SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
Download to read offline
[แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]         ก
 

                                                       คํานํา
             โรคเบาหวานเป น โรคเรื้อ รั งที่ เ ปน ป ญ หาทางสาธารณสุ ข ที่ สํา คั ญ ของจั ง หวั ด พระนครศรี อยุ ธ ยา
ในป พ.ศ.2555 ประชากรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนโรคเบาหวานจํานวน 25,294 คน หรือคิดเปน 3,227.58
ตอประชากรแสนคน และมีอัตราตายโดยมีสาเหตุจากโรคเบาหวาน เทากับ 4.59 ตอประชากรแสนคน ซึ่งสงผล
กระทบตอการดํารงชีวิตและเศรษฐกิจของผูปวย ครอบครัวและคาใชจายงบประมาณของรัฐ

            สิ่งที่สําคัญที่สุด คือ การที่ผูปวยไดรับการวินิจฉัยและไดรับการดูแลรักษาตั้งแตในระยะแรกของโรค
การดูแลรักษาโรคเบาหวานอยางเปนองครวมโดยสหสาขาวิชาชีพ การตรวจคัดกรองโรคแทรกซอนจากเบาหวาน
และการดูแลรักษาโรคแทรกซอนจากเบาหวาน ทั้งนี้ จากนโยบายในการยกระดับโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ
ตําบลใหสามารถจัดบริการและดูแลผูปวยเบาหวานที่อยูในเขตรับผิดชอบ เพื่อเปนการลดภาระของแผนกผูปวยนอก
ในโรงพยาบาลไดอยางเปนรูปธรรม ผูปวยไดรับบริการใกลบานใกลใจ ดังนั้น สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา จึงไดแตงตั้งคณะทํางานจัดทําแนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผูปวยเบาหวานและความดันโลหิต
สูง เพื่อจัดทําคูมือแนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555 ฉบับนี้ เพื่อใหแพทย
และบุคลากรไดมีแนวทางเวชปฏิบัติที่สามารถใชเปนแนวทางที่ถูกตอง เหมาะสมและเปนไปตามมาตรฐานในการ
ดูแลรักษาผูปวยตามบริบทของพื้นที่
             ในโอกาสนี้ ขอขอบคุณ นายแพทยชานนท นันทวงค แพทยประจําโรงพยาบาลบางปะหัน ซึ่งเปน
แกนหลักในการจัดทําคูมือ นายแพทยกาญน จิรธนา แพทยผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานอายุรกรรมที่เปนพี่เลี้ยง พรอม
ทั้ ง วางระบบการเชื่ อ มโยงของหน ว ยบริ ก ารแต ล ะระดั บ และคณะทํ า งานทุ ก ท า นที่ เ สี ย สละเวลาอั น มี ค า เพื่ อ
รวมกันดําเนินการจัดทําแนวทางเวชปฏิบัติในครั้งนี้ และหวังเปนอยางยิ่งวาแนวทางเวชปฏิบัติเลมนี้ จะเปน
เครื่องมือสงเสริมคุณภาพของการใหบริการดานสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุดแกประชาชน




                                                          นายแพทยสมพงษ บุญสืบชาติ
                                                   นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา




 
[แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]     ข
 

                                            สารบัญ
                                           หัวขอ                                                       หนา
แนวปฏิบัตในการคัดกรองโรคเบาหวาน
             ิ                                                                                            1
แนวปฏิบัตในการสงตรวจทางหองปฏิบัติการเมื่อไดรับคําวินิจฉัยเบาหวานครั้งแรก
               ิ                                                                                          5
การขึ้นทะเบียนผูปวยเบาหวานรายใหม                                                                       7
แนวปฏิบัตในการรักษาเมื่อไดรับคําวินิจฉัยเบาหวานครั้งแรก
           ิ                                                                                              9
ยาลดระดับน้ําตาลในเลือด                                                                                  10
เปาหมายการรักษา การติดตาม และการประเมินผลการรักษา                                                       15
การติดตาม การประเมินผลและการรักษาตอเนื่อง                                                               16
การดูแลผูปวยเบาหวานที่มีความดันโลหิตสูง                                                                19
แนวทางการตรวจคนและดูแลภาวะแทรกซอนทางไต                                                                 23
แนวทางการตรวจคนและดูแลภาวะแทรกซอนทางตา                                                                 29
แนวทางการตรวจคน การปองกันและดูแลรักษาปญหาเทา                                                         33
การปองกันและรักษาภาวะแทรกซอนของหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง                                          43
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิต                                                                              47
การใหความรูแกผูปวยและญาติเพื่อการดูแลตนเอง                                                          55
การตรวจระดับน้ําตาลในเลือดดวยตนเอง                                                                      59
มิติการดูแลดานอื่นๆ                                                                                     62
เกณฑชี้วัดในการดําเนินงานเบาหวาน                                                                        63
การใหรหัสวินิจฉัยโรคดวย ICD10                                                                          65
ภาคผนวก
     - ตัวอยางแนวทางการเฝาระวังและดูแลรักษาผูปวยเบาหวานครบวงจร พ.ศ.2555                             67
         เครือขายโรงพยาบาลบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา




 
[แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]     ค
 

          คณะทํางานจัดทําแนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน
                          จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
1 นายแพทยสมชัย วิโรจนแสงอรุณ                      นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ                  ที่ปรึกษา
                                              ดานสงเสริมพัฒนา สสจ.พระนครศรีอยุธยา
2 นายแพทยสุรชัย โชคครรชิตชัย                      นายแพทยเชี่ยวชาญ ดานอายุรกรรม                ที่ปรึกษา
                                                         รพ.พระนครศรีอยุธยา
3 นายแพทยกาญจน จิรธนา                            นายแพทยเชี่ยวชาญ ดานอายุรกรรม          ประธานคณะทํางาน
                                                         รพ.พระนครศรีอยุธยา
4 นายแพทยประภัทร ศุขศรีไพศาล                    นายแพทยเชี่ยวชาญ ดานจักษุเวชกรรม             คณะทํางาน
                                                         รพ.พระนครศรีอยุธยา
5 นายแพทยเชษฐพัฒน สุทธิวาทนฤพุฒิ                นายแพทยชํานาญการพิเศษ รพ.เสนา                คณะทํางาน
6 นายแพทยณิธัตธ ตอบุญศุภชัย                 นายแพทยชํานาญการพิเศษ ดานอายุรกรรม              คณะทํางาน
                                                                รพ.เสนา
7    แพทยหญิงมยุรี คุณเลิศ                          นายแพทยปฏิบัติการ รพ.วังนอย              คณะทํางาน
8    นายแพทยอธิพัฒน อธิพงษอาภรณ                นายแพทยปฏิบัติการ รพ.บางปะหัน               คณะทํางาน
9    นายนที ปนปทุม                          เภสัชกรชํานาญการ รพ.สมเด็จพระสังฆราช              คณะทํางาน
10   นายยิ่งยศ ภัทรวัฒนาพรน                เภสัชกรชํานาญการพิเศษ รพ.พระนครศรีอยุธยา            คณะทํางาน
11   นางออนนอม ธูปวิโรจน                         พยาบาลวิชาชีพชํานาญการพิเศษ                 คณะทํางาน
                                                         รพ.พระนครศรีอยุธยา
12   นางสาวจรรยา นอยอาง                         พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ รพ.เสนา                คณะทํางาน
13   นางสาวสายัณ พึ่งตระกูล                    พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ รพ.บางปะหัน               คณะทํางาน
14   นางพรทิพย พึ่งศักดิ์                     พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ รพ.บางปะหัน               คณะทํางาน
15   นางสาวเฉลิมศรี สะมะโน                       พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ รพ.บางซาย              คณะทํางาน
16   นางมาลี ตรีประชานาถ                           พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ รพ.อุทัย              คณะทํางาน
17   นางสาวรัชนีพร ทองประเทือง                พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ รพสต.ปลายกลัด              คณะทํางาน
                                                               อ.บางซาย
18 นายแพทยชานนท นันทวงค                         นายแพทยปฏิบัติการ รพ.บางปะหัน                เลขานุการ
19 นางสาวเยาวรัตน ศุภกรรม                      เจาพนักงานทันตสาธารณสุขชํานาญการ                เลขานุการ
                                                        สสจ.พระนครศรีอยุธยา




 
[แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   1
 

                                               แนวปฏิบัติในการคัดกรองโรคเบาหวาน
        การคัดกรองโรคเบาหวานในกลุมประชากรกลุมเสี่ยงทุกป มีความสําคัญในการวินจฉัยและรักษาเบาหวาน
                                                                               ิ
ไดเร็ว ปจจุบนมีคําแนะนําใหตรวจคัดกรองโรคเบาหวานในผูปวยกลุมเสี่ยง ดังนี้
              ั                                               
เกณฑความเสี่ยงสําหรับคัดกรองโรคเบาหวานในผูใหญ
   1. ผูที่มีอายุ 35 ป ขึ้นไป
   2. ผูที่อวน( BMI ≥ 25 กก./ม2 และ/หรือผูชายรอบเอว>90 ซม. ผูหญิงรอบเอว>80 ซม.)
       และมีพอ แม พี่ หรือ นอง คนใดคนหนึ่งเปนโรคเบาหวาน
   3. เปนโรคความดันโลหิตสูงหรือกินยาควบคุมความดันโลหิตอยู (BP ≥140/90 มม.ปรอท)
   4. มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ(HDL< 35 มก./ดล. หรือTriglycerides > 250 มก./ดล.)
   5. มีประวัติเปนโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ หรือเคยคลอดบุตรที่น้ําหนักตัวแรกเกิดมากกวา 4 กิโลกรัม
   6. เคยตรวจพบวาเปน impaired glucose tolerance หรือ impaired fasting glucose หรือ A1C ≥ 5.7%
   7. มีโรคหัวใจและหลอดเลือด เชน โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารีตีบ โรคหลอดเลือดสมองตีบ(อัมพาต)

รูปแบบที่ 1 แนวทางการคัดกรองเบาหวานแบบอดอาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง
          ผูใหญที่มีปจจัยเสี่ยง                                            วัดระดับ fasting capillary blood
           ในกลองขอความ                                                       glucose จากปลายนิ้ว (DTX)
 

 
    วัดระดับ fasting plasma glucose                                        ระดับ fasting capillary blood glucose
 
               (FPG/FBS)                                                    จากปลายนิว (DTX) ≥ 100 มก./ดล.
                                                                                     ้
 

         FBS<100 มก./ดล.                          ปกติ             1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
                                                                   2.ตรวจคัดกรอง FBS ซ้ําทุกป
         FBS 100 – 125 มก./ดล.          Impaired fasting glucose 1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
                                                 (IFG)             2.ลงทะเบียนฐานขอมูลกลุม IFG
         FBS ≥ 126 มก./ดล.               วัดระดับ FBS ซ้ําอีกครั้ง 1.วินิจฉัยวาเปนเบาหวาน
                                             ภายใน 4 สัปดาห       2.ลงทะเบียนฐานขอมูล DM รายใหม
                                             ≥ 126 มก./ดล.         3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
                                                                   4.ตรวจทางหองปฏิบัติการเพิ่มเติม


 
2     [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]
 
รูปแบบที่ 2 แนวทางการคัดกรองเบาหวานแบบไมอดอาหาร
               ผูใหญที่มีปจจัยเสี่ยง                                            วัดระดับ capillary blood glucose
                ในกลองขอความ                                                           จากปลายนิว (DTX)
                                                                                                  ้
 

 
         วัดระดับ fasting plasma glucose                                           ระดับ capillary blood glucose จาก
 
                    (FPG/FBS)                                                       ปลายนิ้ว (DTX) ≥ 110 มก./ดล.
 

              FBS<100 มก./ดล.                                   ปกติ             1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
                                                                                 2.ตรวจคัดกรอง FBS ซ้ําทุกป
              FBS 100 – 125 มก./ดล.                 Impaired fasting glucose     1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
                                                             (IFG)               2.ลงทะเบียนฐานขอมูลกลุม IFG
              FBS ≥ 126 มก./ดล.                      วัดระดับ FBS ซ้ําอีกครั้ง   1.วินิจฉัยวาเปนเบาหวาน
                                                         ภายใน 4 สัปดาห         2.ลงทะเบียนฐานขอมูล DM รายใหม
                                                         ≥ 126 มก./ดล.           3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
                                                                                 4.ตรวจทางหองปฏิบัติการเพิ่มเติม
 

รูปแบบที่ 3 แนวทางการคัดกรองเบาหวานแบบไมอดอาหาร เมื่อมีอาการ
               ผูใหญที่มีปจจัยเสี่ยง                                            วัดระดับ capillary blood glucose
                ในกลองขอความ                                                           จากปลายนิว (DTX)
                                                                                                  ้
 

 
          ซักประวัติอาการโรคเบาหวาน                                                ระดับ capillary blood glucose จาก
 
        (1) หิวน้ํามาก                                                              ปลายนิ้ว (DTX) ≥ 200 มก./ดล.
 
        (2) ปสสาวะมากและบอย
 
        (3) น้ําหนักตัวลดลง
 

              1.วินิจฉัยวาเปนเบาหวาน                       2.ลงทะเบียนฐานขอมูล DM รายใหม
              3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรรม                         4.ตรวจทางหองปฏิบัติการเพิ่มเติม
 


 
[แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   3
 
รูปแบบที่ 4 แนวทางการคัดกรองเบาหวานในรายที ่ Impaired fasting glucose (IFG) 
 
    ผูใหญที่มีผลตรวจระดับน้ําตาล                                             Impaired fasting glucose (IFG) 
 
        FBS 100 – 125 มก./ดล.
 

 
     ระดับน้ําตาล 75 g OGTT ≥ 200 มก./ดล.                                     ทดสอบความทนตอกลูโคส OGTT
 
                                                                              75 g Oral Glucose Tolerance Test
 

 

 
            1.วินิจฉัยวาเปนเบาหวาน                                            ระดับน้ําตาล 75 g OGTT
 
            2.ลงทะเบียนฐานขอมูล DM รายใหม                                        140 - 199 มก./ดล.
 
