SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  43
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 8 
กลยุทธ์การเลือก ทาเลที่ตั้ง สถานประกอบการ 
จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ 
แปลถูกต้องตามลิขสิทธ์ โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ 
ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธ์แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น
เนื้อหา 
ความสาคัญเชิงกลยุทธ์ของการเลือก ทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ 
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือก ทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ 
วีธีการประเมินทางเลือกทาเลที่ตั้ง สถานประกอบการ 
กลยุทธ์การเลือกทาเลที่ตั้งสถาน ประกอบการด้านการบริการ 
บทสรุป 
1
กรณีศึกษา การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน โดยการเลือกทาเลที่ตั้งของFedEx 
•สถานที่ตั้งของบริษัท ในการขนส่งสินค้าข้ามคืนนั้น จะตรง ตามแบบแผนของศูนย์กลางของเส้นทางการบินซึ่งเป็น แนวคิดของ Fred Smith ผู้ก่อตั้งและเป็น CEO ของบริษัท •โดยมีศูนย์กลางของเส้นทางการบินแห่งแรกที่เมือง Memphis รัฐTennessee ประเทศสหรัฐอเมริกา •ศูนย์กลางเส้นทางการบินในยุโรปที่เมือง Paris ประเทศ ฝรั่งเศส และในเอเชียที่เมือง Subic Bay ประเทศฟิลิปปินส์ 
2
ทาไมบริษัท FedEx จึงเลือกเมืองMemphisเป็นที่ตั้งของสานักงานใหญ่ในการกระจายสินค้า? 
•เมือง Memphis ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ สหรัฐอเมริกา 
•มีสภาพอากาศที่เอื้ออานวยต่อการขนส่งตลอดทั้งปี ทาให้เกิดความปลอดภัยต่อการขนส่งด้วยเครื่องบิน 
3
บริษัท Fed Ex 
•บริษัทจะเน้นบริการกับเครื่องบินในระยะไกลและแวะ ตามเมืองต่างๆ 
•มีการจัดตารางการบินที่บรรทุกพัสดุในแต่ละคืนอย่าง เหมาะสม 
•เพื่อเป็นการประหยัดต้นทุน •โดยเชื่อว่าระบบศูนย์กลางเส้นทางการบินที่เมือง Memphis จะช่วยลดความผิดพลาดในการส่งสินค้าและ ลดความล่าช้าจากการเปลี่ยนเส้นทางของเครื่องบิน เนื่องจากมีการควบคุมตั้งแต่การขนส่งพัสดุจากจุดรับ มอบจนถึงมือลูกค้า 
4
ความสาคัญเชิงกลยุทธ์ของ การเลือกทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ 
กระบวนการตัดสินใจเลือกทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ ของกิจการ 
ที่ตั้งสถานประกอบการ มีผลโดยตรงต่อ 
•ต้นทุนคงที่และต้นทุนแปรผัน 
•ความเสี่ยงโดยรวมและผลกาไรของบริษัท 
กระบวนการตัดสินใจคัดเลือกทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ นั้นจะขึ้นอยู่กับประเภทของการดาเนินธุรกิจ 
กลยุทธ์ในการเลือกที่ตั้งของคลังสินค้านั้น จะพิจารณาทั้งใน เรื่องของต้นทุนและความรวดเร็วในการจัดส่งสินค้าให้กับ ลูกค้า 
5
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกทาเล ที่ตั้งสถานประกอบการ 
เศรษฐกิจทางการตลาด 
การติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศที่ดีขึ้น 
การเดินทางและการขนส่งที่รวดเร็ว และมีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น 
การมีสภาพคล่องของเงินทุนระหว่างประเทศ 
ความแตกต่างของต้นทุนแรงงานที่เพิ่มมากขึ้น 
6
หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกทาเล ที่ตั้งสถานประกอบการ 
 การตัดสินใจระดับประเทศ 
1. ความเสี่ยงทางการเมือง กฎระเบียบทางราชการ ทัศนคติและ แรงจูงใจ 
2. วัฒนธรรม และสภาพเศรษฐกิจ 
3. ทาเลที่ตั้งของตลาด 
4. แรงงาน ทัศคติ ผลิตภาพ และต้นทุน 
5. วัตถุดิบ การติดต่อสื่อสาร และพลังงาน 
6. อัตราแลกเปลี่ยนและความเสี่ยงของ มูลค่าเงิน 7
การตัดสินใจระดับภูมิภาค 
1. ความต้องการขององค์การ 
2. ความน่าสนใจของพื้นที่ (วัฒนธรรม ภาษี หรือภูมิอากาศ เป็นต้น) 
3. แรงงาน ต้นทุน ทัศนคติที่มีต่อสหภาพ 
4. ต้นทุนและความง่ายในการจัดหา สาธารณูปโภค 
5. กฎข้อบังคับทางด้านสิ่งแวดล้อมของรัฐและ เมือง 
6. แรงจูงใจจากภาครัฐ 
7. ความใกล้แหล่งวัตถุดิบและลูกค้า 
8. ต้นทุนจากการซื้อหรือเช่าที่ดินและการสร้าง สถานประกอบการ8
การตัดสินใจระดับพื้นที่ 
1. ขนาดและราคาของพื้นที่ 
2. ระบบขนส่งทางอากาศ ทางบก และทางน้า 
3. เงื่อนไขและข้อกาหนดของพื้นที่ 
4. ความใกล้กับผู้จัดหาวัตถุดิบ และสิ่งอานวยความสะดวก 
5. มาตรการและข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อม 9
ผลิตภาพจากแรงงาน (Labor productivity) 
จากกรณีศึกษาของQuality Coils พบว่า การให้ ความสาคัญทางด้านค่าจ้างแรงงาน จะต้องคานึงถึง ความสามารถของแรงงานในพื้นที่ด้วย โดยทาการ เปรียบเทียบระหว่างผลิตภาพที่ได้กับต้นทุนค่าจ้างที่ต้อง เสียไป 
10
ในอดีต ประธาน Quality Coils ได้ตระหนักถึงค่าจ้าง แรงงานที่ต่าถ้าจ้างชาวเม็กซิกันเป็นคนดาเนินการผลิตสินค้า เขาจึงปิดโรงงานในรัฐ Connecticut และไปเปิดโรงงานแห่งใหม่ ในเมือง Juarez ประเทศเม็กซิโก ซึ่งเขาหวังว่าจะทากาไรได้ เป็นอย่างมาก ในระหว่างดาเนินกิจการนั้น เขาเกือบล้มละลาย พนักงานส่วนใหญ่ละเลยต่อการทางาน ผลิตภาพต่าลง และปัญหาของเรื่องระยะทาง โดยท้ายสุดเขาจึงตัดสินใจปิด โรงงานลง จึงกลับไปเปิดโรงงานในประเทศสหรัฐอเมริกา และจ้างคนงานที่เคยทางานให้กับเขาอีกครั้งหนึ่ง 
Quality Coils ยกเลิกกิจการ ในประเทศเม็กซิโก 
11
ต้นทุนค่าจ้างแรงงานต่อวัน = ต้นทุนต่อหน่วย ผลิตภาพต่อวัน 
Quality Coils ต้องจ่ายค่าแรง 70 ดอลลาร์สหรัฐต่อวัน เพื่อ ผลิตสินค้าให้ได้ 60 หน่วย ในขณะที่บริษัทต้องจ่ายค่าแรง 25 ดอลลาร์สหรัฐต่อวัน ในการผลิตสินค้า 20 หน่วย เมื่อเปรียบเทียบระหว่างค่าจ้างและผลิตภาพต่อวัน จะได้ผลดังนี้ กรณีที่ 1: การผลิตสินค้าที่โรงงานในรัฐ Connecticut ประเทศ สหรัฐอเมริกา 
ค่าจ้าง 70 ดอลลาร์สหรัสต่อวัน = 70 = 1.17 ดอลลาร์สหรัฐต่อหน่วย ผลิตภาพ 60 หน่วยต่อวัน60 
ผลิตภาพจากแรงงาน (Labor productivity) 12
กรณีที่ 2 : การผลิตสินค้าที่โรงงานในเมือง Juarez ประเทศเม็กซิโก 
