SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  52
Télécharger pour lire hors ligne
คูมือธุรกิจใหบริการความงาม
1. โครงสรางธุรกิจ ...............................................................................................1
1.1 ภาพรวมธุรกิจ ....................................................................................... 1
1.2 การวิเคราะหโซอุปทาน .......................................................................... 5
2. สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขัน ............................................................ 11
2.1 ความสามารถในการแขงขัน ................................................................. 11
2.2 สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขันในประเทศ.................................... 12
2.3 สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขันในตางประเทศ.............................. 15
3. คุณสมบัติของผูประกอบธุรกิจ ...................................................................... 16
4. รูปแบบและขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจ ................................................................ 17
4.1 ขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจ......................................................................... 17
4.2 การขออนุญาตประกอบธุรกิจ ............................................................... 20
4.3 องคประกอบหลักในการประกอบธุรกิจ ................................................. 23
5. กระบวนการดําเนินงาน ................................................................................ 32
6. ขอมูลทางการเงิน ......................................................................................... 34
6.1 โครงสรางการลงทุน ............................................................................. 34
6.2 คาใชจายในการดําเนินงาน .................................................................. 35
6.3 ประมาณการรายได ............................................................................. 37
7. บทศึกษาเชิงกลยุทธแนวทางการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจ............................... 38
7.1 แนวทางการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจ .................................................... 38
7.2 ปจจัยแหงความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ ............................................. 45
8. แนวทางการจัดทํามาตรฐาน ......................................................................... 48
0 
1.

โครงสรางธุรกิจ

1.1

ภาพรวมธุรกิจ
“ธุ รกิจ ให บ ริก ารความงาม (Beauty) หมายถึง ธุรกิจที่ ใ หบ ริ การเกี่ย วกั บ
การบํารุงและการรักษาความงามทั้งผิวหนาและผิวกาย โดยใชเครื่องสําอาง ครีมบํารุง
หรือสมุนไพร โดยกรรมวิธีการนวด พอก ขัด การอบตัว หรือใชอุปกรณที่ชวยบํารุงเพื่อ
ความสวยงามของผิวพรรณ โดยไมนับรวมการนวดเพื่อบําบัดอาการหรือผอนคลาย
ความเครียดหรือความผิดปกติของรางกาย และไมรวมการใชอุปกรณในการแกไขหรือ
ปรับเปลี่ยนผิวพรรณ เชน เครื่องสรางแสงรังสีอุลตราไวโอเลต รังสีอินฟราเรด เปนตน”
ธุรกิจใหบริการความงามที่เปดใหบริการอยูในปจจุบัน ยังมิไดมีการแบงแยก
ประเภทอยางชัดเจน อีกทั้งยังมีการใหบริการความงามประเภทอื่นๆ ควบคูไป เชน
การใหบริการรานเสริมสวยก็จะมีการใหบริการความงามควบคูไปดวย หรือแมแตใน
ธุรกิจสปาเองก็ยังมีการใหบริการความงามควบคูไปดวยเชนกัน อยางไรก็ตาม หาก
พิจ ารณาจากประเภทของการให บ ริก ารหลั ก ๆ แล ว สามารถแยกธุ ร กิจ ให บ ริ ก าร
ความงามไดเปน 3 ประเภทใหญๆ ดังนี1
้
1. ธุรกิจใหบริการความงามทั่วไป จะรวมถึงประเภทรานที่ใหบริการเสริม
สวย ซึ่ ง จะมีบ ริการนวดหนา และนวดตั ว หรือ การทํา ทรี ท เมนต ผิว รวมอยูด ว ย ซึ่ ง
รานประเภทนี้มักจะพบเห็นอยูทั่วไป โดยอัตราคาบริการจะอยูในระดับปานกลาง
2. ธุรกิจใหบริการความงามครบวงจร ธุรกิจใหบริการความงามประเภทนี้
จะมีบริการเสริมความงามตั้งแตศีรษะจรดปลายเทา โดยใชเครื่องมือและอุปกรณ
ตางๆ ที่มีเทคโนโลยีทันสมัย ซึ่งอาจมีทั้งการใหบริการแผนกหนา แผนกตัว แผนกผม
หรืออาจรวมถึงสปา ซึ่งอัตราคาบริการของธุรกิจบริการประเภทนี้จะมีราคาคอนขางสูง
                                                            
1

http://www.thannews.th.com/detialnews.php?id=M2221931&issue=2193
1 
3. ธุรกิจใหบริการความงามเฉพาะ เชน รานทรีทเมนตหนาเพื่อแกไขปญหา
เฉพาะดานใหกับลูกคา หรือ ธุรกิจใหบริการดานลดน้ําหนักและดูแลสัดสวน โดยธุรกิจ
บริการประเภทนี้ มักจะมีผูเชี่ยวชาญโดยตรงเฉพาะดานนั้นๆ คอยใหคําแนะนําและ
ควบคุมดูแลการใหบริการ ซึ่งอัตราคาบริการในธุรกิจความงามประเภทนี้จะมีราคาสูง
และมักตองเปนการใชบริการอยางตอเนื่อง (เปนคอรส)
ปจจุบันสถานใหบริการความงามที่เปดใหบริการอยูในปจจุบัน ไดพยายาม
แขงขันการใหบริการดานความงามอยางครบวงจร เพื่อตอบสนองความตองการของ
ลูกคาที่มีหลากหลาย และดวยรูปแบบการดํารงชีวิตในปจจุบันซึ่งอยูในภาวะเรงรีบ ทํา
ใหผูเขารับบริการมักมีขอจํากัดดานเวลาในการเขารับบริการ ดังนั้นผูประกอบการสวน
ใหญจึงไดพยายามเพิ่มการบริการความงามดานอื่นๆ ในสถานบริการของตนเอง อาทิ
เชน การใหบริการความงามดานดูแลผิวพรรณ การใหบริการเสริมสวย พรอมทั้งการ
ใหบริการความงามเฉพาะสวนแบบครบวงจร เพื่อตอบสนองความตองการสําหรับ
ผูบริโภคที่ตองการความสะดวกสบายในการรับบริการ
ปจจุบันยังไมมีหนวยงานใดจัดเก็บรวบรวมขอมูลจํานวนผูประกอบการใน
ธุรกิจ ใหบ ริการความงามไวอ ยา งเปน รูปธรรม ทั้ง นี้ สืบเนื่อ งมาจากปจจุบัน ธุรกิจ
ใหบริการความงามสวนใหญมีรูปแบบการใหบริการที่ผสมผสานกับการใหบริการสปา
เพื่อ ตอบสนองความต อ งการของผูบ ริโ ภคที่ หั น มานิ ย มใชบ ริก ารสปาเพื่อ สุข ภาพ
มากขึ้น ทําใหผูประกอบการใหบริการความงามหลายรายมีการปรับตัวและพัฒนา
ธุ ร กิ จ ของตนเอง โดยเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการให บ ริ ก ารความงามควบคู กั บ
การใหบริการสปา ดังนั้น หากจะพิจารณาจากรูปแบบและกระบวนการและกรรมวิธี
การใหบริการของธุรกิจใหบริการความงามนั้น จะพบวากรรมวิธีการใหบริการหลักๆ
คือ การนวดหนาและรางกายเพื่อเพิ่มความสวยงามเปนสวนใหญ ซึ่งจัดไดวาเปน
การใหบริการนวดเพื่อเสริมสวยประเภทหนึ่งเชนกัน

2 
รูปที่ 1 : จํานวนสถานประกอบการนวดเพื่อสุขภาพและนวดเพื่อเสริมสวย
ที่ไดรับการรับรองมาตรฐานของประเทศไทย
500 
450 
400 
350 
300 
250 
200 
150 
100 
50 
0 

473
221
221

218

78 

เขตกทม

50
สวนภูมิภาค

สปาเพื่อสุขภาพ

เขตกทม

สวนภูมิภาค

นวดเพื่อสุขภาพ 

เขตกทม

35
สวนภูมิภาค

นวดเพื่อเสริมสวย

จํานวนสถานประกอบการนวดเพื่อสุขภาพและนวดเพื่อเสริมสวยที่ไดรับการรับรองมาตรฐานของประเทศไทย

จากขอ มูลในรูป ที่ 1 พบวา การนวดเพื่อเสริมสวยซึ่งเปนกรรมวิธีหนึ่งใน
การใหบริการความงามนั้น มีจํานวนสถานประกอบการที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน
จากกระทรวงสาธารณสุขมีอยูในเขตกรุงเทพมหานครจํานวน 50 แหง และในสวน
ภูมิภาคจํานวน 35 แหง รวมทั้งสิ้น 85 แหง ซึ่งนับวามีจํานวนนอยมากเมื่อเทียบกับ
สถานประกอบการประเภทอื่ น ที่มีลักษณะกรรมวิธีการบริการที่ใ กลเคี ยงกั น และ
ผูประกอบการที่ ไม ไดดํา เนินการขอการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการอย า ง
ถูกตองกับกระทรวงสาธารณสุข

3 
ขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับอัตราการจางงานในธุรกิจใหบริการความงามขณะนี้
อยูในระหวางการเก็บขอมูลจากหนวยงานภาครัฐ2 อยางไรก็ตามหากจะวิเคราะหถึง
อัตราการจางงานในธุรกิจนี้ คณะผูวิจัยขออิงขอมูลการจางงานในธุรกิจเสริมสวย ดัง
รูปที่ 2 เนื่องจากในธุรกิจเสริมสวยสวนใหญจะใหบริการความงามควบคูกันไปใน
สถานบริการนั้น ซึ่งหากการจางงานในธุรกิจเสริมสวยมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น ก็สามารถ
คาดการณไดวาในธุรกิจใหบริการความงามนาจะมีแนวโนมการจางงานที่เพิ่มขึ้นดวย
รูปที่ 2 : จํานวนการจางงานในธุรกิจเสริมสวยตางๆ
ระหวางป 2544 – 2548

ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ

ในดานของขนาดของสถานใหบริการความงามนั้น ปจจุบันยังไมการเก็บ
ข อ มู ล อย า งชั ด เจนจากหน ว ยงานใด แต จ ากการสํ า รวจและเก็ บ ข อ มู ล จาก
การสัมภาษณผูประกอบการ สามารถจําแนกขนาดของสถานประกอบการ ไดดังนี้
                                                            
2

กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย
4 
ตารางที่ 1 : ขนาดของสถานใหบริการความงาม
ขนาด
จํานวนหองใหบริการ
ขนาดเล็ก
1–5
ขนาดกลาง
6 – 20
ขนาดใหญ
20 ขึ้นไป
ที่มา: จากการสัมภาษณผูประกอบการ

การอางอิงขนาดของสถานใหบริการความงามจากจํานวนหองบริการ (นวด
หนา/นวดตัว) เนื่องจากปกติทั่วไปแลวสถานใหบริการความงาม ในระหวางขั้นตอน
การใหบริการแกผูเขารับบริการนั้น จะเนนความเปนสัดสวนและความเปนสวนตัวใน
การเขารับบริการเปนสําคัญ ดังนั้น ผูประกอบการสวนใหญจึงมีความเห็นคลายคลึง
กันในการแบงขนาดของสถานประกอบการ ยกตัวอยางเชน อาคารพาณิชย 1 ชั้น
1 คูห า จะสามารถจั ด เตรีย มห อ งบริก ารพร อ มอุป กรณ ไ ด เ พีย ง 2 ห อ ง ก็จ ะถือ ว า
สถานบริการความงามนั้นเปนสถานบริการขนาดเล็ก หากผูประกอบการลงทุนใน
อาคารพาณิชย 1 คูหา (3 ชั้น) โดยสามารถจัดเตรียมหองบริการพรอมอุปกรณได
6 หอง ก็จะถือเปนสถานใหบริการความงามขนาดกลาง เปนตน
1.2

การวิเคราะหโซอุปทาน
โซ อุ ป ทานธุ ร กิ จ ให บ ริ ก ารความงามประกอบด ว ยธุ ร กิ จ ต น น้ํ า ที่ เ ป น
องค ป ระกอบหลั ก คื อ โรงเรี ย นสอนวิ ช าชี พ การให บ ริ ก ารความงาม หลั ก สู ต ร
การให บ ริ ก ารต า ง ๆ ผู ผ ลิ ต ครี ม /สมุ น ไพร บริ ษั ท จํ า หน า ยและตั ว แทนจํ า หน า ย
อุปกรณและเครื่องมือในการใหบริการความงาม และเกษตรกรผูปลูกสมุนไพร ซึ่งมี
ภาพรวมดังรูปที่ 3 และมีบทวิเคราะหดังตอไปนี้

5 
รูปที่ 3 : ภาพรวมโซอุปทานธุรกิจใหบริการความงาม
ธุรกิจตนน้ํา
โรงเรียน/สถาบันสอนบริการความ

สถานใหบริการความงาม
1) บุคลากร : พนักงานนวดหนา
พนักงานนวดตัว

ธุรกิจปลายน้ํา
บริษัทรับซักรีด

หลักสูตรการอบรมจากหนวยงานภาครัฐ

บริษัท/ตัวแทนจําหนาย
เครื่องมือ อุปกรณผผลิต
ู
และแปรรูปผลิตภัณฑ
เสริมความงาม
การใหบริการความงาม

2) เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการ
ใหบริการความงาม
3) วัตถุดิบที่ใชบํารุงและดูแลผิวพรรณ