            3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
            4.ตรวจทางหองปฏิบัติการเพิ่มเติม                                Impaired glucose tolerance (IGT)
 




เกณฑในการวินิจฉัยเบาหวาน
 วิธีการวัดระดับน้ําตาล                                     เกณฑวินิจฉัย
Fasting plasma glucose    FPG ≥ 126 มก./ดล. หลังอดอาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง
2-hr plasma glucose       2-hr plasma glucose ≥ 200 มก./ดล.
หลังทดสอบความทนตอ
กลูโคส 75 กรัม
Random plasma             Random plasma glucose≥ 200 มก./ดล. ในผูปวยที่มีอาการเบาหวานชัดเจน คือ หิวน้ํา
glucose                   มาก ปสสาวะบอยและมาก น้ําหนักตัวลดลงโดยไมมีสาเหตุ
HbA1c***                  HbA1c ≥ 6.5% (หองปฏิบัติการที่มีมาตรฐาน NGSP certified และมีมาตรฐาน DCCT)
                          สําหรับประเทศไทยยังไมแนะนําใหใชเนื่องจาก ยังไมมี standardization และ quality
                          control ของ HbA1c ที่เหมาะสมเพียงพอ และคาใชจายในการตรวจสูงมาก




 
4   [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]
 
คําแนะนําในการวัดรอบเอว (Waist circumference)
 1. วัดรอบเอวในชวงเชา ขณะยังไมไดรับประทานอาหาร
 2. ตําแหนงทีวัดไมควรมีเสื้อผาปด ถามีควรเปนเสื้อผาเนื้อบาง
               ่
 3. อยูในทายืน เทาทั้งสองขางหางกันประมาณ 10 เซนติเมตร
 4. หาตําแหนงขอบบนสุดของกระดูกเชิงกรานและขอบลางของชายโครง
 5. ใชสายวัดพันรอบเอวที่ตําแหนงจุดกึ่งกลางระหวางขอบบนของกระดูกเชิง
     กรานและขอบลางของชายโครง โดยใหสายวัดอยูในแนวขนานกับพืน     ้
 6. วัดในชวงหายใจออก โดยใหสายวัดแนบกับลําตัวพอดีไมรัดแนน




คําแนะนําในการทดสอบความทนตอกลูโคส OGTT : 75 g Oral Glucose Tolerance Test
 1. ผูถูกทดสอบทํากิจวัตรประจําวันและกินอาหารตามปกติ ซึ่งมีปริมาณคารโบไฮเดรตมากกวาวันละ 150 กรัม
     เปนเวลาอยางนอย 3 วันกอนการทดสอบ การกินคารโบไฮเดรตในปริมาณที่ต่ํากวานี้ อาจทําใหผลการทดสอบ
     ผิดปกติได
 2. งดบุหรี่ระหวางการทดสอบและบันทึกโรคหรือภาวะทีอาจมีอิทธิพลตอผลการทดสอบ เชน ยา ภาวะติดเชื้อ
                                                          ่
 3. ผูถูกทดสอบงดอาหารขามคืนประมาณ 10 – 16 ชั่วโมง ในระหวางนี้ สามารถดื่มน้ําเปลาได การงดอาหารเปน
     เวลาสั้นกวา 10 ชั่วโมง อาจะทําให FPG สูงผิดปกติได และการงดอาหารเปนเวลานานกวา 16 ชัวโมง อาจทํา
                                                                                               ่
     ใหผลการทดสอบผิดปกติได
 4. เชาวันทดสอบ เก็บตัวอยางเลือดดํา (Fasting venous blood sample) หลังจากนั้น ใหผูทดสอบดื่มสารละลาย
     กลูโคส 75 กรัม ในน้ํา 250 – 300 มล. ดื่มใหหมดใน 5 นาที เก็บตัวอยางเลือดหลังจากดื่มสารละลายกลูโคส 2
     ชั่วโมง
 5. เก็บตัวอยางเลือดในหลอดที่มีโซเดียมฟลูออไรดเปนสารกันเลือดเปนลิมในปริมาณ 6 มก. ตอเลือด 1 มล. ปน
                                                                        ่
     และแยกเก็บพลาสมาเพื่อทําการวัดระดับพลาสมากลูโคสตอไป ในกรณีที่ไมสามารถวัดระดับพลาสมากลูโคส
     ไดทันทีใหเก็บพลาสมาแชแข็งไว

เอกสารอางอิง
สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2554). แนวทางเวช
ปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน 2554. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ จํากัด.

American Diabetes Association. (2012). Standards of Medical Care in Diabetes—2012. Diabetes care 2012;35
(Suppl 1) , S11-S63. 


 
[แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   5
 

                                         แนวปฏิบัติในการสงตรวจทางหองปฏิบัติการ
                                               เมื่อไดรับคําวินิจฉัยเบาหวานครั้งแรก
คําแนะนําในการสงตรวจเพิมเติมทางหองปฏิบติการเมื่อไดรับคําวินิจฉัยเบาหวานครังแรก
                        ่               ั                                    ้
               แนะนําใหทําอยางยิ่ง (ตองทํา)                    แนะนําใหทําเพิ่มเติม (ควรทํา)
            Fasting blood sugar (FBS)                                       HbA1c*
     Serum creatinine คํานวณหาคา eGFR                             Blood urea nitrogen (BUN)
             Urine protein (Urinalysis)               Microalbuminuria หรือ Urine albumin/Cr ratio (UACR)
   Lipid profile (Total cholesterol, TG, HDL)               Electrocardiography ในรายที่มีอาการบงชี้
          คํานวณหาคา LDL-C จากสูตร                             โรคหลอดเลือดหัวใจหรือผูสูงอายุ
    LDL = Total cholesterol – TG/5 – HDL
   กรณีที่ระดับไตรกลีเซอไรดในเลือดสูงมาก
        ใหสงตรวจ directed LDL-C แทน
ตรวจจอประสาทตา ** ในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2
                             
* HbA1c เปนคําแนะนําใหทําเพิ่มเติม จากมติที่ประชุมของคณะทํางานทีมปฏิบัติการจัดทําแนวเวชปฏิบัติในการดูแล
ผูปวยโรคเบาหวาน
** รูปแบบการตรวจจอประสาทตา ไดแก
        1) การตรวจจอประสาทตา โดยการขยายมานตา และวัด visual acuity โดยจักษุแพทย
        2) ในกรณีที่ไมมีจักษุแพทย ใชการถายภาพดวย digital fundus camera โดยขยายหรือไมขยายมานตา และ
        อานภาพถายจอประสาทตาโดยผูชํานาญการ

กรณีที่เปนความดันโลหิตสูงรวมดวย ใหสงตรวจเพิ่มเติม ดังนี้
              แนะนําใหทําอยางยิ่ง (ตองทํา)                         แนะนําใหทําเพิ่มเติม (ควรทํา)
                   Potassium                                                  Electrolyte
             Hemoglobin, hematocrit                                      Complete blood count
               Electrocardiogram                                             Chest X-ray




 
6   [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]]
 
กรณีที่เปนโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-5 รวมดวย ใหสงตรวจเพิ่มเติม ดังนี้
                 แนะนําใหทําอยางยิ่ง (ตองทํา)                              แนะนําใหทําเพิ่มเติม (ควรทํา)
                     Electrolyte                                                  24 hour urine sodium
    Urine protein และ/หรือ Microalbuminuria หรือ                       Intact Parathyroid hormone เมื่อสงสัยภาวะ
           Urine albumin/Cr ratio (UACR)                             hyperparathyroid ในผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5
       Calcium, phosphorus, uric acid, albumin
                     Hemoglobin                                       (Serum iron/ TIBC) x 100 กรณี Hb < 10 g/dL
                     Chest X-ray
                  Electrocardiogram

เอกสารอางอิง
American Diabetes Association. (2012). Standards of Medical Care in Diabetes—2012. Diabetes care 2012;35
(Suppl 1) , S11-S63. 

สมาคมโรคไตแหงประเทศไทย. (2552). แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคไตเรื้อรังกอนการบําบัดทดแทนไต พ.ศ.2552.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท เบอริงเกอร อินเกลไฮล(ไทย) จํากัด.

สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2554). แนวทางเวช
ปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน 2554. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ จํากัด.

สํานักพัฒนาวิชาการแพทย กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข (2548). แนวทางเวชปฏิบัติการคัดกรองและการดูแลรักษาจอ
ประสาทตาผิดปกติจากเบาหวานและแนวทางการวินิจฉัย การปองกันและรักษาโรคไตจากเบาหวาน. กรุงเทพมหานคร.:ชุมนุม
สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด 

สมาคมความดันโลหิตสูงแหงประเทศไทย. (2555). แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป(Guidelines on 
the treatment of hypertension). http://www.thaihypertension.org/2012 Guideline in the Treatment of 
Hypertension.pdf (Accessed 10 March 2012).

 




 
 
                                                             โรครวม น้ําหนัก/สูง/                     LDL/    Urine                             Peripheral                                             
                          อายุ/ วันเดือนป   FBS ที่                                  Cr/                                Retinal    Neuropathy
    ลําดับ   ชื่อ –สกุล                                 A1C หรือโรค      BMI/                บุหรี่    TG/    protein                             vascular
                          เพศ ที่วินิจฉัย    วินิจฉัย                                eGFR                                 exam        exam
                                                            แทรกซอน    รอบเอว                         HDL    /UACR                                exam

                                                                          80/170/                      120/    Neg/                              D.pedis full
              นายสันติ    45/                 183                                    1.05/   2530                        No DR       Normal
      1                          01/01/55               8.0      No        27.68/                      190/    25.00                             P.tibial full
             มีประโยชน    ช                  190                                     85     Active                      10/01/55    10/01/55
                                                                          95.5 cm                       45    10/01/55                             10/01/55

                                                                                             2520                                     Loss         D.pedis
                                                                          60/155/                      150/   Trace/     Mild
             นางสุวรรณี   60/                 140                                    1.35/   2545                                   protective     faint Rt
      2                          02/02/55               7.2   HT, CAD      24.97/                      100/   28.50      NPDR
             มีโชควิเศษ   ญ                   130                                     40      20                                       both      P.tibial full
                                                                          78.5 cm                       40    10/02/55   10/02/55
                                                                                             pack-yr                                 10/02/55      10/02/55

                                                                          60/180/                      100/   Trace/                             D.pedis full
             นายสมชาติ    50/                 127                                    1.20/                                           Normal
      3                          05/02/55               7.0      HT        18.52/             No       160/   28.50      No DR                   P.tibial full
              มีโชคชัย     ช                  128                                     62                                             10/02/55
                                                                           80 cm                        50    10/02/55                             10/02/55


      4


      5
                                                                                                                                                                                                           [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]
                                                                                                                                                                                                            7


                                                                                                                                                                 การขึ้นทะเบียนผูปวยเบาหวานรายใหม
 
                                                                                                                                                                                                                     
                                                                                                                                                                                                                        8
                                                                   น้ําหนัก/สูง/    ประวัติ       GDM/                          LDL/
           วันเดือนป                      อายุ/     FBS                                                     HT/     ประวัติ                     รวมความ
    ลําดับ                  ชื่อ-สกุล                      A1C         BMI/         DM ใน        คลอดบุตร                       TG/    บุหรี่
           ที่วินิจฉัย                     เพศ     คัดกรอง                                                   BP       CVD                        เสี่ยง (ขอ)
                                                                      รอบเอว       ครอบครัว      BW>4kg                         HDL

                                                                     60/155/                                                    170/
                          นางสมบูรณ
      1     01/01/55                        40      120      6.3      24.97/       มารดา DM        ไมมี    130/65     No       150/    No
                           อวนสุข
                                                                     78.5 cm                                                     35

                                                                     80/170/                                                    160/   2520
                         นายประเสริฐชัย                                                                                                2555
      2     02/02/55                        42      109       -       27.68/       บิดา พี่ชาย     ไมมี    132/68     No       120/
                           ดวงดีมาก                                                                                                     20
                                                                     95.5 cm                                                     45
                                                                                                                                       pack-yr


                                                                     90/175/                                                    190/   2520
                                                    125                                                               TVD
                         นายจิตบริสุทธิ์                                           ยาย มารดา                                           2553
      3     05/02/55                        50     75gOGTT   6.4      29.39/                       ไมมี    152/85    2553      200/
                         คิดการณไกล                                                 พี่สาว
                                                                                                                                                                                                                        [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]




                                                    = 190            105 cm                                          S/P 2DES    40     30
                                                                                                                                       pack-yr



      4


      5
                                                                                                                                                                การขึ้นทะเบียนผูปวยกลุม Pre-diabetes(IFG, IGT)
[แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]     9
 

                  แนวปฏิบัติในการรักษาเมื่อไดรับคําวินิจฉัยเบาหวานครั้งแรก
             ผูปวยเบาหวานไดรับการวินิจฉัยครั้งแรก ไดรับการตรวจ HbA1c และตรวจทางหองปฏิบัติการอื่น (หนา 5)

                       ประเมินโรครวม                                                     ประเมินพฤติกรรม

        วัด BP ถา BP ≥ 130/80 mmHg ไปหนา 19                            BMI ถา ≥23 กก./ม2 หรือรอบเอว ช>90,ญ>80ไปหนา 43-49
        Lipid profile ถา LDL ≥100, TG ≥150 ไปหนา 41-43                 กิจวัตรประจําวัน ออกกําลังกาย ไปหนา 49
        Creatinine(eGFR) ถา Cr>1.5(ช),1.4(ญ) ไปหนา 25-28               การรับประทานอาหาร ไปหนา 46
        Urine protein ถา 1+,2+,3+,4+ ไปหนา 23-28                       การสูบบุหรี่ ถาสูบหรือรับควันบุหรี่ ไปหนา 43
        การปองกัน CVD ไปหนา 41                                         ประเมินความรูการดูแลตนเอง/ครอบครัวและญาติ


