SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  110
Télécharger pour lire hors ligne
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามของผูบริโภคในเขต
่
้
กรุงเทพมหานคร

สารนิพนธ์
ของ
ั้
นางสาววิไลลักษณ์ ทองปน

เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพือเป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา
่
ตามหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด
พฤษภาคม 2546
ลิขสิทธิเ์ ป็ นของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามของผูบริโภคในเขต
่
้
กรุงเทพมหานคร

บทคัดย่อ
ของ
ั้
นางสาววิไลลักษณ์ ทองปน

เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพือเป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา
่
ตามหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด
พฤษภาคม 2546
ั้
วิไลลักษณ์ ทองปน. (2546). ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
่
ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ บธ.ม.(การตลาด).กรุงเทพฯ : บัญฑิตวิทยาลัย
้
มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ. อาจารย์ทปรึกษาสารนิพนธ์ : รองศาสตราจารย์สมชาย หิรญกิตติ.
่ี
ั
การวิจ ัย นี้ ม ีจุ ด มุ่ ง หมายในการศึก ษาความพึง พอใจและพฤติก รรมในการบริโ ภคผลิต ภัณ ฑ์
เสริมอาหารเพื่อความงาม เช่น ผลิตภัณฑ์ผสมโปรตีนปลาทะเล ผลิตภัณฑ์ผสมสารโคเอนไซม์ควเทน
ิ
ผลิตภัณฑ์ผสมสารสกัดจากเปลือกสนฝรังเศส วิตามิน อี วิตามิน ซี นํ้ามันดอกอีฟนิ่งพริมโรส สารสกัด
่
จากเมล็ดองุ่น เป็ นต้น โดยทําการศึกษาความแตกต่างของลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้บริโภคต่อ
ั
พฤติกรรมและความพึงพอใจในการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม อิทธิพลของปจจัยในด้า น
ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อราคาและความคุมค่า ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย
้
ในการใช้ ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขาย ที่มผลต่อความพึงพอใจโดยรวมในการบริโภคผลิตภัณฑ์
ี
เสริมอาหารเพือความงาม
่
การวิจยครังนี้เป็ นการสํารวจข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเป็ นเครืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ั ้
่
ประชากรทีเป็ นกลุมตัวอย่างในการวิจยนี้เป็ นผูบริโภคทีบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามในเขต
่
่
ั
้
่
่
กรุงเทพมหานคร จํานวน 410 คน โดยอาศัยหลักในการเก็บข้อมูลแบบเป็ นระบบ ( Systematic Sampling )
โดยเลือกเก็บข้อมูลจากบริเวณร้านขายยาประเภทเครือข่ายสาขาในเขตกรุงเทพมหานครจํานวน 21 แห่ง
สถิตทใช้ในการวิเคราะห์ขอมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ค่าเบียงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์
ิ ่ี
้
่
่
ค่าแตกต่างของค่าเฉลียด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ผลต่างค่าเฉลียด้วยค่าสถิติ t ( Independent t-test ) การ
่
่
วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ( Oneway ANOVA ) การวิเคราะห์ความแตกต่างเชิงพหุ ( Multiple
ั
Comparison ) โดยใช้เทคนิค Least Significant Different (LSD) การวิเคราะห์ปจจัยทีมผลต่อความพึงพอใจ
่ ี
ในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ
่
( Multiple Regression ) และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในด้านต่างๆกับพฤติกรรมและ
แนวโน้มพฤติกรรมในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามใช้เทคนิคการวิเคราะห์สมประสิทธิ ์
้
่
ั
สหสัมพันธ์ (Correlation)
ผลการวิจยพบว่า ผูบริโภคส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 19 ถึง 29 ปี ระดับการศึกษาอยู่
ั
้
ในระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่มสถานภาพการสมรสเป็ นโสด อาชีพเป็ นพนักงานบริษทเอกชน มีรายได้สวน
ี
ั
่
ใหญ่อยูในช่วง 10,000 – 20,000 บาท
่
ผูบริโภคมีเหตุผลในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามมากทีสดคือเพือบํารุงผิว โดยมี
้
้
่
ุ่
่
ความถีในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทีมากทีสดคือ เพิงเคยซือเพียงครังเดียว รองลงมาคือทุก 3 เดือน
่
้
่
ุ่
่
้
้
