเก่าๆ บริเวณชานภูเขา ตามข้างภูเขา และตามเชิงเขา พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และที่ราบชายฝั่งภาคใต้ เป็นดินที่มีธาตุอาหารประเภทด่างน้อย เหมาะสาหรับ เพาะปลูกพืชไร่ เช่น มันสาปะหลัง อ้อย ข้าวโพด เป็นต้น
  • 42. 3. ดินในบริเวณภูเขา ดินในบริเวณภูเขา เป็นดินที่อยู่ตามภูเขาภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือถ้าพื้นที่ ไม้สูงชันมาก ชาวไร่หรือชาวเขาเผ่าต่างๆ จะถางเพื่อทาไร่ ปลูกข้าว ข้าวโพดและผัก ต่างๆ นอกนั้นปล่อยทิ้งไว้เป็นพื้นที่ป่าไม้ เพื่อรักษาต้นน้าและผลผลิตไม้ทางเศรษฐกิจ
  • 43. 4. ดินในบริเวณที่เป็นชายฝั่งทะเล ดินในบริเวณที่เป็นชายฝั่งทะเล ซึ่งมีเนินทรายหรือหาดทรายจะมีดินเป็นทรายจัด เป็น ดินความอุดมสมบูรณ์ต่ามาก ใช้เพาะปลูกเกือบไม่ได้ เช่น ชายฝั่งจังหวัดนราธิวาส และ จังหวัดสงขลา
  • 44. การอนุรักษ์ทรัพยากรดินในประเทศไทย การปลูกพืชคลุมดิน โดยปลูกพืชใบหนาและมีรากแน่น เช่น พืชตระกูลหญ้า ตระกูลถั่ว การปลูกพืชหมุนเวียน คือการปลูกพืชต่างชนิดบนพื้นที่เดียวกัน การคลุมดิน คือการสร้างสิ่งรองรับแรงปะทะของกระแสน้าหรือลมด้วยวัสดุแทน การปลูกพืช การปลูกพืชตามแนวระดับ โดยปลูกพืชตามแนวขวางในพื้นที่ที่มีความลาดเท การปลูกพืชสลับเป็นแถว คือการปลูกพืชต่างชนิดบนพื้นที่เดียวกันขวางความลาด ชันของพื้นที่ การทาคันดินขั้นบันได โดยการทาคันดินขวางความลาดเทของพื้นที่ลดหลั่นกัน ไปคล้ายบันได
  • 45. ปัญหาทรัพยากรดินในประเทศไทย ปัญหาที่เกิดโดยธรรมชาติ ได้แก่ ปัญหาการชะล้างแร่ธาตุในดิน เนื่องมาจากฝนตกชุก ปัญหาการสึกกร่อนพังทลายของดิน บริเวณภูเขาหรือที่ลาดชัน ปัญหาที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ ได้แก่ ปัญหาการปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้าซาก ทาให้ดินจืด ธาตุอาหารบางอย่างหมดเร็ว ปัญหาการปลูกพืชโดยไม่บารุงดิน ปัญหาการทาลายป่าเพื่อเพาะปลูก ปัญหาการเผาป่าหรือไร่นาซึ่งทาให้เกิดผลเสียแก่ดินระยะยาว
  • 46. การแก้ไขปรับปรุงดินตามสภาพปัญหา 1. ปัญหาดินเค็ม คือ ดินที่มีปริมาณ เกลือในดินสูง วิธีแก้ปัญหาดินเค็ม ได้แก่ การใช้น้าชะล้างเกลือในดินให้ เจือจางลง การป้องกันการทานาเกลือใน ภาคตะวันออก ตะวันออกเฉียงเหนือ การจัดระบบชลประทานที่เหมาะสมกับ ดินแถบชายทะเลที่น้าขึ้นลง
  • 47. การแก้ไขปรับปรุงดินตามสภาพปัญหา 2. ปัญหาดินเปรี้ยว คือ ดินที่มีความเป็น กรดจัด แก้ไขโดยการปล่อยน้าให้ชะล้าง กรดในดินให้ลดลงและใช้ปูนขาวเติมลงใน ดิน 3. ปัญหาดินทราย คือ ดินที่ไม่อุ้มน้าและมี อาหารพืชต่า แก้ไขโดยใช้การชลประทานที่ เหมาะสมและการใช้ปุ๋ยเพิ่มธาตุอาหารใน ดิน
  • 48. การแก้ไขปรับปรุงดินตามสภาพปัญหา 4. ปัญหาดินพรุ คือ ดินในที่ลุ่มมีน้าแช่ขัง มักมีสภาพเป็นกรดรุนแรง แก้ไขโดยการ ระบายน้าออกแล้วเติมปูนขาวลงในดิน 5. ปัญหาดินได้รับมลพิษจากสารเคมี เกิด จากการใช้สารเคมีไม่ถูกต้องและมากเกิน ความจาเป็น แก้ไขโดยการให้ความรู้แก่ เกษตรกรหรือผู้ใช้สารเคมี