                 ประเมินผูปวยโดยใชขอมูลอยางเปนองครวม และกําหนดเปาหมายการควบคุมระดับน้ําตาลรวมกัน

      FBS < 180 มก./ดล.             ปรับพฤติกรรม                             Metformin               Gliclazide หรือ Glipizide
       และ HbA1c < 8%                 โภชนบําบัด                        (ลักษณะดื้ออินซูลิน)         (ลักษณะขาดอินซูลิน)
                                     ออกกําลังกาย                 BMI ≥ 23 กก./ม2 หรือรอบเอว         BMI < 23 กก./ม2 หรือ
                                                                  ผูชาย >90 ซม., ผูหญิง >80 ซม.    รอบเอวไมเกินมาตรฐาน
    FBS 180 - 249 มก./ดล.         เลือกใชยากิน 1 ชนิด            BP ≥ 130/85 มม.ปรอท หรือ           มีอาการจากน้ําตาลในเลือด
       หรือ HbA1c > 8%              ปรับพฤติกรรม                  ไดยาลดความดันโลหิต                สูงชัดเจน เชน
                                                                  TG > 250, HDL < 35 มก./ดล.             ขอหามใช Metformin
                                                                  พบ acanthosis nigricans             1.Cr ≥1.5(ชาย), ≥1.4(หญิง)
    FBS 250 - 350 มก./ดล.           ใชยากิน 2 ชนิด
                                                                                   เริ่มตน A1C       2.อายุ > 80 ป และ GFR ลด
       หรือ HbA1c > 9%              ปรับพฤติกรรม                      ชื่อยา
                                                                                    (มก.) (%)         3.มีโรคตับ/พิษสุราเรื้อรัง
                                                                   Metformin   1,000           1-2    4.acute/chronic acidosis
      FBS > 300 มก./ดล              ใชยาฉีดอินซูลิน               Gliclazide   80*            1-2    5.ตั้งครรภ
      หรือ HbA1c > 11%                                             Glipizide     5*            1-2    6.มีภาวะhypoxemia/sepsis/
                                  เนนปรับพฤติกรรม
                                                                 Glibenclamide 5*              1-2    dehydration
                                      เขากลุมยอย
                                                                  Pioglitasone  15.            1.4    7.มีประวัติแพยา metformin
                                  ตั้งเปาหมายรวมกัน

    FBS<70, > 500 มก./ดล.            ภาวะฉุกเฉิน                    Basal insulin: NPH 0.1 – 0.15 unit/kg/day 21.00 – 23.00 น.
     %A1C         eAG              แกไขภาวะฉุกเฉิน                    ปรับขนาดขึ้น 2-4 unit ทุก 3-7 วัน จนไดตามเปาหมาย
       6          126              อาจพิจารณาสงตอ
       7          154                                                 Premixed insulin: Humulin 70/30 0.4 – 0.6 unit/kg/day
       8          183 
       9          212                                               แบงใหกอนอาหารเชา 2/3 สวน และกอนอาหารเย็น 1/3 สวน
      10          240          eAG = (28.7 x A1C) – 46.7
                                                                     ปรับขึ้น 1 -2 U เมื่อ FBS<180 หรือ 2 – 4 U เมื่อ FBS>180
      11          269 
      12          298                                             *อาจพิจารณาลดขนาดยาเริ่มตนลงครึ่งหนึ่งในผูปวยสูงอายุ
10   [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]
 

                                                                                   ยาลดระดับน้ําตาลในเลือด
           ยาลดระดับน้ําตาลในเลือด แบงออกเปน 3 กลุม คือ ยาเม็ดลดระดับน้าตาลในเลือด(ยากิน) ยาฉีดอินซูลิน
                                                                          ํ
และยาฉีด GLP-1 analog
ยาเม็ดลดระดับน้ําตาลในเลือด
        ยา               ขนาดที่ใช                  กลไกการออกฤทธิ์                    ขอดี                       ขอเสีย
กลุม Biguanides
Metformin        เริ่มตน 1,000 มก.             1.ลดการสรางกลูโคสที่ตับ       1.ไมทําใหน้ําหนักเพิ่ม   1.GI side effect (ปวดทอง
 A1C 1-2%        เพิ่มครั้งละ 500 มก.           2.ลดการดูดซึมกลูโคสที่         2.ไมทําใหน้ําตาลใน       ถายเหลว)
                 ขนาดสูงสุด 2,500 มก.           ลําไส                         เลือดต่ํา                  2.Lactic acidosis (rare)
                 แบงให 1 – 3 ครั้ง/วัน        3.เพิ่มการทํางานของ            3.ลดอัตราตายจาก/           3.Vit B12 def.
                 หลังอาหาร                      อินซูลิน                       และ Cardiovascular         4.หามใชในผูปวยที่มีไต
                                                                               event                      เสื่อม
กลุม Sulfonylureas
Glipizide           เริ่มตน* 5 มก.         1.เพิ่มการหลั่งอินซูลิน            1.ลดอัตราตายจาก/     1.น้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น
  A1C 1-2%          เพิ่มครั้งละ 2.5-5 มก.                                     และ Cardiovascular 2.น้ําตาลในเลือดต่ํา
                    ขนาดสูงสุด 20 มก.                                          event                3.blunt MI preconditioning
                    แบงให 1 – 2 ครั้ง/วัน                                    2.ผูปวยสามารถทนได
                    กอนอาหาร
Gliclazide          เริ่มตน* 80 มก.        1.เพิ่มการหลั่งอินซูลิน            1.ลดอัตราตายจาก/     1.น้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น
  A1C 1-2%          เพิ่มครั้งละ 40-80 มก.                                     และ Cardiovascular 2.น้ําตาลในเลือดต่ํา
                    ขนาดสูงสุด 320 มก.                                         event                3.blunt MI preconditioning
                    แบงให 1 – 2 ครั้ง/วัน                                    2.ผูปวยสามารถทนได
                    กอนอาหาร
Glibenclamide เริ่มตน* 5 มก.               1.เพิ่มการหลั่งอินซูลิน            1.ลดอัตราตายจาก/           1.น้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น
  A1C 1-2%          เพิ่มครั้งละ 2.5-5 มก.                                     และ Cardiovascular         2.น้ําตาลในเลือดต่ํา
                    ขนาดสูงสุด 20 มก.                                          event                      (พบไดบอยกวา Glipizide
                    แบงให 1 – 2 ครั้ง/วัน                                    2.ผูปวยสามารถทนได       และ Gliclazide)
                    กอนอาหาร
 *อาจพิจารณาลดขนาดยาเริ่มตนลงครึ่งหนึ่งในผูปวยสูงอายุ
Thiazolidinediones
Pioglitazone        เริ่มตน 15-30 มก.      1.เพิ่มการตอบสนองตอ               1.ไมทําใหน้ําตาลใน       1.ตัวบวม/น้ําหนักตัวเพิ่ม
  A1C 0.5-1.4% เพิ่มครั้งละ 15 มก.          อินซูลิน                           เลือดต่ํา                  2.หามใชในผูปวยหัวใจวาย
                    ขนาดสูงสุด 30 มก.                                          2.HDL เพิ่มขึ้น            3.เสี่ยงตอกระดูกหัก
                    แบงให 1 – 2 ครั้ง/วัน                                    3.TG ลดลง                  4.ราคาแพง
                    หลังอาหาร
[แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   11
 


         ยา              ขนาดที่ใช       กลไกการออกฤทธิ์                     ขอดี                      ขอเสีย
Alpha-glucosidase inhibitors
Acarbose                              1.ลดการดูดซึมสารอาหาร          1.ลดระดับน้ําตาลหลัง 1.GI side effect (ทองอืด
Volglibose                            คารโบไฮเดรตที่ลําไส          อาหาร                ถายเหลว)
Migitol                                                                                   2.ราคาแพง
  A1C 0.5-0.8%
(ไมมีใชใน รพช.)
Glinides
Repaglinide                           1.เพิ่มการหลั่งอินซูลิน        1.เหมาะสําหรับผูที่กิน 1.น้ําตาลในเลือดต่ํา
Nateglinide                                                          อาหารไมตรงเวลา         2.blunt MI preconditioning
  A1C 1 - 1.5%
(ไมมีใชใน รพช.)
DPP-4 inhibitors
Sitagliptin                           1.เพิ่มระดับ active GLP-1      1.ไมทําใหน้ําตาลใน     1.ราคาแพง
Vildagliptin                          2.เพิ่มระดับ active GIP        เลือดต่ํา
Saxagliptin                           3.เพิ่มการหลั่งอินซูลิน        2.ไมมีการเปลี่ยน
Linagliptin                           4.ลดการหลั่งกลูคากอน           แปลงของน้ําหนัก
  A1C 0.8%
(ไมมีใชใน รพช.)
ยาฉีดอินซูลิน
                ชนิดยา                ระยะเวลาที่เริ่มออกฤทธิ์        เวลาที่มีฤทธิ์สูงสุด ระยะเวลาการออกฤทธิ์
                                             (Onset)                       (Peak)              (Duration)
อินซูลินออกฤทธิ์สั้น
Regular insulin                             30 – 45 นาที                 2 – 3 ชั่วโมง               4 – 8 ชั่วโมง
อินซูลินออกฤทธิ์ปานกลาง
NPH                                         2 – 4 ชั่วโมง                4 – 8 ชั่วโมง              10 – 16 ชั่วโมง
อินซูลินผสมสําเร็จรูป
Premixed 30% RI + 70% NPH                   30 – 60 นาที               2 และ 8 ชั่วโมง              12 – 20 ชั่วโมง
Premixed 50% RI + 50% NPH                   30 – 60 นาที               2 และ 8 ชั่วโมง              12 – 20 ชั่วโมง
อินซูลินอะนาล็อกออกฤทธิ์เร็ว
Insulin lispro (Humalog)                     5 – 15 นาที                 1 – 2 ชั่วโมง               3 – 4 ชั่วโมง
Insulin aspart (Novorapid)                  10 – 20 นาที                 1 – 2 ชั่วโมง               3 – 4 ชั่วโมง
12   [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]
 



                  ชนิดยา                        ระยะเวลาที่เริ่มออกฤทธิ์       เวลาที่มีฤทธิ์สูงสุด ระยะเวลาการออกฤทธิ์
                                                       (Onset)                      (Peak)              (Duration)
อินซูลินอะนาล็อกออกฤทธิ์ยาว
Insulin glargine (Lantus)                                2 ชั่วโมง                   ไมมี              24 ชั่วโมง
Insulin detemir (Levemir)                                2 ชั่วโมง                   ไมมี            18 - 24 ชั่วโมง
อินซูลินอะนาล็อกผสมสําเร็จรูป
Premixed 30% aspart +
70% aspart protamin suspension                        10 – 20 นาที              1 และ 8 ชั่วโมง       10 - 20 ชั่วโมง
Premixed 25% aspart +
75% aspart protamin suspension                        10 – 20 นาที              1 และ 8 ชั่วโมง       10 - 20 ชั่วโมง



ขอบงชี้การรักษาดวยอินซูลนิ
          1. เปนเบาหวานชนิดที่ 1
          2. เกิดภาวะแทรกซอนเฉียบพลัน มีภาวะ diabetic ketoacidosis หรือ hyperglycemic hyperosmolar
              nonketotic coma
          3. เปนเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีปญหาตอไปนี้
                                        
                 - ภาวะน้ําตาลในเลือดสูงมาก
                 - ใชยาเม็ดรับประทาน 2 ชนิดในขนาดสูงสุดแลวควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดไมได
                 - อยูในภาวะผิดปกติ เชน การติดเชื้อรุนแรง(sepsis) อุบัติเหตุรุนแรงและมีระดับน้ําตาลในเลือด
                      สูง รวมทั้งภาวะขาดอาหาร(malnutrition)
                 - ระหวางการผาตัด
                 - ตั้งครรภ
                 - มีความผิดปกติของตับและไตที่มีผลตอยา
                 - แพยาเม็ดรับประทาน
          4. เปนเบาหวานขณะตั้งครรภที่ไมสามารถควบคุมระดับน้าตาลในเลือดดวยการปรับพฤติกรรม
                                                                ํ
          5. เปนเบาหวานจากตับออนถูกทําลาย เชน ตับออนอักเสบเรื้อรัง ถูกตัดตับออน
[แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   13
 
การใชยาฉีดอินซูลิน *ไมไดกลาวถึงการใช Long acting insulin
1. ผูปวยเบาหวานชนิดที่ 1 แนะนําใหใชยาฉีดอินซูลินตั้งแตแรกทีวินจฉัยพรอมกับการใหความรูเกียวกับ
                                                                       ่ ิ                           ่
โรคเบาหวาน ยาอินซูลิน การออกฤทธิ์ของยา วิธีการฉีดยา การเก็บยาที่ถูกตองและการออกกําลังกายอยางเพียงพอ
ขนาดเริ่มตน(total insulin) 0.4-0.6 unit/kg/day
  วิธีที่ 1 ใช NPH เปน basal insulin ฉีดกอนนอน(21.00 - 23.00 น.) รวมกับการฉีด RI กอนอาหารทุกมื้อ(แตละมือ้
ประมาณ ¼ ของ total insulin) และแบงประมาณ 1/4 - 1/3 ฉีดกอนนอน โดยปรับเพิมอินซูลินตามระดับน้ําตาลกอน
                                                                                        ่
อาหาร
                              ถา BS<180 mg/dL ใหเพิ่มขนาด ครั้งละ 1-2 unit
                              ถา BS>180 mg/dL ใหเพิ่มขนาด ครั้งละ 2-4 unit
  วิธีที่ 2 ใช Pre-mixed insulin วันละ 1-2 ครั้ง แบงมื้อเชา 2/3 และมื้อเย็น 1/3 ของ total insulin
2. ผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 แนะนําใหใชยาฉีดอินซูลินตามขอบงชีพรอมกับการใหความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
                                                                        ้
ยาอินซูลิน การออกฤทธิ์ของยา วิธีการฉีดยา การเก็บยาที่ถูกตองและการออกกําลังกายอยางเพียงพอ
  วิธีที่ 1 ใช NPH ขนาด 0.1 – 0.15 unit/kg/day เปน basal insulin ฉีดกอนนอน(21.00 - 23.00 น.) โดยปรับเพิ่ม 2-4
units ทุก 3-7 วัน จนไดระดับน้ําตาลตามเปาหมาย
             สําหรับผูปวยที่ฉีดอินซูลินกอนนอนควรตรวจน้ําตาลในเลือดตอนเชาขณะอดอาหารอยางนอย 3 ครั้ง/
สัปดาห และปรับยาทุก 3 – 7 วัน ถายังควบคุมไมไดอาจใชวิธีที่ 2 (ฉีดอินซูลินกอนอาหารทุกมื้อ)
  วิธีที่ 2 เหมือนวิธีที่ 1 ของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 1 (ขอเสียคือยุงยากทีสุด มักพิจารณาเปนรายๆ)
                                                                            ่
  วิธีที่ 3 ใช Pre-mixed insulin วันละ 1-2 ครั้ง แบงมื้อเชา 2/3 และมื้อเย็น 1/3 ของ total insulin
           ทั้งนี้ อาจพิจารณาใหยาเพิ่มความไวของอินซูลิน(Metformin, Glitazone) รวมดวย ถาหากใชอนซูลินเกิน
                                                                                                       ิ
0.8 unit/kg/day