ตามลําดับ ระยะเวลาในการบริโภคประมาณ 6 เดือน และ 6 เดือนถึง 1 ปี ตามลําดับ แหล่งในการซือ
้
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามทีผบริโภคไปซือมากทีสดคือร้านขายยาทัวไป รองลงมาได้แก่รานขายยา
่
่ ู้
้
ุ่
่
้
เครือข่ายสาขา ผลิตภัณฑ์ทผบริโภคซือมากทีสดคือ ผลิตภัณฑ์วตามินซี รองลงมาได้แก่ผลิตภัณฑ์
่ ี ู้
้
ุ่
ิ
ผสมโปรตีนจากปลาทะเล (อิมดน) และนํ้ามันดอกอีฟนิ่งพริมโรส (EPO) ตามลําดับ และค่าใช้จายในการซือ
ี ี
่
้
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามเฉลียต่อครังมีคาเฉลียโดยรวม 1,481.70 บาท
่
่
้ ่ ่
จากการทดสอบสมมติฐานโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression)
พบว่า ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์มความสัมพันธ์เป็ นเชิงเส้นตรงกับความพึงพอใจรวมต่อการบริโภค
ี
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม มากทีสด รองลงมาได้แก่ ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย
่
ุ่
ความพึงพอใจต่อราคาและความคุมค่า และ ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย โดยมีคาสัมประสิทธิ ์
้
่
ความถดถอยเท่ากับ 0.563 , 0.132 , 0.130 และ 0.0899 ตามลําดับ ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 สําหรับ
่
ความพึงพอใจในด้านการส่งเสริมการขายไม่มความสัมพันธ์เป็ นเชิงเส้นตรงกับความพึงพอใจรวมต่อการ
ี
บริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
่
การเปรียบเทียบค่าเฉลียความพึงพอใจของแต่ละด้านของลักษณะทางประชากรศาสตร์พบว่า
่
อาชีพทีแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารแตกต่างกัน
่
โดยเมือวิเคราะห์ถง
่
ึ
รายละเอียดแล้วพบว่าอาชีพธุรกิจส่วนตัวมีคาเฉลียของความพึงพอใจในการฃือและบริโภคผลิตภัณฑ์
่ ่
้
เสริมอาหารเพื่อความงามมากกว่าอาชีพพนักงานบริษทเอกชน และผูบริโภคทีมการศึกษาระดับตํ่ากว่าปริญญ
ั
้
่ ี
ตรีและระดับปริญญาตรีมความพึงพอใจไม่แตกต่างกันแต่ผบริโภคทัง 2 กลุมมีความพึงพอใจสูงกว่า ระดับสูง
ี
ู้
้
่
ั
กว่าปริญญาตรี ส่วนปจจัยด้าน เพศ อายุ สถานภาพการสมรส และ รายได้ ทีแตกต่างกันมีความพึงพอใจ
่
ในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามไม่แตกต่างกัน
่
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในด้านต่างๆกับพฤติกรรมในการซือ พบว่าความ
้
พึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อราคาและความคุมค่า ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขาย
้
ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือ
ั
้
่
ความงามในทิศทางเดียวกันโดยมีคาสหสัมพันธ์เท่ากับ 0.308 , 0.305 , 0.186 , 0.157 ตามลําดับ ทีระดับ
่
่
นัยสําคัญ .05
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในด้านต่างๆกับแนวโน้มในการซือผลิตภัณฑ์
้
เสริมอาหารเพื่อความงาม พบว่า ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย ความพึง
พอใจต่อราคาและความคุมค่า ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขาย
้
ความพึงพอใจต่อช่องทางการ
จัดจําหน่าย มีความสัมพันธ์กบแนวโน้มทีจะซือผลิตภัณฑ์ทกาลังใช้อยูต่อไป ในทิศทางเดียวกัน
ั
่ ้
่ี ํ
่
ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อราคาและความคุมค่า ความพึงพอใจต่อการ
้
ส่งเสริมการขาย ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย มีความสัมพันธ์กบแนวโน้มทีจะภักดีต่อตราสินค้า
ั
่
ทีกาลังใช้อยู่ ในทิศทางเดียวกัน
่ ํ
ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย ความพึงพอใจต่อการส่งเสริม
การขาย ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย มีความสัมพันธ์กบแนะนําให้แก่คนทัวไปและเพือนสนิท
ั
่
่
ให้ซอ โดยมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน
้ื
ั
ั
การวิเคราะห์ปญหาและข้อเสนอแนะ จากผูบริโภคทีตอบแบบสอบถาม พบว่าผูบริโภคมีปญหา
้
่
้
มากทีสดคือ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามมีราคาแพงเกินไป รองลงมาได้แก่ การอวดอ้างสรรพคุณ
ุ่
่
เกินจริง และข้อเสนอแนะทีผบริโภคแนะนํามากทีสดคือ ควรแนะนําผลิตภัณฑ์อ่นทีสามารถรับประทาน
่ ู้
ุ่
ื ่
ร่วมกันได้ และควรลดราคาลง
SATISFACTION AND BEHAVIOR TOWARD BEAUTY AIDS DIETARY SUPPLEMENT PRODUCTS
CONSUMTION OF CONSUMERS IN BANGKOK METROPOLITAN AREA.

