SlideShare a Scribd company logo
1 of 89
Download to read offline
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐ
รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ที่มาของ PMQA

              Malcolm Baldrige                                          เพื่อเสริมสร้างความสามารถใน
              National Quality                                           การแข่งขันของบริษัทอเมริกัน
              Award (MBNQA)                                               และประเทศอเมริกาโดยรวม


          บริษัทที่ได้รับรางวัล จะต้องมีการ                             เพื่อกระตุ้นให้องค์กรในทุกภาค
          แบ่งปันเรื่องราวความสาเร็จของ                                      ส่วนในมีการพัฒนาขีด
          ตนเอง รวมทั้งกลยุทธ์ที่ใช้ในการ                               ความสามารถในการดาเนินงาน
          นาไปสู่ความสาเร็จให้องค์กรอื่น                                        และการแข่งขัน

รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เกณฑ์ตางๆ มีวัตถุประสงค์เพืออะไร?
               ่                    ่
     เพื่อพัฒนาความสามารถในการดาเนินงาน และยกระดับผลการดาเนินงานขององค์กร


     เพื่อกระตุ้นให้เกิดการสื่อสาร แลกเปลี่ยนความรู้ ระหว่างองค์กรต่างๆ


     เพื่อเป็นเครื่องมือในการทาความเข้าใจ และบริหารผลการดาเนินงานได้อย่างดี รวมทั้งเป็นกลไกในการวางแผน
     และโอกาสสาหรับการเรียนรู้


     เพื่อให้องค์กรมีแนวทางในการบริหารผลการดาเนินงานขององค์กรในลักษณะองค์รวม เพื่อทาให้

       • สามารถพัฒนาและนาเสนอคุณค่า (Value) ที่ลูกค้าและผู้เกี่ยวต้องต้องการ
       • เพื่อเพิมขีดความสามารถและประสิทธิผลการดาเนินงานขององค์กร
                 ่
       • เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ทงในระดับบุคคลและระดับองค์กร
                                 ั้

รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เกณฑ์ต่างๆ กาหนดขึ้นมาโดยมีปรัชญาและแนวคิดพื้นฐาน ใน
          ด้านต่างๆ ดังนี้ (เป็นแนวคิดพื้นฐานของ HPO)
                                                                 Visionary
                                                                leadership
                                                                               Customer-
                                                  Systems
                                                                                 driven
                                                 perspective
                                                                               excellence


                                     Focus on                                          Organizational
                                    result and                                         and personal
                                  creating value                                          learning




                                   Social
                                responsibility
                                                        Criteria                              Valuing
                                                                                             employees
                                                                                            and partners




                                       Managing by
                                                                                       Agility
                                          fact


                                                       Managing for    Focus on the
                                                        innovation        future




รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Leadership + Strategy +                                                 HR + Process = Result
Customer = เพื่อให้ผู้นามุ่งเน้น                                        แสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์การ
และให้ความสาคัญต่อทิศทาง                                                ดาเนินงานขององค์กร
ยุทธศาสตร์ และลูกค้า




เป็นพื้นฐานสาคัญสาหรับการ
บริหารผลการดาเนินงานของ
องค์กร (Performance
Mgt.)



รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประเมินตนเอง (Self-Assessment)

            นาไปสู่การปรับปรุง และพัฒนาการดาเนินงานในทุก
            ด้าน

             เป็นเครื่องมือสาคัญ ที่มากกว่าการทบทวนผลการ
             ดาเนินงาน และสามารถใช้ได้กับกลยุทธ์ทุกประเภท
             ระบบการบริหารทุกรูปแบบ และองค์กรในทุกรูปแบบ

รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทาไมถึงต้องมีการ “พัฒนาคุณภาพการบริหาร
          จัดการภาครัฐ”?


             เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารของ
                                                                        เพื่อให้มีกรอบแนวคิด แนวทาง และ
           หน่วยราชการให้สอดคล้องกับ พระราช
                                                                        เครื่องมือในการยกระดับการบริหาร
            กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
                                                                                    จัดการภาครัฐ
            บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546




รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทาไมต้อง PMQA? (Public Mgt Quality Award)

              มีพัฒนาการและ                         • พัฒนามาจาก MBNQA  TQA
            มาตรฐานที่เป็นสากล                      • เกณฑ์มีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนไป



            กรอบและแนวทางที่                        • ครอบคลุมหลักการบริหารจัดการที่ดี
            ชัดเจนและครอบคลุม                       • มีแนวทางในการประเมินและพัฒนาองค์กรที่ชัดเจน



            องค์กรใช้เป็นแนวทาง                     • องค์กรสามารถประเมินตนเองได้ เพื่อการพัฒนา
             ในการพัฒนาตนเอง                        • ถ้าต้องการได้รับรางวัล ก็จะเป็นการประเมินจากบุคคลภายนอก


รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แนวทางของ PMQA
                                           •   1. การนาองค์กร
                                           •   2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
                                           •   3. การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

                มี 7 หมวด                  •
                                           •
                                               4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
                                               5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
                                           •   6. การจัดการกระบวนการ
                                           •   7. ผลลัพธ์การดาเนินการ




               ภายใต้แต่ละ                 • องค์ประกอบและแนวทางในการบริหารจัดการที่ดี (ควร
                                             จะเป็น)
                 หมวด
                                           • เป็นเกณฑ์และแนวทางในการประเมินตนเองขององค์กร
               ประกอบด้วย
รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
                                   ลักษณะสาคัญขององค์กร
                            สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย

                              2. การวางแผน                       5. การมุ่งเน้น
                              เชิงยุทธศาสตร์                    ทรัพยากรบุคคล
                                และกลยุทธ์
  1. การนา
   องค์กร                                                                          7. ผลลัพธ์
                                                                                  การดาเนินการ
                         3. การให้ความสาคัญ                        6. การจัดการ
                          กับผู้รับบริการและ                       กระบวนการ
                          ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย


                       4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

     รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แนวคิดพื้นฐาน (จริงๆ)
                                                                            การดาเนินงาน
                                         ดาเนินการตาม
                                                                            ขององค์กรใน
                                              แผน
                                                                               ปัจจุบัน




                                                                                     เปรียบเทียบกับ
                              วางแผนการ
                                                                                      แนวทางและ
                               พัฒนาและ
                                                                                    เกณฑ์ขององค์กร
                             ปรับปรุงองค์กร
                                                                                       ที่เป็นเลิศ
                                                          ทราบว่าองค์กรมี
                                                            โอกาสในการ
                                                            ปรับปรุงการ
                                                          ดาเนินงานในด้าน
                                                               ใดบ้าง
รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
องค์กรประเมินตนเองตาม
                     1. การนาองค์กร                                     เกณฑ์และแนวทางในแต่ละ
                                                                                 หมวด
             2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
                     และกลยุทธ์
                 3. การให้ความสาคัญกับ                                   ผลจากการประเมินทาให้
             ผู้รบบริการและผู้มีสวนได้ส่วน
                 ั               ่                                      ทราบจุดแข็ง และโอกาสใน
                          เสีย                                            การปรับปรุง (OFI)
              4. การวัด การวิเคราะห์ และ
                   การจัดการความรู้
                                                                         วางแผนการพัฒนาและ
                                                                          ปรับปรุง ตามผลการ
              5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
                                                                               วิเคราะห์


                6. การจัดการกระบวนการ
                                                                        ดาเนินการตามแผน พร้อม        แนวคิดและ
                                                                                                   เครื่องมือทางการ
                7. ผลลัพธ์การดาเนินการ                                  ทั้งประเมินเทียบกับเกณฑ์     บริหารต่างๆ


รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประเมินตนเองและพัฒนา
         องค์กร
                                                                                                     เผยแพร่ แบ่งปัน
                                                                         ได้รับรางวัล PMQA
                                                                                                 ประสบการณ์กับองค์กรอื่น
                                       มีกรรมการภายนอกมา
สมัครเข้ารับรางวัล PMQA
                                             ประเมิน
                                                                                                 พัฒนา ปรับปรุงการบริหาร
                                                                        ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
                                                                                                         องค์กร




รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เกณฑ์ ก.พ.ร. (จังหวัดที่ดาเนินมาเป็นปีแรก)
                                                             จัดทารายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-
                                              ขั้นตอน                                                                       ระดับ 5
                                                              Assessment) และ จัดลาดับความสาคัญของโอกาส ใน
                                                  ที่                                                                      (ขั้นตอนที่
                                                              การปรับปรุงองค์กรในภาพรวมของจังหวัดได้แล้วเสร็จครบถ้วน
                                                  5                                                                       1+2+3+4+5)
                                                              โดยครอบคลุมทุกส่วนราชการประจาจังหวัด ที่ร่วมดาเนินการ

                                                 จัดทารายงานผลการดาเนินการขององค์กรตามเกณฑ์คุณภาพ การบริหาร                 ระดับ 4
                                 ขั้นตอนที่
                                                  จัดการภาครัฐในภาพรวมของจังหวัดได้แล้วเสร็จครบถ้วน โดยครอบคลุมทุก          (ขั้นตอนที่
                                      4
                                                  ส่วนราชการประจาจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ                                    1+2+3+4)


                                     จัดทารายงานผลการจัดทาลักษณะสาคัญขององค์กรในภาพรวมของจังหวัด ได้แล้วเสร็จ
                    ขั้นตอนที่                                                                                                ระดับ 3
                                      ครบถ้วนตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยครอบคลุมทุกส่วน
                         3                                                                                              (ขั้นตอนที่ 1+2+3)
                                      ราชการประจาจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ

          ขั้นตอน
                         จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้หรือเกิดการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคณะทางาน ของ         ระดับ 2
              ที่
                          ทุกส่วนราชการประจาจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ                                                      (ขั้นตอนที่ 1+2)
              2

              จัดตั้งคณะทางานดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัด* และจัดทาแผนดาเนินการพัฒนา
ขั้นตอน        คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัด (Roadmap) ที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ
                                                                                                                              ระดับ 1
    ที่        ผู้บริหารที่ได้รับมอบหมาย
                                                                                                                          (ขั้นตอนที่ 1)
    1         จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ
               จังหวัด ให้กับผู้บริหารและบุคลากรของจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ

รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เกณฑ์ ก.พ.ร. (สาหรับจังหวัดที่ดาเนินเป็นปีสอง)               จัดทารายงานผลการจัดทาแผนปรับปรุงองค์กรในภาพรวมของ
                                                                       จังหวัดทีสอดคล้องกับการจัดลาดับความสาคัญของโอกาสในการ
                                                                                ่
                                                                       ปรับปรุงองค์กรในขั้นตอนที่ 4 ได้แล้วเสร็จครบถ้วนอย่างน้อย 2
                                                                                                                                          ระดับ 5
                                                      ขั้นตอนที่       แผน โดยแผนดังกล่าวจะต้องสามารถถ่ายทอดเพื่อนาไปสูการ  ่
                                                                                                                                         (ขั้นตอนที่
                                                           5           ปฏิบัติได้ถึงในระดับอาเภอ
                                                                                                                                        1+2+3+4+5)
                                                                      จัดทารายงานผลการจัดทาแผนปรับปรุงอาเภอ ทีสอดคล้องกับ
                                                                                                                     ่
                                                                       แผนปรับปรุงองค์กรในภาพรวมของจังหวัด ได้แล้วเสร็จครบถ้วน
                                                                       อย่างน้อย 2 แผน
                                                           จัดทารายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) และ                   ระดับ 4
                                         ขั้นตอนที่
                                                            จัดลาดับความสาคัญของโอกาสในการปรับปรุงองค์กรในภาพรวม ของจังหวัดได้           (ขั้นตอนที่
                                              4
                                                            แล้วเสร็จครบถ้วน โดยครอบคลุมทุกส่วนราชการประจาจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ         1+2+3+4)


                            ขั้นตอนที่       จัดทารายงานผลการดาเนินการขององค์กรตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐใน                       ระดับ 3
                                 3            ภาพรวมของจังหวัด โดยครอบคลุมทุกส่วนราชการประจาจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ                   (ขั้นตอนที่ 1+2+3)

                                    จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้หรือเกิดการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคณะทางาน ของทุก
               ขั้นตอนที่            ส่วนราชการประจาจังหวัดที่รวมดาเนินการ
                                                                 ่                                                                          ระดับ 2
                    2         จัดทารายงานผลการจัดทาลักษณะสาคัญขององค์กรตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ                         (ขั้นตอนที่ 1+2)
                                     ภาครัฐในภาพรวมของจังหวัดได้แล้วเสร็จ โดยครอบคลุมทุกส่วนราชการประจาจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ
                จัดตั้งคณะทางานดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัด* และทบทวนแผนดาเนินการพัฒนา
                      คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัด (Roadmap) ที่จัดทาแล้วเสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ให้มีความ
                      เหมาะสมและสอดคล้องกับสิงที่จงหวัดจะดาเนินการต่อไป โดยต้องได้รับความเห็นชอบจาก ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ
                                                   ่ ั
    ขั้นตอนที่                                                                                                                              ระดับ 1
                      ผู้บริหารที่ได้รับมอบหมาย
         1                                                                                                                              (ขั้นตอนที่ 1)
                จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ
                      จังหวัดและชี้แจงถึงการดาเนินการของจังหวัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 รวมทังสิ่งที่จะดาเนินการต่อไปเกี่ยวกับการ
                                                                                                 ้
                      พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้กับผู้บริหารและบุคลากรของจังหวัด
รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
องค์ประกอบของเกณฑ์
               2 ประการ                                                            ลักษณะสาคัญของ
                                                                                        องค์กร

                                                                                        1. การนา
               7 หมวด                                                                    องค์กร


                                                                                                    1.2 ความ
                                                                            1.1 การนา
              19 หัวข้อ                                                                            รับผิดชอบต่อ
                                                                              องค์กร
                                                                                                       สังคม

                                           ก. การกาหนด                  ข. การควบคุมดูแล         ค. การทบทวนผล
   30 ประเด็นที่ควรพิจารณา                 ทิศทางของส่วน                  ให้มีการจัดการ         การดาเนินการของ
                                              ราชการ                        ภายในที่ดี                องค์กร


              90 คาถาม                                                                     [1]                     [2]


รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การตอบคาถาม
          หมวดที่ 1 –                             • อย่างไร (ADLI)
                                                    • A – Approach
          6 (อะไร และ                               • D – Deploy
                                                    • L – Learning
            อย่างไร)                                • I – Integration




                                                  •   Le – Level

              หมวดที่ 7                           •
                                                  •
                                                      T – Trend
                                                      C – Comparison
                                                  •   Li - Linkage



รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
แนวทางการประเมินองค์กรสาหรับหมวดที่ 1-6
       • วิธีการที่ใช้เพื่อให้กระบวนการบรรลุผล                                                • การใช้แนวทางเพื่อตอบสนอง
       • ระดับของการที่แนวทางนั้นน้าไปใช้ซ้าได้                                                 ข้อกาหนดต่างๆ ของหัวข้อ         ที่
                                                                                                มีความเกี่ยวข้องและสาคัญต่อส่วน
         และอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลและ
                                                                                                ราชการ
         สารสนเทศที่เชื่อถือได้ (ซึ่งหมายถึง การ
         ด้าเนินการอย่างเป็นระบบ)                                                             • การใช้แนวทางอย่างคงเส้นคงวา
                                                                        การถ่ายทอดเพื่อ         (Consistent)
                                                      แนวทาง              น้าไปปฏิบัติ
                                                   (Approach - A)       (Deployment -
                                                                              D)

                                                                        การเรียนรู้ (การ
                                                    การบูรณาการ
                                                                         ทบทวนและ
• การใช้แนวทางที่สอดคล้องไปใน
  แนวทางเดียวกันกับความต้องการของ
                                                   (Integration -
  ส่วนราชการการใช้ตัวชี้วัด สารสนเทศ                                      ปรับปรุง)
  และระบบการปรับปรุงที่ช่วยเสริม                         I)
  กระบวนการและหน่วยงานทั่วทั้งส่วน                                      (Learning - L)     • การปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น โดยใช้วงจรการ
  ราชการ
                                                                                             ประเมิน         และการปรับปรุง
• แผนงาน กระบวนการ ผลลัพธ์ การ
  วิเคราะห์ การเรียนรู้ และการปฏิบติการ
                                  ั                                                        • การแบ่งปันความรู้จากการปรับปรุงที่ดีขึ้น
  มีความสอดคล้องกลมกลืนกันทุก                                                                และนวัตกรรม           กับหน่วยงานและ
  กระบวนการและหน่วยงาน เพื่อ                                                                 กระบวนการอื่นที่เกี่ยวข้องภายในส่วนราชการ
  สนับสนุนเป้าประสงค์ระดับองค์กร

รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ADLI
        Approach                           Deployment                          Learning                  Integration

• the methods used to              • your approach is                   • refining your approach   • your approach is
  accomplish the                     applied in addressing                through cycles of          aligned with your
  process                            requirements relevant                evaluation and             organizational needs
• the appropriateness of             and important to your                improvement                identified in other
  the methods to the                 organization                       • encouraging                category requirements
  Criteria requirements            • your approach is                     breakthrough change      • your measures,
• the effectiveness of               applied consistently                 to your approach           information, and
  your use of the                  • your approach is used                through innovation         improvement systems
  methods                            by all appropriate                 • sharing of refinements     are complementary
• the degree to which                work units                           and innovation with        across processes and
  the approach is                                                         other relevant work        work units
  repeatable and based                                                    units and processes in   • your plans, processes,
  on reliable data and                                                    your organization          results, analyses,
  information (i.e.,                                                                                 learning, and actions
  systematic)                                                                                        are harmonized across
                                                                                                     processes and work
                                                                                                     units to support
                                                                                                     organization-wide
                                                                                                     goals




รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประเมินการนากระบวนการและแนวทางต่างๆ ที่เป็นเลิศมาใช้
          ในองค์กร โดยถามคาถามสี่ข้อ



                                                                                                    สามารถผสมผสาน บูรณา
     ตามกระบวนการดังกล่าว              มีการนากระบวนการ                  องค์กรได้เกิดการเรียนรู้
                                                                                                    การ กระบวนการดังกล่าว
      องค์กรได้มีการกาหนด               ดังกล่าวไปใช้อย่าง                และพัฒนาจากการนา
                                                                                                    เข้ากับการดาเนินงานของ
     แผนงาน / แนวทางในการ              สม่าเสมอทั่วทั้งองค์กร           กระบวนการนั้นไปใช้หรือ
                                                                                                    องค์กร และกระบวนการ
     นาไปใช้ที่ชัดเจนหรือยัง?                หรือไม่?                             ยัง?
                                                                                                           อื่นๆ หรือไม่?




รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การประเมินองค์กรตามหมวดที่ 7
            • ผลการดาเนินงานใน                                                    • แนวโน้มผลการ
              ปัจจุบันเทียบกับ                                                      ดาเนินงาน (อย่างน้อย
              เป้าหมาย                                                              สามปี)
                                                Level -                 Trend -
                                                  Le                       T



                                               Linkage                  Compari
                                                 - Li                   son - C    • ผลการดาเนินงาน
                                                                                     เปรียบเทียบกับองค์กร
            • มีการเชื่อมโยงกับ
                                                                                     ที่มีภารกิจคล้ายคลึง
              ตัวชี้วัดผลต่างๆ กับ
                                                                                     หรือเทียบเคียงได้
              เกณฑ์หมวดต่างๆ
รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หมวดที่ 1 – 6 สาหรับคาถาม “อย่างไร?”
           คาถาม            ยังไม่ได้มีการ     A - Approach             D - Deploy   L - Learning   I - Integrate
                            ดาเนินการใน
                                เรื่องนี้




รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลักษณะส้าคัญขององค์กร

      ทาให้เข้าใจถึงส่วนราชการและสิ่งที่ส่วนราชการนั้นเห็นว่ามีความสาคัญ

       ช่วยในการระบุข้อมูลสาคัญที่อาจขาดหายไป และทาให้เกิดการมุ่งเน้นที่
       ผลสาเร็จของกระบวนการ และผลลัพธ์การดาเนินการ

       เป็นจุดเริ่มต้นที่เหมาะสมในการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง หาก
       พบว่า เรื่องใดมีข้อมูลไม่เพียงพอหรือข้อมูลขัดแย้งกัน ส่วนราชการ
       สามารถนาเรื่องนั้นไปจัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปรับปรุง โดยยังไม่
       ต้องประเมินตนเองต่อไป
รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลักษณะสาคัญขององค์กร



                       1. ลักษณะองค์กร                                                 2. ความท้าทายต่อองค์กร




      ก. ลักษณะพื้นฐาน                ข. ความสัมพันธ์                   ก. สภาพการ           ข. ความท้าทาย      ค. ระบบการ
                                     ภายในและภายนอก                                          เชิงยุทธศาสตร์    ปรับปรุงผลการ
       ของส่วนราชการ                      องค์กร                           แข่งขัน             และกลยุทธ์        ดาเนินการ
    • บทบาทหน้าที่                  • การกากับดูแลตนเอง           • สภาพการแข่งขัน          • ความท้าทายตาม    • แนวทางการ
    • วิสัยทัศน์ ค่านิยม                                            ภายในและภายนอก            ภารกิจ            ปรับปรุงผล
                                    • ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
    • ลักษณะโดยรวมของ                                             • ปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อ   • ความท้าทายด้าน    การดาเนินการ
                                    • ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้
      บุคคลากร                                                      ความสาเร็จ                ทรัพยากรบุคคล
                                      ส่วนเสีย                                                                 • แนวทางการ
    • เทคโนโลยีและ                                                • ข้อมูลการเปรียบเทียบ
                                                                                                                เรียนรู้ขององค์กร
       อุปกรณ์




รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลักษณะสาคัญขององค์กร
                                                                                 2. ความท้าทายต่อองค์กร
                   1. ลักษณะองค์กร
                               ข. ความสัมพันธ์ภายในและ           ก. สภาพการ        ข. ความท้าทายเชิง      ค. ระบบการปรับปรุงผล
                                    ภายนอกองค์กร                    แข่งขัน      ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์          การดาเนินการ



      ก. ลักษณะพื้นฐาน
       ของส่วนราชการ
                                                                   2.1   วิสัยทัศน์ของส่วนราชการคืออะไร (#)
                                                                   2.2   เปูาประสงค์หลักของส่วนราชการคืออะไร (#)
                                                                   2.3   วัฒนธรรมในส่วนราชการคืออะไร
1.1 พันธกิจหรือหน้าที่ตามกฎหมายของส่วนราชการคืออะไรบ้าง (#)        2.4   ค่านิยมของส่วนราชการทีกาหนดไว้คืออะไร
                                                                                                ่

                                                                   3. ลักษณะโดยรวมของบุคลากรในส่วนราชการ
1.2 มีแนวทางและวิธการอย่างไรในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ (#)
                  ี                                                เป็นอย่างไร เช่น ระดับการศึกษา อายุ สายงาน
                                                                   ระดับตาแหน่ง ข้อกาหนดพิเศษในการปฎิบติงาน
                                                                                                          ั
          ผู้รบบริการ
              ั                      แนวทางและวิธีการให้บริการ     เป็นต้น (ให้ใช้ข้อมูลบุคลากรของส่วนราชการ ณ
 1. ……………………………………..         1.………………………………………..                   วันที่ 1 ตุลาคม 2549) (#)
                             2.…………………………………………
                                                                   4. ส่วนราชการมีเทคโนโลยี อุปกรณ์ และสิง
                                                                                                         ่
                             2.1 …………………………………………..
 2. ………………………………………….                                              อานวยความสะดวกทีสาคัญอะไรบ้าง ในการ
                                                                                      ่
                             ………………………………………….                     ให้บริการและการปฏิบติงาน (#)
                                                                                        ั

                                                                   5. ส่วนราชการดาเนินการภายใต้กฎหมาย
                                                                   กฎระเบียบ ข้อบังคับที่สาคัญอะไรบ้าง (#)
ลักษณะสาคัญขององค์กร
                                                                                                             2. ความท้าทายต่อองค์กร
                         1. ลักษณะองค์กร
    ก. ลักษณะพื้นฐาน                                                                     ก. สภาพการ             ข. ความท้าทายเชิง        ค. ระบบการปรับปรุงผล
     ของส่วนราชการ                                                                          แข่งขัน           ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์            การดาเนินการ
                                       ข. ความสัมพันธ์ภายใน
                                        และภายนอกองค์กร


                  6. โครงสร้างองค์กรและวิธการจัดการทีแสดงถึงการกากับดูแลตนเองที่ดเป็นเช่นใด
                                          ี          ่                           ี

7. ส่วนราชการหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการหรือส่งมอบงาน            8.1 กลุ่มผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักของส่วนราชการ
ต่อกันมีหน่วยงานใดบ้าง มีบทบาทอย่างไรในการปฏิบัติงานร่วมกัน (#)               คือใครบ้าง (#)
-ข้อกาหนดที่สาคัญในการปฏิบัติงานร่วมกันมีอะไรบ้าง                             8.2 กลุ่มผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเหล่านี้มีความต้องการ
-มีแนวทางและวิธีการสื่อสารระหว่างกันอย่างไร                                   และความคาดหวังที่สาคัญอะไรบ้าง (#)
                                                                              8.3 แนวทางและวิธีการสื่อสารระหว่างกันคืออะไร (#)
    ส่วนราชการ /        บทบาทหน้าที่      ข้อกาหนดที่สาคัญ   แนวทางและ                                                                        แนวทางและ
                                                                                                                          ความต้องการ/
  องค์กรที่เกี่ยวข้อง   ในการปฏิบัติ      ในการปฏิบัติงาน    วิธีการสื่อสาร     กลุ่มผู้รับบริการ     บริการที่ให้                           วิธีการสื่อสาร
                                                                                                                          ความคาดหวัง
                          ร่วมกัน             ร่วมกัน         ระหว่างกัน                                                                      ระหว่างกัน


                                                                                                                                              แนวทางและ
                                                                                                                          ความต้องการ/
                                                                               ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย   บริการที่ให้                           วิธีการสื่อสาร
                                                                                                                          ความคาดหวัง
                                                                                                                                              ระหว่างกัน
ลักษณะสาคัญขององค์กร
             1. ลักษณะองค์กร
                                                                2. ความท้าทายต่อองค์กร
ก. ลักษณะพื้นฐาน      ข. ความสัมพันธ์ภายใน
 ของส่วนราชการ         และภายนอกองค์กร
                                                                                           ข. ความท้าทายเชิง    ค. ระบบการปรับปรุงผล
                                                                                         ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์        การดาเนินการ

                                               ก. สภาพการแข่งขัน


                   9.1 สภาพการแข่งขันทั้งภายในและภายนอกประเทศของส่วนราชการเป็นเช่นใด

                   9.2 ประเภทการแข่งขัน และจานวนคูแข่งขันในแต่ละประเภทเป็นเช่นใด
                                                  ่

                   9.3 ประเด็นการแข่งขันคืออะไร และผลการดาเนินการปัจจุบนในประเด็นดังกล่าวเมื่อ
                                                                       ั
                   เปรียบเทียบกับคู่แข่งเป็นอย่างไร

                   10.1 ปัจจัยสาคัญที่ทาให้สวนราชการประสบความสาเร็จเมือเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันคืออะไร
                                            ่                         ่

                   10.2 ปัจจัยแวดล้อมที่เปลียนแปลงไปซึ่งมีผลต่อสภาพการแข่งขันของส่วนราชการคืออะไร
                                            ่

                          11. ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและข้อมูลเชิงแข่งขันมีแหล่งข้อมูลอยูทใดบ้าง
                                                                                       ่ ี่

                          12. ข้อจากัดในการได้มาซึงข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ และข้อมูลเชิงแข่งขัน
                                                  ่
                          มีอะไรบ้าง (ถ้ามี)
ลักษณะสาคัญขององค์กร
             1. ลักษณะองค์กร
                                                          2. ความท้าทายต่อองค์กร
ก. ลักษณะพื้นฐาน      ข. ความสัมพันธ์ภายใน
 ของส่วนราชการ         และภายนอกองค์กร
                                             ก. สภาพการ
                                                แข่งขัน



                                                                ข. ความท้าทายเชิง
13. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการคืออะไร (#)          ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์
- ความท้าทายตามพันธกิจ

- ความท้าทายด้านปฏิบัติการ

- ความท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล                                                           ค. ระบบการปรับปรุงผล
                                                                                             การดาเนินการ

                                                           14. แนวทางและวิธีการในการปรับปรุงประสิทธิภาพของ
                                                           ส่วนราชการ เพื่อให้เกิดผลการดาเนินการทีดีอย่าง
                                                                                                  ่
                                                           ต่อเนื่องมีอะไรบ้าง (#)

                                                           15. ภายในองค์กรมีแนวทางในการเรียนรู้ขององค์กรและมี
                                                           การแลกเปลี่ยนความรูอย่างไร (#)
                                                                              ้
หมวด 1 การนาองค์กร

                        1.1 การนาองค์กร                                           1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม


    ก. การกาหนด             ข. การกากับ         ค. การทบทวน                ก. ความ       ข. การดาเนินการ    ค. การให้การ
       ทิศทาง                                  ผลการดาเนินการ             รับผิดชอบ           อย่างมี        สนับสนุนต่อ
   ของส่วนราชการ           ดูแลตนเองที่ดี      ของส่วนราชการ             ต่อสาธารณะ          จริยธรรม       ชุมชนที่สาคัญ
  •การกาหนด               •ความโปร่งใส         •การทบทวน                •การดาเนินการ   •การดาเนินการ      •การสนับสนุน
   วิสัยทัศน์ ค่านิยม      ตรวจสอบได้           ผลการดาเนินการ           กรณีที่การ      อย่างมีจริยธรรม    และสร้างความ
   ทิศทาง ผลการ                                                          ปฏิบัติงานมี                       เข้มแข็งให้แก่
   ดาเนินการที่           •ความรับผิดชอบ       •การนาผลมา                ผลกระทบ        •การวัดและการ       ชุมชนที่สาคัญ
   คาดหวัง และการ                               ปรับปรุงส่วน             ต่อสังคม        ตรวจติดตาม
                          •การปกป้อง            ราชการ                                   การมีจริยธรรม
   ถ่ายทอดไปสู่การ         ผลประโยชน์
   ปฏิบัติ                                                              •การดาเนินการ    องค์กร
                           ของประเทศชาติ                                 ต่อความกังวล
  •การสร้าง                                                              ของสาธารณะ
   บรรยากาศการให้
   อานาจตัดสินใจ
   นวัตกรรมและ
   ความคล่องตัว

รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หมวดที่ 1 สาหรับคาถาม “อย่างไร?”
       คาถาม             ยังไม่ได้มีการ       A - Approach                D - Deploy            L - Learning          I - Integrate
                       ดาเนินการในเรื่อง
                               นี้
ผู้บริหารของส่วน                           ได้มีการกาหนดค่านิยมที่      ได้มีการแถลงค่านิยม   ได้มีการทบทวน          ได้มีการสื่อสาร
ราชการได้กาหนดวิธี                         พึงประสงค์สาหรับ             และประชาสัมพันธ์      ค่านิยมอย่างสม่าเสมอ   ค่านิยมขององค์กรไป
ปฏิบัติเพื่อให้ส่วน                        บุคลากรในหน่วยงาน            ให้ทุกคนในองค์กร      โดยนาข้อมูลจากผู้มี    ให้ผมีส่วนเกี่ยวข้อง
                                                                                                                           ู้
ราชการมีการ                                โดยในค่านิยมดังกล่าวได้      ทราบและปฏิบัติตาม     ส่วนเกี่ยวข้องเข้ามา   ได้ทราบ พร้อมทั้งใน
ดาเนินการอย่างมี                           มีแนวเรื่องจริยธรรมไว้                             เพิ่มเติม              การสารวจความพึง
จริยธรรม อย่างไร                           ด้วย                                                                      พอใจได้สารวจว่าเมื่อ
                                                                                                                     ผู้มส่วนเกี่ยวข้อง
                                                                                                                         ี
                                                                                                                     ปฏิสัมพันธ์กับ
                                                                                                                     บุคลากร บุคลากร
                                                                                                                     ปฏิบัติตามค่านิยม
                                                                                                                     หรือไม่
ผู้บริหารของส่วน                           มีการประเมินผลการ
ราชการดาเนินการ                            ดาเนินงานตามคารับรอง
อย่างไรในการ                               การปฏิบัติราชการเป็น
ทบทวนผลการ                                 ประจาทุกปี
ดาเนินการของส่วน
ราชการ
รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หมวด 1 การนาองค์กร
                                                                                                        1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
                   1.1 การนาองค์กร
                                                                                     ก. ความรับผิดชอบ       ข. การดาเนินการอย่างมี   ค. การให้การสนับสนุนต่อ
                                                                                        ต่อสาธารณะ                จริยธรรม                ชุมชนที่สาคัญ
                                         ข. การกากับ ดูแล     ค. การทบทวนผลการ
                                             ตนเองที่ดี     ดาเนินการของส่วนราชการ
      ก. การกาหนดทิศทาง
         ของส่วนราชการ
 1.1 ผู้บริหารของส่วนราชการดาเนินการอย่างไรในการกาหนดในเรื่องวิสยทัศน์ เปูาประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว
                                                                ั
 ค่านิยม และผลการดาเนินการที่คาดหวังไว้ รวมทั้งการถ่ายทอดให้บุคลากรในส่วนราชการนาไปปฏิบัติ
 1.2 ในการกาหนดผลการดาเนินการดังกล่าว ผู้บริหารของส่วนราชการได้คานึงถึงความต้องการหรือผลประโยชน์
 ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้สวนเสีย โดยยึดหลักความโปร่งใสและความชัดเจนอย่างไร
                                ่
 1.3 ผู้บริหารของส่วนราชการดาเนินการอย่างไรในการสือสารในเรื่องดังกล่าวแบบ 2 ทิศทางอย่างชัดเจนและเป็น
                                                  ่
 รูปธรรมไปสู่บุคลากรทุกคน รวมทังผู้รับบริการและผูมีส่วนได้สวนเสียที่สาคัญ โดยผ่านระบบการนาองค์กร
                               ้                 ้         ่

                                2. ผู้บริหารของส่วนราชการดาเนินการอย่างไรในการสร้างบรรยากาศ
                                - เพื่อให้เกิดการกระจายอานาจในการตัดสินใจ นวัตกรรม และความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน
                                - เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ทังในระดับส่วนราชการและผู้ปฏิบติงาน
                                                            ้                           ั
                                - เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรทางานอย่างถูกต้องตามกฎระเบียบและหลักจริยธรรม


รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หมวด 1 การนาองค์กร
                                                                                            1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
                          1.1 การนาองค์กร
                                                                         ก. ความรับผิดชอบ       ข. การดาเนินการอย่างมี   ค. การให้การสนับสนุนต่อ
                                                                            ต่อสาธารณะ                จริยธรรม                ชุมชนที่สาคัญ
      ก. การกาหนดทิศทาง                          ค. การทบทวนผลการ
         ของส่วนราชการ                         ดาเนินการของส่วนราชการ




                            ข. การกากับ ดูแล
                                ตนเองที่ดี
               3. ในการกากับดูแลตนเองที่ดี ส่วนราชการและผู้บริหารดาเนินการอย่างไรในเรื่องที่สาคัญต่อไปนี้
               - ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัตงานของส่วนราชการ
                                          ิ
               - ความรับผิดชอบด้านการเงิน และการปูองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
               -การปกปูองผลประโยชน์ของประเทศและผูมีส่วนได้สวนเสีย
                                                 ้         ่




รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หมวด 1 การนาองค์กร
                                                                                         1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
                     1.1 การนาองค์กร
                                                                      ก. ความรับผิดชอบ       ข. การดาเนินการอย่างมี   ค. การให้การสนับสนุนต่อ
                                                                         ต่อสาธารณะ                จริยธรรม                ชุมชนที่สาคัญ
 ก. การกาหนดทิศทาง    ข. การกากับ ดูแล
    ของส่วนราชการ         ตนเองที่ดี


                                           ค. การทบทวนผลการ
                                         ดาเนินการของส่วนราชการ   5.1 ตัวชีวัดสาคัญที่ผบริหารของส่วนราชการทบทวน
                                                                           ้           ู้
                                                                  เป็นประจามีอะไรบ้าง (#)
4.1 ผู้บริหารของส่วนราชการดาเนินการอย่างไรในการทบทวน              5.2 ผลการทบทวนทีผ่านมาเป็นอย่างไร (#)
                                                                                  ่
ผลการดาเนินการของส่วนราชการ (#)
                                                                  6.1 ผู้บริหารของส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการ
4.2 ผู้บริหารของส่วนราชการใช้ผลการประเมินและทบทวน
                                                                  นาผลการทบทวนดังกล่าวมาจัดลาดับความสาคัญ
ดังกล่าวมาประเมินความสาเร็จของการบรรลุเปูาประสงค์ระยะ
                                                                  เพื่อให้เกิดการปรับปรุงทังอย่างต่อเนื่องและอย่างก้าว
                                                                                           ้
สั้นและระยะยาวของส่วนราชการอย่างไร (#)
                                                                  กระโดด รวมทังใช้เป็นโอกาสในการสร้างนวัตกรรม
                                                                              ้
4.3 ผู้บริหารของส่วนราชการนาผลการประเมินและทบทวนนี้
                                                                  6.2 ผู้บริหารของส่วนราชการใช้วิธีการอย่างไรในการ
มาใช้ในการประเมินความสามารถในการตอบสนองความ
                                                                  นาผลการทบทวนไปปรับปรุงและนาไปสู่การปฏิบัตทั่ว
                                                                                                           ิ
ต้องการที่เปลียนแปลงไปของส่วนราชการอย่างไร
              ่
                                                                  ทั้งส่วนราชการ รวมถึงผู้มีสวนเกี่ยวข้อง
                                                                                             ่

7.1 ผู้บริหารของส่วนราชการในแต่ละระดับได้รับการประเมินผลงานอย่างไร (#)
7.2 ส่วนราชการนาผลจากการประเมินผลงานของผู้บริหารไปปรับปรุงระบบการนาองค์กรของผู้บริหารทุกระดับอย่างไร
หมวด 1 การนาองค์กร
                      1.1 การนาองค์กร
                                                                                         1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
  ก. การกาหนดทิศทาง       ข. การกากับ ดูแล       ค. การทบทวนผลการ
     ของส่วนราชการ            ตนเองที่ดี       ดาเนินการของส่วนราชการ
                                                                                                            ข. การดาเนินการอย่างมี   ค. การให้การสนับสนุนต่อ
                                                                                                                  จริยธรรม                ชุมชนที่สาคัญ
                                                                           ก. ความรับผิดชอบ
                                                                              ต่อสาธารณะ
                                             8. ในกรณีที่การบริการและการปฏิบติงานมีผลกระทบในทางลบต่อสังคมส่วน
                                                                            ั
                                             ราชการดาเนินการอย่างไร

                                                     9. กระบวนการ เปูาประสงค์ ตัวชีวัด และเปูาหมายของส่วนราชการในการ
                                                                                   ้
                                                     จัดการกับผลกระทบในทางลบทีเกิดขึ้นคืออะไร
                                                                              ่

                                                                 10.1 ส่วนราชการได้คาดการณ์ลวงหน้าถึงผลกระทบในทางลบของการบริการ
                                                                                            ่
                                                                 และการปฏิบติงานที่อาจเกิดขึ้นต่อสังคม ทังในปัจจุบันและอนาคตอย่างไร
                                                                           ั                             ้
                                                                 10.2 ส่วนราชการมีการเตรียมการเชิงรุกในประเด็นดังกล่าวอย่างไร




รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หมวด 1 การนาองค์กร
                      1.1 การนาองค์กร
                                                                                           1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม
  ก. การกาหนดทิศทาง       ข. การกากับ ดูแล     ค. การทบทวนผลการ
     ของส่วนราชการ            ตนเองที่ดี     ดาเนินการของส่วนราชการ
                                                                      ก. ความรับผิดชอบ
                                                                         ต่อสาธารณะ


                                                                                         ข. การดาเนินการ
                                                                                         อย่างมีจริยธรรม

  11. ผู้บริหารของส่วนราชการได้กาหนดวิธปฏิบัติเพือให้ส่วนราชการมีการ
                                       ี         ่
  ดาเนินการอย่างมีจริยธรรม อย่างไร


                                                                                                           ค. การให้การสนับสนุน
                 12.1 ส่วนราชการดาเนินการอย่างไรในการสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็ง                        ต่อชุมชนที่สาคัญ
                 ให้แก่ชมชนทีสาคัญต่อส่วนราชการ
                        ุ    ่
                 12.2 ชุมชนใดที่สาคัญกับส่วนราชการของท่าน และมีวธีเลือกชุมชนดังกล่าวอย่างไร
                                                                ิ
                 12.3 มีวิธีการอย่างไรในการเลือกกิจกรรมทีจะสนับสนุนชุมชน
                                                         ่
                 12.4 ผู้บริหารของส่วนราชการและบุคลากรมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาชุมชน
                 ดังกล่าวอย่างไร

รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์


       2.1 การจัดทายุทธศาสตร์และกลยุทธ์                                          2.2 การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ


      ก. กระบวนการ                    ข. เป้าประสงค์                        ก. การจัดทา             ข. การคาดการณ์
     จัดทายุทธศาสตร์                  เชิงยุทธศาสตร์                     แผนปฏิบัติการและ
        และกลยุทธ์                      และกลยุทธ์                       การนาแผนไปปฏิบัติ         ผลการดาเนินการ
   •การวางแผนยุทธ-                •เป้าประสงค์เชิงยุทธ-                 •การจัดทาแผนปฎิบัติการ   •การคาดการณ์ผลการ
    ศาสตร์และกลยุทธ์               ศาสตร์และกรอบเวลา                     การนาแผนไปปฎิบัติ        ดาเนินการ
                                   ในการบรรลุ                            รวมทั้งการจัดสรร
   •การนาปัจจัยที่                                                                               •เกณฑ์เปรียบเทียบ
                                                                         ทรัพยากร
    เกี่ยวข้องมา                  •ความสมดุลระหว่างความ                                           ที่สาคัญต่างๆ
    ประกอบการวางแผน                ต้องการของผู้มีส่วนได้               •การตอบสนองต่อความ
                                   ส่วนเสียทั้งหมด                       เปลี่ยนแปลง
                                                                        •แผนหลักด้านทรัพยากร
                                                                         บุคคล


รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หมวดที่ 2 สาหรับคาถาม “อย่างไร?”
       คาถาม              ยังไม่ได้มีการ       A - Approach               D - Deploy           L - Learning            I - Integrate
                        ดาเนินการในเรื่อง
                                นี้
ส่วนราชการมีวิธีการ                         มีระบบในการกาหนด            โครงการและ           ในทุกๆ ปีจะมีระบบ        มีการนาข้อมูล
อย่างไรในการทาให้                           ตัวชี้วัดผลผลิตและ          แผนปฏิบัติการ        ในการทบทวน               สารสนเทศมา
ระบบการวัดผลสาเร็จ                          ผลลัพธ์ที่สาคัญของ          ทั้งหมดของหน่วยงาน   ตัวชี้วัดของ             เปรียบเทียบ
ของแผนปฏิบัติการ                            แผนปฏิบัติการและ            มีการกาหนดผลผลิต     แผนปฏิบัติการและ         ความสาเร็จในการ
โดยรวม เสริมให้ส่วน                         โครงการต่างๆ โดย            ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด    โครงการต่างๆ อย่าง       ดาเนินงานของแต่ละ
ราชการมุ่งไปใน                              เกิดขึ้นในช่วงเดียวกับ      ความสาเร็จ และค่า    สม่าเสมอ พร้อมทั้ง       โครงการ
แนวทางเดียวกัน                              กระบวนการวางแผน             เป้าหมายที่ชัดเจน    ปรับปรุงตัวชี้วัดอย่าง
                                                                                             ต่อเนื่อง



หากมีการ                ยังไม่มีระบนใน
เปลี่ยนแปลงที่สาคัญ     การติดตามการ
ในการให้บริการ          เปลี่ยนแปลงที่
รวมทั้งผู้รับบริการ     สาคัญ
และผู้มส่วนได้ส่วน
        ี
เสีย ส่วนราชการจะ
ดาเนินการอย่างไรเพื่อ
ตอบสนองต่อการ
รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007

More Related Content

What's hot

แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
thanapat yeekhaday
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
nokbiology
 
0 o net-2549
0 o net-25490 o net-2549
0 o net-2549
saiyok07
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
guest3d68ee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
supap6259
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
klarharn
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
nokbiology
 

What's hot (20)

แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
ฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาคฟิสิกส์อนุภาค
ฟิสิกส์อนุภาค
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
0 o net-2549
0 o net-25490 o net-2549
0 o net-2549
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
Cw059 05 a ผู้นำกับการตัดสินใจ
Cw059 05 a ผู้นำกับการตัดสินใจCw059 05 a ผู้นำกับการตัดสินใจ
Cw059 05 a ผู้นำกับการตัดสินใจ
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
สถานการณ์ผู้สูงอายุจังหวัดศรีสะเกษ
สถานการณ์ผู้สูงอายุจังหวัดศรีสะเกษสถานการณ์ผู้สูงอายุจังหวัดศรีสะเกษ
สถานการณ์ผู้สูงอายุจังหวัดศรีสะเกษ
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 

Similar to Pmqa%20 aug%202007

Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553
Areté Partners
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
kullasab
 
Hr Mis Nu MBA Logistics
Hr  Mis Nu  MBA  LogisticsHr  Mis Nu  MBA  Logistics
Hr Mis Nu MBA Logistics
Ausda Sonngai
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
vorravan
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
DrDanai Thienphut
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
Nithimar Or
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
Punyapon Tepprasit
 
Developing high professional
Developing high professionalDeveloping high professional
Developing high professional
1clickidea
 

Similar to Pmqa%20 aug%202007 (20)

Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management
 
Hr Mis Nu MBA Logistics
Hr  Mis Nu  MBA  LogisticsHr  Mis Nu  MBA  Logistics
Hr Mis Nu MBA Logistics
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
L1
L1L1
L1
 
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
ภาพรวมของการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ (New)
 
Hr Mis Nu
Hr  Mis NuHr  Mis Nu
Hr Mis Nu
 
ทบทวนค่านิยม Baldrige awareness series 11 core values
ทบทวนค่านิยม Baldrige awareness series    11 core values ทบทวนค่านิยม Baldrige awareness series    11 core values
ทบทวนค่านิยม Baldrige awareness series 11 core values
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
management style
management stylemanagement style
management style
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
การทำให้สำเร็จ Execution premium
การทำให้สำเร็จ Execution premium การทำให้สำเร็จ Execution premium
การทำให้สำเร็จ Execution premium
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
Developing high professional
Developing high professionalDeveloping high professional
Developing high professional
 

More from wutichai

Vc umphawa
Vc umphawaVc umphawa
Vc umphawa
wutichai
 
สรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบย
สรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบยสรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบย
สรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบย
wutichai
 
Business strategy 7 2549
Business strategy 7 2549Business strategy 7 2549
Business strategy 7 2549
wutichai
 
Excellence org
Excellence orgExcellence org
Excellence org
wutichai
 
Nec53(ใหม่)1
Nec53(ใหม่)1Nec53(ใหม่)1
Nec53(ใหม่)1
wutichai
 
K M 25 สค.52
K M 25 สค.52K M 25 สค.52
K M 25 สค.52
wutichai
 
Km170909 ศภ02
Km170909 ศภ02Km170909 ศภ02
Km170909 ศภ02
wutichai
 
Vietnam A Plus
Vietnam A PlusVietnam A Plus
Vietnam A Plus
wutichai
 

More from wutichai (10)

Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากลContent สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
 
Vc umphawa
Vc umphawaVc umphawa
Vc umphawa
 
สรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบย
สรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบยสรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบย
สรุปแผนดำเนินงานปี2555 ส่ง สบย
 
Business strategy 7 2549
Business strategy 7 2549Business strategy 7 2549
Business strategy 7 2549
 