ตําแหนงที่ฉีดอินซูลิน
14   [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]
 




ยาฉีด GLP-1 analog
           เปนยากลุมใหมที่สังเคราะหขึ้นเลียนแบบ GLP-1 เพื่อทําใหออกฤทธิ์ไดนานขึ้น ยากลุมนี้ออกฤทธิ์โดยการ
กระตุนการหลั่งอินซูลินและยับยั้งการหลังกลูคากอน นอกจากนี้ ยังมีผลลดการบีบตัวของกระเพาะอาหารทําใหอิ่ม
                                       ่
เร็วขึ้น และลดความอยากอาหารโดยออกฤทธิ์ที่ศูนยความอยากอาหารที่ไฮโปธาลามัส ยากลุมนี้ไดแก exenatide
[แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   15
 

                 เปาหมายการรักษา การติดตาม และการประเมินผลการรักษา
ตารางที่ 1 เปาหมายการควบคุมเบาหวานสําหรับผูใหญ
                การควบคุมเบาหวาน                                            เปาหมายการควบคุม
ระดับน้ําตาลในเลือดขณะอดอาหาร                                                 70 – 130 มก./ดล.
ระดับน้ําตาลในเลือดหลังอาหาร 2 ชั่วโมง                                       140 – 180 มก./ดล.
ระดับน้ําตาลในเลือดสูงสุดหลังอาหาร                                              < 180 มก./ดล.
ระดับน้ําตาลสะสม Hemoglobin A1c                                                     < 7%


ตารางที่ 2 เปาหมายการควบคุมปจจัยเสียงของภาวะแทรกซอนที่หลอดเลือด
                                     ่
                 การควบคุม/การปฏิบติตัว
                                   ั                                          เปาหมาย
ระดับไขมันในเลือด
 ระดับคอเลสเตอรอลรวม (Total cholesterol)                                   < 170 มก./ดล.
 ระดับแอล ดี แอล คอเลสเตอรอล (LDL cholesterol)*                            < 100 มก./ดล.
 ระดับไตรกลีเซอไรด (Triglyceride)                                         < 150 มก./ดล.
 ระดับเอช ดี แอล คอเลสเตอรอล (HDL cholesterol): ผูชาย                      ≥ 40 มก./ดล.
 ระดับเอช ดี แอล คอเลสเตอรอล (HDL cholesterol): ผูหญิง                     ≥ 50 มก./ดล.
ความดันโลหิต**
 ความดันโลหิตซิสโตลิก (Systolic BP)                                       < 130 มม.ปรอท
 ความดันโลหิตไดแอสโตลิก (Diastolic BP)                                     < 80 มม.ปรอท
น้ําหนักตัว
 ดัชนีมวลกาย                                                      18.5 – 22.9 กก./ม2 หรือใกลเคียง
 รอบเอว: ผูชาย                                                        < 90 ซม. หรือใกลเคียง
 รอบเอว: ผูหญิง                                                       < 80 ซม. หรือใกลเคียง
การสูบบุหรี่                                                   ไมสูบบุหรี่และหลีกเลียงรับควันบุหรี่
                                                                                     ่
การออกกําลังกาย                                                       ตามคําแนะนําของแพทย
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม                                       ไดรับการสอนเรื่องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
* ถามีโรคหลอดเลือดหัวใจหรือมีปจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจหลายอยางรวมดวย ควรควบคุมให LDL-C
ต่ํากวา < 70 มก./ดล.
** ผูปวยที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตซิสโตลิก (Systolic BP) ไมควรต่า
                                                                                                      ํ
กวา 110 มม.ปรอท และความดันโลหิตไดแอสโตลิก (Diastolic BP) ไมควรต่ํากวา 70 มม.ปรอท
16     [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]
 

                                                    การติดตาม การประเมินผลและการรักษาตอเนื่อง
             ผูปวยเบาหวานทุกรายไดรับการตรวจติดตามระดับน้ําตาลในเลือดโดยใช FBS หรือ DTX ตอเนื่องทุก 1 – 3 เดือน

         ซักประวัติภาวะแทรกซอนเบาหวาน                 ซักประวัติน้ําตาลในเลือดผิดปกติ                     ซักประวัติการควบคุมพฤติกรรม


           แผลที่เทา/แผลอักเสบที่อวัยวะ                   ใจสั่น มือสั่น เหงื่อแตก หิวบอย                 ควบคุมอาหารหวาน/มัน/เค็ม
           เจ็บหนาอก/หอบเหนื่อย                           ออนเพลีย มึนงง ปวดศีรษะ                         ออกกําลังกาย วิธีการ ระยะเวลา
           ตามัวลง มองเห็นไมชัด                           ปสสาวะบอย มีมดตอม หิวน้ํา                      งดหรือลดบุหรี่ เลี่ยงบุหรี่
           ขา/ตัวบวม ปสสาวะเปนฟอง                        การแกไขปญหาเมื่อมีอาการ                        การกินยา/ฉีดยาสม่ําเสมอ


            ประเมินผูปวยโดยใชขอมูลอยางเปนองครวม พิจารณาความสอดคลองกับระดับน้ําตาลและกําหนดเปาหมายรวมกัน

         FBS70 – 130 มก./ดล.         ควบคุมไดตามเกณฑ
                                                                                   Metformin                     Gliclazide หรือ Glipizide
                                       คนหาขอมูลลวง
                                                                              (ลักษณะดื้ออินซูลิน)               (ลักษณะขาดอินซูลิน)
                                        ปรับพฤติกรรม
                                                                         BMI ≥ 23 กก./ม2 หรือรอบเอว              BMI < 23 กก./ม2 หรือ
     FBS 131 – 179 มก./ดล.                 สูงกวาเกณฑ                  ผูชาย>90 ซม., ผูหญิง>80 ซม.           รอบเอวไมเกินมาตรฐาน
                                      เพิ่มขนาดยาตัวเดิม                 BP ≥ 130/85 มม.ปรอท หรือ                มีอาการจากน้ําตาลในเลือด
                                                                         ไดยาลดความดันโลหิต                     สูงชัดเจน เชน
                                        ปรับพฤติกรรม
                                                                         TG > 250, HDL < 35 มก./ดล.              หามให MFM
     FBS 180 – 250 มก./ดล.             สูงกวาเกณฑมาก                   พบ acanthosis nigricans                 เมื่อ Cr≥1.5 ช และCr≥1.4 ญ
                                       ใชยากิน 2 ชนิด                       ชื่อยา             เริ่มตน         เพิ่มทีละ           สูงสุด
                                        ปรับพฤติกรรม                     Metformin             500 bid             500                2500
                                                                          Gliclazide           80 (40*)           40 - 80              320
     FBS 250 – 350 มก./ดล.             สูงกวาเกณฑมาก
                                                                          Glipizide            5 (2.5*)           2.5 - 5              20
                                       ใชยากิน 3 ชนิด
                                                                        Glibenclamide          5 (2.5*)              5                 20
                                        ปรับพฤติกรรม                          *ลดขนาดเริ่มตนลงครึ่งหนึ่งในผูปวยที่เสี่ยงภาวะน้ําตาลต่ํา

     FBS > 300 มก./ดล.                 สูงกวาเกณฑมาก                 ยาทางเลือกตัวที่ 3: Pioglitasone, DPP4-inhibitor, alpha-GI
                                       ใชยาฉีดอินซูลิน
                                                                          Basal insulin: NPH 0.1 – 0.15 unit/kg/day 21.00 – 23.00 น.
                                        ปรับพฤติกรรม
                                                                             ปรับขนาดขึ้น 2-4 unit ทุก 3-7 วัน จนไดตามเปาหมาย
                                           เขากลุมยอย

     FBS<70, > 500 มก./ดล.                 ภาวะฉุกเฉิน                      Premixed insulin: Humulin 70/30 0.4 – 0.6 unit/kg/day
                                      แกไขภาวะฉุกเฉิน                   แบงใหกอนอาหารเชา 2/3 สวน และกอนอาหารเย็น 1/3 สวน
                                      อาจพิจารณาสงตอ                     ปรับขึ้น 1 -2 U เมื่อ FBS<180 หรือ 2 – 4 U เมื่อ FBS>180
[แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   17
 
เอกสารอางอิง 
สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2554). แนวทางเวช
ปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน 2554. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ จํากัด.

American Diabetes Association. (2012). Standards of Medical Care in Diabetes—2012. Diabetes care 2012;35
(Suppl 1) , S11-S63. 

Wisconsin Diabetes Prevention and Control Program. (2011). Wisconsin Diabetes Mellitus Essential Care 
Guidelines 2011. http://www.dhs.wisconsin.gov/health/diabetes/index.htm. (Accessed 20 September 
2011). 

 
18   [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]
 
                                                               บันทึก
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
                                                                               .
[แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   19
 

                                        การดูแลผูปวยเบาหวานที่มีความดันโลหิตสูง
                                                             รายละเอียด
นิยามโรคความดันโลหิตสูง          ความดันโลหิต 140/90 มม.ปรอท หรือมากกวา ซึ่งอาจเปนคาบนหรือคาลางก็ได
เปาหมายการควบคุมความดัน         นอยกวา 130/80 90 มม.ปรอท
โลหิตในผูปวยเบาหวาน
         
                            แนวทางการรักษาและควบคุมความดันโลหิตดวยยา
           กลุมผูปวย                                แนวทางการรักษาดวยยา
มีโรครวมเปนความดันโลหิตสูง • อายุนอยกวาหรือ 55 ป พิจารณาใช ACE inhibitors(ACEI) เปนอันดับแรก
อยางเดียว                       กรณีที่ทนตอผลขางเคียงไมได(ไอ)ใหใช angiotensin receptor blocker แทน
                              • อายุมากกวา 55 ปขึ้นไป พิจารณาใช dihydropyridine calcium channel
                                 blocker(CCB) หรือ Thiazide อันดับแรก (NICE2011 ใช thaizide-like diuretic)
                                                 อายุนอยกวาหรือเทากับ 55 ป               อายุมากกวา 55 ป
                                     Step 1                   A                                    C/D
                                     Step 2               A + C/D                                C/D + A
                                     Step 3                                     A+C+D
                                     Step 4     A + C + D + spironolactone หรือ furosemide กอนการให β-blocker/α-blocker
                                  คํายอ A: ACEI หรือ ARB, C: Calcium channel blocker, D: Diuretic-thiazide
มีภาวะโปรตีนรั่วในปสสาวะ        •   พิจารณาใช ACE inhibitors(ACEI) ขนาดปานกลางหรือสูงหากไมมีขอหาม     
จากเบาหวาน (ทั้งภาวะ                 กรณีที่ทนตอผลขางเคียงไมได(ไอ)ใหใช angiotensin receptor blocker แทน
macroalbuminuria และ                 ควรปรับขนาดยาจนปริมาณโปรตีนถึงเปาหมาย เพื่อชะลอการเสื่อมของไต
microalbuminuria) หรือ           •   ควรติดตามระดับ serum creatinine และ potassium เปนระยะตามความ
ผูปวยโรคไตเรื้อรังจากเบาหวาน       เหมาะสม และยังคงใช ACEI หรือ ARB ตอไปไดในกรณีที่มีการเพิ่มขึ้นของ
                                     serum creatinine ไมเกิน 30% จากคาพืนฐานในระยะเวลา 4 เดือน หรือ
                                                                            ้
                                     serum K นอยกวา 5.5 mmol/L
                                 •   ผูปวยโรคไตเรื้อรังสวนใหญจําเปนตองใชยาลดความดันโลหิตอยางนอย 2
                                     ชนิดรวมกัน เพื่อควบคุมความดันโลหิตใหอยูในระดับเปาหมาย โดยอาจ
                                     พิจารณาใช dihydropyridine calcium channel blocker(CCB), beta blocker,
                                     alpha blocker จากขอบงชี้ หรือ ขอหามใช
มีโรครวมเปนโรคหัวใจและ         •   ผูปวยโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี พิจารณาจากขอบงชี้การใชยา ไดแก
หลอดเลือด                            beta blockers, ACE Inhibitors(ACEI), calcium channel blockers(CCB)
                                 •    ผูปวยที่มีภาวะหัวใจวาย พิจารณาจากขอบงชี้การใชยา ไดแก beta blocker,
                                     ACE Inhibitors(ACEI), diuretic, angiotensin receptor blocker(ARB)
 
20   [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]
 