AN ABSTRACT
BY
MISS WILAILUK THONGPUN

Presented in partial fulfillment of the requirements
for the Master of Business Administration in Marketing
at Srinakharinwirot Universisty
May 2003
Wilailuk Thongpun. (2003) . Satisfaction and behavior in consuming beauty aids dietary
supplement of consumers in Bangkok metropolitan area. Master Project, M.B.A.
(Marketing). Bangkok : Graduate School, Srinakharinwirot University. Project advisor :
Assoc. Prof. Somchai Hirankitti
The purpose of this research is to study satisfaction and behavior in consumer beauty aids
dietary supplements such as fish protein extract products , Co enzyme Q-10 combination products ,
Vitamin E , Vitamin C , Evening primrose oil , Grape seeds extract , etc. by studying the effect of
demographic differentiation toward consumer behavior and satisfaction in buying beauty aids
dietary supplements. The effect of product satisfaction price and cost effective satisfaction , Safety in
using satisfaction , Promotion satisfaction , toward total satisfaction in consuming beauty dietary
supplements.
The tools which were use in this research are questionnaires . The parametric sample are
consumers who buy beauty aids dietary supplement in Bangkok Metropolitan area , amount 410
persons . Sampling technique is refer to systematic sampling technique , the sampling areas are set
to chain drug stores 21 branches around Bangkok metropolitan area . The statistic technique which
were used are percentage , Mean standard deviation , Mean comparison technique , Independent
t-test , One way analysis of Variance (ANOVA) , Multiple comparison by using Least Significant
Different (LSD) technique. Analyzing the factors which effect to consuming beauty aid satisfaction
by using Multiple regression technique and the analyzing the relation between consuming
satisfaction toward behavior and behavior trend to buy beauty aids dietary supplement the
technique which were used is correlation.
The results of this research are found that most of sample are female , age between 19-29
year old , education level mostly are bachelor degree , Marriage status mostly are single ,
occupation mostly are private company employee , Income level mostly are 10,000 – 20,000 bath
per month.
The most found reasons is buying beauty aids dietary supplement are for nourish skin , the
frequency in buying mostly are just buy only one time , followed with every 3 month , the period
which had consumed mostly are 6 month and 6 month to 1 year respectively , the buying source
mostly are general pharmacy stores followed with chain drug stores , the product which consumers
mostly use are vitamin C followed with fish protein extract products and Evening primrose oil
respectively and the average expense in buying beauty aids dietary supplement in 1,481.70 bath .
The result of hypothesis testing which using multiple regression technique found that
product satisfaction have a most synergistic relation with total satisfaction in consumer dietary aids
supplements follow with place to buy satisfaction , price and cost effective satisfaction and safety
satisfaction respectively and the excluded factor is promotion satisfaction which not have relations
each others.
The comparison of satisfaction mean among demographic factors found the difference of
occupations cause the difference satisfaction means when analyze to details found the business
owners had highest satisfaction n consumer beauty aids dietary supplements than private firm
employee and consumers which education level below bachelor and bachelor degree both have
highest satisfaction mean than the one with highest bachelor degree .
The relations analyzing between a consuming satisfactions and buying behavior found product
satisfaction price and cost effective satisfaction Promotion satisfaction Place to buy satisfaction
have synergistic relation to buying behavior which present correlation value in 0.308 , 0.305, 0.186,
0.157 respectively at the significant level 0.05 .
The analyzing of consuming satisfaction toward buying trend of beauty aids dietary
supplement found that Product satisfaction safety satisfaction Price and Cost effective satisfaction
Promotion satisfaction Place of distribution satisfaction have synergistic relation to buying trend
Product satisfaction safety satisfaction Promotion satisfaction Place of distribution
satisfaction have relation trend to continue to buy .
Product satisfaction safety satisfaction Promotion satisfaction, Place of distribution
satisfaction, have relations to advise products to other people and friends to buy.
Problems and advices from the consumers were found the problems which consumers
mostly notice are the products were too expensive , Over claims
The advices from consumers mostly are Should advise other products which can use
together and reduce price.
ประกาศคุณูปการ
สารนิพนธ์ฉบับนี้สําเร็จได้ด้วยความอนุ เคราะห์จากอาจารย์ท่ปรึกษา รองศาสตราจารย์สมชาย
ี
หิรญกิตติ ซึงเป็ นอาจารย์ทปรึกษาการทําวิจยครังนี้ ผูวจยขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงในความอนุ เคราะห์
ั
่
่ี
ั ้
้ิั
ช่วยเหลือ ตรวจสอบและกรุณาให้คาแนะนํา ข้อคิดเห็น อันมีคุณค่าและเป็ นประโยชน์ในการวิจยเป็ นอย่างดียง
ํ
ั
ิ่
รวมทัง ขอขอบพระคุ ณ คณะกรรมการสอบสารนิ พ นธ์ รองศาสตราจารย์ ศิ ร ิ ว รรณ เสรี ร ัต น์ และ
้
รองศาสตราจารย์สพาดา สิรกุตตา ทีให้ความกรุณาเป็ นผูเชียวชาญในการตรวจคุณภาพเครื่องมือ ตลอดจน
ุ
ิ
่
้ ่
ให้คาปรึกษาข้อเสนอแนะเพือแก้ไขปรับปรุงให้สารนิพนธ์ให้มความสมบูรณ์
ํ
่
ี
การทําวิจยครังนี้ จะสําเร็จลุล่วงด้วยดีไม่ได้เลยหากไม่ได้รบข้อมูลจากเอกสารงานวิจยทีเกี่ยวข้อง
ั ้
ั
ั ่
จากแหล่งข้อมูลต่างๆ จากผูตอบแบบสอบถาม รวมทังเพือนนักศึกษา X-MBA มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
้
้ ่
ที่ให้ความช่วยเหลือ รวมทังคําแนะนํ าต่างๆด้วยดีเสมอมา ผูวจยจึงขอกราบขอบพระคุณทุกท่านด้วยความ
้
้ิั
เคารพอย่างสูงไว้ ณ ทีน้ี
่
ั้
วิไลลักษณ์ ทองปน
สารบัญ
บทที่
1 บทนํา..........................................................................................................................….
ภูมหลัง...............................................................................................................…..
ิ
ความมุงหมายของการวิจย..................................................................................…..
่
ั
ความสําคัญของการวิจย.....................................................................................…..
ั
ขอบเขตของการวิจย...........................................................................................…..
ั
ประชากรและกลุมตัวอย่างทีใช้ในการวิจย................................................……...
่
่
ั
ตัวแปรทีศกษา....................................................................................….....…..
่ ึ
นิยามศัพท์..........................................................................................….....…..
กรอบแนวคิดในการวิจย.....................................................................................…..
ั
สมมติฐานในการศึกษา......................................................................................…..

หน้า
1
1
2
2
2
2
3
4
5
6

2 เอกสารและงานวิจยทีเกียวข้อง...................................................................................….
ั ่ ่
ตอนที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กียวกับงานวิจย...................................................…..
่
ั
แนวคิดด้านความพึงพอใจ................................................………….…….....…..
แนวคิดในด้านพฤติกรรมผูบริโภค..............................……………………………
้
แนวคิดเกียวกับส่วนประสมทางการตลาด....................................………….……
่
ข้อมูลทัวไปเกียวกับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม.............……....…….…
่
่
่
ตอนที่ 2 ผลงานวิจยทีเกียวข้อง...................................................................…...…..
ั ่ ่

7
7
7
10
18
22
26

3 วิธดาเนินการวิจย.......................................................................................................….
ี ํ
ั
การกําหนดประชากรและการเลือกกลุมตัวอย่าง..................................................…..
่
การเลือกกลุมตัวอย่าง........................................................................................…..
่
การสร้างเครืองมือทีใช้ในการวิจย.......................................................................…..
่
่
ั
การเก็บรวบรวมข้อมูล........................................................................................…..
การจัดกระทําและการวิเคราะห์ขอมูล..................................................................…..
้