  • 49. การแก้ไขปรับปรุงดินตามสภาพปัญหา 6. ปัญหาการทรุดตัวของดิน เกิดจากการ สูบน้าบาดาลมาใช้ทาให้แผ่นดินทรุดตัว แก้ไขโดยวิธีการป้องกันการใช้น้าบาดาลใน เขตพื้นที่มีการทรุดตัว และจะต้องอัดน้าลง ใต้ดินเพื่อเพิ่มระดับน้าบาดาลให้สูงขึ้น 7. ปัญหาการพังทลายของดินที่เกิดจากการ กัดเซาะของกระแสน้า วิธีการแก้ไขคือ การ ปลูกพืชตามริมฝั่งน้าเพื่อยึดดินไว้
  • 50. ทรัพยากรธรรมชาติน้า น้าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่เหลือเฟือไม่หมดสิ้น เช่น น้าทะเลมีอยู่ บนผิวโลกประมาณร้อยละ 71 ของผิวโลกทั้งหมด น้าฝนและน้าในดิน นอกจากนี้น้ายังเป็นทรัพยากรที่ใช้แล้วเสื่อมคุณภาพ แต่บูรณะให้กลับมี สภาพดีดังเดิมและนกลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น น้าเสียที่ออกจากโรงงาน อุตสาหกรรม ทรัพยากรน้ามีการเปลี่ยนแปลงตามวัฏจักรของน้า โดย พลังงานจากดวงอาทิตย์เป็นตัวการที่ทาให้เกิดน้าฝน น้าบนดิน น้าใต้ดิน หรือน้าบาดาล น้าจาแนกออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. น้าผิวพื้นหรือน้าท่า (Surface Water) 2. น้าใต้ดิน ( Ground)
  • 51. 1. น้าผิวพื้นหรือน้าท่า (Surface Water) น้าผิวพื้นหรือน้าท่า (Surface Water) คือ น้าที่เกิดจากน้าฝนและขังอยู่ ตามผิวดิน ห้วย หนอง คลอง บึง น้าในแม่น้า หรือตามที่อื่นๆ
  • 52. 2. น้าใต้ดิน (Ground) น้าใต้ดิน ( Ground) มี 2 ชนิด คือ 1) น้าใต้ดินเกิดจากน้าฝน หรือน้าที่อยู่บนดิน หรือหิมะ หรือก้อนน้าแข็ง ละลายซึมลงไปในดินและตามช่องว่างระหว่างชั้นหิน น้าในดินมีระดับไม่ ลึกนักโดยชั้นบนสุดมักจะอยู่ระดับเดียวกับน้าในแม่น้าลาคลอง
  • 53. 2. น้าใต้ดิน (Ground) 2) น้าในชั้นดินหรือน้าบาดาล เป็นน้าที่เกิดจากน้าฝนและน้าบนดินซึม ลึกลงไปตามชั้นหินประเภทต่างๆ ได้แก่ น้าบาดาลที่เกิดจากน้าฝนไหล ซึมผ่านชั้นหินทรายต่างๆ พบมากในแอ่งที่ลุ่มที่มีแนวชั้นหินทราย ต่อเนื่องไปถึง เช่น น้าฝนที่ซึมผ่านชั้นหินในภาคเหนือของประเทศไทย ตามแนวโครงสร้างต่อเนื่อง ลดต่าลงมาจนถึงที่ราบภาคกลาง เมื่อเจาะ ผ่านชั้นหินไปลึกๆ ก็พบน้าขังอยู่ในชั้นหินทรายข้างล่างและน้าบาดาลที่ ไหลผ่านหินชั้นต่างๆ และไปขังรวมตัวกันในตอนบนของชั้นดินดาน เนื่องจากซึมผ่านไปไม่สะดวก น้าบาดาลนี้ผ่านการกลั่นทางธรรมชาติ แล้ว จึงสะอาดกว่าน้าในดินมาก
  • 54. แหล่งน้าที่สาคัญของประเทศไทย  แหล่งน้า หมายถึง บริเวณที่รองรับน้าทั้งหมด ได้แก่ ต้นน้าลาธาร ห้วย หนอง บึง ทะเลสาบ น้าใต้ดิน และแม่น้า