เกษตรกร/ผูปลูกสมุนไพร
เพื่อจําหนาย

โรงเรียนสอนการบริการความงาม
โรงเรียนสอนการบริการความงามในที่นี้ หมายถึง สถานศึกษาที่ดําเนินการ
โดยเอกชนเปดทําการสอนใหผูที่สนใจจะประกอบอาชีพใหบ ริก ารความงาม เป น
หลักสูตรระยะสั้น ใชเ วลาเรีย นประมาณ 60 - 100 ชั่ว โมง โดยเปน โรงเรี ย นหรื อ
สถาบันที่เปดสอนตอ งไดรับการรับรองวิทยฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการ และมี
ใบประกาศนี ยบั ต รที่ส ามารถนํ า ไปประกอบอาชีพ ได เมื่อ เรี ย นครบหลัก สู ต ร และ
เอกสารการรับรองจากกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ อาทิเชน
6 
‐ โรงเรียนสอนการดูแลผิวพรรณนานาชาติ เอม เปนโรงเรียนแหงแรกและ
แหงเดียวที่เริ่มการเรียนการสอนเกี่ยวกับการดูแลผิวพรรณบนใบหนาและ
เรือนราง โดยกอตั้งมาเปนเวลากวา19 ป และผานการรับรองหลักสูตรจาก
กระทรวงศึกษาธิการ ในป 2534
‐ โรงเรี ย นแจ ม จั น ทร ส มุ น ไพร ซึ่ ง เป ด ให บ ริ ก ารดา นความงามมารวมเป น
ระยะเวลา 33 ป และไดมีการเปดโรงเรียนสอนหลักสูตรการนวดหนา นวด
ตัว ดวยผลิตภัณฑของตนเองมากกวา 20 ป ซึ่งไดรับรองวิทยาฐานะจาก
กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข
‐ โรงเรียนสอนความงามและสปา ไทเกอรอายส ซึ่งมีหลักสูตรวิชาการดูแล
ผิวหนา (Facial Skin Treatment ) วิชาการขัดตัว (Body Scrubs) วิชาการ
นวดตัว (Body Massage Therapy) เปนตน โดยผูที่ผานการอบรมครบ
หลักสูตรก็จะไดรับประกาศนียบัตรรับรองโดยกระทรวงศึกษาธิการ
หลักสูตรที่เปดสอน
โดยทั่วไปโรงเรียนหรือสถาบันใหบริการความงาม มักเปนผูใหบริการสอนวิธี
หรือเทคนิคการใหบริการความงาม โดยทั่วไปจะเปนหลักสูตรระยะสั้น อาทิเชน
การเรียนนวดหนา (Professional Facial massage) อาจจัดการเรียนการสอน
จํานวน 60 - 100 ชั่วโมง การเรียนนวดตัว (Professional Body Massage) จํานวน
60 - 100 ชั่วโมง
เปนตน ซึ่งเมื่อเรียนจบแลวผูเรียนสามารถนําวิชาความรูไป
ประกอบอาชีพไดทันที เนื่องจากหลักสูตรเหลานี้จะเปนการเรียนที่เนนการปฏิบัติจริง
ใชผลิตภัณฑและอุปกรณตางๆ จริง โดยเริ่มแรกจะมีการเรียนปฏิบัติกับหุนจําลอง
เพื่อใหเกิดความคุนเคยในการนวด และเมื่อเกิดความชํานาญ ผูเรียนจะไดปฏิบัติจริง
กับใบหนาของคน ซึ่งจะทําใหมีความชํานาญมากยิ่งขึ้นและสามารถประกอบอาชีพ
ไดเมื่อ เรียนครบหลักสูตร สํา หรับผลิ ตภัณ ฑใ นการใหบ ริก าร อาทิ ครีม พอกหน า
7 
ครีมทาหนา ครีมบํารุงเหลานี้ โดยปกติแลวจะมีสวนผสมที่เปนสูตรตามมาตรฐาน
สามารถนํามาใชงานไดเลยเมื่อผานหลักสูตรการเรียนนวดมาแลว
ในขณะเดี ย วกั น จะพบได ว า มี ผู ที่ ป ระกอบอาชี พ ให บ ริ ก ารความงามที่
ใหบริการลูกคา โดยที่มิไดมีการศึกษาหรือเขารับการอบรมในหลักสูตรที่ถูกตอง ซึ่ง
สวนใหญ จะใหบ ริการลูกคาจากความเคยชินหรื อ การจดจํา แลว นํา มาปฏิบัติต าม
ซึ่งก็เปนป ญหาในการทําธุรกิจใหบริการความงามอีกประการหนึ่งที่ยังคงไมไดรับ
การแกไข
บริษัทจําหนาย / ตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณการใหบริการ
ความงาม
บริ ษั ท จํา หนายหรือตัวแทนจําหนา ยเครื่องมือ และอุปกรณการใหบริก าร
ความงามเปน ธุรกิจตนน้ํา โดยปจจุบันเครื่องและอุปกรณการใหบริการความงาม
สามารถหาซื้อไดจากบริษัทจําหนาย / ตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณ
ให บ ริ ก ารความงามทั่ ว ไป ซึ่ ง ราคาจะแตกต า งกั น อั น เนื่ อ งมาจากคุ ณ ภาพ
ความแข็งแรง ทนทาน และคุณลักษณะการใชงาน ยกตัวอยางเชน
- บริษัท มารีน ซัพพลาย แอนด บิวตี้ จํากัด
- หางเสรีชัยบิวตี้
- หางหุนสวนจํากัด เอบิวตี้ อุปกรณเสริมสวย
- บริษัท สรรพสินคาบิวตี้ จํากัด
- มารีนา บิวตี้
- บริษัท แชมป บิวตี้ เซ็นเตอร จํากัด
- บริษัท บีซีเอสเอฟ จํากัด
- บริษัท บางกอกเทรดดิ้งคอสเมติกส จํากัด
- บริษัท เอส เอ บี เอส จํากัด
- บริษัท โททอลลี่ บางกอก จํากัด
8 
- หางหุนสวนจํากัด วิวาลดี้ บิวตี้ ซัพพลาย
ในป จ จุ บั น เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ก ารให บ ริ ก ารด า นความงามมี ใ ห เ ลื อ ก
มากมายหลายยี่ ห อ จากหลายแหล ง ผู ผ ลิ ต ซึ่ ง ราคาจะขึ้ น อยู กั บ คุ ณ ภาพ
ความแข็งแรงทนทาน หรือความมีชื่อเสียงของบริษัทผูผลิต ดังนั้น ผูประกอบการควร
เลื อ กซื้อเครื่อ งมือและอุปกรณที่ขนาดเหมาะสมกับขนาดของกิจการและปริม าณ
การใชงาน
หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ
ปจจุบันมีหนวยงานภาครัฐที่มีความเกี่ยวของกับธุรกิจใหบริการความงาม
หรือธุรกิจนวดเพื่อเสริมสวย อาทิ
• กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย มีหนาที่ ดังนี้
‐ เปนหนวยงานที่ดําเนินการเกี่ยวกับการจดทะเบียนพาณิชย
‐ เปนหนวงงานที่ใหคําแนะนําในการจัดตั้งและพัฒนาธุรกิจ
• กรมสนั บ สนุ น บริ ก ารสุ ข ภาพ (เขตกรุ ง เทพมหานคร) /
สํ า นั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด (ส ว นภู มิ ภ าค) กระทรวง
สาธารณสุข มีหนาที่ ดังนี้
‐ ประสานงานรับยื่นคํารองขอรับรองมาตรฐานสถานประกอบการ
เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวย
‐ ประสานงานเกี่ยวกับการเพิกถอนใบรับรองมาตรฐาน
‐ ประสานงานออกเครื่องหมายสัญลักษณ “มาตรฐาน สบส” ใหแก
สถานประกอบการที่ไดรับการรับรอง
• สํานักควบคุมและตรวจสอบอาคาร กรมโยธาธิการและผังเมือง
กระทรวงมหาดไทย มีหนาที่ ดังนี้
- เป น หน ว ยงานที่ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ต ามกฎหมายว า ดว ยการควบคุ ม
อาคาร
9 
- กํ า หนดมาตรฐานการควบคุ ม อาคารด า นความปลอดภั ย
การปองกันอัคคีภัย การรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
- กํ า กั บ การตรวจสอบสภาพและการใช อ าคารให เ ป น ไปตาม
มาตรฐานความปลอดภัย
- ตรวจรับรองคุณภาพความปลอดภัยของวัสดุและผลิตภัณฑที่ใชใน
อาคาร ใหเปนไปตามกฎหมายควบคุมอาคาร
โดยสรุปแลวกระทรวงสาธารณสุข เปนหนวยงานที่กํากับดูแลโดยตรง ซึ่งเนน
ทั้งเกณฑมาตรฐานและการตรวจสอบสถานประกอบการธุรกิจบริการประเภทนี้อยาง
เครงครัด
เกษตรกรผูปลูกสมุนไพร
เกษตรกรผูปลูกสมุนไพรหรือผูทําธุรกิจสวนสมุนไพรเปนธุรกิจตนน้ํา เพราะ
นับวาเปนผูผลิตวัตถุดิบพื้นฐานที่สําคัญในการนํามาประกอบการใหบริการ ไมวาจะ
เปนการนําสมุนไพรมาใชในการนวดหนา นวดตัว พอกหนา เพื่อบํารุงผิวพรรณ เพราะ
สวนใหญแ ลวในธุรกิจ ใหบ ริก ารความงามจะใชสมุน ไพรเปน สวนผสมหลั ก ดัง นั้น
ผูดําเนินการในธุรกิจใหบริการเพื่อความงามมักจะมีแหลงวัตถุดิบที่เปนลักษณะคูคา
ทางธุรกิจ (Business Partner) อาทิเชน เกษตรกรผูปลูกสมุนไพร หรือ ผูทําธุรกิจสวน
สมุนไพรที่มีการสั่งซื้อวัตถุดิบกันเปนประจํา เพื่อปองกันการขาดแคลนสินคาสําหรับ
ใหบริการลูกคา ยกตัวอยางเชน กลุมชาวบาน "บานดงบัง"3 หมู 6 ต.ดงขี้เหล็ก อ.เมือง
จ.ปราจีนบุรี เปนผูผลิตสมุนไพรรายใหญและเปนแหลงวัตถุดิบสําคัญของการผลิต
เวชภัณ ฑส มุน ไพร เปน แหล ง ผลิตสมุน ไพรคา สง ที่ ใ หญที่สุด ในภูมิภ าคตะวัน ออก
ติดอันดับ 1 ใน 6 ของประเทศ สรางรายไดแกตําบลเดือนละกวา 40 ลานบาท เปนตน

                                                            
3

มติชนรายวัน 19 เมษายน 2552 ปที่ 32 ฉบับที่ 11362
10 
2.

สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขัน

2.1

ความสามารถในการแขงขัน
บุคลากร จากประเทศไทยมีประวัติศาสตรการนวดที่นับเปนภูมิปญญาที่
สื บ ทอดกั น มาช า นาน ด า นบุ ค ลากรที่ ใ ห บ ริ ก ารนวดเพื่ อ ความนี้ จึ ง ถื อ ได ว า เป น
ศั ก ยภาพหลั ก ที่ ไ ทยยั ง คงมี ก ารพั ฒ นาอย า งต อ เนื่ อ งมาโดยตลอด อี ก ทั้ ง ด ว ย
ลักษณะเฉพาะของคนไทยที่มีมีกิริยามารยาทที่ออนหวานนุมนวล นาประทับใจแบบ
ไทย ก็ทํ าใหการนวดเปน ศิลปะเฉพาะตัวของคนไทยที่ตางชาติใ หการยอมรับและ
เชื่อมั่นสูงในการใหบริการเปนลําดับแรกๆ
ผลิตภัณฑสมุนไพร ประเทศไทยเปนประเทศที่มีความเปนมาเกี่ยวของกับ
สมุนไพรมาอยางยาวนาน อุดมสมบูรณไปดวยพืชสมุนไพร ที่สามารถนํามาสกัดเอา
สารจากธรรมชาติม าเป น องคป ระกอบในการผลิ ต เครื่อ งสํา อางที่ป ลอดภัยและมี
ประสิทธิภาพ ทั้งมีการพัฒนาสมุนไพรไทยแปรรูปเปนผลิตภัณฑสมุนไพรสําเร็จรูป
และเครื่องสําอางเพื่อจําหนายทั้งในและตางประเทศไดอีกดวย จึงถือไดวาผลิตภัณฑ
สมุ น ไพรเป น ศั ก ยภาพหลั ก เช น เดี ย วกั น ที่ จ ะทํ า ให ธุ ร กิ จ ให บ ริ ก ารความงามมี
ความโดดเด น อย า งมากจากความเป น ธรรมชาติ ข องตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ม มี ส ารเคมี
เจือปนเอง และปริมาณของวัตถุดิบที่สามารถสรางสรรคไดภายในประเทศ อีกทั้งยัง
ทําใหตนทุนในการประกอบการธุรกิจประเภทนี้ไมตองประสบปญหากับการมีตนทุน
มากนัก
ภู มิ อ ากาศและสภาพแวดล อ ม ภู มิ อ ากาศในประเทศไทยถื อ ว า
มีความเหมาะสมเพราะมีอากาศอบอุน มีแสงแดดตลอดทั้งป และในหลายพื้นที่เปน
ที่ราบลุม ทั้งในสวนภูมิภาคก็มีพื้นที่ที่มีความสวยงามเปนธรรมชาติ มีแหลงชุมชนที่มี
ความเจริญมากมาย ซึ่งจะสงผลใหการประกอบธุรกิจใหบริการความงามเจริญเติบโต
ขึ้นในกลุมธุรกิจบริการ
11 
คาใชจาย คาใชจายจะขึ้นอยูกับตนทุนซึ่งประกอบดวยองคประกอบหลาย
ประการ อาทิ การจัดตกแตงสถานที่ การจัดอบรมบุคลากรเพื่อใหบริการ คุณภาพของ
ผลิตภัณฑที่ใหบริการลูกคา เครื่องมือหรืออุปกรณที่ใชในสถานใหบริการ เปนตน
ระบบการจัดการ การจัดการภายในองคกรและการใหบริการอยางเปน
ระบบ ถือว าเปนจุดสํา คัญในการสรางความเชื่อ มั่นในคุณภาพของการบริการ ซึ่ง
สวนหนึ่งมาจากการกํากับดูแลของภาครัฐที่ไดมีการกําหนดมาตรฐานในดานตางๆ มา
ควบคุมเพื่อประโยชนสูงสุดของผูบริโภคหรือผูรับบริการ
การกํ า กั บดู แ ลจากภาครั ฐ เมื่ อ ป 2551 ภาครั ฐได ใ ห ค วามสํ า คั ญ ต อ
การกํากับดูแลสถานประกอบการประเภทนี้อยางมาก ดวยการปรับปรุงกฎหมายหรือ
ขอ กํา หนดตา งๆ เกี่ย วกับ การประกอบการธุรกิจ ใหบ ริก ารความงามหรือ นวดเพื่อ
เสริมสวย เพื่อใหสอดคลองกับการดําเนินการในดานตางๆ
2.2

สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขันในประเทศ
รูปที่ 4 : จํานวนประชากรไทยอายุระหวาง 20 – 44 ป

ที่มา: สถิติประชากรของประเทศไทย 2543 – 2548 สํานักงานสถิติแหงชาติ

12 
การเพิ่มขึ้นของประชากรในชวงอายุ 20 – 44 ป มีผลที่สําคัญตอแนวโนม
การเจริญเติบโตของธุรกิจบริการความงาม เนื่องจากประชากรในชวงอายุดังกลาวเปน
ประชากรกลุมเปาหมายของธุรกิจซึ่งใหความสําคัญและใสใจในการดูแลตัวเองมาก
ขึ้นอีกทั้งยังมีศักยภาพสูงในการจายคาบริการ
ผูใชบริการอีกกลุมหนึ่งที่ถือไดวาเปนกลุมที่มีศักยภาพและมีผลตอแนวโนม
การเติบโตของธุรกิจไดแก กลุมลูกคาจากนอกประเทศทั้งที่เปนชาวตางชาติหรือกลุม
คนไทยที่อาศัยอยูในตางประเทศ ซึ่งประเทศไทยมีจุดเดนทางเศรษฐกิจในเรื่องของ
การทองเที่ยวซึ่งจะเห็นไดจากรูปที่ 5 และตารางที่ 2
รูปที่ 5 : สถิติจํานวนนักทองเที่ยวขาเขาในประเทศระหวางป 2540 - 2549

ที่มา: สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยวแหงประเทศไทย

13 
ตารางที่ 3 : โครงสรางของอายุของชาวตางประเทศที่เดินทางเขามาในประเทศไทย
ป 2550
อายุ (ป)
จํานวนคน
สัดสวน (รอยละ)
ต่ํากวา 15 ป
597,670
4
15 – 24
1,556,238
11
25 – 34
3,851,347
27
35 – 44
3,432,234
24
45 – 54
2,767,578
19
55 – 64
1,663,221
11
65 ปขึ้นไป
595,940
4
รวม
14,464,228
100
ที่มา : การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

จากรูปที่ 5 แสดงถึงจํานวนนักทองเที่ยวที่เขามาในประเทศไทยตั้งแต ป
2540 – 2549 โดยสังเกตไดวาจํานวนนักทองเที่ยวมีแนวโนมที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง
โดยจากป 2540 ที่มีจํานวนนักทองเที่ยวเขาประเทศจํานวนประมาณ 7.22 ลานคน
นั้นไดมีจํานวนเพิ่มขึ้นจนถึง 13.82 ลานคนในป 2549 และขอมูลของนักทองเที่ยว
ชาวตางชาติที่เดินทางเขามาในประเทศไทยในป 2550 ที่มีชวงอายุระหวาง 25 – 44 ป
ตามตารางที่ 2 มี ถึ ง 7.28 ล า นคน หรื อ คิ ด เป น สั ด ส ว นถึ ง ร อ ยละ 50.36 ซึ่ ง จาก
แนวโนมนี้กอปรกับจุดเดนในเรื่องของการบริการโดยเฉพาะเอกลักษณในการนวดของ
คนไทยที่ แ ตกตา งจากชาติ อื่ น และคา บริก ารที่ ต่ํ า กว า ประเทศคูแ ข ง เช น สิ ง คโปร
ฮองกง หรือมาเลเซีย ทําใหสามารถวิเคราะหไดวาแนวโนมของการเติบโตในธุรกิจ
บริ ก ารความงามในประเทศไทยมี ทิ ศ ทางที่ ดี โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง หากได รั บ
การสนับสนุนจากภาครัฐอยางจริงจังและมีการพัฒนาดานการบริการและผลิตภัณฑ
อยางตอเนื่อง
14 
2.3

สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขันในตางประเทศ
โครงสรางประชากรในตางประเทศ
กลุมประชากรที่มีอายุตั้งแต 20 - 45 ป ซึ่งเปนประชากรกลุมเปาหมายของ
ธุรกิจนั้น เปนตลาดที่มีขนาดใหญนับพันลานคน ในป 2553 มีการประมาณการวาโลกมี
ประชากรกวา 6,800 ลานคนและเปนประชากรอายุระหวาง 25 – 44 ป ถึงรอยละ 29
(จํานวนประมาณ 2,003 ลานคน) และมีจํานวนของประชากรในกลุมนี้เพิ่มขึ้นอยาง
ตอเนื่อง ดังแสดงในรูปที่ 6
รูปที่ 6 : จํานวนประชากรโลกในชวงอายุระหวาง 25 – 45 ป

ที่มา : U.S.CENSUS BUREAU

ประชากรในชวงอายุดังกลาวมีวิถีการใชชีวิตที่ใหความสําคัญกับการดูแล
ตัว เอง รวมถึ ง เรื่ อ งความสวยงามเพิ่ม มากขึ้ น ซึ่ง กลุ มคนเหล า นี้เ ป น คนในวัย เริ่ ม
ทํางาน เริ่มมีการเขาสังคมในวงกวาง จนถึงผูตองการรักษาผิวพรรณใหดูออนกวาวัย
โดยมีการเก็บสํารองงบประมาณสวนหนึ่งเพื่อใชจายในเรื่องนี้โดยเฉพาะ
15 
อีกทั้งดวยเทคโนโลยีในตางประเทศที่ทันสมัย และเอื้ออํานวยในการพัฒนา
ผลิตภัณฑ เพื่อใชในการบํารุงความงาม ทําใหการมองหาโอกาสสําหรับผูประกอบการ
ไทยในการลงทุนธุรกิจบริการความงามในตางประเทศเปนทางเลือกที่นาสนใจ
3.