ค่าจ้าง 25 ดอลลาร์สหรัสต่อวัน = 25 = 1.25 ดอลลาร์สหรัฐต่อหน่วย ผลิตภาพ 20 หน่วยต่อวัน20 
การผลิตสินค้าของบริษัท Quality Coils ในประเทศ สหรัฐอเมริกานั้น จะมีต้นทุนที่ต่ากว่า ถึงแม้ว่าคนงานชาว เม็กซิกันจะมีค่าจ้างแรงงานที่ถูกว่า แต่การฝึกอบรมและการศึกษา ที่อยู่ในระดับต่า ทักษะและนิสัยการทางานที่ไม่มีประสิทธิภาพนั้น ก็ไม่สามารถที่จะทาให้ผลิตภาพของบริษัทเพิ่มขึ้นได้ ดังนั้นในการ พิจารณาคัดเลือกพนักงานนั้น จะต้องพิจารณาทั้งค่าจ้างแรงงาน และคุณภาพของพนักงานควบคู่กันไป 
ผลิตภาพจากแรงงาน (Labor productivity) 13
บางบริษัทได้รับผลประโยชน์จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ความเสี่ยงและความไม่แน่นอนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราก็ เป็นปัจ จัยสาคัญอย่างหนึ่งในการพิจารณาเลือกทาเลที่ตั้ง สถานประกอบการ 
การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของค่าเงินในแต่ละประเทศขึ้นอยู่กับ สภาพเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ ซึ่งบางครั้ง สถาน ประกอบการในช่วงปี ค.ศ.2006 อาจจะสร้างกาไรให้กับบริษัท ผู้ดาเนินการ แต่ในอนาคตอีก 5 ปีข้างหน้า ที่ตั้งแห่งนั้นอาจจะ ทาให้บริษัทผู้ดาเนินการประสบความล้มเหลวในการทาธุรกิจก็ เป็นได้ 
ความเสี่ยงทางด้านอัตราแลกเปลี่ยน เงินตรา 
14
ต้นทุนในการตั้งสถานประกอบการสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1.ต้นทุนที่คิดค่าได้ (Tangible costs) คือ ต้นทุนสามารถระบุ และวัดได้ ตัวอย่างเช่น 
•ค่าสาธารณูปโภคต่างๆ 
•ค่าแรงงาน 
•ค่าวัตถุดิบ 
•ภาษี 
•ค่าเสื่อมราคา 
•หรือค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่แผนกบัญชีและฝ่า ยบริหาร สามารถระบุได้ 
•ค่าขนส่งวัตถุดิบ 
•ค่าขนส่งสินค้า 
•ค่าก่อสร้างสถานประกอบการ 
ต้นทุน 
15
ต้นทุนในการตั้งสถานประกอบการสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 2.ต้นทุนที่คิดค่าไม่ได้ (Intangible cost) เป็นต้นทุนที่ยากต่อ การระบุในเชิงตัวเลข เช่น 
•คุณภาพของการศึกษา 
•สิ่งอานวยความสะดวกทางการขนส่งที่รัฐบาล จัดเตรียมให้ 
•ทัศนคติของชุมชนที่มีต่อโรงงานและบริษัท 
•คุณภาพและทัศนคติของพนักงาน 
•ตัวแปรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิต เช่น สภาพภูมิอากาศที่อาจมีผลต่อการคัดเลือก แรงงาน เป็นต้น 
ต้นทุน 
16
ปัจ จัยที่สามารถมีผลต่อการตัดสินใจของบริษัทในการเลือก ทาเลที่ตั้งใหม่ ได้แก่ 
•ทัศนคติของชาติ รัฐ หรือชุมชน 
•ทรัพย์สินส่วนบุคคลและทรัพย์สินทางปัญ ญา 
•การจัดเขตมลภาวะ 
•ความมั่นคงของการจ้างงาน 
•วัฒนธรรมของแต่ละประเทศ 
ทัศนคติที่มีต่อการทางานอาจจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับแต่ละ ประเทศ ภูมิภาค ขนาดของเมือง วัฒนธรรมที่หลากหลายจะเป็น ตัวกาหนดตารางการผลิตและการส่งมอบสินค้าที่แตกต่างกัน ออกไป ดังนั้นผู้จัดการฝ่า ยปฏิบัติการจึงต้องเผชิญกับความท้าทาย ในเรื่องของการจัดการโซ่อุปทาน 
ทัศนคติ 
17
หลายบริษัทได้ให้ความสาคัญเรื่องของทาเลที่ตั้งที่จะต้อง อยู่ใกล้กับลูกค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานประกอบการที่เกี่ยวข้อง กับการให้บริการ สาหรับโรงงานอุตสาหกรรมก็ควรที่ตั้งอยู่ใกล้กับ ลูกค้าเช่นเดียวกันเพราะจะทาให้ง่ายและประหยัดค่าใช้จ่ายในการ ขนส่งสินค้า 
นอกจากนี้ ผู้จัดหาวัตถุดิบที่ต้องการที่จะอยู่ใกล้กับผู้ใช้ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการส่งมอบวัตถุดิบ และการผลิตที่ ทันเวลา 
ตัวอย่างCoca-Cola ซึ่งมีวัตถุดิบที่สาคัญ คือ น้า ดังนั้นบริษัทได้ สร้างโรงงานในหลายๆ เมืองทั่วประเทศ เพื่อลดการขนส่ง สินค้า เนื่องจากขวดน้าอัดลมนั้น ง่ายต่อการแตกร้าว เสียหาย และเมื่อบรรจุลงในลังจะมีน้าหนักมาก 
ความใกล้แหล่งตลาด 
18
ปัจ จัยที่สถานประกอบการนามาพิจารณาเพื่อเลือกที่ตั้งให้อยู่ ใกล้แหล่งวัตถุดิบและผู้จัดหาวัตถุดิบได้แก่ 
1.วัตถุดิบบางประเภทเน่าหรือเสียง่าย เช่น โรงงานผลิตอาหาร สด และอาหารทะเลแช่แข็ง 
2.ต้นทุนในการขนส่งที่ประหยัด เช่น โรงงานผลิตเหล็ก เนื่องจากวัตถุดิบมีขนาดใหญ่และหนัก 
3.วัตถุดิบที่มีขนาดใหญ่และต้องการแปรรูปเป็นสินค้าที่มีขนาด เล็กลง เช่น โรงเลื่อยไม้ที่ตั้งอยู่ใกล้กับป่า ไม้ เป็นต้น 
ความใกล้ผู้จัดหาวัตถุดิบ 
19
Alabama ได้สร้างแรงจูงใจให้กับบริษัท Mercedes-Benz ในการเข้ามาสร้างโรงงานแห่งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยรัฐ Alabama ได้เสนอเงินจูงใจให้กับทางบริษัทเป็นจานวน ถึง 235 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 
บริษัท Honda ได้มาเปิดโรงงานห่างจากโรงงาน Mercedes-Benz 70 ไมล์ เพื่อผลิตรถยนต์ ขณะเดียวกัน บริษัท Toyota ก็ได้เปิดโรงงานแห่งใหม่ใกล้เมือง Huntsville ซึ่งผลิตเครื่องยนต์ ทั้งบริษัท Honda และ Toyota ต่างได้รับ เงินจูงใจจากทางภาครัฐเช่นเดียวกัน 
รัฐ Alabama จึงมีชื่อเสียงในฐานะเป็นศูนย์กลางแหล่ง ผลิตรถยนต์ที่มีจานวนมากที่สุดทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา 
แรงจูงใจมหาศาลที่ทาให้รัฐ Alabama เป็นแหล่งผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์ 
20
บริษัทหลายแห่งเลือกที่จะตั้งอยู่ใกล้กับบริษัทคู่แข่ง หรือ ที่เรียกว่า เครือข่ายวิสาหกิจ (Clustering) เนื่องจากในบริเวณ แหล่งที่ตั้งนั้นมีทรัพยากรที่สาคัญอยู่ เช่น 
•ทรัพยากรธรรมชาติ 
•ทรัพยากรทางด้านข่าวสาร ข้อมูล 
•ทรัพยากรทางด้านเงินลงทุน 
•ทรัพยากรบุคคล 
ตัวอย่างอุตสาหกรรมการผลิตไวน์ในพื้นที่อาเภอปากช่องจังหวัด นครราชสีมา เป็นตัวอย่างของเครือข่ายวิสาหกิจที่มีแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม 
ความใกล้คู่แข่ง 
21
สามารถทาได้ 4 วิธี 
1.วิธีการให้คะแนนปัจจัย 
2.วิธีการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่ 
3.วิธีหาจุดศูนย์ดุล 
4.วิธีตัวแบบการขนส่ง 
วิธีการประเมินทางเลือกทาเลที่ตั้ง 
22