  • 55. แหล่งน้าที่สาคัญของประเทศไทย 1. ภาคเหนือ ภาคเหนือมีภูมิประเทศเป็นทิวเขาสลับกับที่ราบหุบเขา จึงมี บริเวณต้นน้าลาธาร และมีแม่น้าไหลผ่าน ได้แก่ แม่น้าปิง แม่น้าวัง แม่น้ายม แม่น้าน่าน แม่น้าอิง แม่น้ากก กว๊านพะเยาในจังหวัดพะเยา 2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่กว้างขวาง และไม่มีทิวเขากั้น จึงมีแม่น้าน้อย ได้แก่ แม่น้าชี แม่น้ามูล แม่น้าลา พระเพลิง แม่น้าลาตะคอง แม่น้าลาปลายมาศ แม่น้าลาเซ แม่น้าลาโดม น้อย ลาปาว นอกจากนี้มีบึงน้าจืดหลายแห่ง ได้แก่ หนองหาน จังหวัด สกลนคร หนองหานกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี และหนองญาติ จังหวัด นครพนม
  • 56. แหล่งน้าที่สาคัญของประเทศไทย 3. ภาคกลาง ภาคกลางเป็นแหล่งน้าที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดของประเทศ เพราะมีทั้งแหล่ง น้าบนผิวดินและใต้ดิน น้าบนผิวดิน ได้แก่ แม่น้าสายต่างๆ เช่น แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าแม่กลอง แม่น้าสะแกกรัง แม่น้าท่าจีน แม่น้าลพบุรี แม่น้าป่าสัก นอกจากนี้มี บึงน้าจืดหลายแห่ง ได้แก่ บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ บึงสีไฟ จังหวัดพิจิตร บึง สรรพยา จังหวัดชัยนาท และทะเลแก้ว จังหวัดพิษณุโลก 4. ภาคตะวันตก ภาคตะวันตกมีแม่น้าไม่มากนัก ได้แก่ แม่น้าแควน้อยและแม่น้า แควใหญ่ ซึ่งไหลไปรวมกันเป็นแม่น้าแม่กลอง นอกจากนี้มีแม่น้าเมย แม่น้าเพชรบุรี และแม่น้าปราณบุรี 5. ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกมีแม่น้าสายสั้นๆ ได้แก่ แม่น้าประแส แม่น้าเวฬุ แม่น้าจันทบุรี แม่น้าตราด และแม่น้าระยอง 6. ภาคใต้ ภาคใต้มีแม่น้าสายสั้นๆ ได้แก่ แม่น้าตานี แม่น้าปากจั่น แม่น้าตรัง แม่น้าหลังสวน แม่น้าปัตตานี แม่น้าคีรีรัฐ แม่น้าชุมพร แม่น้าสายบุรี
  • 57. ประโยชน์ของน้า น้าเป็นแหล่งกาเนิดชีวิตของสัตว์และพืชคนเรามีชีวิตอยู่โดยขาดน้าได้ไม่เกิน 3 วัน และน้ายังมีความจาเป็นทั้งในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่งมีความสาคัญ อย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศ ประโยชน์ของน้า ได้แก่ น้าเป็นสิ่งจาเป็นที่เราใช้สาหรับการดื่มกิน การประกอบอาหาร ชาระร่างกาย ฯลฯ น้ามีความจาเป็นสาหรับการเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์ แหล่งน้าเป็นที่อยู่อาศัยของปลาและ สัตว์น้าอื่น ๆ ซึ่งคนเราใช้เป็นอาหาร ในการอุตสาหกรรม ต้องใช้น้าในขบวนการผลิตใช้ล้างของเสียใช้หล่อเครื่องจักรและ ระบายความร้อน ฯลฯ การทานาเกลือโดยการระเหยน้าเค็มจากทะเล น้าเป็นแหล่งพลังงาน พลังงานจากน้าใช้ทาระหัด ทาเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าได้ แม่น้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็นเส้นทางคมนาคมขนส่งที่สาคัญ ทัศนียภาพของริมฝั่งทะเลและน้าที่ใสสะอาดเป็นแหล่งท่องเที่ยวของมนุษย์
  • 58. ปัญหาของทรัพยากรน้า ปัญหาสาคัญๆ ที่เกิดขึ้น คือ 1. ปัญหาการมีน้าน้อยเกินไป เกิดการขาดแคลนอันเป็นผลเนื่องจากการ ตัดไม้ทาลายป่า ทาให้ปริมาณน้าฝนน้อยลง เกิดความแห้งแล้งเสียหายต่อ พืชเพาะปลูกและการเลี้ยงสัตว์ 2. ปัญหาการมีน้ามากเกินไป เป็นผลมาจากการตัดไม้มากเกินไป ทาให้ เกิดน้าท่วมไหลบ่าในฤดูฝน สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน
  • 60. ปัญหาของทรัพยากรน้า 3. ปัญหาน้าเสีย เป็นปัญหาใหม่ในปัจจุบัน สาเหตุที่ทาให้เกิดน้าเสีย ได้แก่ น้าทิ้งจากบ้านเรือน ขยะมูลฝอยและสิ่งปฎิกูลที่ถูกทิ้งสู่แม่น้าลาคลอง น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม น้าฝนพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างจากแหล่งเกษตรกรรมลงสู่แม่น้าลา คลอง น้าเสียที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลเสียหายทั้งต่อสุขภาพอนามัย เป็นอันตรายต่อสัตว์ น้า และมนุษย์ ส่งกลิ่นเหม็น รบกวน ทาให้ไม่สามารถนาแหล่งน้านั้นมาใช้ ประโยชน์ได้ทั้งการอุปโภค บริโภค เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม
  • 61. การอนุรักษ์ทรัพยากรน้า 1. การใช้น้าอย่างประหยัด การใช้น้าอย่างประหยัดนอกจากจะลด ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้าลงได้แล้ว ยังทาให้ปริมาณน้าเสียที่จะทิ้งลงแหล่ง น้ามีปริมาณน้อย และป้องกันการขาดแคลนน้าได้ด้วย 2. การสงวนน้าไว้ใช้ ในบางฤดูหรือในสภาวะที่มีน้ามากเหลือใช้ควรมีการ เก็บน้าไว้ใช้ เช่น การทาบ่อเก็บน้า การสร้างโอ่งน้า ขุดลอกแหล่งน้า รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้า และระบบชลประทาน 3. การพัฒนาแหล่งน้า ในบางพื้นที่ที่ขาดแคลนน้า จาเป็นที่จะต้องหา แหล่งน้าเพิ่มเติม เพื่อให้สามารถมีน้าไว้ใช้ ทั้งในครัวเรือนและใน การเกษตรได้อย่างพอเพียง ปัจจุบันการนาน้าบาดาลขึ้นมาใช้กาลัง แพร่หลายมากขึ้นแต่อาจมีปัญหาเรื่องแผ่นดินทรุด
  • 62. ปัญหาของทรัพยากรน้า 4. การป้องกันน้าเสีย การไม่ทิ้งขยะและสิ่งปฎิกูลและสารพิษลงในแหล่งน้า น้าเสียที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล ควรมีการบาบัดและ ขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้า 5. การนาน้าเสียกลับไปใช้ น้าที่ไม่สามารถใช้ได้ในกิจการอย่างหนึ่งอาจ ใช้ได้ในอีกกิจการหนึ่ง เช่น น้าทิ้งจากการล้างภาชนะอาหาร สามารถ นาไปรดต้นไม้ได้
  • 63. ทรัพยากรป่าไม้ ประเทศไทยตั้งอยู่ในเขตร้อน ป่าไม้ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้ใบกว้าง การ จาแนกประเภทป่าไม้จึงไม่อาจดาเนินรอยตามแบบ ของซีกโลกตะวันตก ซึ่งแบ่งป่าไม้ออกเป็นประเภทตระกูลสน หรือไม้เนื้ออ่อน ซึ่งมีใบเรียวแคบ เหมือนเข็ม และป่าใบกว้าง แต่ได้จาแนกประเภทของป่า โดยถือลักษณะ ของใบเป็นเกณฑ์ว่า เป็นประเภทที่ไม่ทิ้งใบ คือ เป็นป่าดงดิบ (evergreen) และป่าประเภททิ้งใบ หรือผลัดใบ (deciduous) เช่น ป่าเต็งรัง
  • 64. ป่าไม้ไม่ผลัดใบ ป่าประเภทนี้มองดูเขียวชอุ่มตลอดปี เนื่องจากต้นไม้แทบทั้งหมดที่ขึ้นอยู่ เป็นประเภทที่ไม่ผลัดใบ ป่าชนิดสาคัญซึ่งจัดอยู่ในประเภทนี้ ได้แก่ 1. ป่าดงดิบ (Tropical Evergreen Forest or Rain Forest) 2. ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) 3. ป่าสนเขา (Pine Forest) 4. ป่าชายเลน (Mangrove Forest) 5. ป่าพรุ (Swamp Forest) 6. ป่าชายหาด (Beach Forest)