                                                 การบริหารยาลดความดันโลหิต
                            ขนาดเริ่มตน(มก.)      ขนาดสูงสุด       แบงใหตอวัน
                                                                                               ขอหามใชและขอควรระวัง
                                                     (มก.)              (ครั้ง)
ACE Inhibitors             ขอบงชี้ อายุ < 55 ป, albuminuria, heart failure, post-MI, LV dysfunction, LV hypertrophy, nephropathy,
                           atrial fibrillation, metabolic syndrome, carotid atherosclerosis
Enalapril                           2.5-5                 40                1-2          1.ตั้งครรภ
Captopril                         12.5-25                100                 1           2.Bilateral renal artery stenosis
Quinapril                            10                   80                 1           3.Hyperkalemia
Angiotensin receptor       ขอบงชี้ อายุ < 55 ป, albuminuria, heart failure, post-MI, LV dysfunction, LV hypertrophy, nephropathy,
blockers                   atrial fibrillation, metabolic syndrome, carotid atherosclerosis
Losartan                             25                  100                1-2          1.ตั้งครรภ
Valsartan                            80                  320                1-2          2.Bilateral renal artery stenosis
Candesartan                           8                   32                 1           3.Hyperkalemia
CCBs                       ขอบงชี้ อายุ ≥ 55 ป, Isolated systolic hypertension, angina pectoris, LV hypertrophy, carotid/coronary
-dihydropyridine           atherosclerosis, pregnancy
Amlodipine                           2.5                  10                 1           1.Peripheral edema: reassure แกผูปวย
Nifedipine-SR                        30                   60                 1           2.Congestive heart failure
Felodipine                           2.5                  20                 1
Beta blockers              ขอบงชี้ angina pectoris, post MI, heart failure, tachyarrhythmia, glaucoma
Atenolol                             25                  100                 1           1.Second/third degree AV block
Metoprolol                           50                  100                1-2          2.Asthma/COPD
Propanolol                           40                  160                 2           3.Peripheral arterial disease
Diuretic-thiazide          ขอบงชี้ Isolated systolic hypertension, heart failure
HCTZ                                12.5                  50                 1           1.Gout, hyperglycemia, hyperlipidemia
Diuretic-loop              ขอบงชี้ end stage renal disease, heart failure
Furosemide                           20                   80                 2
Antialdosterone            ขอบงชี้ heart failure, post MI
Spironolactone                        25                  50                 1           1.Hyperkalemia
Alpha blockers             ขอบงชี้ benign prostate hypertrophy
Prazosin                             1-2                  20                2-3          1.CHF
Vasopressors
Hydralazine                         25                 100                2
Centrally acting
Methyldopa                         250                1000                2         1.Hepatotoxicity



 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555

More Related Content

What's hot

อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
Latthapol Winitmanokul
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
Suradet Sriangkoon
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
Suradet Sriangkoon
 

What's hot (20)

10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
โรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 

Similar to แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555

คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
sivapong klongpanich
 

Similar to แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555 (20)

Cad guideline
Cad guidelineCad guideline
Cad guideline
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
 
Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Chf guideline
Chf guidelineChf guideline
Chf guideline
 
Exercise in patients with dm and ht
Exercise in patients with dm and htExercise in patients with dm and ht
Exercise in patients with dm and ht
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Dm 2557
Dm 2557Dm 2557
Dm 2557
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
 
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
 
Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
 
CPG warfarin use Thailand
CPG warfarin use ThailandCPG warfarin use Thailand
CPG warfarin use Thailand
 
การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน  	 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 