Excellence org
Excellence orgExcellence org
Excellence org
 
Nec53(ใหม่)1
Nec53(ใหม่)1Nec53(ใหม่)1
Nec53(ใหม่)1
 
K M Model
K M  ModelK M  Model
K M Model
 
K M 25 สค.52
K M 25 สค.52K M 25 สค.52
K M 25 สค.52
 
Km170909 ศภ02
Km170909 ศภ02Km170909 ศภ02
Km170909 ศภ02
 
Vietnam A Plus
Vietnam A PlusVietnam A Plus
Vietnam A Plus
 

Pmqa%20 aug%202007

  • 2. ที่มาของ PMQA Malcolm Baldrige เพื่อเสริมสร้างความสามารถใน National Quality การแข่งขันของบริษัทอเมริกัน Award (MBNQA) และประเทศอเมริกาโดยรวม บริษัทที่ได้รับรางวัล จะต้องมีการ เพื่อกระตุ้นให้องค์กรในทุกภาค แบ่งปันเรื่องราวความสาเร็จของ ส่วนในมีการพัฒนาขีด ตนเอง รวมทั้งกลยุทธ์ที่ใช้ในการ ความสามารถในการดาเนินงาน นาไปสู่ความสาเร็จให้องค์กรอื่น และการแข่งขัน รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 3. เกณฑ์ตางๆ มีวัตถุประสงค์เพืออะไร? ่ ่ เพื่อพัฒนาความสามารถในการดาเนินงาน และยกระดับผลการดาเนินงานขององค์กร เพื่อกระตุ้นให้เกิดการสื่อสาร แลกเปลี่ยนความรู้ ระหว่างองค์กรต่างๆ เพื่อเป็นเครื่องมือในการทาความเข้าใจ และบริหารผลการดาเนินงานได้อย่างดี รวมทั้งเป็นกลไกในการวางแผน และโอกาสสาหรับการเรียนรู้ เพื่อให้องค์กรมีแนวทางในการบริหารผลการดาเนินงานขององค์กรในลักษณะองค์รวม เพื่อทาให้ • สามารถพัฒนาและนาเสนอคุณค่า (Value) ที่ลูกค้าและผู้เกี่ยวต้องต้องการ • เพื่อเพิมขีดความสามารถและประสิทธิผลการดาเนินงานขององค์กร ่ • เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ทงในระดับบุคคลและระดับองค์กร ั้ รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 4. เกณฑ์ต่างๆ กาหนดขึ้นมาโดยมีปรัชญาและแนวคิดพื้นฐาน ใน ด้านต่างๆ ดังนี้ (เป็นแนวคิดพื้นฐานของ HPO) Visionary leadership Customer- Systems driven perspective excellence Focus on Organizational result and and personal creating value learning Social responsibility Criteria Valuing employees and partners Managing by Agility fact Managing for Focus on the innovation future รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 5. Leadership + Strategy + HR + Process = Result Customer = เพื่อให้ผู้นามุ่งเน้น แสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์การ และให้ความสาคัญต่อทิศทาง ดาเนินงานขององค์กร ยุทธศาสตร์ และลูกค้า เป็นพื้นฐานสาคัญสาหรับการ บริหารผลการดาเนินงานของ องค์กร (Performance Mgt.) รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 6. การประเมินตนเอง (Self-Assessment) นาไปสู่การปรับปรุง และพัฒนาการดาเนินงานในทุก ด้าน เป็นเครื่องมือสาคัญ ที่มากกว่าการทบทวนผลการ ดาเนินงาน และสามารถใช้ได้กับกลยุทธ์ทุกประเภท ระบบการบริหารทุกรูปแบบ และองค์กรในทุกรูปแบบ รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 7. ทาไมถึงต้องมีการ “พัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ”? เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารของ เพื่อให้มีกรอบแนวคิด แนวทาง และ หน่วยราชการให้สอดคล้องกับ พระราช เครื่องมือในการยกระดับการบริหาร กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ จัดการภาครัฐ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 8. ทาไมต้อง PMQA? (Public Mgt Quality Award) มีพัฒนาการและ • พัฒนามาจาก MBNQA  TQA มาตรฐานที่เป็นสากล • เกณฑ์มีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนไป กรอบและแนวทางที่ • ครอบคลุมหลักการบริหารจัดการที่ดี ชัดเจนและครอบคลุม • มีแนวทางในการประเมินและพัฒนาองค์กรที่ชัดเจน องค์กรใช้เป็นแนวทาง • องค์กรสามารถประเมินตนเองได้ เพื่อการพัฒนา ในการพัฒนาตนเอง • ถ้าต้องการได้รับรางวัล ก็จะเป็นการประเมินจากบุคคลภายนอก รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 9. แนวทางของ PMQA • 1. การนาองค์กร • 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ • 3. การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มี 7 หมวด • • 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล • 6. การจัดการกระบวนการ • 7. ผลลัพธ์การดาเนินการ ภายใต้แต่ละ • องค์ประกอบและแนวทางในการบริหารจัดการที่ดี (ควร จะเป็น) หมวด • เป็นเกณฑ์และแนวทางในการประเมินตนเองขององค์กร ประกอบด้วย รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 10. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสาคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน 5. การมุ่งเน้น เชิงยุทธศาสตร์ ทรัพยากรบุคคล และกลยุทธ์ 1. การนา องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดาเนินการ 3. การให้ความสาคัญ 6. การจัดการ กับผู้รับบริการและ กระบวนการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 11. แนวคิดพื้นฐาน (จริงๆ) การดาเนินงาน ดาเนินการตาม ขององค์กรใน แผน ปัจจุบัน เปรียบเทียบกับ วางแผนการ แนวทางและ พัฒนาและ เกณฑ์ขององค์กร ปรับปรุงองค์กร ที่เป็นเลิศ ทราบว่าองค์กรมี โอกาสในการ ปรับปรุงการ ดาเนินงานในด้าน ใดบ้าง รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 12. องค์กรประเมินตนเองตาม 1. การนาองค์กร เกณฑ์และแนวทางในแต่ละ หมวด 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 3. การให้ความสาคัญกับ ผลจากการประเมินทาให้ ผู้รบบริการและผู้มีสวนได้ส่วน ั ่ ทราบจุดแข็ง และโอกาสใน เสีย การปรับปรุง (OFI) 4. การวัด การวิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ วางแผนการพัฒนาและ ปรับปรุง ตามผลการ 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล วิเคราะห์ 6. การจัดการกระบวนการ ดาเนินการตามแผน พร้อม แนวคิดและ เครื่องมือทางการ 7. ผลลัพธ์การดาเนินการ ทั้งประเมินเทียบกับเกณฑ์ บริหารต่างๆ รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 13. ประเมินตนเองและพัฒนา องค์กร เผยแพร่ แบ่งปัน ได้รับรางวัล PMQA ประสบการณ์กับองค์กรอื่น มีกรรมการภายนอกมา สมัครเข้ารับรางวัล PMQA ประเมิน พัฒนา ปรับปรุงการบริหาร ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน องค์กร รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 14. เกณฑ์ ก.พ.ร. (จังหวัดที่ดาเนินมาเป็นปีแรก)  จัดทารายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self- ขั้นตอน ระดับ 5 Assessment) และ จัดลาดับความสาคัญของโอกาส ใน ที่ (ขั้นตอนที่ การปรับปรุงองค์กรในภาพรวมของจังหวัดได้แล้วเสร็จครบถ้วน 5 1+2+3+4+5) โดยครอบคลุมทุกส่วนราชการประจาจังหวัด ที่ร่วมดาเนินการ  จัดทารายงานผลการดาเนินการขององค์กรตามเกณฑ์คุณภาพ การบริหาร ระดับ 4 ขั้นตอนที่ จัดการภาครัฐในภาพรวมของจังหวัดได้แล้วเสร็จครบถ้วน โดยครอบคลุมทุก (ขั้นตอนที่ 4 ส่วนราชการประจาจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ 1+2+3+4)  จัดทารายงานผลการจัดทาลักษณะสาคัญขององค์กรในภาพรวมของจังหวัด ได้แล้วเสร็จ ขั้นตอนที่ ระดับ 3 ครบถ้วนตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยครอบคลุมทุกส่วน 3 (ขั้นตอนที่ 1+2+3) ราชการประจาจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ ขั้นตอน  จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้หรือเกิดการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคณะทางาน ของ ระดับ 2 ที่ ทุกส่วนราชการประจาจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ (ขั้นตอนที่ 1+2) 2  จัดตั้งคณะทางานดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัด* และจัดทาแผนดาเนินการพัฒนา ขั้นตอน คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัด (Roadmap) ที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ ระดับ 1 ที่ ผู้บริหารที่ได้รับมอบหมาย (ขั้นตอนที่ 1) 1  จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ จังหวัด ให้กับผู้บริหารและบุคลากรของจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 15. เกณฑ์ ก.พ.ร. (สาหรับจังหวัดที่ดาเนินเป็นปีสอง)  จัดทารายงานผลการจัดทาแผนปรับปรุงองค์กรในภาพรวมของ จังหวัดทีสอดคล้องกับการจัดลาดับความสาคัญของโอกาสในการ ่ ปรับปรุงองค์กรในขั้นตอนที่ 4 ได้แล้วเสร็จครบถ้วนอย่างน้อย 2 ระดับ 5 ขั้นตอนที่ แผน โดยแผนดังกล่าวจะต้องสามารถถ่ายทอดเพื่อนาไปสูการ ่ (ขั้นตอนที่ 5 ปฏิบัติได้ถึงในระดับอาเภอ 1+2+3+4+5)  จัดทารายงานผลการจัดทาแผนปรับปรุงอาเภอ ทีสอดคล้องกับ ่ แผนปรับปรุงองค์กรในภาพรวมของจังหวัด ได้แล้วเสร็จครบถ้วน อย่างน้อย 2 แผน  จัดทารายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) และ ระดับ 4 ขั้นตอนที่ จัดลาดับความสาคัญของโอกาสในการปรับปรุงองค์กรในภาพรวม ของจังหวัดได้ (ขั้นตอนที่ 4 แล้วเสร็จครบถ้วน โดยครอบคลุมทุกส่วนราชการประจาจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ 1+2+3+4) ขั้นตอนที่  จัดทารายงานผลการดาเนินการขององค์กรตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐใน ระดับ 3 3 ภาพรวมของจังหวัด โดยครอบคลุมทุกส่วนราชการประจาจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ (ขั้นตอนที่ 1+2+3)  จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้หรือเกิดการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคณะทางาน ของทุก ขั้นตอนที่ ส่วนราชการประจาจังหวัดที่รวมดาเนินการ ่ ระดับ 2 2  จัดทารายงานผลการจัดทาลักษณะสาคัญขององค์กรตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ (ขั้นตอนที่ 1+2) ภาครัฐในภาพรวมของจังหวัดได้แล้วเสร็จ โดยครอบคลุมทุกส่วนราชการประจาจังหวัดที่ร่วมดาเนินการ  จัดตั้งคณะทางานดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัด* และทบทวนแผนดาเนินการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัด (Roadmap) ที่จัดทาแล้วเสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ให้มีความ เหมาะสมและสอดคล้องกับสิงที่จงหวัดจะดาเนินการต่อไป โดยต้องได้รับความเห็นชอบจาก ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ ่ ั ขั้นตอนที่ ระดับ 1 ผู้บริหารที่ได้รับมอบหมาย 1 (ขั้นตอนที่ 1)  จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของ จังหวัดและชี้แจงถึงการดาเนินการของจังหวัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 รวมทังสิ่งที่จะดาเนินการต่อไปเกี่ยวกับการ ้ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้กับผู้บริหารและบุคลากรของจังหวัด รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 16. องค์ประกอบของเกณฑ์ 2 ประการ ลักษณะสาคัญของ องค์กร 1. การนา 7 หมวด องค์กร 1.2 ความ 1.1 การนา 19 หัวข้อ รับผิดชอบต่อ องค์กร สังคม ก. การกาหนด ข. การควบคุมดูแล ค. การทบทวนผล 30 ประเด็นที่ควรพิจารณา ทิศทางของส่วน ให้มีการจัดการ การดาเนินการของ ราชการ ภายในที่ดี องค์กร 90 คาถาม [1] [2] รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 17. การตอบคาถาม หมวดที่ 1 – • อย่างไร (ADLI) • A – Approach 6 (อะไร และ • D – Deploy • L – Learning อย่างไร) • I – Integration • Le – Level หมวดที่ 7 • • T – Trend C – Comparison • Li - Linkage รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 18. แนวทางการประเมินองค์กรสาหรับหมวดที่ 1-6 • วิธีการที่ใช้เพื่อให้กระบวนการบรรลุผล • การใช้แนวทางเพื่อตอบสนอง • ระดับของการที่แนวทางนั้นน้าไปใช้ซ้าได้ ข้อกาหนดต่างๆ ของหัวข้อ ที่ มีความเกี่ยวข้องและสาคัญต่อส่วน และอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลและ ราชการ สารสนเทศที่เชื่อถือได้ (ซึ่งหมายถึง การ ด้าเนินการอย่างเป็นระบบ) • การใช้แนวทางอย่างคงเส้นคงวา การถ่ายทอดเพื่อ (Consistent) แนวทาง น้าไปปฏิบัติ (Approach - A) (Deployment - D) การเรียนรู้ (การ การบูรณาการ ทบทวนและ • การใช้แนวทางที่สอดคล้องไปใน แนวทางเดียวกันกับความต้องการของ (Integration - ส่วนราชการการใช้ตัวชี้วัด สารสนเทศ ปรับปรุง) และระบบการปรับปรุงที่ช่วยเสริม I) กระบวนการและหน่วยงานทั่วทั้งส่วน (Learning - L) • การปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น โดยใช้วงจรการ ราชการ ประเมิน และการปรับปรุง • แผนงาน กระบวนการ ผลลัพธ์ การ วิเคราะห์ การเรียนรู้ และการปฏิบติการ ั • การแบ่งปันความรู้จากการปรับปรุงที่ดีขึ้น มีความสอดคล้องกลมกลืนกันทุก และนวัตกรรม กับหน่วยงานและ กระบวนการและหน่วยงาน เพื่อ กระบวนการอื่นที่เกี่ยวข้องภายในส่วนราชการ สนับสนุนเป้าประสงค์ระดับองค์กร รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 19. ADLI Approach Deployment Learning Integration • the methods used to • your approach is • refining your approach • your approach is accomplish the applied in addressing through cycles of aligned with your process requirements relevant evaluation and organizational needs • the appropriateness of and important to your improvement identified in other the methods to the organization • encouraging category requirements Criteria requirements • your approach is breakthrough change • your measures, • the effectiveness of applied consistently to your approach information, and your use of the • your approach is used through innovation improvement systems methods by all appropriate • sharing of refinements are complementary • the degree to which work units and innovation with across processes and the approach is other relevant work work units repeatable and based units and processes in • your plans, processes, on reliable data and your organization results, analyses, information (i.e., learning, and actions systematic) are harmonized across processes and work units to support organization-wide goals รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 20. ประเมินการนากระบวนการและแนวทางต่างๆ ที่เป็นเลิศมาใช้ ในองค์กร โดยถามคาถามสี่ข้อ สามารถผสมผสาน บูรณา ตามกระบวนการดังกล่าว มีการนากระบวนการ องค์กรได้เกิดการเรียนรู้ การ กระบวนการดังกล่าว องค์กรได้มีการกาหนด ดังกล่าวไปใช้อย่าง และพัฒนาจากการนา เข้ากับการดาเนินงานของ แผนงาน / แนวทางในการ สม่าเสมอทั่วทั้งองค์กร กระบวนการนั้นไปใช้หรือ องค์กร และกระบวนการ นาไปใช้ที่ชัดเจนหรือยัง? หรือไม่? ยัง? อื่นๆ หรือไม่? รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 21. การประเมินองค์กรตามหมวดที่ 7 • ผลการดาเนินงานใน • แนวโน้มผลการ ปัจจุบันเทียบกับ ดาเนินงาน (อย่างน้อย เป้าหมาย สามปี) Level - Trend - Le T Linkage Compari - Li son - C • ผลการดาเนินงาน เปรียบเทียบกับองค์กร • มีการเชื่อมโยงกับ ที่มีภารกิจคล้ายคลึง ตัวชี้วัดผลต่างๆ กับ หรือเทียบเคียงได้ เกณฑ์หมวดต่างๆ รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 22. หมวดที่ 1 – 6 สาหรับคาถาม “อย่างไร?” คาถาม ยังไม่ได้มีการ A - Approach D - Deploy L - Learning I - Integrate ดาเนินการใน เรื่องนี้ รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 23. ลักษณะส้าคัญขององค์กร ทาให้เข้าใจถึงส่วนราชการและสิ่งที่ส่วนราชการนั้นเห็นว่ามีความสาคัญ ช่วยในการระบุข้อมูลสาคัญที่อาจขาดหายไป และทาให้เกิดการมุ่งเน้นที่ ผลสาเร็จของกระบวนการ และผลลัพธ์การดาเนินการ เป็นจุดเริ่มต้นที่เหมาะสมในการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง หาก พบว่า เรื่องใดมีข้อมูลไม่เพียงพอหรือข้อมูลขัดแย้งกัน ส่วนราชการ สามารถนาเรื่องนั้นไปจัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อแก้ไขปรับปรุง โดยยังไม่ ต้องประเมินตนเองต่อไป รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 24. ลักษณะสาคัญขององค์กร 1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐาน ข. ความสัมพันธ์ ก. สภาพการ ข. ความท้าทาย ค. ระบบการ ภายในและภายนอก เชิงยุทธศาสตร์ ปรับปรุงผลการ ของส่วนราชการ องค์กร แข่งขัน และกลยุทธ์ ดาเนินการ • บทบาทหน้าที่ • การกากับดูแลตนเอง • สภาพการแข่งขัน • ความท้าทายตาม • แนวทางการ • วิสัยทัศน์ ค่านิยม ภายในและภายนอก ภารกิจ ปรับปรุงผล • ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง • ลักษณะโดยรวมของ • ปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อ • ความท้าทายด้าน การดาเนินการ • ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ บุคคลากร ความสาเร็จ ทรัพยากรบุคคล ส่วนเสีย • แนวทางการ • เทคโนโลยีและ • ข้อมูลการเปรียบเทียบ เรียนรู้ขององค์กร อุปกรณ์ รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 25. ลักษณะสาคัญขององค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร 1. ลักษณะองค์กร ข. ความสัมพันธ์ภายในและ ก. สภาพการ ข. ความท้าทายเชิง ค. ระบบการปรับปรุงผล ภายนอกองค์กร แข่งขัน ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ การดาเนินการ ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 2.1 วิสัยทัศน์ของส่วนราชการคืออะไร (#) 2.2 เปูาประสงค์หลักของส่วนราชการคืออะไร (#) 2.3 วัฒนธรรมในส่วนราชการคืออะไร 1.1 พันธกิจหรือหน้าที่ตามกฎหมายของส่วนราชการคืออะไรบ้าง (#) 2.4 ค่านิยมของส่วนราชการทีกาหนดไว้คืออะไร ่ 3. ลักษณะโดยรวมของบุคลากรในส่วนราชการ 1.2 มีแนวทางและวิธการอย่างไรในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ (#) ี เป็นอย่างไร เช่น ระดับการศึกษา อายุ สายงาน ระดับตาแหน่ง ข้อกาหนดพิเศษในการปฎิบติงาน ั ผู้รบบริการ ั แนวทางและวิธีการให้บริการ เป็นต้น (ให้ใช้ข้อมูลบุคลากรของส่วนราชการ ณ 1. …………………………………….. 1.……………………………………….. วันที่ 1 ตุลาคม 2549) (#) 2.………………………………………… 4. ส่วนราชการมีเทคโนโลยี อุปกรณ์ และสิง ่ 2.1 ………………………………………….. 2. …………………………………………. อานวยความสะดวกทีสาคัญอะไรบ้าง ในการ ่ …………………………………………. ให้บริการและการปฏิบติงาน (#) ั 5. ส่วนราชการดาเนินการภายใต้กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับที่สาคัญอะไรบ้าง (#)
  • 26. ลักษณะสาคัญขององค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร 1. ลักษณะองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐาน ก. สภาพการ ข. ความท้าทายเชิง ค. ระบบการปรับปรุงผล ของส่วนราชการ แข่งขัน ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ การดาเนินการ ข. ความสัมพันธ์ภายใน และภายนอกองค์กร 6. โครงสร้างองค์กรและวิธการจัดการทีแสดงถึงการกากับดูแลตนเองที่ดเป็นเช่นใด ี ่ ี 7. ส่วนราชการหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการหรือส่งมอบงาน 8.1 กลุ่มผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักของส่วนราชการ ต่อกันมีหน่วยงานใดบ้าง มีบทบาทอย่างไรในการปฏิบัติงานร่วมกัน (#) คือใครบ้าง (#) -ข้อกาหนดที่สาคัญในการปฏิบัติงานร่วมกันมีอะไรบ้าง 8.2 กลุ่มผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเหล่านี้มีความต้องการ -มีแนวทางและวิธีการสื่อสารระหว่างกันอย่างไร และความคาดหวังที่สาคัญอะไรบ้าง (#) 8.3 แนวทางและวิธีการสื่อสารระหว่างกันคืออะไร (#) ส่วนราชการ / บทบาทหน้าที่ ข้อกาหนดที่สาคัญ แนวทางและ แนวทางและ ความต้องการ/ องค์กรที่เกี่ยวข้อง ในการปฏิบัติ ในการปฏิบัติงาน วิธีการสื่อสาร กลุ่มผู้รับบริการ บริการที่ให้ วิธีการสื่อสาร ความคาดหวัง ร่วมกัน ร่วมกัน ระหว่างกัน ระหว่างกัน แนวทางและ ความต้องการ/ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย บริการที่ให้ วิธีการสื่อสาร ความคาดหวัง ระหว่างกัน
  • 27. ลักษณะสาคัญขององค์กร 1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐาน ข. ความสัมพันธ์ภายใน ของส่วนราชการ และภายนอกองค์กร ข. ความท้าทายเชิง ค. ระบบการปรับปรุงผล ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ การดาเนินการ ก. สภาพการแข่งขัน 9.1 สภาพการแข่งขันทั้งภายในและภายนอกประเทศของส่วนราชการเป็นเช่นใด 9.2 ประเภทการแข่งขัน และจานวนคูแข่งขันในแต่ละประเภทเป็นเช่นใด ่ 9.3 ประเด็นการแข่งขันคืออะไร และผลการดาเนินการปัจจุบนในประเด็นดังกล่าวเมื่อ ั เปรียบเทียบกับคู่แข่งเป็นอย่างไร 10.1 ปัจจัยสาคัญที่ทาให้สวนราชการประสบความสาเร็จเมือเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันคืออะไร ่ ่ 10.2 ปัจจัยแวดล้อมที่เปลียนแปลงไปซึ่งมีผลต่อสภาพการแข่งขันของส่วนราชการคืออะไร ่ 11. ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและข้อมูลเชิงแข่งขันมีแหล่งข้อมูลอยูทใดบ้าง ่ ี่ 12. ข้อจากัดในการได้มาซึงข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ และข้อมูลเชิงแข่งขัน ่ มีอะไรบ้าง (ถ้ามี)