คุณสมบัติของผูประกอบธุรกิจ

ผูประกอบการที่สนใจจะลงทุนดําเนินธุรกิจบริการดานความงาม ควร
คํานึงถึงคุณสมบัติพื้นฐาน ดังนี้
มีความสนใจในเรื่องสุขภาพ และความสวยความงาม
ผูประกอบการควรมีพื้นฐานความรูและความสนใจเกี่ยวกับการดูแลรักษา
สุขภาพ และชอบเรื่องการดูแลรางกาย ความสวยงามของรางกาย
มีใจรักในงานบริการ
ผูประกอบการควรมีความพรอมและมีใจรักในการใหบริการ มีความเปน
กันเองและอัธยาศัยดี เพื่อสรางความสัมพันธที่ดีกับลูกคา ซึ่งจะเปนจุดเริ่มตน
ในการสรางความประทับใจใหลูกคากลับมาใชบริการอีก
มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือและผลิตภัณฑที่ใชในการบริการ
ผูประกอบการควรมีความรูและความเขาใจในผลิตภัณฑ เครื่องมือและ
อุปกรณตาง ๆ ที่ใชในการใหบริการ โดยเฉพาะความรูเกี่ยวกับสมุนไพร การใช
การเก็บรักษา ตลอดจนการผสมสูตรสมุนไพรตาง ๆ เพื่อใหบริการแกลูกคา
มีเงินลงทุน
การทําธุรกิจตองใชเงินลงทุนคอนขางสูง โดยเงินทุนหมุนเวียนสวนใหญจะ
ใชในการซื้อผลิตภัณฑสําหรับการใหบริการ สําหรับการลงทุนในธุรกิจนี้ผูประกอบการ
ควรมีเงินลงทุนอยางนอย 1-3 ลานบาท

16 
4.

รูปแบบและขั้นตอนการจัดตังธุรกิจ
้

ขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจ 4
การจัดตั้งธุรกิจและการบริหารจัดการ หากอยูในรูปของการระดมทุนเปน
หุนสวนนิติบุคคล จดทะเบียนกิจการกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย
ซึ่งวิธีการขอจดทะเบียนจะแตกตางกันไปตามรูปแบบของธุรกิจที่ตองการจัดตั้ง ไดแก
กิจการเจาของคนเดียว
เจาของกิจการมีหนาที่ตองยื่นขอจดทะเบียนพาณิชยภายใน 30 วันนับแต
วันที่ไดเริ่มประกอบกิจการ เจาของกิจการใดฝาฝนตองระวางโทษปรับไมเกิน 2,000
บาท และปรับตอเนื่อง อีกวันละไมเกิน 100 บาท จนกวาจะไดจดทะเบียน การจด
ทะเบียนพาณิชยตองเสียคาธรรมเนียม 50 บาท
หางหุนสวนจํากัด
1) หางหุนสวนสามัญ ผูลงทุนเรียกวา "หุนสวนจําพวกไมจํากัดความรับ
ผิด" ซึ่งจะตองรับผิดชอบในหนี้ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจอยางไมจํากัด
จํานวน หางหุนสวนสามัญนี้จะจดทะเบียนเปนนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชยหรือไมก็ได
2) หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล ผูลงทุนเรียกวา "หุนสวนจําพวกไมจํากัด
ความรับผิด" ซึ่งจะตองรับผิดชอบในหนี้ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจอยางไม
จํา กั ดจํ า นวน หา งหุน สว นสามั ญ นี้จ ะต อ งจดทะเบียนเปน นิติบุ ค คลตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย
4.1

                                                            
4

สําหรับการจดทะเบียนพาณิชย ใหศึกษากฎหมายเพิ่มเติมที่
http://www.dbd.go.th/mainsite/index.php?id=101
 

17 
3) หางหุนสวนจํากัด ผูลงทุนแบงออกเปน 2 จําพวก จําพวกที่ตองรับผิด
ในหนี้ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจอยางไมจํากัดจํานวนเรียกวา "หุนสวน
จําพวกไมจํากัดความรับผิด" และอีกจําพวกหนึ่งซึ่งรับผิดในหนี้ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นไมเกิน
จํานวนเงินที่ตกลงจะรวมลงทุนดวยเรียกวา "หุนสวนจําพวกจํากัดความรับผิด" หาง
หุนสวนจํากัดตองจดทะเบียนเปนนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ขั้ น ตอนการจดทะเบี ย นของห า งหุ น ส ว นสามั ญ นิ ติ บุ ค คล และ
หางหุนสวนจํากัด
1) ยื่น แบบขอจองชื่อ หา งหุ น สว นเพื่ อ ตรวจสอบไมใ ห ซ้ํา กับ หา งหุน สว น
บริษัทอื่น
2) กรอกรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อของหางหุนสวน กิจการที่จะทํา สถานที่ตั้ง
หาง ชื่อ ที่อยู อายุ สัญชาติ สิ่งที่นํามาลงทุน ลายมือชื่อของผูเปนหุนสวนทุกคน ชื่อ
หุนสวนผูจัดการ ขอจํากัดอํานาจหุนสวนผูจัดการ (ถามี) พรอมกับประทับตราสําคัญ
ของหา งในแบบพิมพคํา ขอจดทะเบียนจั ดตั้ง และใหหุน สว นผูจัด การเป น ผูยื่ น ขอ
จดทะเบี ย น (ปกติ ก ารยื่ น ขอจดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง ห า งหุ น ส ว นสามั ญ นิ ติ บุ ค คล /ห า ง
หุนสวนจํากัด ผูเปนหุนสวนผูจัดการจะตองลงลายมือชื่อในคําขอจดทะเบียนตอหนา
นายทะเบียนหุนสวนบริษัท ในกรณีหุนสวนผูจัดการไมประสงคจะไปลงลายมือชื่อตอ
หนานายทะเบียนก็สามารถจะลงลายมือชื่อตอหนาสามัญหรือวิสามัญสมาชิกแหง
เนติบัณฑิตยสภา เพื่อเปนการรับรองลายมือชื่อของตนไดในอีกทางหนึ่ง) หรือหุนสวน
ผูจัดการจะมอบอํานาจใหผูอื่นไปยื่นจดทะเบียนแทนก็ได
3) เสียคาธรรมเนียมโดยนับจํานวนผูเปนหุนสวนกลาวคือ ผูเปนหุนสวนไม
เกิน 3 คน เสีย คาธรรมเนียม 1,000 บาท กรณีเกิน 3 คน จะเสียคาธรรมเนียมหุนสวน
ที่เกินเพิ่มอีกคนละ 200 บาท
4) เมื่ อ จดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง แล ว จะได รั บ หนั ง สื อ รั บ รองและใบสํ า คั ญ เป น
หลักฐาน
18 
บริษัทจํากัด
ผูถือหุนจะรับผิดในหนี้ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจไมเกินจํานวน
เงินผูถือหุนแตละคนตกลงจะรวมลงทุน วิธีการจดทะเบียนของบริษัท มีดังนี้
1) ยื่นแบบขอจองชื่อบริษัทเพื่อตรวจสอบไมใหซ้ํากับหางหุนสวนบริษัทอื่น
2) จั ด ทํ า หนั ง สื อ บริ ค ณห ส นธิ โดยกรอกรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ชื่ อ บริ ษั ท
จังหวัดที่ตั้งสํานักงานแหงใหญ กิจการที่จะทําทุนจดทะเบียน จํานวนหุน มูลคาหุน ชื่อ
ที่ อ ยู อายุ อาชี พ จํ า นวนหุ น ที่ จ ะลงทุ น (ซึ่ ง ต อ งจองซื้ อ หุ น อย า งน อ ย 1 หุ น ) และ
ลายมือชื่อของผูเริ่มกอตั้งบริษัททุกคนในแบบพิมพคําขอจดทะเบียนหนังสือบริคณห
สนธิ (หนังสือบริคณหสนธิตองผนึกอากรแสตมป 200 บาท) และใหผูเริ่มจัดตั้งบริษัท
คนหนึ่งคนใดก็ไดเปนผูยื่นขอจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิดวยตนเอง หรือจะมอบ
อํานาจใหผูอื่นไปยื่นจดทะเบียนแทนก็ได การจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิตองเสีย
คาธรรมเนียมตามจํานวนทุน กลาวคือ ทุนจดทะเบียนแสนละ 50 บาทแตไมต่ํากวา
500 บาท และสูงสุดไมเกิน 25,000 บาท
3) จดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง บริ ษั ท จํ า กั ด เมื่ อ ผู เ ริ่ ม จั ด ตั้ ง บริ ษั ท ได จ ดทะเบี ย น
หนังสือบริคณหสนธิแลว ผูเริ่มจัดตั้งจะตองนัดผูจองซื้อหุนเพื่อประชุมจัดตั้งบริษัท
ตอจากนั้นคณะกรรมการที่ไดรับแตงตั้งจากที่ประชุมจัดตั้งบริษัทจะตองเรียกเก็บเงิน
คาหุนจากผูจองซื้อหุน (คราวแรกใหเรียกเก็บคาหุน ๆ ละไมต่ํากวารอยละยี่สิบหา)
และกรรมการผู มี อํ า นาจลงลายมื อ ชื่ อ กระทํ า การแทนบริ ษั ท ต อ งจั ด ทํ า คํ า ขอ
จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทยื่นจดทะเบียนภายใน 3 เดือนนับตั้งแตวันที่ประชุมจัดตั้ง
บริ ษั ท การจดทะเบี ย นบริ ษั ท ต อ งเสี ยค า ธรรมเนี ย มตามจํ า นวนทุ น กล า วคื อ ทุ น
จดทะเบียนแสนละ 500 บาท แตไมต่ํากวา 5,000 บาท และสูงสุดไมเกิน 250,000
บาท
4) ปกติ ก ารยื่ น ขอจดทะเบี ย นหนั ง สื อ บริ ค ณห ส นธิ แ ละการยื่ น ขอ
จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ผูเริ่มจัดตั้งและกรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนบริษัทที่
ยื่ น ขอจดทะเบี ย นจะต อ งลงลายมื อ ชื่ อ ในคํ า ขอจดทะเบี ย นต อ หน า นายทะเบี ย น
19 
หุนสวนบริษัท ในกรณีผูเริ่มจัดตั้งหรือกรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนบริษัทที่ขอ
จดทะเบียนไมประสงคจะไปลงลายมือชื่อตอหนานายทะเบียน ก็สามารถลงลายมือชื่อ
ตอหนาสามัญหรือวิสามัญสมาชิกแหงเนติบัณฑิตยสภาเพื่อใหรับรองลายมือชื่อของ
ตนเอง ไดในอีกทางหนึ่ง
4.2

การขออนุญาตประกอบธุรกิจ
ธุ ร กิ จ ให บ ริ ก ารความงามตามนิ ย ามในรายงานฉบั บ นี้ มี ลั ก ษณะของ
การประกอบกิจการเพื่อเสริมสวย ซึ่งสอดคลองกับความหมายของกิจการนวดเพื่อ
เสริมสวยตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กําหนดสถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อ
เสริ ม สวย มาตรฐานของสถานที่ การบริ ก าร ผู ใ ห บ ริ ก าร หลั ก เกณฑ และวิ ธี ก าร
ตรวจสอบเพื่อการรับรองใหเปนไปตามมาตรฐานสําหรับสถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อ
เสริมสวยตามพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 21 ตุลาคม
พ.ศ. 2551
“กิจการนวดเพื่อเสริมสวย หมายความวา การประกอบกิจการนวดใน
สถานที่เฉพาะ เชน รานเสริมสวยหรือแตงผม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อความสวยงาม
ดวยวิธีการกด การคลึง การบีบ การจับ การประคบ การอบ หรือดวยวิธีการอื่นใดตาม
ศิลปะการนวดเพื่อเสริมสวย ทั้งนี้ตองไมมีสถานที่ ลอาบน้ําโดยมีผูใหบริการ”
ซึ่งไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาตตั้งสถานบริการ ตามกฎหมายวา
ดวยสถานบริการ ทั้งนี้ ตองมีลักษณะของสถานที่ การบริการหรือผูใหบริการเปนไป
ตามมาตรฐานที่ ก ระทรวงสาธารณสุ ข ประกาศฉบั บ ดั ง กล า วในหมวด 2 ว า ด ว ย
มาตรฐานของสถานที่ การบริก าร และผูใ หบ ริการ ในสวนที่ 3 เกี่ยวกับมาตรฐาน
กิจการนวดเพื่อเสริมสวย และ หมวด 3 วาดวย หลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบเพื่อ
การรับรองใหเปนไปตามมาตรฐาน

20 
ตารางที่ 4 : ขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจในปจจุบัน
ขั้นตอน
กรมพัฒนา
กระทรวงสาธารณสุข
(Optional)
ธุรกิจการคา
1. จ ด ท ะ เ บี ย น จดทะเบียน
ยื่ น คํ า ร อ ง ข อ ใ บ รั บ ร อ ง
มาตรฐานสถานประกอบการ
ธุรกิจการคา
ธุรกิจการคา
- เขตกรุงเทพมหานครให
ยื่ น ณ กรมสนั บ สนุ น
บริการสุขภาพ
- ส ว นภู มิ ภ าคให ยื่ น ณ
สํ า นั ก งานสาธารณสุ ข
จังหวัด
2. ข อ ใ บ รั บ ร อ ง
มาตรฐาน
ส ถ า น
ประกอบการ
เ พื่ อ สุ ข ภ า พ
หรื อ เพื่ อ เสริ ม
สวย(ใบรับรอง
ม า ต ร ฐ า น มี
อายุ 2 ป นั บ
แ ต วั น ที่ อ อ ก
ใบรับรอง)

ตรวจสอบหลักฐานและเสนอ
ความเห็นแกคณะกรรมการ
เพื่อพิจารณาภายใน 30 วัน
นั บ แต วั น ที่ ไ ด รั บ คํ า ร อ งขอ
ใบรับรองมาตรฐาน

หมายเหตุ

พิ จ า ร ณ า โ ด ย
คณะกรรมการตรวจ
แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น
มาตรฐานสถาน
ประกอบการกลาง
หรือคณะกรรม การ
ตรวจและประเมิ น
มาตรฐานสถาน
ประกอบการประจํา
จังหวัด แลวแตกรณี

ต ร ว จ ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ เ ล ข า นุ ก า ร
ม า ต ร ฐ า น ข อ ง ส ถ า น คณะกรรมการตรวจ
21 
ขั้นตอน
(Optional)

กรมพัฒนา
ธุรกิจการคา

กระทรวงสาธารณสุข

หมายเหตุ

ป ร ะ ก อ บ ก า ร แ ล ะ ก า ร แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น
ใ ห บ ริ ก า ร แ ล ะ เ ส น อ ม า ต ร ฐ า น ส ถ า น
ค ว า ม เ ห็ น ต อ ผู อ อ ก ประกอบการฯ
ใบรับรองภายใน 90 วัน
นับแตวันที่ไดรับคํารองขอ
ใบรั บ รองจากเลขานุ ก าร
คณะกรรมการ
พิ จ ารณาออกหรื อ ไม อ อก
ใบรั บ รองมาตรฐานภายใน
10 วัน นับแตวันที่
ไดรับเรื่องจากคณะกรรมการ

22 

คณะกรรมการตรวจ
แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น
มาตรฐานสถาน
ประกอบการฯ
ผู อ อกใบรั บ รอง คื อ
อธิ บ ดี ก รมสนั บ สนุ น
บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ
ผู ว า ราชการจั ง หวั ด
หรื อ ผู ซึ่ ง อธิ บ ดี ก รม
ส นั บ ส นุ น บ ริ ก า ร
สุ ข ภ า พ ห รื อ ผู ว า
ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด
มอบหมาย แล ว แต
กรณี
เมื่ อ ผู ป ระกอบการไ ด รั บ การพิ จ ารณาออกใบรั บ รองมาตรฐาน
สถานประกอบการให แ ก ส ถานประกอบการแล ว นั้ น สถานประกอบการจะได รั บ
เครื่องหมายสัญลักษณ “มาตรฐาน สบส” โดยเครื่องหมายสัญลักษณนี้จะตองแสดง
ไวในที่เปดเผยและมองเห็นไดชัดเจน ณ สถานประกอบการ
4.3