28
28
29
34
36
37

4 ผลการวิเคราะห์ขอมูล....................................................................................……………
้
การเสนอผลการวิเคราะห์ขอมูล………………………………………………………….
้
ผลการวิเคราะห์ขอมูลเชิงพรรณนา(Descriptive analysis)…………………………….
้
การทดสอบสมมติฐาน.......................................................................................……

47
47
48
59

5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ...........................................................................…
สังเขปความมุงหมาย และสมมติฐาน....................................................................….
่
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า.......................................................................................…

75
75
77
่
สารบัญ(ตอ)
บทที่
5(ต่อ) อภิปรายผล .............................…..................................................................…….
ั
ปญหาทีพบจากผูบริโภคทีตอบแบบสอบถาม...................................................………
่
้
่
ข้อเสนอแนะ ………………………….................................…........................………

หน้า
81
83
83

บรรณานุกรม.............................................................................….............…..…….....…….

84

ภาคผนวก......................................…................……………..........…….......................……
แบบสอบถามทีใช้ในการวิจย.............................................................................……..
่
ั
รายนามผูเชียวชาญตรวจสอบแบบสอบถาม.......................................................…….
้ ่
หนังสือขอความร่วมมือเพือการวิจย..................................................................……..
่
ั

87
89
95
96

ประวัตยอผูทาสารนิพนธ์.......................…......................................................….........……..
ิ่ ้ ํ

105
บัญชีตาราง
ตาราง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17

แสดงประเภทของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม……………………………...…………..
่
รายชื่อร้านขายยาเครือข่ายสาขา(Chain Drug Stores)ในเขตกรุงเทพมหานคร..............……..
รายชื่อร้านขายยาเครือข่ายสาขา(Chain Drug Stores)ทีถกเลือกเป็ นตัวอย่าง..........………….
่ ู
ตาราง Completely Randomized Design………...............……………………………………..
แสดงข้อมูลทัวไปเกียวปจจัยส่วนบุคคลผูตอบแบบสอบถามข้อมูลแบบเชิงลําดับ จําแนกตาม
่
่ ั
้
เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา สถานภาพการสมรส รายได้............………………….....…...
แสดงจํานวนและค่าร้อยละของเหตุผลทีซอผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม...............…….
่ ้ื
่
แสดงจํานวนและค่าร้อยละของความถีในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร...........................…….
่
้
แสดงจํานวนและค่าร้อยละของระยะเวลาในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม...…….
้
่
แสดงจํานวนและค่าร้อยละของแหล่งในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม....….…….
้
่
แสดงค่าช่วง ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย และส่วนเบียงเบนมาตรฐานของค่าใช้จายในการ
่
่
่
ซือผลิตเสริมอาหารเพือความงามเฉลียต่อครัง………………………………………………
้
่
่
้
แสดงจํานวนและค่าร้อยละของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามทีผบริโภคทีตอบแบบ
่
่ ู้
่
สอบถามซือ …………………………………………………………………………………..
้
ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์โดยแสดง ช่วง ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย และส่วนเบียง
่
่
เบนมาตรฐาน………………………………………………………………………………….
ความพึงพอใจด้านความปลอดภัยโดยแสดง ช่วง ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย และส่วนเบียง
่
่
เบนมาตรฐาน………………………………………………………………………………….
ความพึงพอใจด้านราคาและความคุมค่าโดยแสดง ช่วง ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย และส่วน
้
่
เบียงเบนมาตรฐาน……………………………………………………………………………
่
ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขายโดยแสดง ช่วง ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย และส่วน
่
เบียงเบนมาตรฐาน……………………………………………………………………………
่
ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่ายโดยแสดง ช่วง ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย และ
่
ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน……………………..………..……………..……..…………………
่
แสดงการทดสอบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
เพือความงามจําแนกตามเพศ………………………………...………………………………
่

18 แสดงการทดสอบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
เพือความงาม จําแนกตามอายุ……………………………………………………………….
่
19 แสดงการทดสอบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
เพือความงาม จําแนกตามอาชีพ……………………………………………………………..
่
20 การเปรียบเทียบเชิงพหุระหว่าง อาชีพ และความพึงพอใจรวมโดยใช้เทคนิค LSD……………
21 แสดงการทดสอบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
เพือความงามจําแนกตามระดับการศึกษา……………………………………………………
่
22 การเปรียบเทียบเชิงพหุระหว่าง การศึกษา และความพึงพอใจรวมโดยใช้เทคนิค LSD………..

หน้า
23
31
33
41
49
50
51
51
52
52
53
54
55
56
57
58
59
60
60
61
62
62
่
บัญชีตาราง (ตอ)
ตาราง
23 แสดงการทดสอบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
เพือความงามจําแนกตามสถานภาพการสมรส…………………………………………….
่
24 แสดงการทดสอบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
เพือความงามจําแนกตามรายได้...........................................................…....................
่
25 แสดงผลการทดสอบความเป็ นปกติของการแจกแจงของตัวแปรความคลาดเคลื่อน..…………
26 แสดงผลการวิเคราะห์คาสหสัมพันธ์เชิงพหุระหว่างความพึงพอใจในด้านต่างๆทีมผลต่อ
่
่ ี
ความพึงพอใจรวม……………………..……………………………………………………
27 แสดงผลการวิเคราะห์แปรปรวนของการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุระว่างความพึงพอใจ
ในด้าน ต่างๆทีมผลต่อความพึงพอใจรวม.......................................….....………………
่ ี
28 แสดงผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ความพึงพอใจในด้านต่างๆทีมผลต่อความพึงพอ
่ ี
ใจรวมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม…………………………………
่
29 แสดงผลของตัวแปรทีถกคัดออก …………………………………………………………….…
่ ู
30 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในด้านต่างๆกับพฤติกรรมในการซือผลิตภัณฑ์
้
เสริมอาหารเพือความงาม …………………………………………….……………………
่
31 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในด้านต่างๆ กับแนวโน้มในการซือผลิตภัณฑ์เสริม
้
อาหารเพือความงาม…………………………………………………………..……………
่
ั
32 แสดงปญหาทีพบจากผูบริโภคทีตอบแบบสอบถาม..…………………………………………...
่
้
่
33 ข้อเสนอแนะจากผูบริโภคทีตอบแบบสอบถาม.…………………………………………………
้
่