  • 28. ลักษณะสาคัญขององค์กร 1. ลักษณะองค์กร 2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐาน ข. ความสัมพันธ์ภายใน ของส่วนราชการ และภายนอกองค์กร ก. สภาพการ แข่งขัน ข. ความท้าทายเชิง 13. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการคืออะไร (#) ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ - ความท้าทายตามพันธกิจ - ความท้าทายด้านปฏิบัติการ - ความท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล ค. ระบบการปรับปรุงผล การดาเนินการ 14. แนวทางและวิธีการในการปรับปรุงประสิทธิภาพของ ส่วนราชการ เพื่อให้เกิดผลการดาเนินการทีดีอย่าง ่ ต่อเนื่องมีอะไรบ้าง (#) 15. ภายในองค์กรมีแนวทางในการเรียนรู้ขององค์กรและมี การแลกเปลี่ยนความรูอย่างไร (#) ้
  • 29. หมวด 1 การนาองค์กร 1.1 การนาองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกาหนด ข. การกากับ ค. การทบทวน ก. ความ ข. การดาเนินการ ค. การให้การ ทิศทาง ผลการดาเนินการ รับผิดชอบ อย่างมี สนับสนุนต่อ ของส่วนราชการ ดูแลตนเองที่ดี ของส่วนราชการ ต่อสาธารณะ จริยธรรม ชุมชนที่สาคัญ •การกาหนด •ความโปร่งใส •การทบทวน •การดาเนินการ •การดาเนินการ •การสนับสนุน วิสัยทัศน์ ค่านิยม ตรวจสอบได้ ผลการดาเนินการ กรณีที่การ อย่างมีจริยธรรม และสร้างความ ทิศทาง ผลการ ปฏิบัติงานมี เข้มแข็งให้แก่ ดาเนินการที่ •ความรับผิดชอบ •การนาผลมา ผลกระทบ •การวัดและการ ชุมชนที่สาคัญ คาดหวัง และการ ปรับปรุงส่วน ต่อสังคม ตรวจติดตาม •การปกป้อง ราชการ การมีจริยธรรม ถ่ายทอดไปสู่การ ผลประโยชน์ ปฏิบัติ •การดาเนินการ องค์กร ของประเทศชาติ ต่อความกังวล •การสร้าง ของสาธารณะ บรรยากาศการให้ อานาจตัดสินใจ นวัตกรรมและ ความคล่องตัว รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 30. หมวดที่ 1 สาหรับคาถาม “อย่างไร?” คาถาม ยังไม่ได้มีการ A - Approach D - Deploy L - Learning I - Integrate ดาเนินการในเรื่อง นี้ ผู้บริหารของส่วน ได้มีการกาหนดค่านิยมที่ ได้มีการแถลงค่านิยม ได้มีการทบทวน ได้มีการสื่อสาร ราชการได้กาหนดวิธี พึงประสงค์สาหรับ และประชาสัมพันธ์ ค่านิยมอย่างสม่าเสมอ ค่านิยมขององค์กรไป ปฏิบัติเพื่อให้ส่วน บุคลากรในหน่วยงาน ให้ทุกคนในองค์กร โดยนาข้อมูลจากผู้มี ให้ผมีส่วนเกี่ยวข้อง ู้ ราชการมีการ โดยในค่านิยมดังกล่าวได้ ทราบและปฏิบัติตาม ส่วนเกี่ยวข้องเข้ามา ได้ทราบ พร้อมทั้งใน ดาเนินการอย่างมี มีแนวเรื่องจริยธรรมไว้ เพิ่มเติม การสารวจความพึง จริยธรรม อย่างไร ด้วย พอใจได้สารวจว่าเมื่อ ผู้มส่วนเกี่ยวข้อง ี ปฏิสัมพันธ์กับ บุคลากร บุคลากร ปฏิบัติตามค่านิยม หรือไม่ ผู้บริหารของส่วน มีการประเมินผลการ ราชการดาเนินการ ดาเนินงานตามคารับรอง อย่างไรในการ การปฏิบัติราชการเป็น ทบทวนผลการ ประจาทุกปี ดาเนินการของส่วน ราชการ รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 31. หมวด 1 การนาองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 1.1 การนาองค์กร ก. ความรับผิดชอบ ข. การดาเนินการอย่างมี ค. การให้การสนับสนุนต่อ ต่อสาธารณะ จริยธรรม ชุมชนที่สาคัญ ข. การกากับ ดูแล ค. การทบทวนผลการ ตนเองที่ดี ดาเนินการของส่วนราชการ ก. การกาหนดทิศทาง ของส่วนราชการ 1.1 ผู้บริหารของส่วนราชการดาเนินการอย่างไรในการกาหนดในเรื่องวิสยทัศน์ เปูาประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ั ค่านิยม และผลการดาเนินการที่คาดหวังไว้ รวมทั้งการถ่ายทอดให้บุคลากรในส่วนราชการนาไปปฏิบัติ 1.2 ในการกาหนดผลการดาเนินการดังกล่าว ผู้บริหารของส่วนราชการได้คานึงถึงความต้องการหรือผลประโยชน์ ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้สวนเสีย โดยยึดหลักความโปร่งใสและความชัดเจนอย่างไร ่ 1.3 ผู้บริหารของส่วนราชการดาเนินการอย่างไรในการสือสารในเรื่องดังกล่าวแบบ 2 ทิศทางอย่างชัดเจนและเป็น ่ รูปธรรมไปสู่บุคลากรทุกคน รวมทังผู้รับบริการและผูมีส่วนได้สวนเสียที่สาคัญ โดยผ่านระบบการนาองค์กร ้ ้ ่ 2. ผู้บริหารของส่วนราชการดาเนินการอย่างไรในการสร้างบรรยากาศ - เพื่อให้เกิดการกระจายอานาจในการตัดสินใจ นวัตกรรม และความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน - เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ทังในระดับส่วนราชการและผู้ปฏิบติงาน ้ ั - เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรทางานอย่างถูกต้องตามกฎระเบียบและหลักจริยธรรม รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 32. หมวด 1 การนาองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 1.1 การนาองค์กร ก. ความรับผิดชอบ ข. การดาเนินการอย่างมี ค. การให้การสนับสนุนต่อ ต่อสาธารณะ จริยธรรม ชุมชนที่สาคัญ ก. การกาหนดทิศทาง ค. การทบทวนผลการ ของส่วนราชการ ดาเนินการของส่วนราชการ ข. การกากับ ดูแล ตนเองที่ดี 3. ในการกากับดูแลตนเองที่ดี ส่วนราชการและผู้บริหารดาเนินการอย่างไรในเรื่องที่สาคัญต่อไปนี้ - ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัตงานของส่วนราชการ ิ - ความรับผิดชอบด้านการเงิน และการปูองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ -การปกปูองผลประโยชน์ของประเทศและผูมีส่วนได้สวนเสีย ้ ่ รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 33. หมวด 1 การนาองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 1.1 การนาองค์กร ก. ความรับผิดชอบ ข. การดาเนินการอย่างมี ค. การให้การสนับสนุนต่อ ต่อสาธารณะ จริยธรรม ชุมชนที่สาคัญ ก. การกาหนดทิศทาง ข. การกากับ ดูแล ของส่วนราชการ ตนเองที่ดี ค. การทบทวนผลการ ดาเนินการของส่วนราชการ 5.1 ตัวชีวัดสาคัญที่ผบริหารของส่วนราชการทบทวน ้ ู้ เป็นประจามีอะไรบ้าง (#) 4.1 ผู้บริหารของส่วนราชการดาเนินการอย่างไรในการทบทวน 5.2 ผลการทบทวนทีผ่านมาเป็นอย่างไร (#) ่ ผลการดาเนินการของส่วนราชการ (#) 6.1 ผู้บริหารของส่วนราชการมีวิธีการอย่างไรในการ 4.2 ผู้บริหารของส่วนราชการใช้ผลการประเมินและทบทวน นาผลการทบทวนดังกล่าวมาจัดลาดับความสาคัญ ดังกล่าวมาประเมินความสาเร็จของการบรรลุเปูาประสงค์ระยะ เพื่อให้เกิดการปรับปรุงทังอย่างต่อเนื่องและอย่างก้าว ้ สั้นและระยะยาวของส่วนราชการอย่างไร (#) กระโดด รวมทังใช้เป็นโอกาสในการสร้างนวัตกรรม ้ 4.3 ผู้บริหารของส่วนราชการนาผลการประเมินและทบทวนนี้ 6.2 ผู้บริหารของส่วนราชการใช้วิธีการอย่างไรในการ มาใช้ในการประเมินความสามารถในการตอบสนองความ นาผลการทบทวนไปปรับปรุงและนาไปสู่การปฏิบัตทั่ว ิ ต้องการที่เปลียนแปลงไปของส่วนราชการอย่างไร ่ ทั้งส่วนราชการ รวมถึงผู้มีสวนเกี่ยวข้อง ่ 7.1 ผู้บริหารของส่วนราชการในแต่ละระดับได้รับการประเมินผลงานอย่างไร (#) 7.2 ส่วนราชการนาผลจากการประเมินผลงานของผู้บริหารไปปรับปรุงระบบการนาองค์กรของผู้บริหารทุกระดับอย่างไร
  • 34. หมวด 1 การนาองค์กร 1.1 การนาองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกาหนดทิศทาง ข. การกากับ ดูแล ค. การทบทวนผลการ ของส่วนราชการ ตนเองที่ดี ดาเนินการของส่วนราชการ ข. การดาเนินการอย่างมี ค. การให้การสนับสนุนต่อ จริยธรรม ชุมชนที่สาคัญ ก. ความรับผิดชอบ ต่อสาธารณะ 8. ในกรณีที่การบริการและการปฏิบติงานมีผลกระทบในทางลบต่อสังคมส่วน ั ราชการดาเนินการอย่างไร 9. กระบวนการ เปูาประสงค์ ตัวชีวัด และเปูาหมายของส่วนราชการในการ ้ จัดการกับผลกระทบในทางลบทีเกิดขึ้นคืออะไร ่ 10.1 ส่วนราชการได้คาดการณ์ลวงหน้าถึงผลกระทบในทางลบของการบริการ ่ และการปฏิบติงานที่อาจเกิดขึ้นต่อสังคม ทังในปัจจุบันและอนาคตอย่างไร ั ้ 10.2 ส่วนราชการมีการเตรียมการเชิงรุกในประเด็นดังกล่าวอย่างไร รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 35. หมวด 1 การนาองค์กร 1.1 การนาองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกาหนดทิศทาง ข. การกากับ ดูแล ค. การทบทวนผลการ ของส่วนราชการ ตนเองที่ดี ดาเนินการของส่วนราชการ ก. ความรับผิดชอบ ต่อสาธารณะ ข. การดาเนินการ อย่างมีจริยธรรม 11. ผู้บริหารของส่วนราชการได้กาหนดวิธปฏิบัติเพือให้ส่วนราชการมีการ ี ่ ดาเนินการอย่างมีจริยธรรม อย่างไร ค. การให้การสนับสนุน 12.1 ส่วนราชการดาเนินการอย่างไรในการสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็ง ต่อชุมชนที่สาคัญ ให้แก่ชมชนทีสาคัญต่อส่วนราชการ ุ ่ 12.2 ชุมชนใดที่สาคัญกับส่วนราชการของท่าน และมีวธีเลือกชุมชนดังกล่าวอย่างไร ิ 12.3 มีวิธีการอย่างไรในการเลือกกิจกรรมทีจะสนับสนุนชุมชน ่ 12.4 ผู้บริหารของส่วนราชการและบุคลากรมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาชุมชน ดังกล่าวอย่างไร รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 36. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.1 การจัดทายุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ ก. กระบวนการ ข. เป้าประสงค์ ก. การจัดทา ข. การคาดการณ์ จัดทายุทธศาสตร์ เชิงยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการและ และกลยุทธ์ และกลยุทธ์ การนาแผนไปปฏิบัติ ผลการดาเนินการ •การวางแผนยุทธ- •เป้าประสงค์เชิงยุทธ- •การจัดทาแผนปฎิบัติการ •การคาดการณ์ผลการ ศาสตร์และกลยุทธ์ ศาสตร์และกรอบเวลา การนาแผนไปปฎิบัติ ดาเนินการ ในการบรรลุ รวมทั้งการจัดสรร •การนาปัจจัยที่ •เกณฑ์เปรียบเทียบ ทรัพยากร เกี่ยวข้องมา •ความสมดุลระหว่างความ ที่สาคัญต่างๆ ประกอบการวางแผน ต้องการของผู้มีส่วนได้ •การตอบสนองต่อความ ส่วนเสียทั้งหมด เปลี่ยนแปลง •แผนหลักด้านทรัพยากร บุคคล รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 37. หมวดที่ 2 สาหรับคาถาม “อย่างไร?” คาถาม ยังไม่ได้มีการ A - Approach D - Deploy L - Learning I - Integrate ดาเนินการในเรื่อง นี้ ส่วนราชการมีวิธีการ มีระบบในการกาหนด โครงการและ ในทุกๆ ปีจะมีระบบ มีการนาข้อมูล อย่างไรในการทาให้ ตัวชี้วัดผลผลิตและ แผนปฏิบัติการ ในการทบทวน สารสนเทศมา ระบบการวัดผลสาเร็จ ผลลัพธ์ที่สาคัญของ ทั้งหมดของหน่วยงาน ตัวชี้วัดของ เปรียบเทียบ ของแผนปฏิบัติการ แผนปฏิบัติการและ มีการกาหนดผลผลิต แผนปฏิบัติการและ ความสาเร็จในการ โดยรวม เสริมให้ส่วน โครงการต่างๆ โดย ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด โครงการต่างๆ อย่าง ดาเนินงานของแต่ละ ราชการมุ่งไปใน เกิดขึ้นในช่วงเดียวกับ ความสาเร็จ และค่า สม่าเสมอ พร้อมทั้ง โครงการ แนวทางเดียวกัน กระบวนการวางแผน เป้าหมายที่ชัดเจน ปรับปรุงตัวชี้วัดอย่าง ต่อเนื่อง หากมีการ ยังไม่มีระบนใน เปลี่ยนแปลงที่สาคัญ การติดตามการ ในการให้บริการ เปลี่ยนแปลงที่ รวมทั้งผู้รับบริการ สาคัญ และผู้มส่วนได้ส่วน ี เสีย ส่วนราชการจะ ดาเนินการอย่างไรเพื่อ ตอบสนองต่อการ รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย