SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
ชี วนิเวศในน้ำ  ( Aquatic Biome ) -  ชีวนิเวศที่กระจายอยู่ตามเขตภูมิศาสตร์ต่างๆบนภาคพื้นสมุทรของโลก เช่น มหาสมุทรแปซิฟิก ,  มหาสมุทรแอตแลนติก ,  มหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรอาร์กติก  รวมทั้งแหล่งน้ำจืดและแหล่งน้ำเค็มอื่นๆบนภาคพื้นทวีป -  ชีวนิเวศประเภทนี้ประกอบด้วยชีวนิเวศหลากหลายชนิด  โดยใช้  “ความเค็มของน้ำ”  คือ ความเข้มข้นของเกลือที่ละลายในน้ำเป็นเกณฑ์  มีหน่วยวัดเป็นจำนวนกรัมของเกลือทั้งหมดต่อกิโลกรัมของน้ำ  ( g/kg )
 
1.  ชีวนิเวศน้ำจืด  ( Freshwater ) -  ชีวนิเวศในน้ำชนิดนี้จะมีค่าความเค็มของน้ำน้อยกว่าร้อยละ  0.1  โดยมวลของเกลือ  ( g )  ต่อมวลของน้ำ  ( kg )  -  แบ่งเป็น  2  ประเภทตามความเร็วของกระแสน้ำในชีวนิเวศ ได้แก่  1.  แหล่งน้ำนิ่ง 2.  แหล่งน้ำไหล
แหล่งน้ำนิ่ง -  เป็นชีวนิเวศน้ำจืดที่มีการไหลเวียนของมวลน้ำอย่างช้าๆภายในเขตของแหล่งน้ำนิ่ง เช่น บึง ,  ทะเลสาบ โดยแบ่งเป็น  3  บริเวณ ได้แก่  1.  บริเวณฝั่ง  ( Littoral zone )   เป็นบริเวณที่อยู่ติดพื้นดินและห่างจากฝั่งไม่มาก 2.  บริเวณผิวน้ำ  ( Limnetic zone )   เป็นบริเวณที่ถัดออกมาจากบริเวณชายฝั่ง ที่สัมผัสอากาศและได้รับแสงอาทิตย์กระจายทั่วถึง 3.  บริเวณน้ำชั้นล่าง  ( Profundal zone )   เป็นบริเวณที่อยู่ต่ำกว่าบริเวณผิวน้ำลงไปจนถึงพื้นท้องน้ำซึ่งแสงอาทิตย์ส่องไปไม่ถึง
 
-  ในบริเวณฝั่งจะมีพืชน้ำที่รากหยั่งลึกในดินใต้ผืนน้ำตื้น เช่น กก และพืชที่ลอยน้ำอยู่ เช่น บัวสายเป็นจำนวนมาก -  บริเวณผิวน้ำจะพบสัตว์ชนิดต่างๆ เช่น ปลากระดี่ และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวจำนวนมาก เช่น โปรโตซัวและสาหร่าย ว่ายน้ำอย่างช้าๆหรือลอยอยู่
แหล่งน้ำไหล -  เป็นชีวนิเวศน้ำจืดที่มีการไหลของมวลน้ำอยู่ตลอดเวลาอย่างมีทิศทาง  ( มีการถ่ายเทมวลน้ำเข้าและออกจากแหล่งน้ำ )  แบ่งเป็น  2  บริเวณ ได้แก่  1.  บริเวณน้ำไหลเชี่ยว  ( Rapid zone ) 2.  บริเวณที่เป็นแอ่งน้ำ  ( Pool zone )
-  สัตว์ในบริเวณน้ำไหลเชี่ยวจะมีการปรับตัวเพื่อให้สามารถอยู่ในกระแสน้ำเชี่ยวได้ เช่น  การยึดเกาะตามโขดหินใต้น้ำของฟองน้ำน้ำจืดและตัวอ่อนของแมลงหนอนปลอกน้ำ  หรือปลาบางชนิดจะว่ายทวนน้ำตลอดเวลา เช่น ปลาพลวง ,  ปลาเลียหิน ฯลฯ
2.  ชีวนิเวศน้ำเค็ม  ( Marine ) -  ชีวนิเวศในน้ำชนิดนี้จะมีค่าความเค็มของน้ำประมาณร้อยละ  3.5  โดยมวลของเกลือ  ( g )  ต่อมวลของน้ำ  ( kg )  ซึ่งครอบคลุมพื้นที่  3  ใน  4  ส่วนของโลก  -   ชีวนิเวศแบบนี้มีอยู่หลายแหล่งระบบนิเวศ เช่น หาดทราย  ( Sand beach ),  หาดหิน  ( Rock beach ),  แนวปะการัง  ( Coral reef )
หาดทราย  ( Sand beach ) -  เป็นชีวนิเวศน้ำเค็มที่อยู่บริเวณชายฝั่งตั้งแต่บริเวณที่ระดับน้ำเค็มลดลงต่ำสุดจนถึงบริเวณที่ละอองน้ำเค็มซัดสาดไปถึง  ประกอบด้วยอนุภาคของทรายขนาดต่างๆ  -  ปัจจัยทางกายภาพที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในหาดทราย คือ อุณหภูมิและความชื้นบนหาดทรายซึ่งเป็นผลมาจากกระแสน้ำขึ้น - น้ำลง
-  สัตว์ส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ที่หาดทรายมักมีขนาดเล็ก ไม่มีพฤติกรรมการเกาะติดแน่น แต่มีพฤติกรรมการฝังตัวในทรายและการคัดกรองอาหารที่ปนกับอนุภาคของทราย เช่น ปูลม หอยเสียบ ฯลฯ
หาดหิน  ( Rock beach ) -  เป็นชีวนิเวศน้ำเค็มที่อยู่บริเวณประกอบด้วยโขดหินไม่ราบเรียบ มีซอกและแอ่งน้ำมากมาย  -  เมื่อน้ำเค็มเพิ่มระดับขึ้นมาทำให้ความชื้นที่หาดหินเพิ่ม  แต่ปริมาณแสงและอุณหภูมิจะลดลง  ในทางกลับกันถ้าน้ำลดระดับลง ปริมาณความชื้นจะลดลง แต่ปริมาณแสงและอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้น
-  สัตว์ส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ที่หาดมักมีสารคิวทินเคลือบหรือมีเปลือกเพื่อป้องกันการระเหยของน้ำและเก็บกักน้ำเอาไว้ บ้างก็มีพฤติกรรมยึดเกาะกับโขดหิน เช่น เพรียงหิน ,  ลิ่นทะเล -  แต่บางชนิดสามารถเคลื่อนไปหลบในซอกหินได้เมื่อยามน้ำเค็มขึ้น เช่น ปลิงทะเล
แนวปะการัง  ( Coral reef ) -  เป็นชีวนิเวศน้ำเค็มที่อยู่ใกล้บริเวณชายฝั่ง  และมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงที่สุดในชีวนิเวศน้ำเค็ม  -  พบในทะเลเขตร้อนและต้องเป็นแหล่งน้ำเค็มที่สะอาด มีออกซิเจนและแสงแดดเพียงพอ   -  แนวปะการังถูกใช้เป็นดัชนีในการบ่งบอกสภาพแวดล้อมของชายฝั่งทะเลบริเวณนั้น
-  แนวปะการังเกิดจากสัตว์ที่เรียกว่า  “ปะการัง”   ที่สามารถสร้างแนวปะการังได้เพราะมีสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวพวก  “ไดโนแฟลกเจเลต”   ( Dinoflagellate )   อาศัยอยู่ในตัวปะการัง เรียกว่า  “ซูแซนเทลลี”   ( Zooxanthellae )   ซึ่งจะสังเคราะห์อาหารด้วยแสงส่งให้ปะการัง
3.  ชีวนิเวศน้ำกร่อย  ( Brackish water ) -  ชีวนิเวศในน้ำชนิดนี้จะมีค่าความเค็มของน้ำประมาณอยู่ระหว่างร้อยละ  0.1 - 3.5  โดยมวลของเกลือ  ( g )  ต่อมวลของน้ำ  ( kg )  -  พบได้ที่บริเวณที่น้ำจืดมาบรรจบกับน้ำเค็ม เช่น ปากแม่น้ำ ,  ช่องแคบ ซึ่งความเค็มของน้ำสามารถแปรผันได้ตามขนาดแรงดันที่มากกว่าของน้ำจืดหรือน้ำเค็ม
ป่าชายเลน  ( Mangrove forest ) -  เป็นชีวนิเวศน้ำกร่อยที่พบตามบริเวณชายฝั่งทะเลและปากแม่น้ำซึ่งเป็นรอยต่อระหว่างชีวนิเวศบนบกและชีวนิเวศในน้ำ  -  บริเวณพื้นท้องน้ำเป็นดินเลนที่ได้จากการพัดพามาของทั้งแม่น้ำและทะเล
-  พืชในป่าชายเลนมักจะมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม เช่น โกงกางจะมีรากค้ำจุนเพื่อให้พยุงต้นอยู่ได้ในดินเลน ,  แสมมีรากแทงขึ้นมาเหนือดินเลนเพื่อหายใจ  ( ภาพบน )  หรือการที่ใบพืชมีต่อมขับเกลือเพื่อคัดกรองเกลือจากน้ำกร่อยออกเหลือแต่น้ำจืด  ( ภาพล่าง )
-  ป่าชายเลนมีความสำคัญในฐานะแหล่งอาหาร ,  แหล่งวางไข่และแหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้ำ รวมทั้งเป็นปราการป้องกันภัยธรรมชาติ สัตว์ที่อาศัยในป่าชายเลน เช่น ลิงแสม ,  ปลาตีน ,  ปูชนิดต่างๆ ฯลฯ

Contenu connexe

En vedette

เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4Tatthep Deesukon
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2Tatthep Deesukon
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 

En vedette (6)

เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 

Similaire à ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2

Similaire à ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2 (6)

การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
 
1
11
1
 
Biohmes55
Biohmes55Biohmes55
Biohmes55
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2

  • 1. ชี วนิเวศในน้ำ ( Aquatic Biome ) - ชีวนิเวศที่กระจายอยู่ตามเขตภูมิศาสตร์ต่างๆบนภาคพื้นสมุทรของโลก เช่น มหาสมุทรแปซิฟิก , มหาสมุทรแอตแลนติก , มหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรอาร์กติก รวมทั้งแหล่งน้ำจืดและแหล่งน้ำเค็มอื่นๆบนภาคพื้นทวีป - ชีวนิเวศประเภทนี้ประกอบด้วยชีวนิเวศหลากหลายชนิด โดยใช้ “ความเค็มของน้ำ” คือ ความเข้มข้นของเกลือที่ละลายในน้ำเป็นเกณฑ์ มีหน่วยวัดเป็นจำนวนกรัมของเกลือทั้งหมดต่อกิโลกรัมของน้ำ ( g/kg )
  • 2.  
  • 3. 1. ชีวนิเวศน้ำจืด ( Freshwater ) - ชีวนิเวศในน้ำชนิดนี้จะมีค่าความเค็มของน้ำน้อยกว่าร้อยละ 0.1 โดยมวลของเกลือ ( g ) ต่อมวลของน้ำ ( kg ) - แบ่งเป็น 2 ประเภทตามความเร็วของกระแสน้ำในชีวนิเวศ ได้แก่ 1. แหล่งน้ำนิ่ง 2. แหล่งน้ำไหล
  • 4. แหล่งน้ำนิ่ง - เป็นชีวนิเวศน้ำจืดที่มีการไหลเวียนของมวลน้ำอย่างช้าๆภายในเขตของแหล่งน้ำนิ่ง เช่น บึง , ทะเลสาบ โดยแบ่งเป็น 3 บริเวณ ได้แก่ 1. บริเวณฝั่ง ( Littoral zone ) เป็นบริเวณที่อยู่ติดพื้นดินและห่างจากฝั่งไม่มาก 2. บริเวณผิวน้ำ ( Limnetic zone ) เป็นบริเวณที่ถัดออกมาจากบริเวณชายฝั่ง ที่สัมผัสอากาศและได้รับแสงอาทิตย์กระจายทั่วถึง 3. บริเวณน้ำชั้นล่าง ( Profundal zone ) เป็นบริเวณที่อยู่ต่ำกว่าบริเวณผิวน้ำลงไปจนถึงพื้นท้องน้ำซึ่งแสงอาทิตย์ส่องไปไม่ถึง
  • 5.  
  • 6. - ในบริเวณฝั่งจะมีพืชน้ำที่รากหยั่งลึกในดินใต้ผืนน้ำตื้น เช่น กก และพืชที่ลอยน้ำอยู่ เช่น บัวสายเป็นจำนวนมาก - บริเวณผิวน้ำจะพบสัตว์ชนิดต่างๆ เช่น ปลากระดี่ และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวจำนวนมาก เช่น โปรโตซัวและสาหร่าย ว่ายน้ำอย่างช้าๆหรือลอยอยู่
  • 7. แหล่งน้ำไหล - เป็นชีวนิเวศน้ำจืดที่มีการไหลของมวลน้ำอยู่ตลอดเวลาอย่างมีทิศทาง ( มีการถ่ายเทมวลน้ำเข้าและออกจากแหล่งน้ำ ) แบ่งเป็น 2 บริเวณ ได้แก่ 1. บริเวณน้ำไหลเชี่ยว ( Rapid zone ) 2. บริเวณที่เป็นแอ่งน้ำ ( Pool zone )
  • 8. - สัตว์ในบริเวณน้ำไหลเชี่ยวจะมีการปรับตัวเพื่อให้สามารถอยู่ในกระแสน้ำเชี่ยวได้ เช่น การยึดเกาะตามโขดหินใต้น้ำของฟองน้ำน้ำจืดและตัวอ่อนของแมลงหนอนปลอกน้ำ หรือปลาบางชนิดจะว่ายทวนน้ำตลอดเวลา เช่น ปลาพลวง , ปลาเลียหิน ฯลฯ
  • 9. 2. ชีวนิเวศน้ำเค็ม ( Marine ) - ชีวนิเวศในน้ำชนิดนี้จะมีค่าความเค็มของน้ำประมาณร้อยละ 3.5 โดยมวลของเกลือ ( g ) ต่อมวลของน้ำ ( kg ) ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ 3 ใน 4 ส่วนของโลก - ชีวนิเวศแบบนี้มีอยู่หลายแหล่งระบบนิเวศ เช่น หาดทราย ( Sand beach ), หาดหิน ( Rock beach ), แนวปะการัง ( Coral reef )