องคประกอบหลักในการประกอบธุรกิจ
สถานที่ตั้ง
เลือกทําเลที่ตั้งของรานควรมีสถานที่ตั้งในบริเวณแหลงชุมชน หรือมีทําเล
ที่โดดเดน (Outstanding) หรือแหลงรวมกิจกรรมหลัก ๆ สําคัญ เชน แหลงการคา
สปอร ต คลั บ หรื อ ศู น ย ก ารค า เป น ต น เนื่ อ งจากรู ป แบบการใช บ ริ ก ารของ
สถานใหบริการความงามมีขอจํากัดทางดานเวลา ซึ่งตองใชเวลาในการใชบริการ
ค อ นข า งมาก ประกอบกั บ ทํ า เลที่ ตั้ ง เหล า นี้ มี ข อ ได เ ปรี ย บอยู ห ลายประการเช น
มีอาคารจอดรถ เปนสถานที่ที่สะอาดและสวยงาม อีกทั้งยังเปนวิถีชีวิตของคนรุน
ปจจุบันที่ตองการความสะดวกสบายอยางครบครัน แตขอเสียของการเลือกทําเล
ประเภทนี้คือการลงทุนที่มีมูลคาสูง หรือหลาย ๆ ธุรกิจก็ยังนิยมที่จะเปดใหบริการ
จากที่อยูอาศัยของเจาของผูประกอบการเอง โดยจะทําใหชวยลดตนทุนในการลงทุน
ประกอบกิจการได
ผูประกอบการบางรายเนนแนวคิดในการเลือกทําเลที่ตั้งที่เรียกวา “ทําเล
ล อ มห า ง" เน น ความเข า ถึ ง ของลู ก ค า และพฤติ ก รรมการใช บ ริ ก ารของลู ก ค า เป น
หลักสําคัญ โดยเลือกทําเลที่ตั้งที่เปนแหลงใกลที่พักอาศัยหรือแหลงชุมชน เชน สโมสร
ของหมูบาน บริเวณทางเขาออกของหมูบาน หรือชั้นลางของคอนโดที่พักอาศัย ซึ่งจะ
สามารถเขาถึงกลุมลูกคาที่มีเวลาจํากัดและตองการความสะดวกสบายในการเดินทาง
ไปใชบริการไดภายในเวลาที่จํากัด

23 
การออกแบบและการกอสราง
ควรเนนการออกแบบบรรยากาศภายในใหมีลักษณะปลอดโปรง ไมแออัด
สะดวกสบายและปลอดภัยตอการใชบริการ สิ่งที่สําคัญที่สุด คือ ความสะอาด ซึ่งถือ
วาเปนสิ่งสําคัญที่สุดของการใหบริการความงาม โดยขนาดของรานที่เปดใหบริการ
ควรมี พื้ น ที่ ไ ม ต่ํ า กว า 40 ตารางเมตรและความกว า งหน า ร า นไม ค วรน อ ยกว า
4 เมตรหากจะแบงตามองคประกอบหลักสําคัญ ๆ สามารถแบงไดดังนี้
1) ดานความสะอาด ตองมีการดูแลบํารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ
ตาง ๆ ใหสะอาดและพรอมใหบริการอยูเสมอ อุปกรณตาง ๆ ตองผานการฆาเชื้อ
เพื่อใหผูเขารับการบริการมั่นใจไดถึงความสะอาดและปลอดภัยในการเขารับบริการ
2) ด า นความปลอดภั ย ควรมี ก ารจั ด พื้ น ที่ ใ ห บ ริ ก ารเป น สั ด ส ว น มี
ความมิดชิดที่เหมาะสมกับรูปแบบการใหบริการและมีการตรวจสอบความปลอดภัย
อยางสม่ําเสมอ เชน หองนวดตัว หองอบไอน้ํา เปนตน
3) ความเปนสวนตัว การใหบริการเฉพาะบุคคลในบางประเภท ควรมี
การจัดความเปนสัดสวนโดยคํานึงถึงการเปนสวนตัวของผูเขารับบริการเปนสําคัญ
เชน การนวดตัว การอบไอน้ํา เปนตน
จากผลการสํารวจและการวิเคราะหองคประกอบหลักที่สําคัญในการดําเนิน
บริการธุรกิจบริการความงาม สามารถสรุปใจความสําคัญ ไดดังนี้
• อาคารสถานที่ ก ารประกอบกิ จ การต อ งมี ค วามมั่ น คง ไม ชํ า รุ ด มี
สาธารณูปโภคที่สะอาดถูกสุขอนามัย มีการกําจัดขยะมูลฝอยอยางเปนระบบ และมี
การกํ า จั ด สิ่ ง ปฏิ กู ล อย า งถู ก หลั ก สุ ข าภิ บ าล ต อ งจั ด ให มี ห อ งอาบน้ํ า ห อ งส ว ม
หองผลัดเปลี่ยนเสื้อผาอยางเพียงพอ และแยกสวนชาย หญิงอยางชัดเจน
• พื้นที่ภายในกิจการตองมีความสะอาด เปนระเบียบเรียบรอยอยูเสมอ
มีการแบงพื้นที่การใหบริการอยางเปนสัดสวน เชน แผนกนวดหนา แผนกนวดตัว
เปนตน
24 
• การจั ด ตกแต ง สถานที่ ใ ห บ ริ ก ารต อ งมี ค วามเหมาะสม มี แ สงสว า ง
เพียงพอ มีการระบายอากาศที่ดี ควรมีรูปภาพหรือสื่อชนิดตาง ๆ เพื่อใหผูใชบริการ
สามารถเลื อ กใช บ ริ ก ารได ต รงความต อ งการของตนเอง เช น การพอกหน า
การนวดหนา เปนตน
• วั สดุอุ ป กรณต า ง ๆ ที่ใ ชภ ายในอาคาร ควรคํา นึ ง ถึง วา ปลอดภัยต อ
ผูใชบริการเปนหลักสําคัญ เชน พื้นหองน้ําควรมีวัสดุปองกันการลื่นลม เตียงนวดตัว
หากมีความสูงมากเกินไปควรมีขั้นบันไดเพื่อความปลอดภัยในการใชบริการ
อุปกรณและเครื่องมือ
การเลือกใชอุปกรณขึ้นอยูกับขนาดของกิจการและเงินลงทุน โดยทั่วไปแลว
วัสดุ แ ละอุป กรณต า ง ๆ จะมีใ หเลื อ กหลายแบบทั้ง ด า นคุ ณ สมบัติแ ละการใชง าน
ซึ่งอุปกรณหลักที่สามารถพบเห็นไดทั่วไปในรานบริการความงาม อาทิ
1. เตียงนวด (Massage Tables) มี 2 ประเภท คือ เตียงนวดสําหรับนวด
ตัว โดยลักษณะทั่วไปของเตียงที่ใชนวดตัวนั้น มักจะมีลักษณะเปนเตียงไม มีเบาะ
พลาสติกรองดานบนเพื่อความสะดวกในการทําความสะอาด รูปแบบยาวขนานไปกับ
พื้น ไมจําเปนตองมีลักษณะของการพับหรือปรับระดับได คุณสมบัติเหมาะสําหรับใช
นวดตัว เทา นั้ น โดยทั่ว ไปเตีย งนวดตัว แบบธรรมดาลัก ษณะนี้จะมีร าคาประมาณ
1,500 – 3,000 บาท ราคาจะขึ้นอยูกับวัสดุความคงทนและรูปแบบความสวยงาม

25 
อีกประเภทจะเปนเตียงนวดหนา เหมาะสําหรับการใหบริการนวดหนา โดย
จะมีลักษณะปรับระดับ เนื่องจากการใชเตียงปรับระดับได จะสะดวกตอการใชงาน
รวมกับอุปกรณการทําหนาตาง ๆ เชน เครื่องโอโซน เครื่องดูดสิวเสี้ยน เปนตน ซึ่งจะ
ทําใหสามารถปรับระดับการใชงานกับอุปกรณตาง ๆ ไดสมดุลกวา ซึ่งเตียงประเภทนี้
มักจะมีราคาสูงกวาเตียงนวดตัวแบบธรรมดาคอนขางมาก มีราคาเฉลี่ยประมาณ
3,500 – 12,000 บาท

26 
2. เครื่องอบไอน้ํา (Steamer) หรือตูอบไอน้ํา/สมุนไพร เปนอุปกรณ
หนึ่งในการชวยเซลลผิวออนตัวลง ขยายรูขุมขนใหกวางขึ้น ทําใหงายตอการขจัดสิ่ง
สกปรกที่อุดตันใตผิว เปนที่นิยมสําหรับผูใชบริการรานบริการความงาม ซึ่งจะชวยทํา
ใหผิวพรรณดูสดใสเปลงปลั่งไดอยางชัดเจนหลังใชบริการ ซึ่งราคาจะขึ้นอยูกับรูปแบบ
และขนาดของตูอบไอน้ําโดยเฉลี่ยราคาจะอยูที่ 3,000 – 30,000 บาท

27 
3. เครื่องพนโอโซน (Ozone stream therapy) ชวยกระตุนการไหลเวียน
ของโลหิ ต และผ อ นคลายกล า มเนื้ อ ใบหน า เพื่ อ เพิ่ ม ความนุ ม นวลของผิ ว หน า
หลังการใชบริการ โดยสวนมากเครื่องพนโอโซนนี้จะใชควบคูกับการบริการนวดหนา
โดยราคาจะขึ้นอยูคุณสมบัติของเครื่อง โดยเฉลี่ยจะมีราคาประมาณ 5,500 – 32,000
บาท

4. เครื่องกําจัดสิวและสิ่งอุดตันผิวหนา (Vacuum and Sprayer) เปน
อุปกรณที่ชวยขจัดสิ่งสกปรกบนใบหนาเพื่อปองกันการอุดตันของผิวหนัง โดยการดูด
เอาสิ่งสกปรกออกมาจากผิวหนังหรืออีกนัยหนึ่งคือเครื่องดูดสิวเสี้ยน ซึ่งเครื่องนี้จะใช
ประกอบการนวดหนาเชนกัน ราคาจะขึ้นอยูกับคุณสมบัติและการใชงานของเครื่อง
โดยเฉลี่ยอยูที่ราคา 5,500 – 18,000 บาท

28 
5. ตูอบฆาเชื้อ (Sterilizer) ใชอบฆาเชื้ออุป กรณสําหรับการนวดหน า
และนวดตัวกอนนําไปใหบริการใหแกลูกคา เชน แผนพับเช็ดหนา ควรผานการอบฆา
เชื้อกอนนําไปใช เพื่อความสะอาดและปลอดภัยสําหรับการใหบริการลูกคาลําดับ
ตอไป โดยราคาของตูอบฆาเชื้อนี้จะขึ้นอยูกับขนาดและคุณลักษณะของเครื่อง โดย
เฉลี่ยทั่วไปจะอยูที่ราคา 6,000 – 12,000 บาท

นอกจากเครื่องมือสําหรับการดูแลและบํารุงผิวพรรณใหกับลูกคาแลว ยังมี
อุป กรณอื่ น ๆ อี ก หลายประการที่จํ า เปน ต อ งใช สํา หรั บ รา นบริก ารความงาม เช น
เครื่องทําน้ํารอน ผายางหรือผาซับในปูเตียง หมอน ผาขนหนูขนาดตาง ๆ ภาชนะ
แบงผลิตภัณฑบํารุงผิว ชั้นวางอุปกรณ เสื้อคลุม สําลี ผาปดจมูก ฯลฯ ซึ่งวัสดุและ
อุปกรณเหลานี้สามารถหาซื้อไดตามรานคาหรือตัวแทนจําหนายผลิตภัณฑความงาม
ทั่วไป
บุคลากร
บุคลากรที่ใ หบริการในธุรกิจบริการความงามนั้น มีความสํา คัญอยางยิ่ง
สํ า หรั บ การให บ ริ การลู กค า ที่ เข า มาใชบ ริ การ บุค ลากรที่ใ หบ ริก ารแก ลูก คา ควรมี
ความรูเฉพาะดานที่ใหบริการ

29 
ปจจุบันการประกอบอาชีพบริการความงาม เปนวิชาชีพที่ไดรับความสนใจ
เพิ่มมากขึ้น โดยจะเห็นไดจากการมีสถาบันและโรงเรียนตางๆ ที่เปดอบรมหลักสูตร
วิชาชีพเฉพาะทางดานการบริการความงาม ซึ่งในธุรกิจบริการความงามจะประกอบ
ไปดวยบุคลากร ดังนี้
1) พนักงานนวดหนา ในสถานบริการความงามควรเปนบุคคลที่ไดรับ
การอบรมหรื อ ถ า ยทอดความรู ต ามหลั ก สู ต รจากหน ว ยงานราชการ สถาบั น หรื อ
สถานศึกษา ตามที่คณะกรรมการตรวจและประเมินมาตรฐานสถานประกอบการ
กลางรองรับ และมีความรูความชํานาญตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ มีความรูในการใช
ผลิตภัณฑและอุปกรณตาง ๆ เปนอยางดี อีกทั้งพนักงานนวดหนาจะเปนผูใกลชิดกับ
ลูกคามากที่สุด ดังนั้น การคัดเลือกพนักงานนวดหนาควรเนนพนักงานที่มีอุปนิสัยหรือ
มีใจรักในการบริการก็เปนสิ่งสําคัญที่ตองพิจารณาเปนอยางยิ่ง อีกทั้งเปนบุคคลที่

30 
รั ก ษาความลั บ หรื อ ข อ มู ล ส ว นตั ว ต า ง ๆ ของลู ก ค า ได เ ป น อย า งดี โดยอั ต รา
คาตอบแทนของพนักงานนวดหนา เฉลี่ย 7,500 บาทตอเดือน
2) พนักงานนวดตัว ควรเปนบุคคลที่ไดรับการอบรมหรือถายทอดความรู
ตามหลักสูตรจากหนวยงานราชการ สถาบันหรือสถานศึกษาตามที่คณะกรรมการ
ตรวจและประเมิ น มาตรฐานสถานประกอบการกลางรองรั บ และมี ค วามรู
ความชํานาญตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ มีความรูในการใชผลิตภัณฑและอุปกรณ
ตางๆ เปนอยางดี การคัดเลือกพนักงานนวดตัวควรเนนพนักงานที่มีอุปนิสัยหรือมีใจ
รักในการบริการก็เปนสิ่งสําคัญที่ตองพิจารณาเปนอยางยิ่ง อีกทั้งเปนบุคคลที่รักษา
ความลับหรือขอมูลสวนตัวตาง ๆ ของลูกคาไดเปนอยางดี โดยอัตราคาตอบแทนของ
พนักงานนวดตัวเฉลี่ย 7,500 บาทตอเดือน
3) พนักงานตอนรับ/ธุรการ เปนบุคคลคนแรกที่ลูกคาจะไดพบปะพูดคุย
ดวย ดังนั้น พนักงานตอนรับเปนบุคคลสําคัญลําดับแรกในการใหบริการกับลูกคาใน
การแนะนําและนําเสนอสิ่งที่ลูกคาตองการไดดี ควรมีความรูพื้นฐานดานความงาม
และการดูแลผิวพรรณ เพื่อที่จะชวยตอบขอซักถามหรือแกไขปญหาทางดานความงาม
ใหกับลูกคาได ดังนั้น พนักงานตอนรับควรเปนบุคคลที่มีอัธยาศัยดี มีใจรักบริการ โดย
อัตราคาตอบแทนของพนักงานตอนรับ/ธุรการ เฉลี่ย 8,500 บาทตอเดือน
4) พนักงานทําความสะอาด เนื่องจากรูปแบบการใหบริการความงาม
เปนธุรกิจที่เนนเรื่องความสะอาดเปนสิ่งสําคัญ ดังนั้น ดวยรูปแบบของธุรกิจจะพบวา
ในแตละวันจะมีการใชวัสดุที่เปนสิ่งปฏิกูลมากมาย เชน ทิชชู สําลี กระดาษชําระ ซึ่ง
จะเป น ขยะที่ มี ป ริ ม าณมากสํ า หรั บ ธุ ร กิ จ การให บ ริ ก ารประเภทนี้ รวมทั้ ง การทํ า
ความสะอาดอาคารสถานที่ใหบริการลูกคา ดังนั้น จึงเปนหนาที่สําคัญหนาที่หนึ่งใน
การชวยสงเสริมภาพลักษณใหกิจการ/รานบริการดูนาเชื่อถือในสายตาของผูเขารับ
บริการ โดยอัตราคาตอบแทนของพนักงานทําความสะอาดเฉลี่ย 4,500 บาทตอ
เดือน
31 
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)
คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อCherry Lay
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryNattakorn Sunkdon
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลsupatra39
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Utai Sukviwatsirikul
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Sureerut Physiotherapist
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารWilawun Wisanuvekin
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสChu Ching
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 

Tendances (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 

En vedette

การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรWichien Juthamongkol
 
ธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbalตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbalNattakorn Sunkdon
 
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดโครงสร้างสถานศึกษา
การจัดโครงสร้างสถานศึกษาการจัดโครงสร้างสถานศึกษา
การจัดโครงสร้างสถานศึกษาUdomchai Boonrod
 
Report 10.03 VERSION 2
Report 10.03 VERSION 2Report 10.03 VERSION 2
Report 10.03 VERSION 2Miriam Bakkali
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksSlideShare
 