ในการพิจารณาทาเลที่ตั้งสถานประกอบการนั้น จะมี ปัจ จัยต่างๆเข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งที่เป็นปัจ จัยเชิงปริมาณและ ปัจ จัยเชิงคุณภาพ 
ปัจจัยที่มีผลต่อการพิจารณาเลือกทาเลที่ตั้ง ได้แก่ 
-ต้นทุนค่าแรง (ค่าจ้าง สหภาพแรงงาน และผลิตภาพ) 
-แรงงาน (ทัศนคติ อายุ ทักษะความรู้ และปริมาณ) 
-ความใกล้แหล่งวัตถุดิบและผู้จัดหาวัตถุดิบ 
-ความใกล้ตลาด -นโยบายภาครัฐ (แรงจูงใจ ภาษี และค่าชดเชยจากการว่างงาน) 
-ข้อกาหนดทางด้านสิ่งแวดล้อม 
วิธีการให้คะแนนปัจจัย (The Factor-Rating method) 
23
ปัจจัยที่มีผลต่อการพิจารณาเลือกทาเลที่ตั้ง ได้แก่ -สาธารณูปโภค (ไฟฟ้า น้าประปา และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับ สาธารณูปโภค) -ต้นทุนสถานที่ (ค่าที่ดิน การขยายพื้นที่ ที่จอดรถ และระบบท่อน้า ทิ้ง) -การคมนาคมขนส่ง (ทางบก ทางน้า ทางอากาศ และเส้นทางถนน ต่างๆ) -นโยบายทางด้านคุณภาพชีวิต (การศึกษาในทุกระดับ ค่าครองชีพ วัฒนธรรม และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ) 
-อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ 
-รัฐบาล (ความมั่นคง หรือเสถียรภาพของรัฐบาล) 
วิธีการให้คะแนนปัจจัย (The Factor-Rating method) 
24
วิธีการให้คะแนนปัจจัยประกอบด้วย 6 ขั้นตอน 
1.การจัดทารายการปัจ จัยหลักที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาเลือก ทาเลที่ต้องสถานประกอบการ 
2.การกาหนดน้าหนักให้กับแต่ละปัจ จัย 3.การกาหนดค่าคะแนนในแต่ละปัจ จัย (เช่น คะแนนอาจจะอยู่ ในช่วง 1 ถึง 10 หรือ 1 ถึง 100 4.การใช้ค่าคะแนนที่กาหนดไว้ในข้อที่ 3 ประเมิน และให้คะแนน กับปัจ จัยต่างๆ ในแต่ละสถานที่ตั้ง 5.การคานวณหาคะแนนน้าหนัก (Weighted scores) โดยการคูณ ค่าน้าหนักกับคะแนนที่ประเมินไว้ของแต่ละปัจจัย 
6.จัดทาข้อเสนอแนะ โดยใช้ข้อมูลจากค่าคะแนนสูงสุด และ พิจารณาถึงผลลัพธ์ในเชิงปริมาณ 
วิธีการให้คะแนนปัจจัย (The Factor-Rating method) 
25
ปัจจัย 
คะแนนที่ได้จากการประเมิน 
คะแนนเต็ม 100 
คะแนนน้าหนัก 
ค่า น้าหนัก 
ฝรั่งเศส 
เดนมาร์ก 
ฝรั่งเศส 
เดนมาร์ก 
การหาแรงงานและทัศนคติ 
.25 
70 
60 
(.25)(70) = 17.5 
(.25)(60)= 15.0 
อัตราส่วนประชากรกับรถยนต์ 
.05 
50 
60 
(.05)(50)= 2.5 
(.05)(60) = 3.0 
รายได้ต่อประชากร 
.10 
85 
80 
(.10)(85) = 8.5 
(.10)(80)= 8.0 
โครงสร้างภาษี 
.39 
75 
70 
(.39)(75) = 29.3 
(.39)(70) = 27.3 
การศึกษาและสุขภาพ 
.21 
60 
70 
(.21)(60) = 12.6 
(.21)(70) = 14.7 
รวม 
1.00 
70.4 
68.0 
ตัวอย่าง สวนสนุก Five Flags ในรัฐ Florida ประเทศสหรัฐอเมริกา 
26
ถ้าหากมีการเปลี่ยนคะแนน หรือค่าน้าหนักในแต่ ละปัจจัย ค่าคะแนนน้าหนักจะเปลี่ยนไปด้วย ทาให้ แนวทางในการตัดสินใจเลือกทาเลที่ตั้งอาจ เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นผู้จัดการควรหาวิธีการที่ สามารถวัดผลในเชิงปริมาณออกมาให้ได้อย่างชัดเจน 
วิธีการให้คะแนนปัจจัย (The Factor-Rating method) 
27
เป็นวิธีวิเคราะห์ต้นทุนค่าใช้จ่ายและปริมาณการผลิตเพื่อ การเปรียบเทียบทางเศรษฐศาสตร์ของแต่ละสถานที่ ที่นามา พิจารณา โดยการวิเคราะห์ต้นทุนคงที่ (Fixed costs) และ ต้นทุนแปรผัน (Variable costs) แล้วนาข้อมูลมาเขียนกราฟแต่ ละสถานที่ เพื่อช่วยในการคัดเลือกสถานที่ที่มีต้นทุนต่าที่สุด 
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่มี 3 ขั้นตอน ดังนี้คือ 
1.การวิเคราะห์หาต้นทุนคงที่ และต้นทุนแปรผันของแต่ละ สถานที่ 
2.การกาหนดจุดต้นทุนในแต่ละสถานที่ลงในกราฟ โดย กาหนดใช้แกน Y คือต้นทุน และแกน X คือ ปริมาณการ ผลิต 
3.การเลือกสถานที่ที่มีต้นทุนต่าที่สุด เมื่อมีปริมาณการผลิต ตามแผนที่วางไว้ 
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่ (Location Break-Even analysis) 
28
ตัวอย่าง บริษัทผู้ผลิตหัวฉีดรถยนต์แห่งหนึ่งได้พิจารณาทาเลที่ตั้ง โรงงานใหม่จาก 3 แหล่ง คือ Akron, Bowling Green, Chicago พบว่าต้นทุนคงที่ต่อปีของแต่ละเมือง คือ $30,000, $60,000, $110,000 ตามลาดับ และต้นทุนแปรผันของแต่ละ เมือง คือ $75, $45, $25 ตามลาดับ บริษัทตั้งราคาขายไว้ที่ $120 ซึ่งบริษัทคาดว่าจะผลิตหัวฉีดให้ได้ 2,000 ชิ้น ต่อปี 
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่ (Location Break-Even analysis) 
29
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่มี3 ขั้นตอน ดังนี้ 
1.การวิเคราะห์ต้นทุนคงที่ และต้นทุนแปรผันของแต่ละสถานที่ 
สูตร 
ตัวอย่าง 
ต้นทุนรวมของเมือง Bowling Green = 60,000 + (45*2,000) = $150,000 
ต้นทุนรวมของเมืองAkron = 30,000 + (75*2,000) = $180,000 
ต้นทุนรวมของเมือง Chicago = 110,000 + (25*2,000) = $160,000 
เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าเมือง Bowling Greenมีต้นทุนรวมต่าที่สุด $150,000 
ขั้นตอนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของ สถานที่ 
ต้นทุนรวม=ต้นทุนคงที่+ต้นทุนแปรผัน 
(ปริมาณที่คาดว่าจะผลิต) 
30
2.กาหนดจุดคุ้มทุนของแต่ละสถานที่ลงในกราฟโดยกาหนดให้แกน Y คือต้นทุน แกน X คือปริมาณ 
ขั้นตอนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่ 
31
3.เลือกสถานที่ที่มีต้นทุนต่าที่สุด เมื่อมีปริมาณการผลิตตามแผนที่ วางไว้ 
สูตร 
= (120*2,000) –150,000 = $90,000 ต่อปี 
หาจุดตัดบนกราฟระหว่างเมืองAkron กับ Bowling Green 
30,000 + 75(x) = 60,000 + 45(x) 
30(x) = 30,000 
X = 1,000 
หาจุดตัดบนกราฟระหว่างเมือง Bowling Green กับ Chicago 
60,000 + 45(x) = 110,000 + 25(x) 
20(x) = 50,000 
x = 2,500 
ขั้นตอนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ของสถานที่ 
กาไรที่คาดไว้ = รายได้รวม–ต้นทุนรวม 
32
ใช้สาหรับหาทาเลที่ตั้งเป็นศูนย์กระจายสินค้า เพื่อลด ต้นทุนในการกระจายสินค้าให้ต่าที่สุด ปัจ จัยในการพิจารณา ร่วมกับเทคนิคนี้ ได้แก่ ทาเลที่ตั้งของแหล่งตลาด ปริมาณหรือ จานวนสินค้าที่จัดส่งให้กับตลาด และต้นทุนค่าขนส่งสินค้า 