  • 65. 1. ป่าดงดิบ (Tropical Evergreen Forest or Rain Forest) ป่าดงดิบ มีลักษณะเป็นป่ารกทึบ มีพันธุ์ไม้มากมายหลายชนิดขึ้นเบียดเสียดกันแน่น พบอยู่ในบริเวณที่มีฝนตกซุก พันธุ์ไม้ที่สาคัญได้แก่ ยาง ตะเคียน กะบาก เคี่ยม มะม่วงป่า มะยมป่า จาปาป่า ไผ่ ระกา หวาย ฯลฯ พบมากในภาคใต้และ ภาคตะวันออก
  • 66. 2. ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest) 2. ป่าดิบเขา มีลักษณะคล้ายป่าดงดิบแต่ไม่ค่อยรกทึบนัก พันธุ์ไม้สาคัญได้แก่ไม้สกุล ก่อ จาปีป่า มะขามป้อม ดงหว้า และไม้สนเขาขึ้นปะปนด้วย ตามลาต้นของไม้ใหญ่มี พืชอาศัยประเภท มอส เฟิน กล้วยไม้เกาะติดอยู่ทั่วไป เป็นป่าต้นน้าลาธาร มีความสูง ตั้งแต่ 1,000 เมตรจากระดับน้าทะเลขึ้นไป พบมากในภาคเหนือ
  • 67. 3. ป่าสนเขา (Pine Forest) ป่าสนเขา มักขึ้นบริเวณที่มีความสูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 700 เมตรขึ้นไป สน พื้นเมืองในประเทศไทยมี 2 ชนิด คือ สนสองใบและสนสามใบ พบมากในภาคเหนือ
  • 68. 4. ป่าชายเลน (Mangrove Forest) ป่าชายเลน หรือเรียกว่า ป่าเลนน้าเค็ม ไม้สาคัญ ได้แก่ โกงกาง แสมทะเล ปรง ตะบูน ลาพู มักมีลักษณะพิเศษคือ มีรากงอกออกมาจากส่วนต่าง ๆ ของลาต้น พบ มากบริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันตก
  • 69. 5. ป่าพรุ (Swamp Forest) ป่าพรุ คือป่าไม้ที่ขึ้นบริเวณพื้นที่ลุ่ม มีน้าท่วมขัง การระบายน้าไม่ดี เช่นตามขอบแอ่ง หนองบึง หรือตามที่ราบชายฝั่งทะเล ป่าพรุน้าจืดมักมีต้นสนุน จิก หวายน้า อ้อ และ แขม ส่วนป่าพรุน้ากร่อยมักมีต้น เสม็ด และ กกเป็นพันธุ์ไม้สาคัญ
  • 70. 6. ป่าชายหาด (Beach Forest) ป่าชายหาด คือป่าตามบริเวณริมหาดชายทะเลที่น้าท่วมไม่ถึง มีพันธุ์ไม้สาคัญ คือ หู กวาง สนทะเล โพทะเล กระทิง และตีนเป็ด
  • 71. ป่าประเภทผลัดใบ (Declduous) ต้นไม้ที่ขึ้นอยู่ในป่าประเภทนี้เป็นจาพวกผลัดใบแทบทั้งสิ้น ในฤดูฝนป่า ประเภทนี้จะมองดูเขียวชอุ่มพอถึงฤดูแล้งต้นไม้ ส่วนใหญ่จะพากันผลัดใบ ทาให้ป่ามองดูโปร่งขึ้น และมักจะเกิดไฟป่าเผาไหม้ใบไม้และต้นไม้เล็ก ๆ ป่าชนิดสาคัญซึ่งอยู่ในประเภทนี้ ได้แก่ 1. ป่าเบญจพรรณ (Mixed Declduous Forest) 2. ป่าเต็งรัง (Declduous Dipterocarp Forest) 3. ป่าหญ้า (Savanna Forest)
  • 72. 1. ป่าเบญจพรรณ (Mixed Declduous Forest) ป่าเบญจพรรณ มีลักษณะเป็นป่าโปร่ง พันธุ์ไม้ที่สาคัญ ได้แก่ สัก ประดู่ แดง ตะแบก เสลา มะค่าโมง มะเกลือ ยมหอม เป็นป่าที่มีความสาคัญทางด้านเศรษฐกิจสูงมาก พบ มากในภาคเหนือและภาคกลาง