หน้า
63
64
65
65
65
66
66
67
69
72
73
บัญชีภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ั
1 แสดงปจจัยทีเป็ นตัวกําหนดคุณค่าเพิมสําหรับลูกค้า (Customer value added)……………….
่
่
2 แสดงทัศนคติของผูบริโภค ..................................................………………………….............
้
3 ตัวแบบพฤติกรรมการซือของผูบริโภค..........………………………………………..………......
้
้
ั
4 ปจจัยสําคัญทีมอทธิพลต่อพฤติกรรมการซือของผูบริโภค....………………………..….............
่ ีิ
้
้
5 กระบวนการตัดสินใจของผูซอ……………………………………..………………..…………….
้ ้ื
6 แสดงช่องทางการจัดจําหน่าย...................………………………………………………..……...
7 ส่วนผสมทางการตลาด..........……...............................................................……..................

หน้า
8
9
11
12
14
20
21
บทที่1
บทนํา
ภูมิ หลัง
ั ั ั
ในปจจุบนปญหาทางเศรษฐกิจส่งผลให้คนในสังคมต้องออกไปทํางานนอกบ้าน ความรีบเร่งในการ
ั
ทํางานแข่งกับเวลา ปญหาการจราจรในกรุงเทพมหานคร ประชาชนมีความเป็ นอยูในสภาพแวดล้อมทีเป็ นพิษ
่
่
ทําให้ผวหนังเสื่อมสภาพ และชราก่อนวัย ประกอบกับเมืองไทยเป็ นเมืองร้อน แสงแดดแรงตลอดทังวันทําให้
ิ
้
แสงอุ ลต้าไวโอเล็ตส่งผลให้ผิว หนังเกิดริ้วรอยและเหี่ยวย่นจึงเป็ นโอกาสให้ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ใช้เป็ นช่องทางในการทําการส่งเสริมการตลาดแก่ประชาชน โดยเฉพาะเพศหญิงซึงมีความกังวลต่อความงาม
่
มากเป็ นพิเศษ โดยใช้จุดขายการชะลอความชรา ลดริวรอย มาอวดอ้างสรรพคุณ และทําการโฆษณาโอ้อวด
้
เกินความเป็ นจริง(สรนิต ศิลธรรม.2541:20) จนผูบริโภคเกิดความคาดหวังต่อผลิตภัณฑ์เหล่านี้สงแต่เมื่อ
้
ู
ั
ั ั
นําไปบริโภคกลับไม่ได้ผลตามที่ได้รบรูขอมูลข่าวสาร ซึ่งนับเป็ นปญหาในปจจุบนที่หน่ วยงานสาธารณะสุข
ั ้ ้
ไม่ส ามารถดูแลได้อย่างทัวถึง การทํา ตลาดของสิน ค้า บางรายมีก ารกล่า วอ้า งสรรพคุณ ของผลิตภัณ ฑ์
่
เสริมอาหารของตนเอง เพือหวังผลในทางการตลาดและการเอาชนะคู่แข่งมากกว่าจะคํานึงถึงข้อเท็จจริง การ
่
ั ั
รับประทานอาหารให้ครบและหลากชนิ ดเป็ นสิงที่ทําให้ครบถ้วนได้ยากในปจจุบน ดังนันการรับประทาน
่
้
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจึงได้รบความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆโดยเฉพาะการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อ
ั
ความงามทีมการอวดอ้างสรรพคุณเกินจริงอยู่เสมอถึงแม้จะมีผูบริโภคที่ใช้ได้ผลบ้างไม่ได้ผลบ้างก็ตาม การ
่ ี
้
ผลิตและจําหน่ ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารก็ยงสามารถขยายตัวได้อย่างรวดเร็ว ตลาดอาหารเสริมสุขภาพของ
ั
ไทยมีมลค่า 2,600 ล้านบาท ขยายตัวจากปี 2543 ร้อยละ 5 ขณะทีประเมินว่าในปี 2545 ตลาดอาหารเสริมจะ
ู
่
มีมลค่า ประมาณ 3,000 ล้านบาท และยังมีแนวโน้มทีจะเติบโตได้อกมาก แม้ภาวะเศรษฐกิจของประเทศกําลัง
ู
่
ี
อยูในสภาวะชะลอตัว ส่วนผลิตภัณฑ์เสริมอาหารกลุมวิตามินและเกลือแร่ ซึงผูบริโภคมักรับประทานเพื่อบํารุง
่
่
่ ้
สุขภาพ แต่กมบางคนรับประทานเพื่อบํารุงรักษาผิวด้วยเช่นกัน ซึงมีตลาดโดยรวมมีมลค่า 157 ล้านบาท ใน
็ ี
่
ู
ปี 2544 เพิมขึน 17.9% เป็ น 183 ล้านบาท และปี 2545 คาดว่าจะมีการโต ร้อยละ12 หรือ 208 ล้านบาท
่ ้
( “ตลาดผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของไทย”. 2545 : 31)
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเป็ นผลิตภัณฑ์ท่ีสํา นักงานคณะกรรมการอาหารและยาจัดให้อยู่ภายใต้
ระเบียบปฎิบตของ “กฎหมายอาหาร” สามารถจําหน่ ายได้ทวไป และสามารถทําการตลาดแบบขายตรง
ั ิ
ั่
(Direct Sale) ได้อกด้วย จากการวิจยถึงแนวโน้มการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร พบว่าผูบริโภคให้ความ
ี
ั
้
คํานึงถึงประโยชนทีมต่อผูบริโภคมากทีสดร้อยละ 83 ( “ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร“. 2543:9 ) และในการวิจย
่ ี ้
ุ่
ั
เกี่ย วกับ ทัศ นะคติใ นการบริโ ภคผลิต ภัณ ฑ์เ สริม อาหาร พบว่า ผู้บ ริโ ภคยัง ให้ค วามสํา คัญ ต่ อ คุ ณ ค่ า และ
ประโยชน์ มากเป็ นอันดับแรก และยังพบว่าผู้ท่ยงบริโภคอยู่และเคยบริโภคเป็ นเวลา 1 ปี หรือน้ อยกว่า
ี ั
มีสดส่วนร้อยละ 67.38 , บริโภคมากกว่า 1 ปี ขนไปมีรอยละ 32.62 ส่วนสาเหตุทผเคยบริโภคเลิกบริโภค
ั
้ึ
้
่ ี ู้
เพราะบริโภคแล้วไม่เห็นผลคิดเป็ นร้อยละ 42.73 , ราคาแพงและหาซือยากร้อยละ 33.64 และไม่มนใจใน
้
ั่
ความปลอดภัย ร้อยละ 16.36 , ผูอ่นแนะให้เลิกร้อยละ 4 , มีผลข้างเคียง ร้อยละ 4 (ศศพินทุ์ ปิ นฑะดิษฐ์ และ
้ ื
สิรภา สุจริต.2545:บทคัดย่อ)
ิ
ตลาดผลิตภัณฑ์เสริมอาหารใช้กลยุทธ์ทางการตลาดในรูปแบบต่างๆ เพื่อ
กระตุนให้ผบริโภคตัดสินใจเลือกซือและบริโภคผลิตภัณฑ์ของตน ผูผลิตทีกําลังจะเข้าสูตลาดผลิตภัณฑ์เสริม
้
ู้
้
้
่
่
ั
อาหาร ควรคํานึงถึงปจจัยทีสงผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เหล่านี้ของผูบริโภค นอกจากนี้ผูผลิตควรมี
่ ่
้
้
จรรยาบรรณในการทําตลาดและมีความจริงใจต่อผูบริโภค
้
2