การคานวณหาจุดศูนย์ดุล คือ การกาหนดพิกัดใน แนวนอนและแนวตั้ง คานวณจากสมการดังต่อไปนี้ 
วิธีการหาจุดศูนย์ดุล (Center-of-Gravity method) 
33
วิธีหาจุดศูนย์ดุลนั้นใช้สมมุติฐานที่ว่า ต้นทุน ค่าใช้จ่ายเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะทางและปริมาณ สินค้าที่จะส่ง ซึ่งสถานที่ในอุดมคตินั้น จะมีน้าหนักของ ระยะทางระหว่างคลังสินค้าและร้านค้าปลีกมีค่าน้อย ที่สุด โดยดูจากจาวนตู้ขนส่งสินค้าที่ถูกจัดส่งออกไป 
วิธีการหาจุดศูนย์ดุล (Center-of-Gravity method) 
34
วัตถุประสงค์ของตัวแบบการส่ง คือ 
•เพื่อช่วยในการตัดสินใจที่จะใช้รูปแบบการขนส่งสินค้า จากแหล่งจัดส่งต่างๆ ไปยังผู้รับที่อยู่ในแต่ละที่ 
•เพื่อลดต้นทุนรวมของการผลิตและการขนส่ง ทุกๆ บริษัทที่มีเครือข่ายในการจัดส่งวัตถุดิบหรือสินค้า มักจะเผชิญกับปัญหาในเรื่องของต้นทุน 
ตัวแบบการขนส่ง (The Transportation model) 
35
ตัวอย่าง 
บริษัทผลิตรถยนต์ Volkswagen เครือข่ายที่ ซับซ้อนดังรูป ที่สาขาประเทศเม็กซิโกซึ่งรับชิ้นส่วน และส่วนประกอบมาจากสานักงานใหญ่ในประเทศ เยอรมัน จากนั้นสาขาที่ประเทศเม็กซิโกจะส่งรถยนต์ สาหรับประกอบและชิ้นส่วนไปยังสาขาที่ประเทศ ไนจีเรีย และส่งส่วนประกอบไปยังสาขาของบริษัทที่ ประเทศบราซิล 
ตัวแบบการขนส่ง (The Transportation model) 
36
ภาพแสดงเครือข่ายการผลิตรถยนต์ Volkswagen ทั่วโลก 
37
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงานนั้น จะเน้นในเรื่องการลดต้นทุน การดาเนินกิจการให้ต่าที่สุดเป็นหลักแต่ถ้าเลือกสถานที่ ประกอบการด้านบริการจะคานึงในเรื่องขอรายได้ที่สูงสุดเป็น หลัก 
ปัจจัย8ข้อที่มีผลต่อขนาดและรายได้ในการเลือกสถานที่ ประกอบการด้านบริการ 
1.อานาจการซื้อของลูกค้าในพื้นที่ 
2.การให้บริการและภาพลักษณ์ของบริษัทในพื้นที่ 
3.สภาพการแข่งขันในพื้นที่ 
4.คุณภาพของการแข่งขัน 
กลยุทธ์การเลือกทาเลที่ตั้งสถาน ประกอบการด้านการบริการ 
38
ปัจจัย8ข้อที่มีผลต่อขนาดและรายได้ในการเลือกสถานที่ ประกอบการด้านบริการ 
6.ความสามารถหลักของบริษัทและสถานที่ตั้งของบริษัทคู่แข่ง 
7.คุณภาพของสิ่งอานวยความสะดวกและธุรกิจที่อยู่ล้อมรอบ 
8.นโยบายการดาเนินงานของบริษัท 
9.คุณภาพด้านการบริหารและการจัดการ 
กลยุทธ์การเลือกทาเลที่ตั้งสถาน ประกอบการด้านการบริการ 
39
เปรียบเทียบการเลือกทาเลที่ตั้ง ด้านบริการและด้านการผลิตสินค้า 
สถานที่ตั้งธุรกิจด้านการบริการ/ค้าปลีก/วิชาชีพ 
สถานที่ตั้งธุรกิจด้านการผลิตสินค้า 
พิจารณาด้านรายได้ 
พิจารณาด้านต้นทุน 
ขนาด/รายได้ 
ต้นทุนที่คิดค่าได้ 
พื้นที่, อานาจการซื้อ 
ต้นทุนการขนส่งวัตถุดิบ 
การแข่งขัน, การโฆษณา/ราคาขาย 
ต้นทุนการขนส่งผลิตภัณฑ์ 
ต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานและสาธารณูปโภค 
คุณภาพเชิงกายภาพ 
การเข้า-ออก/ที่จอดรถ, ระบบความปลอดภัย 
ต้นทุนที่คิดค่าไม่ได้และต้นทุนในอนาคต 
ภาพลักษณ์ 
ทัศนคติ 
คุณภาพชีวิต 
ต้นทุนตัวแปรต่างๆ 
ระดับการศึกษาของประชากรในพื้นที่ 
ค่าเช่าที่ 
คุณภาพของรัฐบาลและผู้ปกครองในพื้นที่ 
ความสามารถด้านการบริการและการจัดการ 
นโยบายในการดาเนินธุรกิจ เช่น อัตราจ้าง ชั่วโมงทางาน 
40
เปรียบเทียบการเลือกทาเลที่ตั้ง ด้านบริการและด้านการผลิตสินค้า 
สถานที่ตั้งธุรกิจด้านการบริการ/ค้าปลีก/วิชาชีพ 
สถานที่ตั้งธุรกิจด้านการผลิตสินค้า 
เทคนิคการเลือกทาเลที่ตั้ง 
เทคนิคการเลือกทาเลที่ตั้ง 
ตัวแบบของสมการถดถอย 
ตัวแบบการขนส่ง 
วิธีการให้คะแนนปัจ จัย 
วิธีการให้คะแนนปัจ จัย 
การวิเคราะห์สถิติประชากรในพื้นที่ 
วิธีการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่ 
วิธีการหาจุดศูนย์ดุล 
การวิเคราะห์ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 
ข้อสมมุติฐาน 
ข้อสมมุติฐาน 
ทาเลที่ตั้งเป็นปัจจัยหลักของรายได้ 
ทาเลที่ตั้งเป็นปัจจัยหลักของต้นทุน 
การติดต่อกับลูกค้าอย่างใกล้ชิดเป็นเรื่องสาคัญ 
ต้นทุนจะถูกพิจารณาอย่างละเอียดในแต่ละที่ตั้ง 
ต้นทุนมีค่าคงที่ในบางส่วน ทาให้รายได้เป็นส่วนสาคัญ 
สามารถประเมินต้นทุนที่คิดค่าไม่ได้ 
41
ต้นทุนการเลือกทาเลที่ตั้งสถานประกอบการอาจจะมาก ถึง10% ของต้นทุนการดาเนินธุรกิจ ธุรกิจด้านการบริการ จะเลือกทาเลที่ตั้งโดยคานึงถึงรายได้เป็นหลัก ในขณะที่ธุรกิจ ด้านการผลิตจะคานึงถึงต้นทุนทั้งที่สามารถคิดได้และคิดค่า ไม่ได้ 
เทคนิคที่สามารถนามาเลือกทาเลที่ตั้งของสถาน ประกอบการได้คือ การให้คะแนนปัจ จัย การวิเคราะห์ จุดคุ้มทุนของสถานที่ การหาจุดศูนย์ดุลและการใช้โปรแกรม เชิงเส้นในการขนส่ง 
สาหรับการเลือกทาเลที่ตั้งธุรกิจด้านบริการที่ดีมีอยู่หลาย วิธีเช่น การวิเคราะห์อานาจในการซื้อของลูกค้าในพื้นที่ การโฆษณาและการส่งเริมการตลาด นโยบายต่างๆของทาง บริษัท เป็นต้น 
บทสรุป 
42

Contenu connexe

Tendances

Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Thanaphat Tachaphan
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์Teetut Tresirichod
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังUtai Sukviwatsirikul
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์Teetut Tresirichod
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Thanaphat Tachaphan
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 

Tendances (20)

Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
 
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานบทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
บทที่ 10 ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
Business plan
Business planBusiness plan
Business plan
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์บทที่ 2 การพยากรณ์
บทที่ 2 การพยากรณ์
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 

Plus de Dr.Krisada [Hua] RMUTT

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Plus de Dr.Krisada [Hua] RMUTT (18)

ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
Oganization Culture
Oganization CultureOganization Culture
Oganization Culture
 
การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design) การออกแบบบริการ (Service design)
การออกแบบบริการ (Service design)
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
แนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลาแนวคิดการบริหารเวลา
แนวคิดการบริหารเวลา
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
Introduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation ManagementIntroduction to Production and Operation Management
Introduction to Production and Operation Management
 
Research Proposal Preparation
Research Proposal PreparationResearch Proposal Preparation
Research Proposal Preparation
 
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถามการตั้งคำถามในแบบสอบถาม
การตั้งคำถามในแบบสอบถาม
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้นการเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
การเขียนผลการวิจัยเบื้องต้น
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 

บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง

  • 1. บทที่ 8 กลยุทธ์การเลือก ทาเลที่ตั้ง สถานประกอบการ จัดทาขึ้นจากหนังสือการจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ แปลถูกต้องตามลิขสิทธ์ โดย รชฏ ขาบุญ และคณะ ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธ์แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเท่านั้น
  • 2. เนื้อหา ความสาคัญเชิงกลยุทธ์ของการเลือก ทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือก ทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ วีธีการประเมินทางเลือกทาเลที่ตั้ง สถานประกอบการ กลยุทธ์การเลือกทาเลที่ตั้งสถาน ประกอบการด้านการบริการ บทสรุป 1
  • 3. กรณีศึกษา การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน โดยการเลือกทาเลที่ตั้งของFedEx •สถานที่ตั้งของบริษัท ในการขนส่งสินค้าข้ามคืนนั้น จะตรง ตามแบบแผนของศูนย์กลางของเส้นทางการบินซึ่งเป็น แนวคิดของ Fred Smith ผู้ก่อตั้งและเป็น CEO ของบริษัท •โดยมีศูนย์กลางของเส้นทางการบินแห่งแรกที่เมือง Memphis รัฐTennessee ประเทศสหรัฐอเมริกา •ศูนย์กลางเส้นทางการบินในยุโรปที่เมือง Paris ประเทศ ฝรั่งเศส และในเอเชียที่เมือง Subic Bay ประเทศฟิลิปปินส์ 2
  • 4. ทาไมบริษัท FedEx จึงเลือกเมืองMemphisเป็นที่ตั้งของสานักงานใหญ่ในการกระจายสินค้า? •เมือง Memphis ตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ สหรัฐอเมริกา •มีสภาพอากาศที่เอื้ออานวยต่อการขนส่งตลอดทั้งปี ทาให้เกิดความปลอดภัยต่อการขนส่งด้วยเครื่องบิน 3
  • 5. บริษัท Fed Ex •บริษัทจะเน้นบริการกับเครื่องบินในระยะไกลและแวะ ตามเมืองต่างๆ •มีการจัดตารางการบินที่บรรทุกพัสดุในแต่ละคืนอย่าง เหมาะสม •เพื่อเป็นการประหยัดต้นทุน •โดยเชื่อว่าระบบศูนย์กลางเส้นทางการบินที่เมือง Memphis จะช่วยลดความผิดพลาดในการส่งสินค้าและ ลดความล่าช้าจากการเปลี่ยนเส้นทางของเครื่องบิน เนื่องจากมีการควบคุมตั้งแต่การขนส่งพัสดุจากจุดรับ มอบจนถึงมือลูกค้า 4
  • 6. ความสาคัญเชิงกลยุทธ์ของ การเลือกทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ กระบวนการตัดสินใจเลือกทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ ของกิจการ ที่ตั้งสถานประกอบการ มีผลโดยตรงต่อ •ต้นทุนคงที่และต้นทุนแปรผัน •ความเสี่ยงโดยรวมและผลกาไรของบริษัท กระบวนการตัดสินใจคัดเลือกทาเลที่ตั้งสถานประกอบการ นั้นจะขึ้นอยู่กับประเภทของการดาเนินธุรกิจ กลยุทธ์ในการเลือกที่ตั้งของคลังสินค้านั้น จะพิจารณาทั้งใน เรื่องของต้นทุนและความรวดเร็วในการจัดส่งสินค้าให้กับ ลูกค้า 5
  • 7. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกทาเล ที่ตั้งสถานประกอบการ เศรษฐกิจทางการตลาด การติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศที่ดีขึ้น การเดินทางและการขนส่งที่รวดเร็ว และมีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น การมีสภาพคล่องของเงินทุนระหว่างประเทศ ความแตกต่างของต้นทุนแรงงานที่เพิ่มมากขึ้น 6
  • 8. หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกทาเล ที่ตั้งสถานประกอบการ  การตัดสินใจระดับประเทศ 1. ความเสี่ยงทางการเมือง กฎระเบียบทางราชการ ทัศนคติและ แรงจูงใจ 2. วัฒนธรรม และสภาพเศรษฐกิจ 3. ทาเลที่ตั้งของตลาด 4. แรงงาน ทัศคติ ผลิตภาพ และต้นทุน 5. วัตถุดิบ การติดต่อสื่อสาร และพลังงาน 6. อัตราแลกเปลี่ยนและความเสี่ยงของ มูลค่าเงิน 7
  • 9. การตัดสินใจระดับภูมิภาค 1. ความต้องการขององค์การ 2. ความน่าสนใจของพื้นที่ (วัฒนธรรม ภาษี หรือภูมิอากาศ เป็นต้น) 3. แรงงาน ต้นทุน ทัศนคติที่มีต่อสหภาพ 4. ต้นทุนและความง่ายในการจัดหา สาธารณูปโภค 5. กฎข้อบังคับทางด้านสิ่งแวดล้อมของรัฐและ เมือง 6. แรงจูงใจจากภาครัฐ 7. ความใกล้แหล่งวัตถุดิบและลูกค้า 8. ต้นทุนจากการซื้อหรือเช่าที่ดินและการสร้าง สถานประกอบการ8
  • 10. การตัดสินใจระดับพื้นที่ 1. ขนาดและราคาของพื้นที่ 2. ระบบขนส่งทางอากาศ ทางบก และทางน้า 3. เงื่อนไขและข้อกาหนดของพื้นที่ 4. ความใกล้กับผู้จัดหาวัตถุดิบ และสิ่งอานวยความสะดวก 5. มาตรการและข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อม 9
  • 11. ผลิตภาพจากแรงงาน (Labor productivity) จากกรณีศึกษาของQuality Coils พบว่า การให้ ความสาคัญทางด้านค่าจ้างแรงงาน จะต้องคานึงถึง ความสามารถของแรงงานในพื้นที่ด้วย โดยทาการ เปรียบเทียบระหว่างผลิตภาพที่ได้กับต้นทุนค่าจ้างที่ต้อง เสียไป 10