Spa Business in Thailand
Spa Business in ThailandSpa Business in Thailand
Spa Business in ThailandThenet Asia
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพPwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพKittipan Marchuen
 
DAAT DAY : Digital Trend Spotting 2016 & Implication For Brand
DAAT DAY :  Digital Trend Spotting 2016 & Implication For BrandDAAT DAY :  Digital Trend Spotting 2016 & Implication For Brand
DAAT DAY : Digital Trend Spotting 2016 & Implication For BrandDAAT_TH
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพSaowaluck Sangkoomphai
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinksตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinksNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 

En vedette (20)

การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
 
ธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbalตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
 
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
 
การจัดโครงสร้างสถานศึกษา
การจัดโครงสร้างสถานศึกษาการจัดโครงสร้างสถานศึกษา
การจัดโครงสร้างสถานศึกษา
 
Aesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery finalAesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery final
 
Aesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery finalAesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery final
 
Aesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery finalAesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery final
 
Aesthetic plastic surgery revised
Aesthetic plastic surgery revisedAesthetic plastic surgery revised
Aesthetic plastic surgery revised
 
Chapter 8
Chapter  8Chapter  8
Chapter 8
 
Report 10.03 VERSION 2
Report 10.03 VERSION 2Report 10.03 VERSION 2
Report 10.03 VERSION 2
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Spa Business in Thailand
Spa Business in ThailandSpa Business in Thailand
Spa Business in Thailand
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพPwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
Pwp อุปทานของระบบบริการสุขภาพ
 
DAAT DAY : Digital Trend Spotting 2016 & Implication For Brand
DAAT DAY :  Digital Trend Spotting 2016 & Implication For BrandDAAT DAY :  Digital Trend Spotting 2016 & Implication For Brand
DAAT DAY : Digital Trend Spotting 2016 & Implication For Brand
 
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinksตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
ตัวอย่างแผนธุรกิจHerby drinks
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

คู่มือธุรกิจให้บริการความงาม (Beauty)