More from Utai Sukviwatsirikul

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555

  • 1.
  • 2.
  • 3. [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] ก   คํานํา โรคเบาหวานเป น โรคเรื้อ รั งที่ เ ปน ป ญ หาทางสาธารณสุ ข ที่ สํา คั ญ ของจั ง หวั ด พระนครศรี อยุ ธ ยา ในป พ.ศ.2555 ประชากรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนโรคเบาหวานจํานวน 25,294 คน หรือคิดเปน 3,227.58 ตอประชากรแสนคน และมีอัตราตายโดยมีสาเหตุจากโรคเบาหวาน เทากับ 4.59 ตอประชากรแสนคน ซึ่งสงผล กระทบตอการดํารงชีวิตและเศรษฐกิจของผูปวย ครอบครัวและคาใชจายงบประมาณของรัฐ สิ่งที่สําคัญที่สุด คือ การที่ผูปวยไดรับการวินิจฉัยและไดรับการดูแลรักษาตั้งแตในระยะแรกของโรค การดูแลรักษาโรคเบาหวานอยางเปนองครวมโดยสหสาขาวิชาชีพ การตรวจคัดกรองโรคแทรกซอนจากเบาหวาน และการดูแลรักษาโรคแทรกซอนจากเบาหวาน ทั้งนี้ จากนโยบายในการยกระดับโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ ตําบลใหสามารถจัดบริการและดูแลผูปวยเบาหวานที่อยูในเขตรับผิดชอบ เพื่อเปนการลดภาระของแผนกผูปวยนอก ในโรงพยาบาลไดอยางเปนรูปธรรม ผูปวยไดรับบริการใกลบานใกลใจ ดังนั้น สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด พระนครศรีอยุธยา จึงไดแตงตั้งคณะทํางานจัดทําแนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผูปวยเบาหวานและความดันโลหิต สูง เพื่อจัดทําคูมือแนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555 ฉบับนี้ เพื่อใหแพทย และบุคลากรไดมีแนวทางเวชปฏิบัติที่สามารถใชเปนแนวทางที่ถูกตอง เหมาะสมและเปนไปตามมาตรฐานในการ ดูแลรักษาผูปวยตามบริบทของพื้นที่ ในโอกาสนี้ ขอขอบคุณ นายแพทยชานนท นันทวงค แพทยประจําโรงพยาบาลบางปะหัน ซึ่งเปน แกนหลักในการจัดทําคูมือ นายแพทยกาญน จิรธนา แพทยผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานอายุรกรรมที่เปนพี่เลี้ยง พรอม ทั้ ง วางระบบการเชื่ อ มโยงของหน ว ยบริ ก ารแต ล ะระดั บ และคณะทํ า งานทุ ก ท า นที่ เ สี ย สละเวลาอั น มี ค า เพื่ อ รวมกันดําเนินการจัดทําแนวทางเวชปฏิบัติในครั้งนี้ และหวังเปนอยางยิ่งวาแนวทางเวชปฏิบัติเลมนี้ จะเปน เครื่องมือสงเสริมคุณภาพของการใหบริการดานสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุดแกประชาชน นายแพทยสมพงษ บุญสืบชาติ นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา  
  • 4. [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] ข   สารบัญ หัวขอ หนา แนวปฏิบัตในการคัดกรองโรคเบาหวาน ิ 1 แนวปฏิบัตในการสงตรวจทางหองปฏิบัติการเมื่อไดรับคําวินิจฉัยเบาหวานครั้งแรก ิ 5 การขึ้นทะเบียนผูปวยเบาหวานรายใหม 7 แนวปฏิบัตในการรักษาเมื่อไดรับคําวินิจฉัยเบาหวานครั้งแรก ิ 9 ยาลดระดับน้ําตาลในเลือด 10 เปาหมายการรักษา การติดตาม และการประเมินผลการรักษา 15 การติดตาม การประเมินผลและการรักษาตอเนื่อง 16 การดูแลผูปวยเบาหวานที่มีความดันโลหิตสูง 19 แนวทางการตรวจคนและดูแลภาวะแทรกซอนทางไต 23 แนวทางการตรวจคนและดูแลภาวะแทรกซอนทางตา 29 แนวทางการตรวจคน การปองกันและดูแลรักษาปญหาเทา 33 การปองกันและรักษาภาวะแทรกซอนของหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง 43 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิต 47 การใหความรูแกผูปวยและญาติเพื่อการดูแลตนเอง 55 การตรวจระดับน้ําตาลในเลือดดวยตนเอง 59 มิติการดูแลดานอื่นๆ 62 เกณฑชี้วัดในการดําเนินงานเบาหวาน 63 การใหรหัสวินิจฉัยโรคดวย ICD10 65 ภาคผนวก - ตัวอยางแนวทางการเฝาระวังและดูแลรักษาผูปวยเบาหวานครบวงจร พ.ศ.2555 67 เครือขายโรงพยาบาลบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  
  • 5. [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] ค   คณะทํางานจัดทําแนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555 1 นายแพทยสมชัย วิโรจนแสงอรุณ นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ที่ปรึกษา ดานสงเสริมพัฒนา สสจ.พระนครศรีอยุธยา 2 นายแพทยสุรชัย โชคครรชิตชัย นายแพทยเชี่ยวชาญ ดานอายุรกรรม ที่ปรึกษา รพ.พระนครศรีอยุธยา 3 นายแพทยกาญจน จิรธนา นายแพทยเชี่ยวชาญ ดานอายุรกรรม ประธานคณะทํางาน รพ.พระนครศรีอยุธยา 4 นายแพทยประภัทร ศุขศรีไพศาล นายแพทยเชี่ยวชาญ ดานจักษุเวชกรรม คณะทํางาน รพ.พระนครศรีอยุธยา 5 นายแพทยเชษฐพัฒน สุทธิวาทนฤพุฒิ นายแพทยชํานาญการพิเศษ รพ.เสนา คณะทํางาน 6 นายแพทยณิธัตธ ตอบุญศุภชัย นายแพทยชํานาญการพิเศษ ดานอายุรกรรม คณะทํางาน รพ.เสนา 7 แพทยหญิงมยุรี คุณเลิศ นายแพทยปฏิบัติการ รพ.วังนอย คณะทํางาน 8 นายแพทยอธิพัฒน อธิพงษอาภรณ นายแพทยปฏิบัติการ รพ.บางปะหัน คณะทํางาน 9 นายนที ปนปทุม เภสัชกรชํานาญการ รพ.สมเด็จพระสังฆราช คณะทํางาน 10 นายยิ่งยศ ภัทรวัฒนาพรน เภสัชกรชํานาญการพิเศษ รพ.พระนครศรีอยุธยา คณะทํางาน 11 นางออนนอม ธูปวิโรจน พยาบาลวิชาชีพชํานาญการพิเศษ คณะทํางาน รพ.พระนครศรีอยุธยา 12 นางสาวจรรยา นอยอาง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ รพ.เสนา คณะทํางาน 13 นางสาวสายัณ พึ่งตระกูล พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ รพ.บางปะหัน คณะทํางาน 14 นางพรทิพย พึ่งศักดิ์ พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ รพ.บางปะหัน คณะทํางาน 15 นางสาวเฉลิมศรี สะมะโน พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ รพ.บางซาย คณะทํางาน 16 นางมาลี ตรีประชานาถ พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ รพ.อุทัย คณะทํางาน 17 นางสาวรัชนีพร ทองประเทือง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ รพสต.ปลายกลัด คณะทํางาน อ.บางซาย 18 นายแพทยชานนท นันทวงค นายแพทยปฏิบัติการ รพ.บางปะหัน เลขานุการ 19 นางสาวเยาวรัตน ศุภกรรม เจาพนักงานทันตสาธารณสุขชํานาญการ เลขานุการ สสจ.พระนครศรีอยุธยา  
  • 6. [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] 1   แนวปฏิบัติในการคัดกรองโรคเบาหวาน การคัดกรองโรคเบาหวานในกลุมประชากรกลุมเสี่ยงทุกป มีความสําคัญในการวินจฉัยและรักษาเบาหวาน ิ ไดเร็ว ปจจุบนมีคําแนะนําใหตรวจคัดกรองโรคเบาหวานในผูปวยกลุมเสี่ยง ดังนี้ ั  เกณฑความเสี่ยงสําหรับคัดกรองโรคเบาหวานในผูใหญ 1. ผูที่มีอายุ 35 ป ขึ้นไป 2. ผูที่อวน( BMI ≥ 25 กก./ม2 และ/หรือผูชายรอบเอว>90 ซม. ผูหญิงรอบเอว>80 ซม.) และมีพอ แม พี่ หรือ นอง คนใดคนหนึ่งเปนโรคเบาหวาน 3. เปนโรคความดันโลหิตสูงหรือกินยาควบคุมความดันโลหิตอยู (BP ≥140/90 มม.ปรอท) 4. มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ(HDL< 35 มก./ดล. หรือTriglycerides > 250 มก./ดล.) 5. มีประวัติเปนโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ หรือเคยคลอดบุตรที่น้ําหนักตัวแรกเกิดมากกวา 4 กิโลกรัม 6. เคยตรวจพบวาเปน impaired glucose tolerance หรือ impaired fasting glucose หรือ A1C ≥ 5.7% 7. มีโรคหัวใจและหลอดเลือด เชน โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารีตีบ โรคหลอดเลือดสมองตีบ(อัมพาต) รูปแบบที่ 1 แนวทางการคัดกรองเบาหวานแบบอดอาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง   ผูใหญที่มีปจจัยเสี่ยง วัดระดับ fasting capillary blood   ในกลองขอความ glucose จากปลายนิ้ว (DTX)     วัดระดับ fasting plasma glucose ระดับ fasting capillary blood glucose   (FPG/FBS) จากปลายนิว (DTX) ≥ 100 มก./ดล. ้   FBS<100 มก./ดล. ปกติ 1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.ตรวจคัดกรอง FBS ซ้ําทุกป FBS 100 – 125 มก./ดล. Impaired fasting glucose 1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (IFG) 2.ลงทะเบียนฐานขอมูลกลุม IFG FBS ≥ 126 มก./ดล. วัดระดับ FBS ซ้ําอีกครั้ง 1.วินิจฉัยวาเปนเบาหวาน ภายใน 4 สัปดาห 2.ลงทะเบียนฐานขอมูล DM รายใหม ≥ 126 มก./ดล. 3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4.ตรวจทางหองปฏิบัติการเพิ่มเติม  
  • 7. 2 [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   รูปแบบที่ 2 แนวทางการคัดกรองเบาหวานแบบไมอดอาหาร   ผูใหญที่มีปจจัยเสี่ยง วัดระดับ capillary blood glucose   ในกลองขอความ จากปลายนิว (DTX) ้     วัดระดับ fasting plasma glucose ระดับ capillary blood glucose จาก   (FPG/FBS) ปลายนิ้ว (DTX) ≥ 110 มก./ดล.   FBS<100 มก./ดล. ปกติ 1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.ตรวจคัดกรอง FBS ซ้ําทุกป FBS 100 – 125 มก./ดล. Impaired fasting glucose 1.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (IFG) 2.ลงทะเบียนฐานขอมูลกลุม IFG FBS ≥ 126 มก./ดล. วัดระดับ FBS ซ้ําอีกครั้ง 1.วินิจฉัยวาเปนเบาหวาน ภายใน 4 สัปดาห 2.ลงทะเบียนฐานขอมูล DM รายใหม ≥ 126 มก./ดล. 3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4.ตรวจทางหองปฏิบัติการเพิ่มเติม   รูปแบบที่ 3 แนวทางการคัดกรองเบาหวานแบบไมอดอาหาร เมื่อมีอาการ   ผูใหญที่มีปจจัยเสี่ยง วัดระดับ capillary blood glucose   ในกลองขอความ จากปลายนิว (DTX) ้     ซักประวัติอาการโรคเบาหวาน ระดับ capillary blood glucose จาก   (1) หิวน้ํามาก ปลายนิ้ว (DTX) ≥ 200 มก./ดล.   (2) ปสสาวะมากและบอย   (3) น้ําหนักตัวลดลง   1.วินิจฉัยวาเปนเบาหวาน 2.ลงทะเบียนฐานขอมูล DM รายใหม 3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรรม 4.ตรวจทางหองปฏิบัติการเพิ่มเติม    
  • 8. [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] 3   รูปแบบที่ 4 แนวทางการคัดกรองเบาหวานในรายที ่ Impaired fasting glucose (IFG)    ผูใหญที่มีผลตรวจระดับน้ําตาล Impaired fasting glucose (IFG)    FBS 100 – 125 มก./ดล.     ระดับน้ําตาล 75 g OGTT ≥ 200 มก./ดล. ทดสอบความทนตอกลูโคส OGTT   75 g Oral Glucose Tolerance Test       1.วินิจฉัยวาเปนเบาหวาน ระดับน้ําตาล 75 g OGTT   2.ลงทะเบียนฐานขอมูล DM รายใหม 140 - 199 มก./ดล.   3.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4.ตรวจทางหองปฏิบัติการเพิ่มเติม  Impaired glucose tolerance (IGT)   เกณฑในการวินิจฉัยเบาหวาน วิธีการวัดระดับน้ําตาล เกณฑวินิจฉัย Fasting plasma glucose FPG ≥ 126 มก./ดล. หลังอดอาหารอยางนอย 8 ชั่วโมง 2-hr plasma glucose 2-hr plasma glucose ≥ 200 มก./ดล. หลังทดสอบความทนตอ กลูโคส 75 กรัม Random plasma Random plasma glucose≥ 200 มก./ดล. ในผูปวยที่มีอาการเบาหวานชัดเจน คือ หิวน้ํา glucose มาก ปสสาวะบอยและมาก น้ําหนักตัวลดลงโดยไมมีสาเหตุ HbA1c*** HbA1c ≥ 6.5% (หองปฏิบัติการที่มีมาตรฐาน NGSP certified และมีมาตรฐาน DCCT) สําหรับประเทศไทยยังไมแนะนําใหใชเนื่องจาก ยังไมมี standardization และ quality control ของ HbA1c ที่เหมาะสมเพียงพอ และคาใชจายในการตรวจสูงมาก  
  • 9. 4 [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   คําแนะนําในการวัดรอบเอว (Waist circumference) 1. วัดรอบเอวในชวงเชา ขณะยังไมไดรับประทานอาหาร 2. ตําแหนงทีวัดไมควรมีเสื้อผาปด ถามีควรเปนเสื้อผาเนื้อบาง ่ 3. อยูในทายืน เทาทั้งสองขางหางกันประมาณ 10 เซนติเมตร 4. หาตําแหนงขอบบนสุดของกระดูกเชิงกรานและขอบลางของชายโครง 5. ใชสายวัดพันรอบเอวที่ตําแหนงจุดกึ่งกลางระหวางขอบบนของกระดูกเชิง กรานและขอบลางของชายโครง โดยใหสายวัดอยูในแนวขนานกับพืน ้ 6. วัดในชวงหายใจออก โดยใหสายวัดแนบกับลําตัวพอดีไมรัดแนน คําแนะนําในการทดสอบความทนตอกลูโคส OGTT : 75 g Oral Glucose Tolerance Test 1. ผูถูกทดสอบทํากิจวัตรประจําวันและกินอาหารตามปกติ ซึ่งมีปริมาณคารโบไฮเดรตมากกวาวันละ 150 กรัม เปนเวลาอยางนอย 3 วันกอนการทดสอบ การกินคารโบไฮเดรตในปริมาณที่ต่ํากวานี้ อาจทําใหผลการทดสอบ ผิดปกติได 2. งดบุหรี่ระหวางการทดสอบและบันทึกโรคหรือภาวะทีอาจมีอิทธิพลตอผลการทดสอบ เชน ยา ภาวะติดเชื้อ ่ 3. ผูถูกทดสอบงดอาหารขามคืนประมาณ 10 – 16 ชั่วโมง ในระหวางนี้ สามารถดื่มน้ําเปลาได การงดอาหารเปน เวลาสั้นกวา 10 ชั่วโมง อาจะทําให FPG สูงผิดปกติได และการงดอาหารเปนเวลานานกวา 16 ชัวโมง อาจทํา ่ ใหผลการทดสอบผิดปกติได 4. เชาวันทดสอบ เก็บตัวอยางเลือดดํา (Fasting venous blood sample) หลังจากนั้น ใหผูทดสอบดื่มสารละลาย กลูโคส 75 กรัม ในน้ํา 250 – 300 มล. ดื่มใหหมดใน 5 นาที เก็บตัวอยางเลือดหลังจากดื่มสารละลายกลูโคส 2 ชั่วโมง 5. เก็บตัวอยางเลือดในหลอดที่มีโซเดียมฟลูออไรดเปนสารกันเลือดเปนลิมในปริมาณ 6 มก. ตอเลือด 1 มล. ปน ่ และแยกเก็บพลาสมาเพื่อทําการวัดระดับพลาสมากลูโคสตอไป ในกรณีที่ไมสามารถวัดระดับพลาสมากลูโคส ไดทันทีใหเก็บพลาสมาแชแข็งไว เอกสารอางอิง สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2554). แนวทางเวช ปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน 2554. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ จํากัด. American Diabetes Association. (2012). Standards of Medical Care in Diabetes—2012. Diabetes care 2012;35 (Suppl 1) , S11-S63.   