การศึกษาวิจยเรือง “ ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความ
ั ่
งามของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ” เป็ นการมุงศึกษาถึงความพึงพอใจรวมทังพฤติกรรมและแนวโน้ม
้
่
้
พฤติกรรมของผูบริโภคกลุมเปาหมายทีเคยบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ซึงช่วยในการประเมิน
้
่ ้
่
่
่
สถานการณ์ของตลาดและใช้วดศักยภาพของตลาด ในการทีจะขยายตัวของตลาดผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือ
ั
่
่
ความงามในอนาคตและผูประกอบการสามารถนําผลการศึกษาทีได้มาใช้เป็ นข้อมูลในการวางแผนกลยุทธ์ทาง
้
่
การตลาดของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามได้
่

ิ
่
ความมุงหมายของการวจัย
ั
1. เพือศึกษาปจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ของผูบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
่
้
่
2. เพือศึกษาความพึงพอใจต่อประโยชน์ทได้รบจากการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความ
่
่ี ั
งาม
3. เพือศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
่
้
่
4. เพือศึกษาแนวโน้มพฤติกรรมในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
่
้
่
5. เพือศึกษาความพึงพอใจในด้านต่างๆทีมผลต่อความพึงพอใจรวมในการบริโภคผลิตภัณฑ์
่
่ ี
เสริมอาหารเพื่อความงาม
6. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในด้านต่างๆกับพฤติกรรมและแนวโน้มในการ
ซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
้
่

ิ
ความสําคัญของการวจัย
1. ผู้ป ระกอบการสามารถนํ า ผลการศึก ษาที่ไ ด้ม าใช้เ ป็ น ข้อ มูล ในการวางแผนกลยุ ท ธ์ท าง
การตลาดของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
่
2. ใช้วดศักยภาพของตลาดในการที่จะขยายตัวของตลาดในอนาคต โดยประเมินจากความพึง
ั
พอใจและพฤติกรรมของผูบริโภค
้

ิ
ขอบเขตของการวจัย
ขอบเขตการศึกษาวิจยนี้ ทําการศึกษาความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริม
ั
อาหารเพือความงามของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานครอายุตงแต่ 19 ปี เนื่องจากอายุตงแต่ 19 ปี ขนไปเป็ น
่
้
ั้
ั้
้ึ
วัยรุนตอนปลายและอยูในวัยทํางาน (เสรี วงษ์มณฑา.2542 :158) เพื่อนํ าข้อมูลมาใช้ในการวิเคราะห์ความ
่
่
พึงพอใจในด้านต่างๆรวมทังพฤติกรรมและแนวโน้มในการซือผลิตภัณฑ์ภณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม โดย
้
้
ั
ใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลตังแต่วนที่ 20 มกราคม 2546 ถึงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2546
้ ั