  • 12. ในอดีต ประธาน Quality Coils ได้ตระหนักถึงค่าจ้าง แรงงานที่ต่าถ้าจ้างชาวเม็กซิกันเป็นคนดาเนินการผลิตสินค้า เขาจึงปิดโรงงานในรัฐ Connecticut และไปเปิดโรงงานแห่งใหม่ ในเมือง Juarez ประเทศเม็กซิโก ซึ่งเขาหวังว่าจะทากาไรได้ เป็นอย่างมาก ในระหว่างดาเนินกิจการนั้น เขาเกือบล้มละลาย พนักงานส่วนใหญ่ละเลยต่อการทางาน ผลิตภาพต่าลง และปัญหาของเรื่องระยะทาง โดยท้ายสุดเขาจึงตัดสินใจปิด โรงงานลง จึงกลับไปเปิดโรงงานในประเทศสหรัฐอเมริกา และจ้างคนงานที่เคยทางานให้กับเขาอีกครั้งหนึ่ง Quality Coils ยกเลิกกิจการ ในประเทศเม็กซิโก 11
  • 13. ต้นทุนค่าจ้างแรงงานต่อวัน = ต้นทุนต่อหน่วย ผลิตภาพต่อวัน Quality Coils ต้องจ่ายค่าแรง 70 ดอลลาร์สหรัฐต่อวัน เพื่อ ผลิตสินค้าให้ได้ 60 หน่วย ในขณะที่บริษัทต้องจ่ายค่าแรง 25 ดอลลาร์สหรัฐต่อวัน ในการผลิตสินค้า 20 หน่วย เมื่อเปรียบเทียบระหว่างค่าจ้างและผลิตภาพต่อวัน จะได้ผลดังนี้ กรณีที่ 1: การผลิตสินค้าที่โรงงานในรัฐ Connecticut ประเทศ สหรัฐอเมริกา ค่าจ้าง 70 ดอลลาร์สหรัสต่อวัน = 70 = 1.17 ดอลลาร์สหรัฐต่อหน่วย ผลิตภาพ 60 หน่วยต่อวัน60 ผลิตภาพจากแรงงาน (Labor productivity) 12
  • 14. กรณีที่ 2 : การผลิตสินค้าที่โรงงานในเมือง Juarez ประเทศเม็กซิโก ค่าจ้าง 25 ดอลลาร์สหรัสต่อวัน = 25 = 1.25 ดอลลาร์สหรัฐต่อหน่วย ผลิตภาพ 20 หน่วยต่อวัน20 การผลิตสินค้าของบริษัท Quality Coils ในประเทศ สหรัฐอเมริกานั้น จะมีต้นทุนที่ต่ากว่า ถึงแม้ว่าคนงานชาว เม็กซิกันจะมีค่าจ้างแรงงานที่ถูกว่า แต่การฝึกอบรมและการศึกษา ที่อยู่ในระดับต่า ทักษะและนิสัยการทางานที่ไม่มีประสิทธิภาพนั้น ก็ไม่สามารถที่จะทาให้ผลิตภาพของบริษัทเพิ่มขึ้นได้ ดังนั้นในการ พิจารณาคัดเลือกพนักงานนั้น จะต้องพิจารณาทั้งค่าจ้างแรงงาน และคุณภาพของพนักงานควบคู่กันไป ผลิตภาพจากแรงงาน (Labor productivity) 13
  • 15. บางบริษัทได้รับผลประโยชน์จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ความเสี่ยงและความไม่แน่นอนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราก็ เป็นปัจ จัยสาคัญอย่างหนึ่งในการพิจารณาเลือกทาเลที่ตั้ง สถานประกอบการ การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของค่าเงินในแต่ละประเทศขึ้นอยู่กับ สภาพเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ ซึ่งบางครั้ง สถาน ประกอบการในช่วงปี ค.ศ.2006 อาจจะสร้างกาไรให้กับบริษัท ผู้ดาเนินการ แต่ในอนาคตอีก 5 ปีข้างหน้า ที่ตั้งแห่งนั้นอาจจะ ทาให้บริษัทผู้ดาเนินการประสบความล้มเหลวในการทาธุรกิจก็ เป็นได้ ความเสี่ยงทางด้านอัตราแลกเปลี่ยน เงินตรา 14
  • 16. ต้นทุนในการตั้งสถานประกอบการสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1.ต้นทุนที่คิดค่าได้ (Tangible costs) คือ ต้นทุนสามารถระบุ และวัดได้ ตัวอย่างเช่น •ค่าสาธารณูปโภคต่างๆ •ค่าแรงงาน •ค่าวัตถุดิบ •ภาษี •ค่าเสื่อมราคา •หรือค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่แผนกบัญชีและฝ่า ยบริหาร สามารถระบุได้ •ค่าขนส่งวัตถุดิบ •ค่าขนส่งสินค้า •ค่าก่อสร้างสถานประกอบการ ต้นทุน 15
  • 17. ต้นทุนในการตั้งสถานประกอบการสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 2.ต้นทุนที่คิดค่าไม่ได้ (Intangible cost) เป็นต้นทุนที่ยากต่อ การระบุในเชิงตัวเลข เช่น •คุณภาพของการศึกษา •สิ่งอานวยความสะดวกทางการขนส่งที่รัฐบาล จัดเตรียมให้ •ทัศนคติของชุมชนที่มีต่อโรงงานและบริษัท •คุณภาพและทัศนคติของพนักงาน •ตัวแปรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิต เช่น สภาพภูมิอากาศที่อาจมีผลต่อการคัดเลือก แรงงาน เป็นต้น ต้นทุน 16
  • 18. ปัจ จัยที่สามารถมีผลต่อการตัดสินใจของบริษัทในการเลือก ทาเลที่ตั้งใหม่ ได้แก่ •ทัศนคติของชาติ รัฐ หรือชุมชน •ทรัพย์สินส่วนบุคคลและทรัพย์สินทางปัญ ญา •การจัดเขตมลภาวะ •ความมั่นคงของการจ้างงาน •วัฒนธรรมของแต่ละประเทศ ทัศนคติที่มีต่อการทางานอาจจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับแต่ละ ประเทศ ภูมิภาค ขนาดของเมือง วัฒนธรรมที่หลากหลายจะเป็น ตัวกาหนดตารางการผลิตและการส่งมอบสินค้าที่แตกต่างกัน ออกไป ดังนั้นผู้จัดการฝ่า ยปฏิบัติการจึงต้องเผชิญกับความท้าทาย ในเรื่องของการจัดการโซ่อุปทาน ทัศนคติ 17
  • 19. หลายบริษัทได้ให้ความสาคัญเรื่องของทาเลที่ตั้งที่จะต้อง อยู่ใกล้กับลูกค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานประกอบการที่เกี่ยวข้อง กับการให้บริการ สาหรับโรงงานอุตสาหกรรมก็ควรที่ตั้งอยู่ใกล้กับ ลูกค้าเช่นเดียวกันเพราะจะทาให้ง่ายและประหยัดค่าใช้จ่ายในการ ขนส่งสินค้า นอกจากนี้ ผู้จัดหาวัตถุดิบที่ต้องการที่จะอยู่ใกล้กับผู้ใช้ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการส่งมอบวัตถุดิบ และการผลิตที่ ทันเวลา ตัวอย่างCoca-Cola ซึ่งมีวัตถุดิบที่สาคัญ คือ น้า ดังนั้นบริษัทได้ สร้างโรงงานในหลายๆ เมืองทั่วประเทศ เพื่อลดการขนส่ง สินค้า เนื่องจากขวดน้าอัดลมนั้น ง่ายต่อการแตกร้าว เสียหาย และเมื่อบรรจุลงในลังจะมีน้าหนักมาก ความใกล้แหล่งตลาด 18
  • 20. ปัจ จัยที่สถานประกอบการนามาพิจารณาเพื่อเลือกที่ตั้งให้อยู่ ใกล้แหล่งวัตถุดิบและผู้จัดหาวัตถุดิบได้แก่ 1.วัตถุดิบบางประเภทเน่าหรือเสียง่าย เช่น โรงงานผลิตอาหาร สด และอาหารทะเลแช่แข็ง 2.ต้นทุนในการขนส่งที่ประหยัด เช่น โรงงานผลิตเหล็ก เนื่องจากวัตถุดิบมีขนาดใหญ่และหนัก 3.วัตถุดิบที่มีขนาดใหญ่และต้องการแปรรูปเป็นสินค้าที่มีขนาด เล็กลง เช่น โรงเลื่อยไม้ที่ตั้งอยู่ใกล้กับป่า ไม้ เป็นต้น ความใกล้ผู้จัดหาวัตถุดิบ 19