  • 73. 2. ป่าเต็งรัง (Declduous Dipterocarp Forest) ป่าเต็งรัง หรือป่าแดง มีชื่อเรียกแตกต่างกันอีกหลายชื่อ คือ ป่าโคก ป่าแพะ หรือป่า เต็งรัง มีลักษณะเป็นป่าโปร่ง มักขึ้นในดินที่ไม่ค่อยอุดมสมบูรณ์ เช่น ดินตื้น ดินเป็น ทราย ดินลูกรัง ฤดูแล้งจะแล้งจัด ไม้สาคัญ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พลวง พะยอม มะค่า ติ้ว แต้ว พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • 74. 3. ป่าหญ้า (Savanna Forest) ป่าหญ้า (Savanna Forest) เป็นป่าที่เกิดหลังจากป่าชนิดอื่นๆถูกทาลายไปหมด ดิน เสื่อมโทรม ต้นไม้ไม่อาจเจริญเติบโตต่อไปได้ ป่าหญ้าจึงเข้ามาแทนที่พบได้ทุกภาคใน ประเทศ ป่าหญ้าจึงเข้ามาแทนที่ส่วนใหญ่เป็นหญ้าคา แฝกหอม เป็นต้น
  • 75. ทรัพยากรแร่ แร่เป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีความสาคัญและมีบทบาทที่สนองความ ต้องการ ทางด้านปัจจัยต่าง ๆ ของประชากร ทั้งทางด้านอุตสาหกรรมและพลังงาน ความสาคัญและประโยชน์ของแร่ธาตุที่จะนามาใช้ขึ้นอยู่กับระยะเวลาความเจริญทาง เทคโนโลยี ตลอดจนความต้องการในการนาไปใช้ของมนุษย์ ทรัพยากรแร่ธาตุ ที่มนุษย์เราใช้ส่วนใหญ่มาจากแผ่นดิน ซึ่งค่อย ๆ ลดจานวนลงทาให้ มีการสารวจค้นคว้าหาแหล่งทรัพยากรแร่ธาตุใหม่ ๆ อยู่เสมอ ปัจจุบันได้มีการบุกเบิก หาแหล่งทรัพยากรแร่ธาตุในทะเล เช่น น้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และระยะเวลาทาให้ความสาคัญของแร่ธาตุ เปลี่ยนแปลงไปจากชนิดหนึ่งไปใช้อีกชนิดหนึ่ง เช่น จากการใช้ถ่านหินมาใช้น้ามัน ปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติจากการใช้เหล็กมาใช้อลูมิเนียมแทน
  • 76. ความสาคัญของแร่ธาตุ 1. ด้านความมั่นคงและมั่งคั่งของประเทศ ประเทศที่มีแร่ธาตุต่าง ๆ มากมายและ สามารถนาไปใช้แปรรูปเป็นผลผลิตต่าง ๆ ที่ทาประโยชน์ต่อมนุษย์ เช่น ด้านอาวุธ ด้านอุตสาหกรรม 2. ด้านความเป็นอยู่ของมนุษย์ ได้มีการนาแร่ธาตุต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์และสร้างขึ้น เป็นสิ่งต่าง ๆ เช่น ภาชนะใช้สอย พาหนะที่ช่วยในการคมนาคม อาคารบ้านเรือน ก๊าซ หุงต้ม พลังงานไฟฟ้า 3. ด้านการสร้างงานแก่ประชาชน ทาให้ประชาชนมีรายได้จากการขุดแร่ ไปจนถึงแปร รูปเป็นผลิตภัณฑ์ไปสู่ผู้บริโภค นอกจากนี้แร่ธาตุชนิดต่าง ๆ มีคุณสมบัติต่างกัน จึงมี ประโยชน์แตกต่างกัน เช่น แร่วุลแฟรม นามาทาไส้หลอดไฟฟ้า ใช้ในอุตสาหรกรรม เครื่องแก้ว แร่พลวงนามาใช้ทาตัวพิมพ์หนังสือ ทาสี แบตเตอรี รัตนชาติ เป็นแร่ที่มี สีสันสวยงาม นามาใช้ทาเครื่องประดับต่าง ๆ มากมาย
  • 77. แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย 1. ดีบุก มักเกิดร่วมกับแร่ทังสเตน แหล่งแร่พวกนี้จะอยู่ในเขตหินแกรนิต แหล่งแร่ดีบุก ที่สาคัญ คือ อาเภอทองภาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และใน เขตตะวันตกของ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ภาคตะวันตกนับเป็นภาคที่มีการผลิตแร่ ดีบุก มากเป็นอันดับที่สอง รองจาก ภาคใต้
  • 78. แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย 2. วุลแฟรม หรือ ทังสเตน มีแหล่งผลิตที่อาเภอท่าสองยาง จังหวัด ตาก และที่เหมืองปิล็อก อาเภอทองผาภูมิ จังหวัด กาญจนบุรี ปัจจุบันที่อาเภอ ท่าสองยาง มีน้อยมาก