  • 10. หาดทราย ( Sand beach ) - เป็นชีวนิเวศน้ำเค็มที่อยู่บริเวณชายฝั่งตั้งแต่บริเวณที่ระดับน้ำเค็มลดลงต่ำสุดจนถึงบริเวณที่ละอองน้ำเค็มซัดสาดไปถึง ประกอบด้วยอนุภาคของทรายขนาดต่างๆ - ปัจจัยทางกายภาพที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในหาดทราย คือ อุณหภูมิและความชื้นบนหาดทรายซึ่งเป็นผลมาจากกระแสน้ำขึ้น - น้ำลง
  • 11. - สัตว์ส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ที่หาดทรายมักมีขนาดเล็ก ไม่มีพฤติกรรมการเกาะติดแน่น แต่มีพฤติกรรมการฝังตัวในทรายและการคัดกรองอาหารที่ปนกับอนุภาคของทราย เช่น ปูลม หอยเสียบ ฯลฯ
  • 12. หาดหิน ( Rock beach ) - เป็นชีวนิเวศน้ำเค็มที่อยู่บริเวณประกอบด้วยโขดหินไม่ราบเรียบ มีซอกและแอ่งน้ำมากมาย - เมื่อน้ำเค็มเพิ่มระดับขึ้นมาทำให้ความชื้นที่หาดหินเพิ่ม แต่ปริมาณแสงและอุณหภูมิจะลดลง ในทางกลับกันถ้าน้ำลดระดับลง ปริมาณความชื้นจะลดลง แต่ปริมาณแสงและอุณหภูมิจะเพิ่มขึ้น
  • 13. - สัตว์ส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่ที่หาดมักมีสารคิวทินเคลือบหรือมีเปลือกเพื่อป้องกันการระเหยของน้ำและเก็บกักน้ำเอาไว้ บ้างก็มีพฤติกรรมยึดเกาะกับโขดหิน เช่น เพรียงหิน , ลิ่นทะเล - แต่บางชนิดสามารถเคลื่อนไปหลบในซอกหินได้เมื่อยามน้ำเค็มขึ้น เช่น ปลิงทะเล
  • 14. แนวปะการัง ( Coral reef ) - เป็นชีวนิเวศน้ำเค็มที่อยู่ใกล้บริเวณชายฝั่ง และมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงที่สุดในชีวนิเวศน้ำเค็ม - พบในทะเลเขตร้อนและต้องเป็นแหล่งน้ำเค็มที่สะอาด มีออกซิเจนและแสงแดดเพียงพอ - แนวปะการังถูกใช้เป็นดัชนีในการบ่งบอกสภาพแวดล้อมของชายฝั่งทะเลบริเวณนั้น
  • 15. - แนวปะการังเกิดจากสัตว์ที่เรียกว่า “ปะการัง” ที่สามารถสร้างแนวปะการังได้เพราะมีสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวพวก “ไดโนแฟลกเจเลต” ( Dinoflagellate ) อาศัยอยู่ในตัวปะการัง เรียกว่า “ซูแซนเทลลี” ( Zooxanthellae ) ซึ่งจะสังเคราะห์อาหารด้วยแสงส่งให้ปะการัง
  • 16. 3. ชีวนิเวศน้ำกร่อย ( Brackish water ) - ชีวนิเวศในน้ำชนิดนี้จะมีค่าความเค็มของน้ำประมาณอยู่ระหว่างร้อยละ 0.1 - 3.5 โดยมวลของเกลือ ( g ) ต่อมวลของน้ำ ( kg ) - พบได้ที่บริเวณที่น้ำจืดมาบรรจบกับน้ำเค็ม เช่น ปากแม่น้ำ , ช่องแคบ ซึ่งความเค็มของน้ำสามารถแปรผันได้ตามขนาดแรงดันที่มากกว่าของน้ำจืดหรือน้ำเค็ม
  • 17. ป่าชายเลน ( Mangrove forest ) - เป็นชีวนิเวศน้ำกร่อยที่พบตามบริเวณชายฝั่งทะเลและปากแม่น้ำซึ่งเป็นรอยต่อระหว่างชีวนิเวศบนบกและชีวนิเวศในน้ำ - บริเวณพื้นท้องน้ำเป็นดินเลนที่ได้จากการพัดพามาของทั้งแม่น้ำและทะเล
  • 18. - พืชในป่าชายเลนมักจะมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม เช่น โกงกางจะมีรากค้ำจุนเพื่อให้พยุงต้นอยู่ได้ในดินเลน , แสมมีรากแทงขึ้นมาเหนือดินเลนเพื่อหายใจ ( ภาพบน ) หรือการที่ใบพืชมีต่อมขับเกลือเพื่อคัดกรองเกลือจากน้ำกร่อยออกเหลือแต่น้ำจืด ( ภาพล่าง )
  • 19. - ป่าชายเลนมีความสำคัญในฐานะแหล่งอาหาร , แหล่งวางไข่และแหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้ำ รวมทั้งเป็นปราการป้องกันภัยธรรมชาติ สัตว์ที่อาศัยในป่าชายเลน เช่น ลิงแสม , ปลาตีน , ปูชนิดต่างๆ ฯลฯ