  • 21. Alabama ได้สร้างแรงจูงใจให้กับบริษัท Mercedes-Benz ในการเข้ามาสร้างโรงงานแห่งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยรัฐ Alabama ได้เสนอเงินจูงใจให้กับทางบริษัทเป็นจานวน ถึง 235 ล้านดอลลาร์สหรัฐ บริษัท Honda ได้มาเปิดโรงงานห่างจากโรงงาน Mercedes-Benz 70 ไมล์ เพื่อผลิตรถยนต์ ขณะเดียวกัน บริษัท Toyota ก็ได้เปิดโรงงานแห่งใหม่ใกล้เมือง Huntsville ซึ่งผลิตเครื่องยนต์ ทั้งบริษัท Honda และ Toyota ต่างได้รับ เงินจูงใจจากทางภาครัฐเช่นเดียวกัน รัฐ Alabama จึงมีชื่อเสียงในฐานะเป็นศูนย์กลางแหล่ง ผลิตรถยนต์ที่มีจานวนมากที่สุดทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา แรงจูงใจมหาศาลที่ทาให้รัฐ Alabama เป็นแหล่งผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์ 20
  • 22. บริษัทหลายแห่งเลือกที่จะตั้งอยู่ใกล้กับบริษัทคู่แข่ง หรือ ที่เรียกว่า เครือข่ายวิสาหกิจ (Clustering) เนื่องจากในบริเวณ แหล่งที่ตั้งนั้นมีทรัพยากรที่สาคัญอยู่ เช่น •ทรัพยากรธรรมชาติ •ทรัพยากรทางด้านข่าวสาร ข้อมูล •ทรัพยากรทางด้านเงินลงทุน •ทรัพยากรบุคคล ตัวอย่างอุตสาหกรรมการผลิตไวน์ในพื้นที่อาเภอปากช่องจังหวัด นครราชสีมา เป็นตัวอย่างของเครือข่ายวิสาหกิจที่มีแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม ความใกล้คู่แข่ง 21
  • 23. สามารถทาได้ 4 วิธี 1.วิธีการให้คะแนนปัจจัย 2.วิธีการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่ 3.วิธีหาจุดศูนย์ดุล 4.วิธีตัวแบบการขนส่ง วิธีการประเมินทางเลือกทาเลที่ตั้ง 22
  • 24. ในการพิจารณาทาเลที่ตั้งสถานประกอบการนั้น จะมี ปัจ จัยต่างๆเข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้งที่เป็นปัจ จัยเชิงปริมาณและ ปัจ จัยเชิงคุณภาพ ปัจจัยที่มีผลต่อการพิจารณาเลือกทาเลที่ตั้ง ได้แก่ -ต้นทุนค่าแรง (ค่าจ้าง สหภาพแรงงาน และผลิตภาพ) -แรงงาน (ทัศนคติ อายุ ทักษะความรู้ และปริมาณ) -ความใกล้แหล่งวัตถุดิบและผู้จัดหาวัตถุดิบ -ความใกล้ตลาด -นโยบายภาครัฐ (แรงจูงใจ ภาษี และค่าชดเชยจากการว่างงาน) -ข้อกาหนดทางด้านสิ่งแวดล้อม วิธีการให้คะแนนปัจจัย (The Factor-Rating method) 23
  • 25. ปัจจัยที่มีผลต่อการพิจารณาเลือกทาเลที่ตั้ง ได้แก่ -สาธารณูปโภค (ไฟฟ้า น้าประปา และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับ สาธารณูปโภค) -ต้นทุนสถานที่ (ค่าที่ดิน การขยายพื้นที่ ที่จอดรถ และระบบท่อน้า ทิ้ง) -การคมนาคมขนส่ง (ทางบก ทางน้า ทางอากาศ และเส้นทางถนน ต่างๆ) -นโยบายทางด้านคุณภาพชีวิต (การศึกษาในทุกระดับ ค่าครองชีพ วัฒนธรรม และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ) -อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ -รัฐบาล (ความมั่นคง หรือเสถียรภาพของรัฐบาล) วิธีการให้คะแนนปัจจัย (The Factor-Rating method) 24
  • 26. วิธีการให้คะแนนปัจจัยประกอบด้วย 6 ขั้นตอน 1.การจัดทารายการปัจ จัยหลักที่เกี่ยวข้องในการพิจารณาเลือก ทาเลที่ต้องสถานประกอบการ 2.การกาหนดน้าหนักให้กับแต่ละปัจ จัย 3.การกาหนดค่าคะแนนในแต่ละปัจ จัย (เช่น คะแนนอาจจะอยู่ ในช่วง 1 ถึง 10 หรือ 1 ถึง 100 4.การใช้ค่าคะแนนที่กาหนดไว้ในข้อที่ 3 ประเมิน และให้คะแนน กับปัจ จัยต่างๆ ในแต่ละสถานที่ตั้ง 5.การคานวณหาคะแนนน้าหนัก (Weighted scores) โดยการคูณ ค่าน้าหนักกับคะแนนที่ประเมินไว้ของแต่ละปัจจัย 6.จัดทาข้อเสนอแนะ โดยใช้ข้อมูลจากค่าคะแนนสูงสุด และ พิจารณาถึงผลลัพธ์ในเชิงปริมาณ วิธีการให้คะแนนปัจจัย (The Factor-Rating method) 25
  • 27. ปัจจัย คะแนนที่ได้จากการประเมิน คะแนนเต็ม 100 คะแนนน้าหนัก ค่า น้าหนัก ฝรั่งเศส เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เดนมาร์ก การหาแรงงานและทัศนคติ .25 70 60 (.25)(70) = 17.5 (.25)(60)= 15.0 อัตราส่วนประชากรกับรถยนต์ .05 50 60 (.05)(50)= 2.5 (.05)(60) = 3.0 รายได้ต่อประชากร .10 85 80 (.10)(85) = 8.5 (.10)(80)= 8.0 โครงสร้างภาษี .39 75 70 (.39)(75) = 29.3 (.39)(70) = 27.3 การศึกษาและสุขภาพ .21 60 70 (.21)(60) = 12.6 (.21)(70) = 14.7 รวม 1.00 70.4 68.0 ตัวอย่าง สวนสนุก Five Flags ในรัฐ Florida ประเทศสหรัฐอเมริกา 26
  • 28. ถ้าหากมีการเปลี่ยนคะแนน หรือค่าน้าหนักในแต่ ละปัจจัย ค่าคะแนนน้าหนักจะเปลี่ยนไปด้วย ทาให้ แนวทางในการตัดสินใจเลือกทาเลที่ตั้งอาจ เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นผู้จัดการควรหาวิธีการที่ สามารถวัดผลในเชิงปริมาณออกมาให้ได้อย่างชัดเจน วิธีการให้คะแนนปัจจัย (The Factor-Rating method) 27
  • 29. เป็นวิธีวิเคราะห์ต้นทุนค่าใช้จ่ายและปริมาณการผลิตเพื่อ การเปรียบเทียบทางเศรษฐศาสตร์ของแต่ละสถานที่ ที่นามา พิจารณา โดยการวิเคราะห์ต้นทุนคงที่ (Fixed costs) และ ต้นทุนแปรผัน (Variable costs) แล้วนาข้อมูลมาเขียนกราฟแต่ ละสถานที่ เพื่อช่วยในการคัดเลือกสถานที่ที่มีต้นทุนต่าที่สุด การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่มี 3 ขั้นตอน ดังนี้คือ 1.การวิเคราะห์หาต้นทุนคงที่ และต้นทุนแปรผันของแต่ละ สถานที่ 2.การกาหนดจุดต้นทุนในแต่ละสถานที่ลงในกราฟ โดย กาหนดใช้แกน Y คือต้นทุน และแกน X คือ ปริมาณการ ผลิต 3.การเลือกสถานที่ที่มีต้นทุนต่าที่สุด เมื่อมีปริมาณการผลิต ตามแผนที่วางไว้ การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่ (Location Break-Even analysis) 28
  • 30. ตัวอย่าง บริษัทผู้ผลิตหัวฉีดรถยนต์แห่งหนึ่งได้พิจารณาทาเลที่ตั้ง โรงงานใหม่จาก 3 แหล่ง คือ Akron, Bowling Green, Chicago พบว่าต้นทุนคงที่ต่อปีของแต่ละเมือง คือ $30,000, $60,000, $110,000 ตามลาดับ และต้นทุนแปรผันของแต่ละ เมือง คือ $75, $45, $25 ตามลาดับ บริษัทตั้งราคาขายไว้ที่ $120 ซึ่งบริษัทคาดว่าจะผลิตหัวฉีดให้ได้ 2,000 ชิ้น ต่อปี การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่ (Location Break-Even analysis) 29
  • 31. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่มี3 ขั้นตอน ดังนี้ 1.การวิเคราะห์ต้นทุนคงที่ และต้นทุนแปรผันของแต่ละสถานที่ สูตร ตัวอย่าง ต้นทุนรวมของเมือง Bowling Green = 60,000 + (45*2,000) = $150,000 ต้นทุนรวมของเมืองAkron = 30,000 + (75*2,000) = $180,000 ต้นทุนรวมของเมือง Chicago = 110,000 + (25*2,000) = $160,000 เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าเมือง Bowling Greenมีต้นทุนรวมต่าที่สุด $150,000 ขั้นตอนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของ สถานที่ ต้นทุนรวม=ต้นทุนคงที่+ต้นทุนแปรผัน (ปริมาณที่คาดว่าจะผลิต) 30