  • 1. คูมือธุรกิจใหบริการความงาม 1. โครงสรางธุรกิจ ...............................................................................................1 1.1 ภาพรวมธุรกิจ ....................................................................................... 1 1.2 การวิเคราะหโซอุปทาน .......................................................................... 5 2. สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขัน ............................................................ 11 2.1 ความสามารถในการแขงขัน ................................................................. 11 2.2 สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขันในประเทศ.................................... 12 2.3 สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขันในตางประเทศ.............................. 15 3. คุณสมบัติของผูประกอบธุรกิจ ...................................................................... 16 4. รูปแบบและขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจ ................................................................ 17 4.1 ขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจ......................................................................... 17 4.2 การขออนุญาตประกอบธุรกิจ ............................................................... 20 4.3 องคประกอบหลักในการประกอบธุรกิจ ................................................. 23 5. กระบวนการดําเนินงาน ................................................................................ 32 6. ขอมูลทางการเงิน ......................................................................................... 34 6.1 โครงสรางการลงทุน ............................................................................. 34 6.2 คาใชจายในการดําเนินงาน .................................................................. 35 6.3 ประมาณการรายได ............................................................................. 37 7. บทศึกษาเชิงกลยุทธแนวทางการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจ............................... 38 7.1 แนวทางการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจ .................................................... 38 7.2 ปจจัยแหงความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ ............................................. 45 8. แนวทางการจัดทํามาตรฐาน ......................................................................... 48 0 
  • 2.
  • 3. 1. โครงสรางธุรกิจ 1.1 ภาพรวมธุรกิจ “ธุ รกิจ ให บ ริก ารความงาม (Beauty) หมายถึง ธุรกิจที่ ใ หบ ริ การเกี่ย วกั บ การบํารุงและการรักษาความงามทั้งผิวหนาและผิวกาย โดยใชเครื่องสําอาง ครีมบํารุง หรือสมุนไพร โดยกรรมวิธีการนวด พอก ขัด การอบตัว หรือใชอุปกรณที่ชวยบํารุงเพื่อ ความสวยงามของผิวพรรณ โดยไมนับรวมการนวดเพื่อบําบัดอาการหรือผอนคลาย ความเครียดหรือความผิดปกติของรางกาย และไมรวมการใชอุปกรณในการแกไขหรือ ปรับเปลี่ยนผิวพรรณ เชน เครื่องสรางแสงรังสีอุลตราไวโอเลต รังสีอินฟราเรด เปนตน” ธุรกิจใหบริการความงามที่เปดใหบริการอยูในปจจุบัน ยังมิไดมีการแบงแยก ประเภทอยางชัดเจน อีกทั้งยังมีการใหบริการความงามประเภทอื่นๆ ควบคูไป เชน การใหบริการรานเสริมสวยก็จะมีการใหบริการความงามควบคูไปดวย หรือแมแตใน ธุรกิจสปาเองก็ยังมีการใหบริการความงามควบคูไปดวยเชนกัน อยางไรก็ตาม หาก พิจ ารณาจากประเภทของการให บ ริก ารหลั ก ๆ แล ว สามารถแยกธุ ร กิจ ให บ ริ ก าร ความงามไดเปน 3 ประเภทใหญๆ ดังนี1 ้ 1. ธุรกิจใหบริการความงามทั่วไป จะรวมถึงประเภทรานที่ใหบริการเสริม สวย ซึ่ ง จะมีบ ริการนวดหนา และนวดตั ว หรือ การทํา ทรี ท เมนต ผิว รวมอยูด ว ย ซึ่ ง รานประเภทนี้มักจะพบเห็นอยูทั่วไป โดยอัตราคาบริการจะอยูในระดับปานกลาง 2. ธุรกิจใหบริการความงามครบวงจร ธุรกิจใหบริการความงามประเภทนี้ จะมีบริการเสริมความงามตั้งแตศีรษะจรดปลายเทา โดยใชเครื่องมือและอุปกรณ ตางๆ ที่มีเทคโนโลยีทันสมัย ซึ่งอาจมีทั้งการใหบริการแผนกหนา แผนกตัว แผนกผม หรืออาจรวมถึงสปา ซึ่งอัตราคาบริการของธุรกิจบริการประเภทนี้จะมีราคาคอนขางสูง                                                              1 http://www.thannews.th.com/detialnews.php?id=M2221931&issue=2193 1 
  • 4. 3. ธุรกิจใหบริการความงามเฉพาะ เชน รานทรีทเมนตหนาเพื่อแกไขปญหา เฉพาะดานใหกับลูกคา หรือ ธุรกิจใหบริการดานลดน้ําหนักและดูแลสัดสวน โดยธุรกิจ บริการประเภทนี้ มักจะมีผูเชี่ยวชาญโดยตรงเฉพาะดานนั้นๆ คอยใหคําแนะนําและ ควบคุมดูแลการใหบริการ ซึ่งอัตราคาบริการในธุรกิจความงามประเภทนี้จะมีราคาสูง และมักตองเปนการใชบริการอยางตอเนื่อง (เปนคอรส) ปจจุบันสถานใหบริการความงามที่เปดใหบริการอยูในปจจุบัน ไดพยายาม แขงขันการใหบริการดานความงามอยางครบวงจร เพื่อตอบสนองความตองการของ ลูกคาที่มีหลากหลาย และดวยรูปแบบการดํารงชีวิตในปจจุบันซึ่งอยูในภาวะเรงรีบ ทํา ใหผูเขารับบริการมักมีขอจํากัดดานเวลาในการเขารับบริการ ดังนั้นผูประกอบการสวน ใหญจึงไดพยายามเพิ่มการบริการความงามดานอื่นๆ ในสถานบริการของตนเอง อาทิ เชน การใหบริการความงามดานดูแลผิวพรรณ การใหบริการเสริมสวย พรอมทั้งการ ใหบริการความงามเฉพาะสวนแบบครบวงจร เพื่อตอบสนองความตองการสําหรับ ผูบริโภคที่ตองการความสะดวกสบายในการรับบริการ ปจจุบันยังไมมีหนวยงานใดจัดเก็บรวบรวมขอมูลจํานวนผูประกอบการใน ธุรกิจ ใหบ ริการความงามไวอ ยา งเปน รูปธรรม ทั้ง นี้ สืบเนื่อ งมาจากปจจุบัน ธุรกิจ ใหบริการความงามสวนใหญมีรูปแบบการใหบริการที่ผสมผสานกับการใหบริการสปา เพื่อ ตอบสนองความต อ งการของผูบ ริโ ภคที่ หั น มานิ ย มใชบ ริก ารสปาเพื่อ สุข ภาพ มากขึ้น ทําใหผูประกอบการใหบริการความงามหลายรายมีการปรับตัวและพัฒนา ธุ ร กิ จ ของตนเอง โดยเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการให บ ริ ก ารความงามควบคู กั บ การใหบริการสปา ดังนั้น หากจะพิจารณาจากรูปแบบและกระบวนการและกรรมวิธี การใหบริการของธุรกิจใหบริการความงามนั้น จะพบวากรรมวิธีการใหบริการหลักๆ คือ การนวดหนาและรางกายเพื่อเพิ่มความสวยงามเปนสวนใหญ ซึ่งจัดไดวาเปน การใหบริการนวดเพื่อเสริมสวยประเภทหนึ่งเชนกัน 2 
  • 5. รูปที่ 1 : จํานวนสถานประกอบการนวดเพื่อสุขภาพและนวดเพื่อเสริมสวย ที่ไดรับการรับรองมาตรฐานของประเทศไทย 500  450  400  350  300  250  200  150  100  50  0  473 221 221 218 78  เขตกทม 50 สวนภูมิภาค สปาเพื่อสุขภาพ เขตกทม สวนภูมิภาค นวดเพื่อสุขภาพ  เขตกทม 35 สวนภูมิภาค นวดเพื่อเสริมสวย จํานวนสถานประกอบการนวดเพื่อสุขภาพและนวดเพื่อเสริมสวยที่ไดรับการรับรองมาตรฐานของประเทศไทย จากขอ มูลในรูป ที่ 1 พบวา การนวดเพื่อเสริมสวยซึ่งเปนกรรมวิธีหนึ่งใน การใหบริการความงามนั้น มีจํานวนสถานประกอบการที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน จากกระทรวงสาธารณสุขมีอยูในเขตกรุงเทพมหานครจํานวน 50 แหง และในสวน ภูมิภาคจํานวน 35 แหง รวมทั้งสิ้น 85 แหง ซึ่งนับวามีจํานวนนอยมากเมื่อเทียบกับ สถานประกอบการประเภทอื่ น ที่มีลักษณะกรรมวิธีการบริการที่ใ กลเคี ยงกั น และ ผูประกอบการที่ ไม ไดดํา เนินการขอการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการอย า ง ถูกตองกับกระทรวงสาธารณสุข 3 
  • 6. ขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับอัตราการจางงานในธุรกิจใหบริการความงามขณะนี้ อยูในระหวางการเก็บขอมูลจากหนวยงานภาครัฐ2 อยางไรก็ตามหากจะวิเคราะหถึง อัตราการจางงานในธุรกิจนี้ คณะผูวิจัยขออิงขอมูลการจางงานในธุรกิจเสริมสวย ดัง รูปที่ 2 เนื่องจากในธุรกิจเสริมสวยสวนใหญจะใหบริการความงามควบคูกันไปใน สถานบริการนั้น ซึ่งหากการจางงานในธุรกิจเสริมสวยมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น ก็สามารถ คาดการณไดวาในธุรกิจใหบริการความงามนาจะมีแนวโนมการจางงานที่เพิ่มขึ้นดวย รูปที่ 2 : จํานวนการจางงานในธุรกิจเสริมสวยตางๆ ระหวางป 2544 – 2548 ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ ในดานของขนาดของสถานใหบริการความงามนั้น ปจจุบันยังไมการเก็บ ข อ มู ล อย า งชั ด เจนจากหน ว ยงานใด แต จ ากการสํ า รวจและเก็ บ ข อ มู ล จาก การสัมภาษณผูประกอบการ สามารถจําแนกขนาดของสถานประกอบการ ไดดังนี้                                                              2 กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย 4 
  • 7. ตารางที่ 1 : ขนาดของสถานใหบริการความงาม ขนาด จํานวนหองใหบริการ ขนาดเล็ก 1–5 ขนาดกลาง 6 – 20 ขนาดใหญ 20 ขึ้นไป ที่มา: จากการสัมภาษณผูประกอบการ การอางอิงขนาดของสถานใหบริการความงามจากจํานวนหองบริการ (นวด หนา/นวดตัว) เนื่องจากปกติทั่วไปแลวสถานใหบริการความงาม ในระหวางขั้นตอน การใหบริการแกผูเขารับบริการนั้น จะเนนความเปนสัดสวนและความเปนสวนตัวใน การเขารับบริการเปนสําคัญ ดังนั้น ผูประกอบการสวนใหญจึงมีความเห็นคลายคลึง กันในการแบงขนาดของสถานประกอบการ ยกตัวอยางเชน อาคารพาณิชย 1 ชั้น 1 คูห า จะสามารถจั ด เตรีย มห อ งบริก ารพร อ มอุป กรณ ไ ด เ พีย ง 2 ห อ ง ก็จ ะถือ ว า สถานบริการความงามนั้นเปนสถานบริการขนาดเล็ก หากผูประกอบการลงทุนใน อาคารพาณิชย 1 คูหา (3 ชั้น) โดยสามารถจัดเตรียมหองบริการพรอมอุปกรณได 6 หอง ก็จะถือเปนสถานใหบริการความงามขนาดกลาง เปนตน 1.2 การวิเคราะหโซอุปทาน โซ อุ ป ทานธุ ร กิ จ ให บ ริ ก ารความงามประกอบด ว ยธุ ร กิ จ ต น น้ํ า ที่ เ ป น องค ป ระกอบหลั ก คื อ โรงเรี ย นสอนวิ ช าชี พ การให บ ริ ก ารความงาม หลั ก สู ต ร การให บ ริ ก ารต า ง ๆ ผู ผ ลิ ต ครี ม /สมุ น ไพร บริ ษั ท จํ า หน า ยและตั ว แทนจํ า หน า ย อุปกรณและเครื่องมือในการใหบริการความงาม และเกษตรกรผูปลูกสมุนไพร ซึ่งมี ภาพรวมดังรูปที่ 3 และมีบทวิเคราะหดังตอไปนี้ 5 
  • 8. รูปที่ 3 : ภาพรวมโซอุปทานธุรกิจใหบริการความงาม ธุรกิจตนน้ํา โรงเรียน/สถาบันสอนบริการความ สถานใหบริการความงาม 1) บุคลากร : พนักงานนวดหนา พนักงานนวดตัว ธุรกิจปลายน้ํา บริษัทรับซักรีด หลักสูตรการอบรมจากหนวยงานภาครัฐ บริษัท/ตัวแทนจําหนาย เครื่องมือ อุปกรณผผลิต ู และแปรรูปผลิตภัณฑ เสริมความงาม การใหบริการความงาม 2) เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการ ใหบริการความงาม 3) วัตถุดิบที่ใชบํารุงและดูแลผิวพรรณ เกษตรกร/ผูปลูกสมุนไพร เพื่อจําหนาย โรงเรียนสอนการบริการความงาม โรงเรียนสอนการบริการความงามในที่นี้ หมายถึง สถานศึกษาที่ดําเนินการ โดยเอกชนเปดทําการสอนใหผูที่สนใจจะประกอบอาชีพใหบ ริก ารความงาม เป น หลักสูตรระยะสั้น ใชเ วลาเรีย นประมาณ 60 - 100 ชั่ว โมง โดยเปน โรงเรี ย นหรื อ สถาบันที่เปดสอนตอ งไดรับการรับรองวิทยฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการ และมี ใบประกาศนี ยบั ต รที่ส ามารถนํ า ไปประกอบอาชีพ ได เมื่อ เรี ย นครบหลัก สู ต ร และ เอกสารการรับรองจากกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ อาทิเชน 6 
  • 9. ‐ โรงเรียนสอนการดูแลผิวพรรณนานาชาติ เอม เปนโรงเรียนแหงแรกและ แหงเดียวที่เริ่มการเรียนการสอนเกี่ยวกับการดูแลผิวพรรณบนใบหนาและ เรือนราง โดยกอตั้งมาเปนเวลากวา19 ป และผานการรับรองหลักสูตรจาก กระทรวงศึกษาธิการ ในป 2534 ‐ โรงเรี ย นแจ ม จั น ทร ส มุ น ไพร ซึ่ ง เป ด ให บ ริ ก ารดา นความงามมารวมเป น ระยะเวลา 33 ป และไดมีการเปดโรงเรียนสอนหลักสูตรการนวดหนา นวด ตัว ดวยผลิตภัณฑของตนเองมากกวา 20 ป ซึ่งไดรับรองวิทยาฐานะจาก กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข ‐ โรงเรียนสอนความงามและสปา ไทเกอรอายส ซึ่งมีหลักสูตรวิชาการดูแล ผิวหนา (Facial Skin Treatment ) วิชาการขัดตัว (Body Scrubs) วิชาการ นวดตัว (Body Massage Therapy) เปนตน โดยผูที่ผานการอบรมครบ หลักสูตรก็จะไดรับประกาศนียบัตรรับรองโดยกระทรวงศึกษาธิการ หลักสูตรที่เปดสอน โดยทั่วไปโรงเรียนหรือสถาบันใหบริการความงาม มักเปนผูใหบริการสอนวิธี หรือเทคนิคการใหบริการความงาม โดยทั่วไปจะเปนหลักสูตรระยะสั้น อาทิเชน การเรียนนวดหนา (Professional Facial massage) อาจจัดการเรียนการสอน จํานวน 60 - 100 ชั่วโมง การเรียนนวดตัว (Professional Body Massage) จํานวน 60 - 100 ชั่วโมง เปนตน ซึ่งเมื่อเรียนจบแลวผูเรียนสามารถนําวิชาความรูไป ประกอบอาชีพไดทันที เนื่องจากหลักสูตรเหลานี้จะเปนการเรียนที่เนนการปฏิบัติจริง ใชผลิตภัณฑและอุปกรณตางๆ จริง โดยเริ่มแรกจะมีการเรียนปฏิบัติกับหุนจําลอง เพื่อใหเกิดความคุนเคยในการนวด และเมื่อเกิดความชํานาญ ผูเรียนจะไดปฏิบัติจริง กับใบหนาของคน ซึ่งจะทําใหมีความชํานาญมากยิ่งขึ้นและสามารถประกอบอาชีพ ไดเมื่อ เรียนครบหลักสูตร สํา หรับผลิ ตภัณ ฑใ นการใหบ ริก าร อาทิ ครีม พอกหน า 7 
  • 10. ครีมทาหนา ครีมบํารุงเหลานี้ โดยปกติแลวจะมีสวนผสมที่เปนสูตรตามมาตรฐาน สามารถนํามาใชงานไดเลยเมื่อผานหลักสูตรการเรียนนวดมาแลว ในขณะเดี ย วกั น จะพบได ว า มี ผู ที่ ป ระกอบอาชี พ ให บ ริ ก ารความงามที่ ใหบริการลูกคา โดยที่มิไดมีการศึกษาหรือเขารับการอบรมในหลักสูตรที่ถูกตอง ซึ่ง สวนใหญ จะใหบ ริการลูกคาจากความเคยชินหรื อ การจดจํา แลว นํา มาปฏิบัติต าม ซึ่งก็เปนป ญหาในการทําธุรกิจใหบริการความงามอีกประการหนึ่งที่ยังคงไมไดรับ การแกไข บริษัทจําหนาย / ตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณการใหบริการ ความงาม บริ ษั ท จํา หนายหรือตัวแทนจําหนา ยเครื่องมือ และอุปกรณการใหบริก าร ความงามเปน ธุรกิจตนน้ํา โดยปจจุบันเครื่องและอุปกรณการใหบริการความงาม สามารถหาซื้อไดจากบริษัทจําหนาย / ตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณ ให บ ริ ก ารความงามทั่ ว ไป ซึ่ ง ราคาจะแตกต า งกั น อั น เนื่ อ งมาจากคุ ณ ภาพ ความแข็งแรง ทนทาน และคุณลักษณะการใชงาน ยกตัวอยางเชน - บริษัท มารีน ซัพพลาย แอนด บิวตี้ จํากัด - หางเสรีชัยบิวตี้ - หางหุนสวนจํากัด เอบิวตี้ อุปกรณเสริมสวย - บริษัท สรรพสินคาบิวตี้ จํากัด - มารีนา บิวตี้ - บริษัท แชมป บิวตี้ เซ็นเตอร จํากัด - บริษัท บีซีเอสเอฟ จํากัด - บริษัท บางกอกเทรดดิ้งคอสเมติกส จํากัด - บริษัท เอส เอ บี เอส จํากัด - บริษัท โททอลลี่ บางกอก จํากัด 8 
  • 11. - หางหุนสวนจํากัด วิวาลดี้ บิวตี้ ซัพพลาย ในป จ จุ บั น เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ก ารให บ ริ ก ารด า นความงามมี ใ ห เ ลื อ ก มากมายหลายยี่ ห อ จากหลายแหล ง ผู ผ ลิ ต ซึ่ ง ราคาจะขึ้ น อยู กั บ คุ ณ ภาพ ความแข็งแรงทนทาน หรือความมีชื่อเสียงของบริษัทผูผลิต ดังนั้น ผูประกอบการควร เลื อ กซื้อเครื่อ งมือและอุปกรณที่ขนาดเหมาะสมกับขนาดของกิจการและปริม าณ การใชงาน หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ปจจุบันมีหนวยงานภาครัฐที่มีความเกี่ยวของกับธุรกิจใหบริการความงาม หรือธุรกิจนวดเพื่อเสริมสวย อาทิ • กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย มีหนาที่ ดังนี้ ‐ เปนหนวยงานที่ดําเนินการเกี่ยวกับการจดทะเบียนพาณิชย ‐ เปนหนวงงานที่ใหคําแนะนําในการจัดตั้งและพัฒนาธุรกิจ • กรมสนั บ สนุ น บริ ก ารสุ ข ภาพ (เขตกรุ ง เทพมหานคร) / สํ า นั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด (ส ว นภู มิ ภ าค) กระทรวง สาธารณสุข มีหนาที่ ดังนี้ ‐ ประสานงานรับยื่นคํารองขอรับรองมาตรฐานสถานประกอบการ เพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมสวย ‐ ประสานงานเกี่ยวกับการเพิกถอนใบรับรองมาตรฐาน ‐ ประสานงานออกเครื่องหมายสัญลักษณ “มาตรฐาน สบส” ใหแก สถานประกอบการที่ไดรับการรับรอง • สํานักควบคุมและตรวจสอบอาคาร กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย มีหนาที่ ดังนี้ - เป น หน ว ยงานที่ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ต ามกฎหมายว า ดว ยการควบคุ ม อาคาร 9 
  • 12. - กํ า หนดมาตรฐานการควบคุ ม อาคารด า นความปลอดภั ย การปองกันอัคคีภัย การรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม - กํ า กั บ การตรวจสอบสภาพและการใช อ าคารให เ ป น ไปตาม มาตรฐานความปลอดภัย - ตรวจรับรองคุณภาพความปลอดภัยของวัสดุและผลิตภัณฑที่ใชใน อาคาร ใหเปนไปตามกฎหมายควบคุมอาคาร โดยสรุปแลวกระทรวงสาธารณสุข เปนหนวยงานที่กํากับดูแลโดยตรง ซึ่งเนน ทั้งเกณฑมาตรฐานและการตรวจสอบสถานประกอบการธุรกิจบริการประเภทนี้อยาง เครงครัด เกษตรกรผูปลูกสมุนไพร เกษตรกรผูปลูกสมุนไพรหรือผูทําธุรกิจสวนสมุนไพรเปนธุรกิจตนน้ํา เพราะ นับวาเปนผูผลิตวัตถุดิบพื้นฐานที่สําคัญในการนํามาประกอบการใหบริการ ไมวาจะ เปนการนําสมุนไพรมาใชในการนวดหนา นวดตัว พอกหนา เพื่อบํารุงผิวพรรณ เพราะ สวนใหญแ ลวในธุรกิจ ใหบ ริก ารความงามจะใชสมุน ไพรเปน สวนผสมหลั ก ดัง นั้น ผูดําเนินการในธุรกิจใหบริการเพื่อความงามมักจะมีแหลงวัตถุดิบที่เปนลักษณะคูคา ทางธุรกิจ (Business Partner) อาทิเชน เกษตรกรผูปลูกสมุนไพร หรือ ผูทําธุรกิจสวน สมุนไพรที่มีการสั่งซื้อวัตถุดิบกันเปนประจํา เพื่อปองกันการขาดแคลนสินคาสําหรับ ใหบริการลูกคา ยกตัวอยางเชน กลุมชาวบาน "บานดงบัง"3 หมู 6 ต.ดงขี้เหล็ก อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี เปนผูผลิตสมุนไพรรายใหญและเปนแหลงวัตถุดิบสําคัญของการผลิต เวชภัณ ฑส มุน ไพร เปน แหล ง ผลิตสมุน ไพรคา สง ที่ ใ หญที่สุด ในภูมิภ าคตะวัน ออก ติดอันดับ 1 ใน 6 ของประเทศ สรางรายไดแกตําบลเดือนละกวา 40 ลานบาท เปนตน                                                              3 มติชนรายวัน 19 เมษายน 2552 ปที่ 32 ฉบับที่ 11362 10 
  • 13. 2. สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขัน 2.1 ความสามารถในการแขงขัน บุคลากร จากประเทศไทยมีประวัติศาสตรการนวดที่นับเปนภูมิปญญาที่ สื บ ทอดกั น มาช า นาน ด า นบุ ค ลากรที่ ใ ห บ ริ ก ารนวดเพื่ อ ความนี้ จึ ง ถื อ ได ว า เป น ศั ก ยภาพหลั ก ที่ ไ ทยยั ง คงมี ก ารพั ฒ นาอย า งต อ เนื่ อ งมาโดยตลอด อี ก ทั้ ง ด ว ย ลักษณะเฉพาะของคนไทยที่มีมีกิริยามารยาทที่ออนหวานนุมนวล นาประทับใจแบบ ไทย ก็ทํ าใหการนวดเปน ศิลปะเฉพาะตัวของคนไทยที่ตางชาติใ หการยอมรับและ เชื่อมั่นสูงในการใหบริการเปนลําดับแรกๆ ผลิตภัณฑสมุนไพร ประเทศไทยเปนประเทศที่มีความเปนมาเกี่ยวของกับ สมุนไพรมาอยางยาวนาน อุดมสมบูรณไปดวยพืชสมุนไพร ที่สามารถนํามาสกัดเอา สารจากธรรมชาติม าเป น องคป ระกอบในการผลิ ต เครื่อ งสํา อางที่ป ลอดภัยและมี ประสิทธิภาพ ทั้งมีการพัฒนาสมุนไพรไทยแปรรูปเปนผลิตภัณฑสมุนไพรสําเร็จรูป และเครื่องสําอางเพื่อจําหนายทั้งในและตางประเทศไดอีกดวย จึงถือไดวาผลิตภัณฑ สมุ น ไพรเป น ศั ก ยภาพหลั ก เช น เดี ย วกั น ที่ จ ะทํ า ให ธุ ร กิ จ ให บ ริ ก ารความงามมี ความโดดเด น อย า งมากจากความเป น ธรรมชาติ ข องตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ม มี ส ารเคมี เจือปนเอง และปริมาณของวัตถุดิบที่สามารถสรางสรรคไดภายในประเทศ อีกทั้งยัง ทําใหตนทุนในการประกอบการธุรกิจประเภทนี้ไมตองประสบปญหากับการมีตนทุน มากนัก ภู มิ อ ากาศและสภาพแวดล อ ม ภู มิ อ ากาศในประเทศไทยถื อ ว า มีความเหมาะสมเพราะมีอากาศอบอุน มีแสงแดดตลอดทั้งป และในหลายพื้นที่เปน ที่ราบลุม ทั้งในสวนภูมิภาคก็มีพื้นที่ที่มีความสวยงามเปนธรรมชาติ มีแหลงชุมชนที่มี ความเจริญมากมาย ซึ่งจะสงผลใหการประกอบธุรกิจใหบริการความงามเจริญเติบโต ขึ้นในกลุมธุรกิจบริการ 11 
  • 14. คาใชจาย คาใชจายจะขึ้นอยูกับตนทุนซึ่งประกอบดวยองคประกอบหลาย ประการ อาทิ การจัดตกแตงสถานที่ การจัดอบรมบุคลากรเพื่อใหบริการ คุณภาพของ ผลิตภัณฑที่ใหบริการลูกคา เครื่องมือหรืออุปกรณที่ใชในสถานใหบริการ เปนตน ระบบการจัดการ การจัดการภายในองคกรและการใหบริการอยางเปน ระบบ ถือว าเปนจุดสํา คัญในการสรางความเชื่อ มั่นในคุณภาพของการบริการ ซึ่ง สวนหนึ่งมาจากการกํากับดูแลของภาครัฐที่ไดมีการกําหนดมาตรฐานในดานตางๆ มา ควบคุมเพื่อประโยชนสูงสุดของผูบริโภคหรือผูรับบริการ การกํ า กั บดู แ ลจากภาครั ฐ เมื่ อ ป 2551 ภาครั ฐได ใ ห ค วามสํ า คั ญ ต อ การกํากับดูแลสถานประกอบการประเภทนี้อยางมาก ดวยการปรับปรุงกฎหมายหรือ ขอ กํา หนดตา งๆ เกี่ย วกับ การประกอบการธุรกิจ ใหบ ริก ารความงามหรือ นวดเพื่อ เสริมสวย เพื่อใหสอดคลองกับการดําเนินการในดานตางๆ 2.2 สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขันในประเทศ รูปที่ 4 : จํานวนประชากรไทยอายุระหวาง 20 – 44 ป ที่มา: สถิติประชากรของประเทศไทย 2543 – 2548 สํานักงานสถิติแหงชาติ 12 
  • 15. การเพิ่มขึ้นของประชากรในชวงอายุ 20 – 44 ป มีผลที่สําคัญตอแนวโนม การเจริญเติบโตของธุรกิจบริการความงาม เนื่องจากประชากรในชวงอายุดังกลาวเปน ประชากรกลุมเปาหมายของธุรกิจซึ่งใหความสําคัญและใสใจในการดูแลตัวเองมาก ขึ้นอีกทั้งยังมีศักยภาพสูงในการจายคาบริการ ผูใชบริการอีกกลุมหนึ่งที่ถือไดวาเปนกลุมที่มีศักยภาพและมีผลตอแนวโนม การเติบโตของธุรกิจไดแก กลุมลูกคาจากนอกประเทศทั้งที่เปนชาวตางชาติหรือกลุม คนไทยที่อาศัยอยูในตางประเทศ ซึ่งประเทศไทยมีจุดเดนทางเศรษฐกิจในเรื่องของ การทองเที่ยวซึ่งจะเห็นไดจากรูปที่ 5 และตารางที่ 2 รูปที่ 5 : สถิติจํานวนนักทองเที่ยวขาเขาในประเทศระหวางป 2540 - 2549 ที่มา: สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยวแหงประเทศไทย 13 
  • 16. ตารางที่ 3 : โครงสรางของอายุของชาวตางประเทศที่เดินทางเขามาในประเทศไทย ป 2550 อายุ (ป) จํานวนคน สัดสวน (รอยละ) ต่ํากวา 15 ป 597,670 4 15 – 24 1,556,238 11 25 – 34 3,851,347 27 35 – 44 3,432,234 24 45 – 54 2,767,578 19 55 – 64 1,663,221 11 65 ปขึ้นไป 595,940 4 รวม 14,464,228 100 ที่มา : การทองเที่ยวแหงประเทศไทย จากรูปที่ 5 แสดงถึงจํานวนนักทองเที่ยวที่เขามาในประเทศไทยตั้งแต ป 2540 – 2549 โดยสังเกตไดวาจํานวนนักทองเที่ยวมีแนวโนมที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง โดยจากป 2540 ที่มีจํานวนนักทองเที่ยวเขาประเทศจํานวนประมาณ 7.22 ลานคน นั้นไดมีจํานวนเพิ่มขึ้นจนถึง 13.82 ลานคนในป 2549 และขอมูลของนักทองเที่ยว ชาวตางชาติที่เดินทางเขามาในประเทศไทยในป 2550 ที่มีชวงอายุระหวาง 25 – 44 ป ตามตารางที่ 2 มี ถึ ง 7.28 ล า นคน หรื อ คิ ด เป น สั ด ส ว นถึ ง ร อ ยละ 50.36 ซึ่ ง จาก แนวโนมนี้กอปรกับจุดเดนในเรื่องของการบริการโดยเฉพาะเอกลักษณในการนวดของ คนไทยที่ แ ตกตา งจากชาติ อื่ น และคา บริก ารที่ ต่ํ า กว า ประเทศคูแ ข ง เช น สิ ง คโปร ฮองกง หรือมาเลเซีย ทําใหสามารถวิเคราะหไดวาแนวโนมของการเติบโตในธุรกิจ บริ ก ารความงามในประเทศไทยมี ทิ ศ ทางที่ ดี โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง หากได รั บ การสนับสนุนจากภาครัฐอยางจริงจังและมีการพัฒนาดานการบริการและผลิตภัณฑ อยางตอเนื่อง 14 
  • 17. 2.3 สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขันในตางประเทศ โครงสรางประชากรในตางประเทศ กลุมประชากรที่มีอายุตั้งแต 20 - 45 ป ซึ่งเปนประชากรกลุมเปาหมายของ ธุรกิจนั้น เปนตลาดที่มีขนาดใหญนับพันลานคน ในป 2553 มีการประมาณการวาโลกมี ประชากรกวา 6,800 ลานคนและเปนประชากรอายุระหวาง 25 – 44 ป ถึงรอยละ 29 (จํานวนประมาณ 2,003 ลานคน) และมีจํานวนของประชากรในกลุมนี้เพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง ดังแสดงในรูปที่ 6 รูปที่ 6 : จํานวนประชากรโลกในชวงอายุระหวาง 25 – 45 ป ที่มา : U.S.CENSUS BUREAU ประชากรในชวงอายุดังกลาวมีวิถีการใชชีวิตที่ใหความสําคัญกับการดูแล ตัว เอง รวมถึ ง เรื่ อ งความสวยงามเพิ่ม มากขึ้ น ซึ่ง กลุ มคนเหล า นี้เ ป น คนในวัย เริ่ ม ทํางาน เริ่มมีการเขาสังคมในวงกวาง จนถึงผูตองการรักษาผิวพรรณใหดูออนกวาวัย โดยมีการเก็บสํารองงบประมาณสวนหนึ่งเพื่อใชจายในเรื่องนี้โดยเฉพาะ 15 
  • 18. อีกทั้งดวยเทคโนโลยีในตางประเทศที่ทันสมัย และเอื้ออํานวยในการพัฒนา ผลิตภัณฑ เพื่อใชในการบํารุงความงาม ทําใหการมองหาโอกาสสําหรับผูประกอบการ ไทยในการลงทุนธุรกิจบริการความงามในตางประเทศเปนทางเลือกที่นาสนใจ 3. คุณสมบัติของผูประกอบธุรกิจ ผูประกอบการที่สนใจจะลงทุนดําเนินธุรกิจบริการดานความงาม ควร คํานึงถึงคุณสมบัติพื้นฐาน ดังนี้ มีความสนใจในเรื่องสุขภาพ และความสวยความงาม ผูประกอบการควรมีพื้นฐานความรูและความสนใจเกี่ยวกับการดูแลรักษา สุขภาพ และชอบเรื่องการดูแลรางกาย ความสวยงามของรางกาย มีใจรักในงานบริการ ผูประกอบการควรมีความพรอมและมีใจรักในการใหบริการ มีความเปน กันเองและอัธยาศัยดี เพื่อสรางความสัมพันธที่ดีกับลูกคา ซึ่งจะเปนจุดเริ่มตน ในการสรางความประทับใจใหลูกคากลับมาใชบริการอีก มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือและผลิตภัณฑที่ใชในการบริการ ผูประกอบการควรมีความรูและความเขาใจในผลิตภัณฑ เครื่องมือและ อุปกรณตาง ๆ ที่ใชในการใหบริการ โดยเฉพาะความรูเกี่ยวกับสมุนไพร การใช การเก็บรักษา ตลอดจนการผสมสูตรสมุนไพรตาง ๆ เพื่อใหบริการแกลูกคา มีเงินลงทุน การทําธุรกิจตองใชเงินลงทุนคอนขางสูง โดยเงินทุนหมุนเวียนสวนใหญจะ ใชในการซื้อผลิตภัณฑสําหรับการใหบริการ สําหรับการลงทุนในธุรกิจนี้ผูประกอบการ ควรมีเงินลงทุนอยางนอย 1-3 ลานบาท 16 
  • 19. 4. รูปแบบและขั้นตอนการจัดตังธุรกิจ ้ ขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจ 4 การจัดตั้งธุรกิจและการบริหารจัดการ หากอยูในรูปของการระดมทุนเปน หุนสวนนิติบุคคล จดทะเบียนกิจการกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ซึ่งวิธีการขอจดทะเบียนจะแตกตางกันไปตามรูปแบบของธุรกิจที่ตองการจัดตั้ง ไดแก กิจการเจาของคนเดียว เจาของกิจการมีหนาที่ตองยื่นขอจดทะเบียนพาณิชยภายใน 30 วันนับแต วันที่ไดเริ่มประกอบกิจการ เจาของกิจการใดฝาฝนตองระวางโทษปรับไมเกิน 2,000 บาท และปรับตอเนื่อง อีกวันละไมเกิน 100 บาท จนกวาจะไดจดทะเบียน การจด ทะเบียนพาณิชยตองเสียคาธรรมเนียม 50 บาท หางหุนสวนจํากัด 1) หางหุนสวนสามัญ ผูลงทุนเรียกวา "หุนสวนจําพวกไมจํากัดความรับ ผิด" ซึ่งจะตองรับผิดชอบในหนี้ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจอยางไมจํากัด จํานวน หางหุนสวนสามัญนี้จะจดทะเบียนเปนนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยหรือไมก็ได 2) หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล ผูลงทุนเรียกวา "หุนสวนจําพวกไมจํากัด ความรับผิด" ซึ่งจะตองรับผิดชอบในหนี้ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจอยางไม จํา กั ดจํ า นวน หา งหุน สว นสามั ญ นี้จ ะต อ งจดทะเบียนเปน นิติบุ ค คลตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย 4.1                                                              4 สําหรับการจดทะเบียนพาณิชย ใหศึกษากฎหมายเพิ่มเติมที่ http://www.dbd.go.th/mainsite/index.php?id=101   17 
  • 20. 3) หางหุนสวนจํากัด ผูลงทุนแบงออกเปน 2 จําพวก จําพวกที่ตองรับผิด ในหนี้ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจอยางไมจํากัดจํานวนเรียกวา "หุนสวน จําพวกไมจํากัดความรับผิด" และอีกจําพวกหนึ่งซึ่งรับผิดในหนี้ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นไมเกิน จํานวนเงินที่ตกลงจะรวมลงทุนดวยเรียกวา "หุนสวนจําพวกจํากัดความรับผิด" หาง หุนสวนจํากัดตองจดทะเบียนเปนนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ขั้ น ตอนการจดทะเบี ย นของห า งหุ น ส ว นสามั ญ นิ ติ บุ ค คล และ หางหุนสวนจํากัด 1) ยื่น แบบขอจองชื่อ หา งหุ น สว นเพื่ อ ตรวจสอบไมใ ห ซ้ํา กับ หา งหุน สว น บริษัทอื่น 2) กรอกรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อของหางหุนสวน กิจการที่จะทํา สถานที่ตั้ง หาง ชื่อ ที่อยู อายุ สัญชาติ สิ่งที่นํามาลงทุน ลายมือชื่อของผูเปนหุนสวนทุกคน ชื่อ หุนสวนผูจัดการ ขอจํากัดอํานาจหุนสวนผูจัดการ (ถามี) พรอมกับประทับตราสําคัญ ของหา งในแบบพิมพคํา ขอจดทะเบียนจั ดตั้ง และใหหุน สว นผูจัด การเป น ผูยื่ น ขอ จดทะเบี ย น (ปกติ ก ารยื่ น ขอจดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง ห า งหุ น ส ว นสามั ญ นิ ติ บุ ค คล /ห า ง หุนสวนจํากัด ผูเปนหุนสวนผูจัดการจะตองลงลายมือชื่อในคําขอจดทะเบียนตอหนา นายทะเบียนหุนสวนบริษัท ในกรณีหุนสวนผูจัดการไมประสงคจะไปลงลายมือชื่อตอ หนานายทะเบียนก็สามารถจะลงลายมือชื่อตอหนาสามัญหรือวิสามัญสมาชิกแหง เนติบัณฑิตยสภา เพื่อเปนการรับรองลายมือชื่อของตนไดในอีกทางหนึ่ง) หรือหุนสวน ผูจัดการจะมอบอํานาจใหผูอื่นไปยื่นจดทะเบียนแทนก็ได 3) เสียคาธรรมเนียมโดยนับจํานวนผูเปนหุนสวนกลาวคือ ผูเปนหุนสวนไม เกิน 3 คน เสีย คาธรรมเนียม 1,000 บาท กรณีเกิน 3 คน จะเสียคาธรรมเนียมหุนสวน ที่เกินเพิ่มอีกคนละ 200 บาท 4) เมื่ อ จดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง แล ว จะได รั บ หนั ง สื อ รั บ รองและใบสํ า คั ญ เป น หลักฐาน 18 
  • 21. บริษัทจํากัด ผูถือหุนจะรับผิดในหนี้ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจไมเกินจํานวน เงินผูถือหุนแตละคนตกลงจะรวมลงทุน วิธีการจดทะเบียนของบริษัท มีดังนี้ 1) ยื่นแบบขอจองชื่อบริษัทเพื่อตรวจสอบไมใหซ้ํากับหางหุนสวนบริษัทอื่น 2) จั ด ทํ า หนั ง สื อ บริ ค ณห ส นธิ โดยกรอกรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ชื่ อ บริ ษั ท จังหวัดที่ตั้งสํานักงานแหงใหญ กิจการที่จะทําทุนจดทะเบียน จํานวนหุน มูลคาหุน ชื่อ ที่ อ ยู อายุ อาชี พ จํ า นวนหุ น ที่ จ ะลงทุ น (ซึ่ ง ต อ งจองซื้ อ หุ น อย า งน อ ย 1 หุ น ) และ ลายมือชื่อของผูเริ่มกอตั้งบริษัททุกคนในแบบพิมพคําขอจดทะเบียนหนังสือบริคณห สนธิ (หนังสือบริคณหสนธิตองผนึกอากรแสตมป 200 บาท) และใหผูเริ่มจัดตั้งบริษัท คนหนึ่งคนใดก็ไดเปนผูยื่นขอจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิดวยตนเอง หรือจะมอบ อํานาจใหผูอื่นไปยื่นจดทะเบียนแทนก็ได การจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิตองเสีย คาธรรมเนียมตามจํานวนทุน กลาวคือ ทุนจดทะเบียนแสนละ 50 บาทแตไมต่ํากวา 500 บาท และสูงสุดไมเกิน 25,000 บาท 3) จดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง บริ ษั ท จํ า กั ด เมื่ อ ผู เ ริ่ ม จั ด ตั้ ง บริ ษั ท ได จ ดทะเบี ย น หนังสือบริคณหสนธิแลว ผูเริ่มจัดตั้งจะตองนัดผูจองซื้อหุนเพื่อประชุมจัดตั้งบริษัท ตอจากนั้นคณะกรรมการที่ไดรับแตงตั้งจากที่ประชุมจัดตั้งบริษัทจะตองเรียกเก็บเงิน คาหุนจากผูจองซื้อหุน (คราวแรกใหเรียกเก็บคาหุน ๆ ละไมต่ํากวารอยละยี่สิบหา) และกรรมการผู มี อํ า นาจลงลายมื อ ชื่ อ กระทํ า การแทนบริ ษั ท ต อ งจั ด ทํ า คํ า ขอ จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทยื่นจดทะเบียนภายใน 3 เดือนนับตั้งแตวันที่ประชุมจัดตั้ง บริ ษั ท การจดทะเบี ย นบริ ษั ท ต อ งเสี ยค า ธรรมเนี ย มตามจํ า นวนทุ น กล า วคื อ ทุ น จดทะเบียนแสนละ 500 บาท แตไมต่ํากวา 5,000 บาท และสูงสุดไมเกิน 250,000 บาท 4) ปกติ ก ารยื่ น ขอจดทะเบี ย นหนั ง สื อ บริ ค ณห ส นธิ แ ละการยื่ น ขอ จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ผูเริ่มจัดตั้งและกรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนบริษัทที่ ยื่ น ขอจดทะเบี ย นจะต อ งลงลายมื อ ชื่ อ ในคํ า ขอจดทะเบี ย นต อ หน า นายทะเบี ย น 19 