  • 79. แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย 3. เหล็ก แหล่งผลิตที่สาคัญอยู่ที่เขาทับควาย จังหวัดลพบุรี
  • 80. แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย 4. ฟลูออไรด์ มีในเขตอาเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี
  • 81. แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย  5. ตะกั่ว – สังกะสี มักพบอยู่ในบริเวณเดียวกัน แต่ตะกั่วมีแหล่งผลิตที่ อาเภอศรีสวัสดิ์และ อาเภอทองผาภูมิ จังหวัด กาญจนบุรี ส่วนแร่สังกะสีมี ที่อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก
  • 82. แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย  6. แร่รัตนชาติ มีแหล่งที่สาคัญในจังหวัดกาญจนบุรี โดยเฉพาะที่อาเภอ บ่อพลอย มีการขุดพลอย กันมาก เป็นแหล่งพลอยสีน้าเงินและนิลที่ขึ้นชื่อ ของประเทศ
  • 83. แร่ธาตุที่สาคัญของประเทศไทย  7. หินน้ามัน (oil shale) พบมากที่แอ่งแอ่งแม่สอด จังหวัดตาก อ.ลี้ จังหวัด ลาพูน อ.เมือง จังหวัดกระบี่
  • 84. สาเหตุและผลกระทบปัญหาทรัพยากรแร่ 1. ปัญหาสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ทาเหมืองแร่แล้วทาให้สภาพดินไม่อุดม สมบูรณ์ สกปรกพื้นที่ขรุขระมีหลุมบ่อมากมายจึงถูกปล่อยทิ้งให้ประโยชน์ ไม่เต็มที่ 2. ปัญหาการใช้แร่ธาตุบางประเภทเป็นจานวนมาก เช่น แร่เหล็กถูก นามาใช้มาก และแพร่หลายที่สุด ถ่านหิน น้ามันปิโตรเลียม ดีบุก ฯลฯ 3. ปัญหาการใช้แร่ไม่คุ้มค่า ได้แก่ พวกแร่ที่ใช้แล้วยังเหลืออยู่ ยังสามารถ นากลับไปใช้อีก เช่น เหล็ก ส่วนแร่ที่นาไปใช้แล้วหมดไป เช่น ถ่านหิน น้ามัน ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ เราจึงต้องใช้อย่างคุ้มค่าและประหยัด
  • 85. การอนุรักษ์แร่ธาตุ 1. การใช้แร่ธาตุอย่างประหยัด ในการทาเหมืองแร่บางอย่างนั้นบางทีทรัพยากร แร่ธาตุที่ได้มาอาจมีหลายชนิด ดังนั้นจึงควรจะพยายามใช้ให้คุ้มค่าทุกชนิด อย่างประหยัดและลดการสูญเปล่า 2. การสารวจแหล่งแร่ ควรมีการเร่งรัดการสารวจทรัพยากรแร่ธาตุให้ครอบคลุม ทั่วประเทศ เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า 3. การใช้แร่ชนิดอื่นทดแทน พยายามหาแร่ธาตุอื่น ๆ มาใช้ทดแทนแร่ที่ใช้กัน มาก อาทิการใช้อลูมิเนียมแทนเหล็ก 4. นาแร่ที่ใช้แล้วกลับมาใช้อีก อาทิภาชนะเครื่องใช้ที่เป็นอลูมิเนียมบางอย่างที่ หมดสภาพการใช้แล้วสามารถนากลับมาหลอมใช้ใหม่ได้อีก 5. การจัดเก็บภาษีและค่าภาคหลวงแร่ ต้องให้สอดคล้องกับจานวนแร่และราคา ของแร่ด้วย
  • 86. ทรัพยากรสัตว์ป่า สัตว์ป่า คือสัตว์ทุกชนิดไม่ว่าสัตว์บก สัตว์น้า สัตว์ปีก แมลง หรือแมง ซึ่ง โดยสภาพตามธรรมชาติย่อมเกิดและดารงชีวิตอยู่ในป่าหรือในน้า และ รวมถึงไข่ของสัตว์ป่าทุกชนิด เพื่อเป็นการปกป้องรักษาสัตว์ป่าให้มีชีวิตสืบต่อไปถึงอนุชนรุ่นหลังจึงมี การออกพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ภูมิพล อดุลเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2535 เป็นปีที่ 47 ในรัชกาล ปัจจุบัน แบ่งสัตว์ป่าออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สัตว์ป่าสงวน 2. สัตว์ป่าคุ้มครอง