  • 32. 2.กาหนดจุดคุ้มทุนของแต่ละสถานที่ลงในกราฟโดยกาหนดให้แกน Y คือต้นทุน แกน X คือปริมาณ ขั้นตอนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่ 31
  • 33. 3.เลือกสถานที่ที่มีต้นทุนต่าที่สุด เมื่อมีปริมาณการผลิตตามแผนที่ วางไว้ สูตร = (120*2,000) –150,000 = $90,000 ต่อปี หาจุดตัดบนกราฟระหว่างเมืองAkron กับ Bowling Green 30,000 + 75(x) = 60,000 + 45(x) 30(x) = 30,000 X = 1,000 หาจุดตัดบนกราฟระหว่างเมือง Bowling Green กับ Chicago 60,000 + 45(x) = 110,000 + 25(x) 20(x) = 50,000 x = 2,500 ขั้นตอนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ของสถานที่ กาไรที่คาดไว้ = รายได้รวม–ต้นทุนรวม 32
  • 34. ใช้สาหรับหาทาเลที่ตั้งเป็นศูนย์กระจายสินค้า เพื่อลด ต้นทุนในการกระจายสินค้าให้ต่าที่สุด ปัจ จัยในการพิจารณา ร่วมกับเทคนิคนี้ ได้แก่ ทาเลที่ตั้งของแหล่งตลาด ปริมาณหรือ จานวนสินค้าที่จัดส่งให้กับตลาด และต้นทุนค่าขนส่งสินค้า การคานวณหาจุดศูนย์ดุล คือ การกาหนดพิกัดใน แนวนอนและแนวตั้ง คานวณจากสมการดังต่อไปนี้ วิธีการหาจุดศูนย์ดุล (Center-of-Gravity method) 33
  • 35. วิธีหาจุดศูนย์ดุลนั้นใช้สมมุติฐานที่ว่า ต้นทุน ค่าใช้จ่ายเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะทางและปริมาณ สินค้าที่จะส่ง ซึ่งสถานที่ในอุดมคตินั้น จะมีน้าหนักของ ระยะทางระหว่างคลังสินค้าและร้านค้าปลีกมีค่าน้อย ที่สุด โดยดูจากจาวนตู้ขนส่งสินค้าที่ถูกจัดส่งออกไป วิธีการหาจุดศูนย์ดุล (Center-of-Gravity method) 34
  • 36. วัตถุประสงค์ของตัวแบบการส่ง คือ •เพื่อช่วยในการตัดสินใจที่จะใช้รูปแบบการขนส่งสินค้า จากแหล่งจัดส่งต่างๆ ไปยังผู้รับที่อยู่ในแต่ละที่ •เพื่อลดต้นทุนรวมของการผลิตและการขนส่ง ทุกๆ บริษัทที่มีเครือข่ายในการจัดส่งวัตถุดิบหรือสินค้า มักจะเผชิญกับปัญหาในเรื่องของต้นทุน ตัวแบบการขนส่ง (The Transportation model) 35
  • 37. ตัวอย่าง บริษัทผลิตรถยนต์ Volkswagen เครือข่ายที่ ซับซ้อนดังรูป ที่สาขาประเทศเม็กซิโกซึ่งรับชิ้นส่วน และส่วนประกอบมาจากสานักงานใหญ่ในประเทศ เยอรมัน จากนั้นสาขาที่ประเทศเม็กซิโกจะส่งรถยนต์ สาหรับประกอบและชิ้นส่วนไปยังสาขาที่ประเทศ ไนจีเรีย และส่งส่วนประกอบไปยังสาขาของบริษัทที่ ประเทศบราซิล ตัวแบบการขนส่ง (The Transportation model) 36
  • 39. การเลือกสถานที่ตั้งโรงงานนั้น จะเน้นในเรื่องการลดต้นทุน การดาเนินกิจการให้ต่าที่สุดเป็นหลักแต่ถ้าเลือกสถานที่ ประกอบการด้านบริการจะคานึงในเรื่องขอรายได้ที่สูงสุดเป็น หลัก ปัจจัย8ข้อที่มีผลต่อขนาดและรายได้ในการเลือกสถานที่ ประกอบการด้านบริการ 1.อานาจการซื้อของลูกค้าในพื้นที่ 2.การให้บริการและภาพลักษณ์ของบริษัทในพื้นที่ 3.สภาพการแข่งขันในพื้นที่ 4.คุณภาพของการแข่งขัน กลยุทธ์การเลือกทาเลที่ตั้งสถาน ประกอบการด้านการบริการ 38
  • 40. ปัจจัย8ข้อที่มีผลต่อขนาดและรายได้ในการเลือกสถานที่ ประกอบการด้านบริการ 6.ความสามารถหลักของบริษัทและสถานที่ตั้งของบริษัทคู่แข่ง 7.คุณภาพของสิ่งอานวยความสะดวกและธุรกิจที่อยู่ล้อมรอบ 8.นโยบายการดาเนินงานของบริษัท 9.คุณภาพด้านการบริหารและการจัดการ กลยุทธ์การเลือกทาเลที่ตั้งสถาน ประกอบการด้านการบริการ 39
  • 41. เปรียบเทียบการเลือกทาเลที่ตั้ง ด้านบริการและด้านการผลิตสินค้า สถานที่ตั้งธุรกิจด้านการบริการ/ค้าปลีก/วิชาชีพ สถานที่ตั้งธุรกิจด้านการผลิตสินค้า พิจารณาด้านรายได้ พิจารณาด้านต้นทุน ขนาด/รายได้ ต้นทุนที่คิดค่าได้ พื้นที่, อานาจการซื้อ ต้นทุนการขนส่งวัตถุดิบ การแข่งขัน, การโฆษณา/ราคาขาย ต้นทุนการขนส่งผลิตภัณฑ์ ต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านพลังงานและสาธารณูปโภค คุณภาพเชิงกายภาพ การเข้า-ออก/ที่จอดรถ, ระบบความปลอดภัย ต้นทุนที่คิดค่าไม่ได้และต้นทุนในอนาคต ภาพลักษณ์ ทัศนคติ คุณภาพชีวิต ต้นทุนตัวแปรต่างๆ ระดับการศึกษาของประชากรในพื้นที่ ค่าเช่าที่ คุณภาพของรัฐบาลและผู้ปกครองในพื้นที่ ความสามารถด้านการบริการและการจัดการ นโยบายในการดาเนินธุรกิจ เช่น อัตราจ้าง ชั่วโมงทางาน 40
  • 42. เปรียบเทียบการเลือกทาเลที่ตั้ง ด้านบริการและด้านการผลิตสินค้า สถานที่ตั้งธุรกิจด้านการบริการ/ค้าปลีก/วิชาชีพ สถานที่ตั้งธุรกิจด้านการผลิตสินค้า เทคนิคการเลือกทาเลที่ตั้ง เทคนิคการเลือกทาเลที่ตั้ง ตัวแบบของสมการถดถอย ตัวแบบการขนส่ง วิธีการให้คะแนนปัจ จัย วิธีการให้คะแนนปัจ จัย การวิเคราะห์สถิติประชากรในพื้นที่ วิธีการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของสถานที่ วิธีการหาจุดศูนย์ดุล การวิเคราะห์ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ข้อสมมุติฐาน ข้อสมมุติฐาน ทาเลที่ตั้งเป็นปัจจัยหลักของรายได้ ทาเลที่ตั้งเป็นปัจจัยหลักของต้นทุน การติดต่อกับลูกค้าอย่างใกล้ชิดเป็นเรื่องสาคัญ ต้นทุนจะถูกพิจารณาอย่างละเอียดในแต่ละที่ตั้ง ต้นทุนมีค่าคงที่ในบางส่วน ทาให้รายได้เป็นส่วนสาคัญ สามารถประเมินต้นทุนที่คิดค่าไม่ได้ 41
  • 43. ต้นทุนการเลือกทาเลที่ตั้งสถานประกอบการอาจจะมาก ถึง10% ของต้นทุนการดาเนินธุรกิจ ธุรกิจด้านการบริการ จะเลือกทาเลที่ตั้งโดยคานึงถึงรายได้เป็นหลัก ในขณะที่ธุรกิจ ด้านการผลิตจะคานึงถึงต้นทุนทั้งที่สามารถคิดได้และคิดค่า ไม่ได้ เทคนิคที่สามารถนามาเลือกทาเลที่ตั้งของสถาน ประกอบการได้คือ การให้คะแนนปัจ จัย การวิเคราะห์ จุดคุ้มทุนของสถานที่ การหาจุดศูนย์ดุลและการใช้โปรแกรม เชิงเส้นในการขนส่ง สาหรับการเลือกทาเลที่ตั้งธุรกิจด้านบริการที่ดีมีอยู่หลาย วิธีเช่น การวิเคราะห์อานาจในการซื้อของลูกค้าในพื้นที่ การโฆษณาและการส่งเริมการตลาด นโยบายต่างๆของทาง บริษัท เป็นต้น บทสรุป 42