  • 10. [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] 5   แนวปฏิบัติในการสงตรวจทางหองปฏิบัติการ เมื่อไดรับคําวินิจฉัยเบาหวานครั้งแรก คําแนะนําในการสงตรวจเพิมเติมทางหองปฏิบติการเมื่อไดรับคําวินิจฉัยเบาหวานครังแรก ่ ั ้ แนะนําใหทําอยางยิ่ง (ตองทํา) แนะนําใหทําเพิ่มเติม (ควรทํา) Fasting blood sugar (FBS) HbA1c* Serum creatinine คํานวณหาคา eGFR Blood urea nitrogen (BUN) Urine protein (Urinalysis) Microalbuminuria หรือ Urine albumin/Cr ratio (UACR) Lipid profile (Total cholesterol, TG, HDL) Electrocardiography ในรายที่มีอาการบงชี้ คํานวณหาคา LDL-C จากสูตร โรคหลอดเลือดหัวใจหรือผูสูงอายุ LDL = Total cholesterol – TG/5 – HDL กรณีที่ระดับไตรกลีเซอไรดในเลือดสูงมาก ใหสงตรวจ directed LDL-C แทน ตรวจจอประสาทตา ** ในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2  * HbA1c เปนคําแนะนําใหทําเพิ่มเติม จากมติที่ประชุมของคณะทํางานทีมปฏิบัติการจัดทําแนวเวชปฏิบัติในการดูแล ผูปวยโรคเบาหวาน ** รูปแบบการตรวจจอประสาทตา ไดแก 1) การตรวจจอประสาทตา โดยการขยายมานตา และวัด visual acuity โดยจักษุแพทย 2) ในกรณีที่ไมมีจักษุแพทย ใชการถายภาพดวย digital fundus camera โดยขยายหรือไมขยายมานตา และ อานภาพถายจอประสาทตาโดยผูชํานาญการ กรณีที่เปนความดันโลหิตสูงรวมดวย ใหสงตรวจเพิ่มเติม ดังนี้ แนะนําใหทําอยางยิ่ง (ตองทํา) แนะนําใหทําเพิ่มเติม (ควรทํา) Potassium Electrolyte Hemoglobin, hematocrit Complete blood count Electrocardiogram Chest X-ray  
  • 11. 6 [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]]   กรณีที่เปนโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3-5 รวมดวย ใหสงตรวจเพิ่มเติม ดังนี้ แนะนําใหทําอยางยิ่ง (ตองทํา) แนะนําใหทําเพิ่มเติม (ควรทํา) Electrolyte 24 hour urine sodium Urine protein และ/หรือ Microalbuminuria หรือ Intact Parathyroid hormone เมื่อสงสัยภาวะ Urine albumin/Cr ratio (UACR) hyperparathyroid ในผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 Calcium, phosphorus, uric acid, albumin Hemoglobin (Serum iron/ TIBC) x 100 กรณี Hb < 10 g/dL Chest X-ray Electrocardiogram เอกสารอางอิง American Diabetes Association. (2012). Standards of Medical Care in Diabetes—2012. Diabetes care 2012;35 (Suppl 1) , S11-S63.  สมาคมโรคไตแหงประเทศไทย. (2552). แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคไตเรื้อรังกอนการบําบัดทดแทนไต พ.ศ.2552. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เบอริงเกอร อินเกลไฮล(ไทย) จํากัด. สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2554). แนวทางเวช ปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน 2554. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ จํากัด. สํานักพัฒนาวิชาการแพทย กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข (2548). แนวทางเวชปฏิบัติการคัดกรองและการดูแลรักษาจอ ประสาทตาผิดปกติจากเบาหวานและแนวทางการวินิจฉัย การปองกันและรักษาโรคไตจากเบาหวาน. กรุงเทพมหานคร.:ชุมนุม สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด  สมาคมความดันโลหิตสูงแหงประเทศไทย. (2555). แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป(Guidelines on  the treatment of hypertension). http://www.thaihypertension.org/2012 Guideline in the Treatment of  Hypertension.pdf (Accessed 10 March 2012).    
  • 12.   โรครวม น้ําหนัก/สูง/ LDL/ Urine Peripheral   อายุ/ วันเดือนป FBS ที่ Cr/ Retinal Neuropathy ลําดับ ชื่อ –สกุล A1C หรือโรค BMI/ บุหรี่ TG/ protein vascular เพศ ที่วินิจฉัย วินิจฉัย eGFR exam exam แทรกซอน รอบเอว HDL /UACR exam 80/170/ 120/ Neg/ D.pedis full นายสันติ 45/ 183 1.05/ 2530 No DR Normal 1 01/01/55 8.0 No 27.68/ 190/ 25.00 P.tibial full มีประโยชน ช 190 85 Active 10/01/55 10/01/55 95.5 cm 45 10/01/55 10/01/55 2520 Loss D.pedis 60/155/ 150/ Trace/ Mild นางสุวรรณี 60/ 140 1.35/ 2545 protective faint Rt 2 02/02/55 7.2 HT, CAD 24.97/ 100/ 28.50 NPDR มีโชควิเศษ ญ 130 40 20 both P.tibial full 78.5 cm 40 10/02/55 10/02/55 pack-yr 10/02/55 10/02/55 60/180/ 100/ Trace/ D.pedis full นายสมชาติ 50/ 127 1.20/ Normal 3 05/02/55 7.0 HT 18.52/ No 160/ 28.50 No DR P.tibial full มีโชคชัย ช 128 62 10/02/55 80 cm 50 10/02/55 10/02/55 4 5 [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] 7 การขึ้นทะเบียนผูปวยเบาหวานรายใหม
  • 13.     8 น้ําหนัก/สูง/ ประวัติ GDM/ LDL/ วันเดือนป อายุ/ FBS HT/ ประวัติ รวมความ ลําดับ ชื่อ-สกุล A1C BMI/ DM ใน คลอดบุตร TG/ บุหรี่ ที่วินิจฉัย เพศ คัดกรอง BP CVD เสี่ยง (ขอ) รอบเอว ครอบครัว BW>4kg HDL 60/155/ 170/ นางสมบูรณ 1 01/01/55 40 120 6.3 24.97/ มารดา DM ไมมี 130/65 No 150/ No อวนสุข 78.5 cm 35 80/170/ 160/ 2520 นายประเสริฐชัย 2555 2 02/02/55 42 109 - 27.68/ บิดา พี่ชาย ไมมี 132/68 No 120/ ดวงดีมาก 20 95.5 cm 45 pack-yr 90/175/ 190/ 2520 125 TVD นายจิตบริสุทธิ์ ยาย มารดา 2553 3 05/02/55 50 75gOGTT 6.4 29.39/ ไมมี 152/85 2553 200/ คิดการณไกล พี่สาว [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] = 190 105 cm S/P 2DES 40 30 pack-yr 4 5 การขึ้นทะเบียนผูปวยกลุม Pre-diabetes(IFG, IGT)
  • 14. [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] 9   แนวปฏิบัติในการรักษาเมื่อไดรับคําวินิจฉัยเบาหวานครั้งแรก ผูปวยเบาหวานไดรับการวินิจฉัยครั้งแรก ไดรับการตรวจ HbA1c และตรวจทางหองปฏิบัติการอื่น (หนา 5) ประเมินโรครวม ประเมินพฤติกรรม วัด BP ถา BP ≥ 130/80 mmHg ไปหนา 19 BMI ถา ≥23 กก./ม2 หรือรอบเอว ช>90,ญ>80ไปหนา 43-49 Lipid profile ถา LDL ≥100, TG ≥150 ไปหนา 41-43 กิจวัตรประจําวัน ออกกําลังกาย ไปหนา 49 Creatinine(eGFR) ถา Cr>1.5(ช),1.4(ญ) ไปหนา 25-28 การรับประทานอาหาร ไปหนา 46 Urine protein ถา 1+,2+,3+,4+ ไปหนา 23-28 การสูบบุหรี่ ถาสูบหรือรับควันบุหรี่ ไปหนา 43 การปองกัน CVD ไปหนา 41 ประเมินความรูการดูแลตนเอง/ครอบครัวและญาติ ประเมินผูปวยโดยใชขอมูลอยางเปนองครวม และกําหนดเปาหมายการควบคุมระดับน้ําตาลรวมกัน FBS < 180 มก./ดล. ปรับพฤติกรรม Metformin Gliclazide หรือ Glipizide และ HbA1c < 8% โภชนบําบัด (ลักษณะดื้ออินซูลิน) (ลักษณะขาดอินซูลิน) ออกกําลังกาย BMI ≥ 23 กก./ม2 หรือรอบเอว BMI < 23 กก./ม2 หรือ ผูชาย >90 ซม., ผูหญิง >80 ซม. รอบเอวไมเกินมาตรฐาน FBS 180 - 249 มก./ดล. เลือกใชยากิน 1 ชนิด BP ≥ 130/85 มม.ปรอท หรือ มีอาการจากน้ําตาลในเลือด หรือ HbA1c > 8% ปรับพฤติกรรม ไดยาลดความดันโลหิต สูงชัดเจน เชน TG > 250, HDL < 35 มก./ดล. ขอหามใช Metformin พบ acanthosis nigricans 1.Cr ≥1.5(ชาย), ≥1.4(หญิง) FBS 250 - 350 มก./ดล. ใชยากิน 2 ชนิด เริ่มตน A1C 2.อายุ > 80 ป และ GFR ลด หรือ HbA1c > 9% ปรับพฤติกรรม ชื่อยา (มก.) (%) 3.มีโรคตับ/พิษสุราเรื้อรัง Metformin 1,000 1-2 4.acute/chronic acidosis FBS > 300 มก./ดล ใชยาฉีดอินซูลิน Gliclazide 80* 1-2 5.ตั้งครรภ หรือ HbA1c > 11% Glipizide 5* 1-2 6.มีภาวะhypoxemia/sepsis/ เนนปรับพฤติกรรม Glibenclamide 5* 1-2 dehydration เขากลุมยอย Pioglitasone 15. 1.4 7.มีประวัติแพยา metformin ตั้งเปาหมายรวมกัน FBS<70, > 500 มก./ดล. ภาวะฉุกเฉิน Basal insulin: NPH 0.1 – 0.15 unit/kg/day 21.00 – 23.00 น. %A1C  eAG  แกไขภาวะฉุกเฉิน ปรับขนาดขึ้น 2-4 unit ทุก 3-7 วัน จนไดตามเปาหมาย 6  126  อาจพิจารณาสงตอ 7  154  Premixed insulin: Humulin 70/30 0.4 – 0.6 unit/kg/day 8  183  9  212  แบงใหกอนอาหารเชา 2/3 สวน และกอนอาหารเย็น 1/3 สวน 10  240  eAG = (28.7 x A1C) – 46.7 ปรับขึ้น 1 -2 U เมื่อ FBS<180 หรือ 2 – 4 U เมื่อ FBS>180 11  269  12  298  *อาจพิจารณาลดขนาดยาเริ่มตนลงครึ่งหนึ่งในผูปวยสูงอายุ
  • 15. 10 [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   ยาลดระดับน้ําตาลในเลือด ยาลดระดับน้ําตาลในเลือด แบงออกเปน 3 กลุม คือ ยาเม็ดลดระดับน้าตาลในเลือด(ยากิน) ยาฉีดอินซูลิน ํ และยาฉีด GLP-1 analog ยาเม็ดลดระดับน้ําตาลในเลือด ยา ขนาดที่ใช กลไกการออกฤทธิ์ ขอดี ขอเสีย กลุม Biguanides Metformin เริ่มตน 1,000 มก. 1.ลดการสรางกลูโคสที่ตับ 1.ไมทําใหน้ําหนักเพิ่ม 1.GI side effect (ปวดทอง A1C 1-2% เพิ่มครั้งละ 500 มก. 2.ลดการดูดซึมกลูโคสที่ 2.ไมทําใหน้ําตาลใน ถายเหลว) ขนาดสูงสุด 2,500 มก. ลําไส เลือดต่ํา 2.Lactic acidosis (rare) แบงให 1 – 3 ครั้ง/วัน 3.เพิ่มการทํางานของ 3.ลดอัตราตายจาก/ 3.Vit B12 def. หลังอาหาร อินซูลิน และ Cardiovascular 4.หามใชในผูปวยที่มีไต event เสื่อม กลุม Sulfonylureas Glipizide เริ่มตน* 5 มก. 1.เพิ่มการหลั่งอินซูลิน 1.ลดอัตราตายจาก/ 1.น้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น A1C 1-2% เพิ่มครั้งละ 2.5-5 มก. และ Cardiovascular 2.น้ําตาลในเลือดต่ํา ขนาดสูงสุด 20 มก. event 3.blunt MI preconditioning แบงให 1 – 2 ครั้ง/วัน 2.ผูปวยสามารถทนได กอนอาหาร Gliclazide เริ่มตน* 80 มก. 1.เพิ่มการหลั่งอินซูลิน 1.ลดอัตราตายจาก/ 1.น้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น A1C 1-2% เพิ่มครั้งละ 40-80 มก. และ Cardiovascular 2.น้ําตาลในเลือดต่ํา ขนาดสูงสุด 320 มก. event 3.blunt MI preconditioning แบงให 1 – 2 ครั้ง/วัน 2.ผูปวยสามารถทนได กอนอาหาร Glibenclamide เริ่มตน* 5 มก. 1.เพิ่มการหลั่งอินซูลิน 1.ลดอัตราตายจาก/ 1.น้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น A1C 1-2% เพิ่มครั้งละ 2.5-5 มก. และ Cardiovascular 2.น้ําตาลในเลือดต่ํา ขนาดสูงสุด 20 มก. event (พบไดบอยกวา Glipizide แบงให 1 – 2 ครั้ง/วัน 2.ผูปวยสามารถทนได และ Gliclazide) กอนอาหาร *อาจพิจารณาลดขนาดยาเริ่มตนลงครึ่งหนึ่งในผูปวยสูงอายุ Thiazolidinediones Pioglitazone เริ่มตน 15-30 มก. 1.เพิ่มการตอบสนองตอ 1.ไมทําใหน้ําตาลใน 1.ตัวบวม/น้ําหนักตัวเพิ่ม A1C 0.5-1.4% เพิ่มครั้งละ 15 มก. อินซูลิน เลือดต่ํา 2.หามใชในผูปวยหัวใจวาย ขนาดสูงสุด 30 มก. 2.HDL เพิ่มขึ้น 3.เสี่ยงตอกระดูกหัก แบงให 1 – 2 ครั้ง/วัน 3.TG ลดลง 4.ราคาแพง หลังอาหาร
  • 16. [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] 11   ยา ขนาดที่ใช กลไกการออกฤทธิ์ ขอดี ขอเสีย Alpha-glucosidase inhibitors Acarbose 1.ลดการดูดซึมสารอาหาร 1.ลดระดับน้ําตาลหลัง 1.GI side effect (ทองอืด Volglibose คารโบไฮเดรตที่ลําไส อาหาร ถายเหลว) Migitol 2.ราคาแพง A1C 0.5-0.8% (ไมมีใชใน รพช.) Glinides Repaglinide 1.เพิ่มการหลั่งอินซูลิน 1.เหมาะสําหรับผูที่กิน 1.น้ําตาลในเลือดต่ํา Nateglinide อาหารไมตรงเวลา 2.blunt MI preconditioning A1C 1 - 1.5% (ไมมีใชใน รพช.) DPP-4 inhibitors Sitagliptin 1.เพิ่มระดับ active GLP-1 1.ไมทําใหน้ําตาลใน 1.ราคาแพง Vildagliptin 2.เพิ่มระดับ active GIP เลือดต่ํา Saxagliptin 3.เพิ่มการหลั่งอินซูลิน 2.ไมมีการเปลี่ยน Linagliptin 4.ลดการหลั่งกลูคากอน แปลงของน้ําหนัก A1C 0.8% (ไมมีใชใน รพช.) ยาฉีดอินซูลิน ชนิดยา ระยะเวลาที่เริ่มออกฤทธิ์ เวลาที่มีฤทธิ์สูงสุด ระยะเวลาการออกฤทธิ์ (Onset) (Peak) (Duration) อินซูลินออกฤทธิ์สั้น Regular insulin 30 – 45 นาที 2 – 3 ชั่วโมง 4 – 8 ชั่วโมง อินซูลินออกฤทธิ์ปานกลาง NPH 2 – 4 ชั่วโมง 4 – 8 ชั่วโมง 10 – 16 ชั่วโมง อินซูลินผสมสําเร็จรูป Premixed 30% RI + 70% NPH 30 – 60 นาที 2 และ 8 ชั่วโมง 12 – 20 ชั่วโมง Premixed 50% RI + 50% NPH 30 – 60 นาที 2 และ 8 ชั่วโมง 12 – 20 ชั่วโมง อินซูลินอะนาล็อกออกฤทธิ์เร็ว Insulin lispro (Humalog) 5 – 15 นาที 1 – 2 ชั่วโมง 3 – 4 ชั่วโมง Insulin aspart (Novorapid) 10 – 20 นาที 1 – 2 ชั่วโมง 3 – 4 ชั่วโมง