  • 87. ทรัพยากรสัตว์ป่า บทลงโทษ ทั้งสัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าคุ้มครองและซากของสัตว์ป่าสงวนหรือ ซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง ห้ามมิให้ผู้ใดทาการล่ามีไว้ในครอบครอง ค้าขาย และนาเข้าหรือส่งออก หากผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสี่ปีหรือ ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 ได้มีการตรา พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2503 รัฐบาลจึงกาหนดให้วันที่ 26 ธันวาคม ของทุกปีเป็น “วันคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ”
  • 88. ประเภทของสัตว์ป่า 1. สัตว์ป่าสงวน เป็นสัตว์ป่าที่หายากและปัจจุบันมีจานวนน้อยมากบาง ชนิดสูญพันธุ์ไปแล้วมีอยู่ 15 ชนิด คือ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร แรด กระซู่ กูปรีหรือโคไพร ควายป่า ละองหรือละมั่ง สมันหรือ เนื้อสมัน เลียงผา นก แต้วแล้วท้องดา นกกระเรียน แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ เก้งหม้อและ พะยูนหรือหมูน้า
  • 89. ประเภทของสัตว์ป่า 2. สัตว์ป่าคุ้มครอง หมายถึง สัตว์ป่าตามกฎกระทรวงกาหนดเป็นสัตว์ป่า คุ้มครอง โดยไม่แบ่งแยกเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 แบ่งออกเป็น 7 ประเภท คือ 1. สัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนม 2. สัตว์ป่าจาพวกนก 3. สัตว์ป่าจาพวกเลื้อยคลาน 4. สัตว์ป่าจาพวกครึ่งบกครึ่งน้า 5. สัตว์ป่าประเภทปลา 6. สัตว์ป่าจาพวกแมลง 7. สัตว์ป่าจาพวกไม่มีกระดูกสันหลัง
  • 90. สาเหตุที่ทาให้สัตว์ป่าสูญพันธุ์ 1. การลดน้อยลง หรือการสูญพันธุ์ไปโดยธรรมชาติ สัตว์ป่าหลายชนิดไม่ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ 2. การลดน้อยลง หรือการสูญพันธุ์ไปโดยการล่า 3. การลดลง หรือการสูญพันธุ์ จากการทาลายแหล่งที่อยู่อาศัย 4. การลดลงหรือการสูญพันธุ์เนื่องจากสารพิษ 5. การลดลงหรือการสูญพันธุ์เนื่องจากนาสัตว์อื่นมาทดแทน เนื่องจาก อาจทาให้สัตว์เลี้ยงไปแย่งอาหาร หรือทาให้เกิดโรคระบาดได้ 6. การลดลงหรือการสูญพันธุ์เนื่องจากการใช้ ประโยชน์อาหารของสัตว์ ป่าเองอย่างจากัดเช่น หมีแพนด้าที่กินเฉพาะใบไผ่ เมื่อป่าถูกทาลายลงทา ให้หมีไม่มีอาหารกิน และสูญพันธุ์ได้
  • 91. สาเหตุที่ทาให้สัตว์ป่าสูญพันธุ์ 7. ถูกจับไปทดลองหรือไปเลี้ยง 8. ขาดคู่ผสมพันธุ์ 9. การผสมพันธุ์ในเครือญาติ ทาให้ลูกหลานที่เกิดมาใหม่ไม่แข็งแรง ไม่มี ภูมิคุ้มกันโรค และเสียชีวิตในที่สุด 10. มลภาวะ สภาพของน้า และอากาศที่เสีย ทาให้สัตว์ปรับตัว หรือสร้าง ความต้านทานไม่ได้