  • 22. หุนสวนบริษัท ในกรณีผูเริ่มจัดตั้งหรือกรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนบริษัทที่ขอ จดทะเบียนไมประสงคจะไปลงลายมือชื่อตอหนานายทะเบียน ก็สามารถลงลายมือชื่อ ตอหนาสามัญหรือวิสามัญสมาชิกแหงเนติบัณฑิตยสภาเพื่อใหรับรองลายมือชื่อของ ตนเอง ไดในอีกทางหนึ่ง 4.2 การขออนุญาตประกอบธุรกิจ ธุ ร กิ จ ให บ ริ ก ารความงามตามนิ ย ามในรายงานฉบั บ นี้ มี ลั ก ษณะของ การประกอบกิจการเพื่อเสริมสวย ซึ่งสอดคลองกับความหมายของกิจการนวดเพื่อ เสริมสวยตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กําหนดสถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อ เสริ ม สวย มาตรฐานของสถานที่ การบริ ก าร ผู ใ ห บ ริ ก าร หลั ก เกณฑ และวิ ธี ก าร ตรวจสอบเพื่อการรับรองใหเปนไปตามมาตรฐานสําหรับสถานที่เพื่อสุขภาพหรือเพื่อ เสริมสวยตามพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. 2509 พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551 “กิจการนวดเพื่อเสริมสวย หมายความวา การประกอบกิจการนวดใน สถานที่เฉพาะ เชน รานเสริมสวยหรือแตงผม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อความสวยงาม ดวยวิธีการกด การคลึง การบีบ การจับ การประคบ การอบ หรือดวยวิธีการอื่นใดตาม ศิลปะการนวดเพื่อเสริมสวย ทั้งนี้ตองไมมีสถานที่ ลอาบน้ําโดยมีผูใหบริการ” ซึ่งไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาตตั้งสถานบริการ ตามกฎหมายวา ดวยสถานบริการ ทั้งนี้ ตองมีลักษณะของสถานที่ การบริการหรือผูใหบริการเปนไป ตามมาตรฐานที่ ก ระทรวงสาธารณสุ ข ประกาศฉบั บ ดั ง กล า วในหมวด 2 ว า ด ว ย มาตรฐานของสถานที่ การบริก าร และผูใ หบ ริการ ในสวนที่ 3 เกี่ยวกับมาตรฐาน กิจการนวดเพื่อเสริมสวย และ หมวด 3 วาดวย หลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบเพื่อ การรับรองใหเปนไปตามมาตรฐาน 20 
  • 23. ตารางที่ 4 : ขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจในปจจุบัน ขั้นตอน กรมพัฒนา กระทรวงสาธารณสุข (Optional) ธุรกิจการคา 1. จ ด ท ะ เ บี ย น จดทะเบียน ยื่ น คํ า ร อ ง ข อ ใ บ รั บ ร อ ง มาตรฐานสถานประกอบการ ธุรกิจการคา ธุรกิจการคา - เขตกรุงเทพมหานครให ยื่ น ณ กรมสนั บ สนุ น บริการสุขภาพ - ส ว นภู มิ ภ าคให ยื่ น ณ สํ า นั ก งานสาธารณสุ ข จังหวัด 2. ข อ ใ บ รั บ ร อ ง มาตรฐาน ส ถ า น ประกอบการ เ พื่ อ สุ ข ภ า พ หรื อ เพื่ อ เสริ ม สวย(ใบรับรอง ม า ต ร ฐ า น มี อายุ 2 ป นั บ แ ต วั น ที่ อ อ ก ใบรับรอง) ตรวจสอบหลักฐานและเสนอ ความเห็นแกคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาภายใน 30 วัน นั บ แต วั น ที่ ไ ด รั บ คํ า ร อ งขอ ใบรับรองมาตรฐาน หมายเหตุ พิ จ า ร ณ า โ ด ย คณะกรรมการตรวจ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น มาตรฐานสถาน ประกอบการกลาง หรือคณะกรรม การ ตรวจและประเมิ น มาตรฐานสถาน ประกอบการประจํา จังหวัด แลวแตกรณี ต ร ว จ ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ เ ล ข า นุ ก า ร ม า ต ร ฐ า น ข อ ง ส ถ า น คณะกรรมการตรวจ 21 
  • 24. ขั้นตอน (Optional) กรมพัฒนา ธุรกิจการคา กระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ ป ร ะ ก อ บ ก า ร แ ล ะ ก า ร แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ใ ห บ ริ ก า ร แ ล ะ เ ส น อ ม า ต ร ฐ า น ส ถ า น ค ว า ม เ ห็ น ต อ ผู อ อ ก ประกอบการฯ ใบรับรองภายใน 90 วัน นับแตวันที่ไดรับคํารองขอ ใบรั บ รองจากเลขานุ ก าร คณะกรรมการ พิ จ ารณาออกหรื อ ไม อ อก ใบรั บ รองมาตรฐานภายใน 10 วัน นับแตวันที่ ไดรับเรื่องจากคณะกรรมการ 22  คณะกรรมการตรวจ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น มาตรฐานสถาน ประกอบการฯ ผู อ อกใบรั บ รอง คื อ อธิ บ ดี ก รมสนั บ สนุ น บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ผู ว า ราชการจั ง หวั ด หรื อ ผู ซึ่ ง อธิ บ ดี ก รม ส นั บ ส นุ น บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ห รื อ ผู ว า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด มอบหมาย แล ว แต กรณี
  • 25. เมื่ อ ผู ป ระกอบการไ ด รั บ การพิ จ ารณาออกใบรั บ รองมาตรฐาน สถานประกอบการให แ ก ส ถานประกอบการแล ว นั้ น สถานประกอบการจะได รั บ เครื่องหมายสัญลักษณ “มาตรฐาน สบส” โดยเครื่องหมายสัญลักษณนี้จะตองแสดง ไวในที่เปดเผยและมองเห็นไดชัดเจน ณ สถานประกอบการ 4.3 องคประกอบหลักในการประกอบธุรกิจ สถานที่ตั้ง เลือกทําเลที่ตั้งของรานควรมีสถานที่ตั้งในบริเวณแหลงชุมชน หรือมีทําเล ที่โดดเดน (Outstanding) หรือแหลงรวมกิจกรรมหลัก ๆ สําคัญ เชน แหลงการคา สปอร ต คลั บ หรื อ ศู น ย ก ารค า เป น ต น เนื่ อ งจากรู ป แบบการใช บ ริ ก ารของ สถานใหบริการความงามมีขอจํากัดทางดานเวลา ซึ่งตองใชเวลาในการใชบริการ ค อ นข า งมาก ประกอบกั บ ทํ า เลที่ ตั้ ง เหล า นี้ มี ข อ ได เ ปรี ย บอยู ห ลายประการเช น มีอาคารจอดรถ เปนสถานที่ที่สะอาดและสวยงาม อีกทั้งยังเปนวิถีชีวิตของคนรุน ปจจุบันที่ตองการความสะดวกสบายอยางครบครัน แตขอเสียของการเลือกทําเล ประเภทนี้คือการลงทุนที่มีมูลคาสูง หรือหลาย ๆ ธุรกิจก็ยังนิยมที่จะเปดใหบริการ จากที่อยูอาศัยของเจาของผูประกอบการเอง โดยจะทําใหชวยลดตนทุนในการลงทุน ประกอบกิจการได ผูประกอบการบางรายเนนแนวคิดในการเลือกทําเลที่ตั้งที่เรียกวา “ทําเล ล อ มห า ง" เน น ความเข า ถึ ง ของลู ก ค า และพฤติ ก รรมการใช บ ริ ก ารของลู ก ค า เป น หลักสําคัญ โดยเลือกทําเลที่ตั้งที่เปนแหลงใกลที่พักอาศัยหรือแหลงชุมชน เชน สโมสร ของหมูบาน บริเวณทางเขาออกของหมูบาน หรือชั้นลางของคอนโดที่พักอาศัย ซึ่งจะ สามารถเขาถึงกลุมลูกคาที่มีเวลาจํากัดและตองการความสะดวกสบายในการเดินทาง ไปใชบริการไดภายในเวลาที่จํากัด 23 
  • 26. การออกแบบและการกอสราง ควรเนนการออกแบบบรรยากาศภายในใหมีลักษณะปลอดโปรง ไมแออัด สะดวกสบายและปลอดภัยตอการใชบริการ สิ่งที่สําคัญที่สุด คือ ความสะอาด ซึ่งถือ วาเปนสิ่งสําคัญที่สุดของการใหบริการความงาม โดยขนาดของรานที่เปดใหบริการ ควรมี พื้ น ที่ ไ ม ต่ํ า กว า 40 ตารางเมตรและความกว า งหน า ร า นไม ค วรน อ ยกว า 4 เมตรหากจะแบงตามองคประกอบหลักสําคัญ ๆ สามารถแบงไดดังนี้ 1) ดานความสะอาด ตองมีการดูแลบํารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ ตาง ๆ ใหสะอาดและพรอมใหบริการอยูเสมอ อุปกรณตาง ๆ ตองผานการฆาเชื้อ เพื่อใหผูเขารับการบริการมั่นใจไดถึงความสะอาดและปลอดภัยในการเขารับบริการ 2) ด า นความปลอดภั ย ควรมี ก ารจั ด พื้ น ที่ ใ ห บ ริ ก ารเป น สั ด ส ว น มี ความมิดชิดที่เหมาะสมกับรูปแบบการใหบริการและมีการตรวจสอบความปลอดภัย อยางสม่ําเสมอ เชน หองนวดตัว หองอบไอน้ํา เปนตน 3) ความเปนสวนตัว การใหบริการเฉพาะบุคคลในบางประเภท ควรมี การจัดความเปนสัดสวนโดยคํานึงถึงการเปนสวนตัวของผูเขารับบริการเปนสําคัญ เชน การนวดตัว การอบไอน้ํา เปนตน จากผลการสํารวจและการวิเคราะหองคประกอบหลักที่สําคัญในการดําเนิน บริการธุรกิจบริการความงาม สามารถสรุปใจความสําคัญ ไดดังนี้ • อาคารสถานที่ ก ารประกอบกิ จ การต อ งมี ค วามมั่ น คง ไม ชํ า รุ ด มี สาธารณูปโภคที่สะอาดถูกสุขอนามัย มีการกําจัดขยะมูลฝอยอยางเปนระบบ และมี การกํ า จั ด สิ่ ง ปฏิ กู ล อย า งถู ก หลั ก สุ ข าภิ บ าล ต อ งจั ด ให มี ห อ งอาบน้ํ า ห อ งส ว ม หองผลัดเปลี่ยนเสื้อผาอยางเพียงพอ และแยกสวนชาย หญิงอยางชัดเจน • พื้นที่ภายในกิจการตองมีความสะอาด เปนระเบียบเรียบรอยอยูเสมอ มีการแบงพื้นที่การใหบริการอยางเปนสัดสวน เชน แผนกนวดหนา แผนกนวดตัว เปนตน 24 
  • 27. • การจั ด ตกแต ง สถานที่ ใ ห บ ริ ก ารต อ งมี ค วามเหมาะสม มี แ สงสว า ง เพียงพอ มีการระบายอากาศที่ดี ควรมีรูปภาพหรือสื่อชนิดตาง ๆ เพื่อใหผูใชบริการ สามารถเลื อ กใช บ ริ ก ารได ต รงความต อ งการของตนเอง เช น การพอกหน า การนวดหนา เปนตน • วั สดุอุ ป กรณต า ง ๆ ที่ใ ชภ ายในอาคาร ควรคํา นึ ง ถึง วา ปลอดภัยต อ ผูใชบริการเปนหลักสําคัญ เชน พื้นหองน้ําควรมีวัสดุปองกันการลื่นลม เตียงนวดตัว หากมีความสูงมากเกินไปควรมีขั้นบันไดเพื่อความปลอดภัยในการใชบริการ อุปกรณและเครื่องมือ การเลือกใชอุปกรณขึ้นอยูกับขนาดของกิจการและเงินลงทุน โดยทั่วไปแลว วัสดุ แ ละอุป กรณต า ง ๆ จะมีใ หเลื อ กหลายแบบทั้ง ด า นคุ ณ สมบัติแ ละการใชง าน ซึ่งอุปกรณหลักที่สามารถพบเห็นไดทั่วไปในรานบริการความงาม อาทิ 1. เตียงนวด (Massage Tables) มี 2 ประเภท คือ เตียงนวดสําหรับนวด ตัว โดยลักษณะทั่วไปของเตียงที่ใชนวดตัวนั้น มักจะมีลักษณะเปนเตียงไม มีเบาะ พลาสติกรองดานบนเพื่อความสะดวกในการทําความสะอาด รูปแบบยาวขนานไปกับ พื้น ไมจําเปนตองมีลักษณะของการพับหรือปรับระดับได คุณสมบัติเหมาะสําหรับใช นวดตัว เทา นั้ น โดยทั่ว ไปเตีย งนวดตัว แบบธรรมดาลัก ษณะนี้จะมีร าคาประมาณ 1,500 – 3,000 บาท ราคาจะขึ้นอยูกับวัสดุความคงทนและรูปแบบความสวยงาม 25 
  • 28. อีกประเภทจะเปนเตียงนวดหนา เหมาะสําหรับการใหบริการนวดหนา โดย จะมีลักษณะปรับระดับ เนื่องจากการใชเตียงปรับระดับได จะสะดวกตอการใชงาน รวมกับอุปกรณการทําหนาตาง ๆ เชน เครื่องโอโซน เครื่องดูดสิวเสี้ยน เปนตน ซึ่งจะ ทําใหสามารถปรับระดับการใชงานกับอุปกรณตาง ๆ ไดสมดุลกวา ซึ่งเตียงประเภทนี้ มักจะมีราคาสูงกวาเตียงนวดตัวแบบธรรมดาคอนขางมาก มีราคาเฉลี่ยประมาณ 3,500 – 12,000 บาท 26 
  • 29. 2. เครื่องอบไอน้ํา (Steamer) หรือตูอบไอน้ํา/สมุนไพร เปนอุปกรณ หนึ่งในการชวยเซลลผิวออนตัวลง ขยายรูขุมขนใหกวางขึ้น ทําใหงายตอการขจัดสิ่ง สกปรกที่อุดตันใตผิว เปนที่นิยมสําหรับผูใชบริการรานบริการความงาม ซึ่งจะชวยทํา ใหผิวพรรณดูสดใสเปลงปลั่งไดอยางชัดเจนหลังใชบริการ ซึ่งราคาจะขึ้นอยูกับรูปแบบ และขนาดของตูอบไอน้ําโดยเฉลี่ยราคาจะอยูที่ 3,000 – 30,000 บาท 27 
  • 30. 3. เครื่องพนโอโซน (Ozone stream therapy) ชวยกระตุนการไหลเวียน ของโลหิ ต และผ อ นคลายกล า มเนื้ อ ใบหน า เพื่ อ เพิ่ ม ความนุ ม นวลของผิ ว หน า หลังการใชบริการ โดยสวนมากเครื่องพนโอโซนนี้จะใชควบคูกับการบริการนวดหนา โดยราคาจะขึ้นอยูคุณสมบัติของเครื่อง โดยเฉลี่ยจะมีราคาประมาณ 5,500 – 32,000 บาท 4. เครื่องกําจัดสิวและสิ่งอุดตันผิวหนา (Vacuum and Sprayer) เปน อุปกรณที่ชวยขจัดสิ่งสกปรกบนใบหนาเพื่อปองกันการอุดตันของผิวหนัง โดยการดูด เอาสิ่งสกปรกออกมาจากผิวหนังหรืออีกนัยหนึ่งคือเครื่องดูดสิวเสี้ยน ซึ่งเครื่องนี้จะใช ประกอบการนวดหนาเชนกัน ราคาจะขึ้นอยูกับคุณสมบัติและการใชงานของเครื่อง โดยเฉลี่ยอยูที่ราคา 5,500 – 18,000 บาท 28 
  • 31. 5. ตูอบฆาเชื้อ (Sterilizer) ใชอบฆาเชื้ออุป กรณสําหรับการนวดหน า และนวดตัวกอนนําไปใหบริการใหแกลูกคา เชน แผนพับเช็ดหนา ควรผานการอบฆา เชื้อกอนนําไปใช เพื่อความสะอาดและปลอดภัยสําหรับการใหบริการลูกคาลําดับ ตอไป โดยราคาของตูอบฆาเชื้อนี้จะขึ้นอยูกับขนาดและคุณลักษณะของเครื่อง โดย เฉลี่ยทั่วไปจะอยูที่ราคา 6,000 – 12,000 บาท นอกจากเครื่องมือสําหรับการดูแลและบํารุงผิวพรรณใหกับลูกคาแลว ยังมี อุป กรณอื่ น ๆ อี ก หลายประการที่จํ า เปน ต อ งใช สํา หรั บ รา นบริก ารความงาม เช น เครื่องทําน้ํารอน ผายางหรือผาซับในปูเตียง หมอน ผาขนหนูขนาดตาง ๆ ภาชนะ แบงผลิตภัณฑบํารุงผิว ชั้นวางอุปกรณ เสื้อคลุม สําลี ผาปดจมูก ฯลฯ ซึ่งวัสดุและ อุปกรณเหลานี้สามารถหาซื้อไดตามรานคาหรือตัวแทนจําหนายผลิตภัณฑความงาม ทั่วไป บุคลากร บุคลากรที่ใ หบริการในธุรกิจบริการความงามนั้น มีความสํา คัญอยางยิ่ง สํ า หรั บ การให บ ริ การลู กค า ที่ เข า มาใชบ ริ การ บุค ลากรที่ใ หบ ริก ารแก ลูก คา ควรมี ความรูเฉพาะดานที่ใหบริการ 29 
  • 32. ปจจุบันการประกอบอาชีพบริการความงาม เปนวิชาชีพที่ไดรับความสนใจ เพิ่มมากขึ้น โดยจะเห็นไดจากการมีสถาบันและโรงเรียนตางๆ ที่เปดอบรมหลักสูตร วิชาชีพเฉพาะทางดานการบริการความงาม ซึ่งในธุรกิจบริการความงามจะประกอบ ไปดวยบุคลากร ดังนี้ 1) พนักงานนวดหนา ในสถานบริการความงามควรเปนบุคคลที่ไดรับ การอบรมหรื อ ถ า ยทอดความรู ต ามหลั ก สู ต รจากหน ว ยงานราชการ สถาบั น หรื อ สถานศึกษา ตามที่คณะกรรมการตรวจและประเมินมาตรฐานสถานประกอบการ กลางรองรับ และมีความรูความชํานาญตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ มีความรูในการใช ผลิตภัณฑและอุปกรณตาง ๆ เปนอยางดี อีกทั้งพนักงานนวดหนาจะเปนผูใกลชิดกับ ลูกคามากที่สุด ดังนั้น การคัดเลือกพนักงานนวดหนาควรเนนพนักงานที่มีอุปนิสัยหรือ มีใจรักในการบริการก็เปนสิ่งสําคัญที่ตองพิจารณาเปนอยางยิ่ง อีกทั้งเปนบุคคลที่ 30 
  • 33. รั ก ษาความลั บ หรื อ ข อ มู ล ส ว นตั ว ต า ง ๆ ของลู ก ค า ได เ ป น อย า งดี โดยอั ต รา คาตอบแทนของพนักงานนวดหนา เฉลี่ย 7,500 บาทตอเดือน 2) พนักงานนวดตัว ควรเปนบุคคลที่ไดรับการอบรมหรือถายทอดความรู ตามหลักสูตรจากหนวยงานราชการ สถาบันหรือสถานศึกษาตามที่คณะกรรมการ ตรวจและประเมิ น มาตรฐานสถานประกอบการกลางรองรั บ และมี ค วามรู ความชํานาญตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ มีความรูในการใชผลิตภัณฑและอุปกรณ ตางๆ เปนอยางดี การคัดเลือกพนักงานนวดตัวควรเนนพนักงานที่มีอุปนิสัยหรือมีใจ รักในการบริการก็เปนสิ่งสําคัญที่ตองพิจารณาเปนอยางยิ่ง อีกทั้งเปนบุคคลที่รักษา ความลับหรือขอมูลสวนตัวตาง ๆ ของลูกคาไดเปนอยางดี โดยอัตราคาตอบแทนของ พนักงานนวดตัวเฉลี่ย 7,500 บาทตอเดือน 3) พนักงานตอนรับ/ธุรการ เปนบุคคลคนแรกที่ลูกคาจะไดพบปะพูดคุย ดวย ดังนั้น พนักงานตอนรับเปนบุคคลสําคัญลําดับแรกในการใหบริการกับลูกคาใน การแนะนําและนําเสนอสิ่งที่ลูกคาตองการไดดี ควรมีความรูพื้นฐานดานความงาม และการดูแลผิวพรรณ เพื่อที่จะชวยตอบขอซักถามหรือแกไขปญหาทางดานความงาม ใหกับลูกคาได ดังนั้น พนักงานตอนรับควรเปนบุคคลที่มีอัธยาศัยดี มีใจรักบริการ โดย อัตราคาตอบแทนของพนักงานตอนรับ/ธุรการ เฉลี่ย 8,500 บาทตอเดือน 4) พนักงานทําความสะอาด เนื่องจากรูปแบบการใหบริการความงาม เปนธุรกิจที่เนนเรื่องความสะอาดเปนสิ่งสําคัญ ดังนั้น ดวยรูปแบบของธุรกิจจะพบวา ในแตละวันจะมีการใชวัสดุที่เปนสิ่งปฏิกูลมากมาย เชน ทิชชู สําลี กระดาษชําระ ซึ่ง จะเป น ขยะที่ มี ป ริ ม าณมากสํ า หรั บ ธุ ร กิ จ การให บ ริ ก ารประเภทนี้ รวมทั้ ง การทํ า ความสะอาดอาคารสถานที่ใหบริการลูกคา ดังนั้น จึงเปนหนาที่สําคัญหนาที่หนึ่งใน การชวยสงเสริมภาพลักษณใหกิจการ/รานบริการดูนาเชื่อถือในสายตาของผูเขารับ บริการ โดยอัตราคาตอบแทนของพนักงานทําความสะอาดเฉลี่ย 4,500 บาทตอ เดือน 31