  • 17. 12 [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   ชนิดยา ระยะเวลาที่เริ่มออกฤทธิ์ เวลาที่มีฤทธิ์สูงสุด ระยะเวลาการออกฤทธิ์ (Onset) (Peak) (Duration) อินซูลินอะนาล็อกออกฤทธิ์ยาว Insulin glargine (Lantus) 2 ชั่วโมง ไมมี 24 ชั่วโมง Insulin detemir (Levemir) 2 ชั่วโมง ไมมี 18 - 24 ชั่วโมง อินซูลินอะนาล็อกผสมสําเร็จรูป Premixed 30% aspart + 70% aspart protamin suspension 10 – 20 นาที 1 และ 8 ชั่วโมง 10 - 20 ชั่วโมง Premixed 25% aspart + 75% aspart protamin suspension 10 – 20 นาที 1 และ 8 ชั่วโมง 10 - 20 ชั่วโมง ขอบงชี้การรักษาดวยอินซูลนิ 1. เปนเบาหวานชนิดที่ 1 2. เกิดภาวะแทรกซอนเฉียบพลัน มีภาวะ diabetic ketoacidosis หรือ hyperglycemic hyperosmolar nonketotic coma 3. เปนเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีปญหาตอไปนี้  - ภาวะน้ําตาลในเลือดสูงมาก - ใชยาเม็ดรับประทาน 2 ชนิดในขนาดสูงสุดแลวควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดไมได - อยูในภาวะผิดปกติ เชน การติดเชื้อรุนแรง(sepsis) อุบัติเหตุรุนแรงและมีระดับน้ําตาลในเลือด สูง รวมทั้งภาวะขาดอาหาร(malnutrition) - ระหวางการผาตัด - ตั้งครรภ - มีความผิดปกติของตับและไตที่มีผลตอยา - แพยาเม็ดรับประทาน 4. เปนเบาหวานขณะตั้งครรภที่ไมสามารถควบคุมระดับน้าตาลในเลือดดวยการปรับพฤติกรรม ํ 5. เปนเบาหวานจากตับออนถูกทําลาย เชน ตับออนอักเสบเรื้อรัง ถูกตัดตับออน
  • 18. [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] 13   การใชยาฉีดอินซูลิน *ไมไดกลาวถึงการใช Long acting insulin 1. ผูปวยเบาหวานชนิดที่ 1 แนะนําใหใชยาฉีดอินซูลินตั้งแตแรกทีวินจฉัยพรอมกับการใหความรูเกียวกับ ่ ิ ่ โรคเบาหวาน ยาอินซูลิน การออกฤทธิ์ของยา วิธีการฉีดยา การเก็บยาที่ถูกตองและการออกกําลังกายอยางเพียงพอ ขนาดเริ่มตน(total insulin) 0.4-0.6 unit/kg/day วิธีที่ 1 ใช NPH เปน basal insulin ฉีดกอนนอน(21.00 - 23.00 น.) รวมกับการฉีด RI กอนอาหารทุกมื้อ(แตละมือ้ ประมาณ ¼ ของ total insulin) และแบงประมาณ 1/4 - 1/3 ฉีดกอนนอน โดยปรับเพิมอินซูลินตามระดับน้ําตาลกอน ่ อาหาร ถา BS<180 mg/dL ใหเพิ่มขนาด ครั้งละ 1-2 unit ถา BS>180 mg/dL ใหเพิ่มขนาด ครั้งละ 2-4 unit วิธีที่ 2 ใช Pre-mixed insulin วันละ 1-2 ครั้ง แบงมื้อเชา 2/3 และมื้อเย็น 1/3 ของ total insulin 2. ผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 แนะนําใหใชยาฉีดอินซูลินตามขอบงชีพรอมกับการใหความรูเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ้ ยาอินซูลิน การออกฤทธิ์ของยา วิธีการฉีดยา การเก็บยาที่ถูกตองและการออกกําลังกายอยางเพียงพอ วิธีที่ 1 ใช NPH ขนาด 0.1 – 0.15 unit/kg/day เปน basal insulin ฉีดกอนนอน(21.00 - 23.00 น.) โดยปรับเพิ่ม 2-4 units ทุก 3-7 วัน จนไดระดับน้ําตาลตามเปาหมาย สําหรับผูปวยที่ฉีดอินซูลินกอนนอนควรตรวจน้ําตาลในเลือดตอนเชาขณะอดอาหารอยางนอย 3 ครั้ง/ สัปดาห และปรับยาทุก 3 – 7 วัน ถายังควบคุมไมไดอาจใชวิธีที่ 2 (ฉีดอินซูลินกอนอาหารทุกมื้อ) วิธีที่ 2 เหมือนวิธีที่ 1 ของผูปวยเบาหวานชนิดที่ 1 (ขอเสียคือยุงยากทีสุด มักพิจารณาเปนรายๆ) ่ วิธีที่ 3 ใช Pre-mixed insulin วันละ 1-2 ครั้ง แบงมื้อเชา 2/3 และมื้อเย็น 1/3 ของ total insulin ทั้งนี้ อาจพิจารณาใหยาเพิ่มความไวของอินซูลิน(Metformin, Glitazone) รวมดวย ถาหากใชอนซูลินเกิน ิ 0.8 unit/kg/day ตําแหนงที่ฉีดอินซูลิน
  • 19. 14 [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   ยาฉีด GLP-1 analog เปนยากลุมใหมที่สังเคราะหขึ้นเลียนแบบ GLP-1 เพื่อทําใหออกฤทธิ์ไดนานขึ้น ยากลุมนี้ออกฤทธิ์โดยการ กระตุนการหลั่งอินซูลินและยับยั้งการหลังกลูคากอน นอกจากนี้ ยังมีผลลดการบีบตัวของกระเพาะอาหารทําใหอิ่ม ่ เร็วขึ้น และลดความอยากอาหารโดยออกฤทธิ์ที่ศูนยความอยากอาหารที่ไฮโปธาลามัส ยากลุมนี้ไดแก exenatide
  • 20. [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] 15   เปาหมายการรักษา การติดตาม และการประเมินผลการรักษา ตารางที่ 1 เปาหมายการควบคุมเบาหวานสําหรับผูใหญ การควบคุมเบาหวาน เปาหมายการควบคุม ระดับน้ําตาลในเลือดขณะอดอาหาร 70 – 130 มก./ดล. ระดับน้ําตาลในเลือดหลังอาหาร 2 ชั่วโมง 140 – 180 มก./ดล. ระดับน้ําตาลในเลือดสูงสุดหลังอาหาร < 180 มก./ดล. ระดับน้ําตาลสะสม Hemoglobin A1c < 7% ตารางที่ 2 เปาหมายการควบคุมปจจัยเสียงของภาวะแทรกซอนที่หลอดเลือด ่ การควบคุม/การปฏิบติตัว ั เปาหมาย ระดับไขมันในเลือด ระดับคอเลสเตอรอลรวม (Total cholesterol) < 170 มก./ดล. ระดับแอล ดี แอล คอเลสเตอรอล (LDL cholesterol)* < 100 มก./ดล. ระดับไตรกลีเซอไรด (Triglyceride) < 150 มก./ดล. ระดับเอช ดี แอล คอเลสเตอรอล (HDL cholesterol): ผูชาย ≥ 40 มก./ดล. ระดับเอช ดี แอล คอเลสเตอรอล (HDL cholesterol): ผูหญิง ≥ 50 มก./ดล. ความดันโลหิต** ความดันโลหิตซิสโตลิก (Systolic BP) < 130 มม.ปรอท ความดันโลหิตไดแอสโตลิก (Diastolic BP) < 80 มม.ปรอท น้ําหนักตัว ดัชนีมวลกาย 18.5 – 22.9 กก./ม2 หรือใกลเคียง รอบเอว: ผูชาย < 90 ซม. หรือใกลเคียง รอบเอว: ผูหญิง < 80 ซม. หรือใกลเคียง การสูบบุหรี่ ไมสูบบุหรี่และหลีกเลียงรับควันบุหรี่ ่ การออกกําลังกาย ตามคําแนะนําของแพทย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไดรับการสอนเรื่องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม * ถามีโรคหลอดเลือดหัวใจหรือมีปจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจหลายอยางรวมดวย ควรควบคุมให LDL-C ต่ํากวา < 70 มก./ดล. ** ผูปวยที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตซิสโตลิก (Systolic BP) ไมควรต่า ํ กวา 110 มม.ปรอท และความดันโลหิตไดแอสโตลิก (Diastolic BP) ไมควรต่ํากวา 70 มม.ปรอท
  • 21. 16 [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   การติดตาม การประเมินผลและการรักษาตอเนื่อง ผูปวยเบาหวานทุกรายไดรับการตรวจติดตามระดับน้ําตาลในเลือดโดยใช FBS หรือ DTX ตอเนื่องทุก 1 – 3 เดือน ซักประวัติภาวะแทรกซอนเบาหวาน ซักประวัติน้ําตาลในเลือดผิดปกติ ซักประวัติการควบคุมพฤติกรรม แผลที่เทา/แผลอักเสบที่อวัยวะ ใจสั่น มือสั่น เหงื่อแตก หิวบอย ควบคุมอาหารหวาน/มัน/เค็ม เจ็บหนาอก/หอบเหนื่อย ออนเพลีย มึนงง ปวดศีรษะ ออกกําลังกาย วิธีการ ระยะเวลา ตามัวลง มองเห็นไมชัด ปสสาวะบอย มีมดตอม หิวน้ํา งดหรือลดบุหรี่ เลี่ยงบุหรี่ ขา/ตัวบวม ปสสาวะเปนฟอง การแกไขปญหาเมื่อมีอาการ การกินยา/ฉีดยาสม่ําเสมอ ประเมินผูปวยโดยใชขอมูลอยางเปนองครวม พิจารณาความสอดคลองกับระดับน้ําตาลและกําหนดเปาหมายรวมกัน FBS70 – 130 มก./ดล. ควบคุมไดตามเกณฑ Metformin Gliclazide หรือ Glipizide คนหาขอมูลลวง (ลักษณะดื้ออินซูลิน) (ลักษณะขาดอินซูลิน) ปรับพฤติกรรม BMI ≥ 23 กก./ม2 หรือรอบเอว BMI < 23 กก./ม2 หรือ FBS 131 – 179 มก./ดล. สูงกวาเกณฑ ผูชาย>90 ซม., ผูหญิง>80 ซม. รอบเอวไมเกินมาตรฐาน เพิ่มขนาดยาตัวเดิม BP ≥ 130/85 มม.ปรอท หรือ มีอาการจากน้ําตาลในเลือด ไดยาลดความดันโลหิต สูงชัดเจน เชน ปรับพฤติกรรม TG > 250, HDL < 35 มก./ดล. หามให MFM FBS 180 – 250 มก./ดล. สูงกวาเกณฑมาก พบ acanthosis nigricans เมื่อ Cr≥1.5 ช และCr≥1.4 ญ ใชยากิน 2 ชนิด ชื่อยา เริ่มตน เพิ่มทีละ สูงสุด ปรับพฤติกรรม Metformin 500 bid 500 2500 Gliclazide 80 (40*) 40 - 80 320 FBS 250 – 350 มก./ดล. สูงกวาเกณฑมาก Glipizide 5 (2.5*) 2.5 - 5 20 ใชยากิน 3 ชนิด Glibenclamide 5 (2.5*) 5 20 ปรับพฤติกรรม *ลดขนาดเริ่มตนลงครึ่งหนึ่งในผูปวยที่เสี่ยงภาวะน้ําตาลต่ํา FBS > 300 มก./ดล. สูงกวาเกณฑมาก ยาทางเลือกตัวที่ 3: Pioglitasone, DPP4-inhibitor, alpha-GI ใชยาฉีดอินซูลิน Basal insulin: NPH 0.1 – 0.15 unit/kg/day 21.00 – 23.00 น. ปรับพฤติกรรม ปรับขนาดขึ้น 2-4 unit ทุก 3-7 วัน จนไดตามเปาหมาย เขากลุมยอย FBS<70, > 500 มก./ดล. ภาวะฉุกเฉิน Premixed insulin: Humulin 70/30 0.4 – 0.6 unit/kg/day แกไขภาวะฉุกเฉิน แบงใหกอนอาหารเชา 2/3 สวน และกอนอาหารเย็น 1/3 สวน อาจพิจารณาสงตอ ปรับขึ้น 1 -2 U เมื่อ FBS<180 หรือ 2 – 4 U เมื่อ FBS>180
  • 22. [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] 17   เอกสารอางอิง  สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. (2554). แนวทางเวช ปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน 2554. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ จํากัด. American Diabetes Association. (2012). Standards of Medical Care in Diabetes—2012. Diabetes care 2012;35 (Suppl 1) , S11-S63.  Wisconsin Diabetes Prevention and Control Program. (2011). Wisconsin Diabetes Mellitus Essential Care  Guidelines 2011. http://www.dhs.wisconsin.gov/health/diabetes/index.htm. (Accessed 20 September  2011).   
  • 23. 18 [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   บันทึก . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
  • 24. [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555] 19   การดูแลผูปวยเบาหวานที่มีความดันโลหิตสูง รายละเอียด นิยามโรคความดันโลหิตสูง ความดันโลหิต 140/90 มม.ปรอท หรือมากกวา ซึ่งอาจเปนคาบนหรือคาลางก็ได เปาหมายการควบคุมความดัน นอยกวา 130/80 90 มม.ปรอท โลหิตในผูปวยเบาหวาน  แนวทางการรักษาและควบคุมความดันโลหิตดวยยา กลุมผูปวย แนวทางการรักษาดวยยา มีโรครวมเปนความดันโลหิตสูง • อายุนอยกวาหรือ 55 ป พิจารณาใช ACE inhibitors(ACEI) เปนอันดับแรก อยางเดียว กรณีที่ทนตอผลขางเคียงไมได(ไอ)ใหใช angiotensin receptor blocker แทน • อายุมากกวา 55 ปขึ้นไป พิจารณาใช dihydropyridine calcium channel blocker(CCB) หรือ Thiazide อันดับแรก (NICE2011 ใช thaizide-like diuretic) อายุนอยกวาหรือเทากับ 55 ป อายุมากกวา 55 ป Step 1 A C/D Step 2 A + C/D C/D + A Step 3 A+C+D Step 4 A + C + D + spironolactone หรือ furosemide กอนการให β-blocker/α-blocker คํายอ A: ACEI หรือ ARB, C: Calcium channel blocker, D: Diuretic-thiazide มีภาวะโปรตีนรั่วในปสสาวะ • พิจารณาใช ACE inhibitors(ACEI) ขนาดปานกลางหรือสูงหากไมมีขอหาม  จากเบาหวาน (ทั้งภาวะ กรณีที่ทนตอผลขางเคียงไมได(ไอ)ใหใช angiotensin receptor blocker แทน macroalbuminuria และ ควรปรับขนาดยาจนปริมาณโปรตีนถึงเปาหมาย เพื่อชะลอการเสื่อมของไต microalbuminuria) หรือ • ควรติดตามระดับ serum creatinine และ potassium เปนระยะตามความ ผูปวยโรคไตเรื้อรังจากเบาหวาน เหมาะสม และยังคงใช ACEI หรือ ARB ตอไปไดในกรณีที่มีการเพิ่มขึ้นของ serum creatinine ไมเกิน 30% จากคาพืนฐานในระยะเวลา 4 เดือน หรือ ้ serum K นอยกวา 5.5 mmol/L • ผูปวยโรคไตเรื้อรังสวนใหญจําเปนตองใชยาลดความดันโลหิตอยางนอย 2 ชนิดรวมกัน เพื่อควบคุมความดันโลหิตใหอยูในระดับเปาหมาย โดยอาจ พิจารณาใช dihydropyridine calcium channel blocker(CCB), beta blocker, alpha blocker จากขอบงชี้ หรือ ขอหามใช มีโรครวมเปนโรคหัวใจและ • ผูปวยโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี พิจารณาจากขอบงชี้การใชยา ไดแก หลอดเลือด beta blockers, ACE Inhibitors(ACEI), calcium channel blockers(CCB) • ผูปวยที่มีภาวะหัวใจวาย พิจารณาจากขอบงชี้การใชยา ไดแก beta blocker, ACE Inhibitors(ACEI), diuretic, angiotensin receptor blocker(ARB)  
  • 25. 20 [แนวทางเวชปฏิบัติสําหรับโรคเบาหวาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555]   การบริหารยาลดความดันโลหิต ขนาดเริ่มตน(มก.) ขนาดสูงสุด แบงใหตอวัน ขอหามใชและขอควรระวัง (มก.) (ครั้ง) ACE Inhibitors ขอบงชี้ อายุ < 55 ป, albuminuria, heart failure, post-MI, LV dysfunction, LV hypertrophy, nephropathy, atrial fibrillation, metabolic syndrome, carotid atherosclerosis Enalapril 2.5-5 40 1-2 1.ตั้งครรภ Captopril 12.5-25 100 1 2.Bilateral renal artery stenosis Quinapril 10 80 1 3.Hyperkalemia Angiotensin receptor ขอบงชี้ อายุ < 55 ป, albuminuria, heart failure, post-MI, LV dysfunction, LV hypertrophy, nephropathy, blockers atrial fibrillation, metabolic syndrome, carotid atherosclerosis Losartan 25 100 1-2 1.ตั้งครรภ Valsartan 80 320 1-2 2.Bilateral renal artery stenosis Candesartan 8 32 1 3.Hyperkalemia CCBs ขอบงชี้ อายุ ≥ 55 ป, Isolated systolic hypertension, angina pectoris, LV hypertrophy, carotid/coronary -dihydropyridine atherosclerosis, pregnancy Amlodipine 2.5 10 1 1.Peripheral edema: reassure แกผูปวย Nifedipine-SR 30 60 1 2.Congestive heart failure Felodipine 2.5 20 1 Beta blockers ขอบงชี้ angina pectoris, post MI, heart failure, tachyarrhythmia, glaucoma Atenolol 25 100 1 1.Second/third degree AV block Metoprolol 50 100 1-2 2.Asthma/COPD Propanolol 40 160 2 3.Peripheral arterial disease Diuretic-thiazide ขอบงชี้ Isolated systolic hypertension, heart failure HCTZ 12.5 50 1 1.Gout, hyperglycemia, hyperlipidemia Diuretic-loop ขอบงชี้ end stage renal disease, heart failure Furosemide 20 80 2 Antialdosterone ขอบงชี้ heart failure, post MI Spironolactone 25 50 1 1.Hyperkalemia Alpha blockers ขอบงชี้ benign prostate hypertrophy Prazosin 1-2 20 2-3 1.CHF Vasopressors Hydralazine 25 100 2 Centrally acting Methyldopa 250 1000 2 1.Hepatotoxicity