ิ
่
ประชากรและกลุ่มตัวอยางที่ใช้ในการวจัย
ประชากรทีทาการวิจยครังนี้ คือ ผูบริโภคทังเพศชายและหญิงทีเคยซือและบริโภคผลิตภัณฑ์เสริม
่ ํ
ั ้
้
้
่ ้
อาหารเพือความงามทีมอายุตงแต่ 19 ปีขนไป และพักอาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานคร
่
่ ี
ั้
้ึ
่
ิ
่
กลุ่มตัวอยางที่ใช้ในการวจัย
เนื่องจากไม่ทราบจํานวนประชากรอายุตงแต่19 ปีขนไปทีอาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานครที่
ั้
้ึ
่
่
แน่นอนจึงใช้ตองทําการสํารวจนําร่อง (Pilot Survey) จํานวน 30 ตัวอย่าง เพื่อหาข้อมูลด้านความแปรปรวน
้
ของกลุมตัวอย่างเพือใช้ในการประมาณจํานวนขนาดตัวอย่างทีระดับความเชื่อมันร้อยละ 95 กัลยา วานิชย์
่
่
่
่
บัญชา.(2545:73) ได้จานวนประชากรตัวอย่างจํานวน 410 คน การสุมตัวอย่างมีขนตอนดังนี้
ํ
่
ั้
3

ขันที่ 1 ใช้วธการสุมแบบเป็ นระบบ (Systematic Sampling) สุมเลือกร้านขายยาประเภทเครือข่าย
้
ิี ่
่
สาขามา 21 สาขาจากจํานวนทังหมด 83 สาขา โดยมีชวงห่างกันเท่ากับ 4 ตัวอย่างเช่นเลือกสาขาที่ 3, 7, 11
้
่
เป็ นต้น
ขันที่ 2 การสุมตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกกลุมตัวอย่างเฉพาะผูทเี่ คย
้
่
่
้
ซือและเคยบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
้
่
ขันที่ 3 กําหนดโควต้า (Quota Sampling) ของกลุมตัวอย่างเพือให้ได้สดส่วนทีเท่ากันในแต่ละร้าน
้
่
่
ั
่
ขายยาประเภทเครือข่ายสาขาตามทีระบุไว้ในขันที่ 2
่
้
ขันที่ 4 การสุมตัวอย่างโดยใช้ความสะดวก (Convenience Sampling) เพือเก็บรวบรวมข้อมูลโดย
้
่
่
ใช้แบบสอบถามทีจดเตรียมไว้นําไปเก็บข้อมูลบริเวณทีรานขายยาประเภทเครือข่ายสาขาทัง 21 สาขาทีเลือก
่ั
่้
้
่
ไว้ในขันที่ 1
้

ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรอิสระ แบ่งเป็ นดังนี้
1. ตัวแปรด้านประชากรศาสตร์
1.1 เพศ
1.1.1 ชาย
1.1.2 หญิง
1.2 อายุ
1.2.2 19-29ปี
1.2.3 30-39ปี
1.2.4 40-49ปี
1.2.5 50ปีขนไป
้ึ
1.3 ระดับการศึกษา
1.3.1 ตํ่ากว่าปริญญาตรี
1.3.2 ปริญญาตรี
1.3.3 สูงกว่าปริญญาตรี
1.4 สถานภาพการสมรส
1.4.1 โสด
1.4.2 สมรส
1.4.3 ม่าย / หย่าร้าง
1.5 อาชีพ
1.5.1 รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
1.5.2 ธุรกิจส่วนตัว
1.5.3 พนักงานบริษทเอกชน
ั
1.5.4 ลูกจ้างรายวัน
1.5.5 นักเรียน/นักศึกษา
1.5.6 อื่นๆ.........................
4

1.6 รายได้
1.6.1
1.6.2
1.6.3
1.6.4
1.6.5

ตํ่ากว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาท
10,001 – 20,000 บาท
20,001 – 30,000 บาท
30,001 – 40,000 บาท
40,001 บาทขึนไป
้

2. ความพึงพอใจต่อประโยชน์ทได้รบ
่ี ั
2.1 ผลิตภัณฑ์
2.2 ความปลอดภัย
2.3 ราคาและความคุมค่า
้
2.4 การส่งเสริมการขาย
2.5 ช่องทางการจัดจําหน่าย
ตัวแปรตาม ได้แก่
3. ความพึงพอใจรวมต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม
4. พฤติกรรมและแนวโน้มในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม
้
4.1 พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
่
4.2 แนวโน้มพฤติกรรมการในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
้
่

ิ
นยามศัพท์
1. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม หรือ (Beauty Aids Dietary Supplement Products)
หมายถึง ผลิตภัณฑ์ท่ใช้รบประทานโดยตรง นอกเหนือจากการรับประทานอาหารหลักตามปกติ ซึ่งเป็ น
ี ั
ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่างๆ เช่น เม็ด แคปซูล ผง เกล็ด ของเหลว หรือลักษณะอื่น โดยมุ่งหวังให้เกิดความ
สวยงามต่อผิวหนัง ผม และเล็บหรืออวัยวะอื่นๆทีสงเสริมให้เกิดความงาม
่่
้
2. ผู้บริโภคกลุ่มเปาหมาย หมายถึง กลุ่มบุคคลที่คาดว่ามีคุณสมบัติท่จะเป็ นลูกค้าของผลิตภัณฑ์
ี
เสริมอาหารเพือความงามได้
่
3. ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความพึงพอใจต่อประโยชน์ทได้รบจากการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริม
่ี ั
อาหารเพือความงาม
่
4. ลักษณะด้านประชากรศาสตร์ หมายถึง เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา , สถานภาพการสมรส ,
อาชีพ , รายได้
5. ร้านขายยาประเภทเครือข่ายสาขา(Chain Drug Stores) หมายถึงร้านจําหน่ายผลิตภัณฑ์เสริม
อาหารและเวชภัณฑ์ทได้รบใบอนุ ญาตในการจําหน่ายยาจากกระทรวงสาธารณสุข โดยมีการแตกสาขาออกไป
่ี ั
ในทําเลต่างๆภายใต้ช่อเดียวกัน
ื
5

ิ
กรอบแนวคด
การวิจยเรือง ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามของ
ั ่
่
ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร สามารถแสดงกรอบแนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามได้
้
ดังนี้
ิ
ตัวแปรอสระ

1.
2.
3.
4.
5.
6.

ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์
เพศ
อายุ
ระดับการศึกษา
สถานภาพการสมรส
อาชีพ
รายได้

่
ความพึงพอใจตอประโยชน์ ที่ได้รบ
ั
1. ผลิตภัณฑ์
2. ความปลอดภัย
3. ราคาและความคุมค่า
้
4. การส่งเสริมการขาย
5. ช่องทางการจัดจําหน่าย

ตัวแปรตาม

ความพึงพอใจรวมต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์
เสริมอาหารเพื่อความงาม

ิ
พฤตกรรมและแนวโน้ มในการซื้อ
ิ
ิ
ผลตภัณฑ์เสรมอาหารเพื่อความงาม
1. พฤติกรรมการซือผลิตภัณฑ์เสริม
้
อาหารเพือความงาม
่
2. แนวโน้มพฤติกรรมการในการซือผลิต
้
ภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม
6

ิ
ิ
สมมตฐานในการวจัย
ั
1. ปจจัยด้านประชากรศาสตร์ทีแตกต่างกันมีความพึงพอใจรวมต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือ
่
่
ความงามแตกต่างกัน
2. ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย ความพึงพอใจต่อราคาและความ
คุมค่า ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขาย ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย มีผลต่อความพึงพอใจ
้
รวมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
่
3. ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย ความพึงพอใจต่อราคาและความ
คุมค่า ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขาย ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย มีความสัมพันธ์กบ
้
ั
พฤติกรรมในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
้
่
4. ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย ความพึงพอใจต่อราคาและความ
คุมค่า ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขาย ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย มีความสัมพันธ์แนวโน้ม
้
ในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
้
่
บทที่ 2
ิ
เอกสารและงานวจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิจยเรื่อง “ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงามของ
ั
ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร” ได้นําแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยทีเกียวข้องมาศึกษาเพื่อใช้เป็ นแนวทาง
้
ั ่ ่
ในการศึกษาวิจย ดังนี้
ั
ตอนที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กียวกับงานวิจย
่
ั
1. แนวคิดด้านความพึงพอใจ
2. แนวคิดด้านพฤติกรรมผูบริโภค
้
3. ทฤษฎีสวนประสมทางการตลาด
่
4. ข้อมูลทัวไปเกียวกับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
่
่
่
ตอนที่ 2 งานวิจยทีเกียวข้อง
ั ่ ่

ิ
ิ
ตอนที่ 1 แนวคดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับงานวจัย
ิ
1. แนวคดด้านความพึงพอใจ
คอตเลอร์ (Kotler.1999:36) กล่าวถึงความพึงพอใจของลูกค้า (Customer Satisfaction) ว่า เป็ นการ
ตัดสินใจของลูกค้าที่มต่อการนํ าเสนอคุณค่าทางการตลาด และทําให้เกิดการตัดสินใจซื้อนันจะเกี่ยวข้องกับ
ี
้
รูปแบบของสินค้าทีนําเสนอออกมา และเชื่อมโยงไปถึงความคาดหวังของลูกค้า โดยลูกค้าแต่ละรายอาจจะมี
่
ระดับความพึงพอใจทีแตกต่างกัน โดยถ้ารูปแบบทีนําเสนอสินค้ามีความคาดหวังทีต่า ลูกค้าจะไม่พงพอใจ แต
่
่
่ ํ
ึ
ถ้าเพิมความคาดหวังเข้าไป
่
ลูกค้าจะพึงพอใจเพิมมากขึ้น อย่างไรก็ตามความคาดหวังยังขึ้นอยู่ก บ
่
ั
ประสบการณ์การซือในอดีตของลูกค้า ความคิดเห็นของเพื่อนและผูทเกียวข้อง รวมทังข้อมูลของนักการตลาด
้
้ ่ี ่
้
และคู่แข่งขันทีนําเสนอหรือสัญญาไว้ นักการตลาดจะต้องระมัดระวังในเรื่องระดังความพึงพอใจของลูกค้าเป็ น
่
สําคัญ
ศิรวรรณ เสรีรตน์ และคณะ (2539:365) กล่าวสรุปไว้วา การจูงใจเป็ นสิงเร้าและความพยายามทีจะ
ิ
ั
่
่
่
้
ตอบสนองความต้องการหรือเปาหมาย ส่วนความพึงพอใจ หมายถึงความพอใจเมื่อความต้องการได้รบการ
ั
ตอบสนอง ดังนันการจูงใจจึงเป็ นสิงเร้าเพือให้ได้ผลลัพธ์คอ ความพึงพอใจซึงเป็ นผลลัพธ์ ซึงเมื่อเกิดแรงจูงใจ
้
่
่
ื
่
่
ขึน แล้วสามารถตอบสนองแรงจูงใจนัน ผลลัพธ์กคอ ความพึงพอใจ
้
้
็ ื
ศิรวรรณ เสรีรตน์ และคณะ (2541:14) กล่าวว่า ความพึงพอใจของลูกค้า (Customer Satisfaction)
ิ
ั
เกิดจากการได้รบผลิตภัณฑ์ท่มคุณค่าสูงกว่าต้นทุนที่เขาต้องจ่ายไปและยังขึ้นกับเครื่องมือการตลาดและ
ั
ี ี
กิจกรรมการตลาดอื่นๆอีกด้วย
ศิรวรรณ เสรีรตน์ และคณะ (2541:45-48) กล่าวว่า ความพึงพอใจของลูกค้า (Customer
ิ
ั
Satisfaction) เป็ นระดับความรูสกของลูกค้าทีมผลจากการเปรียบเทียบระหว่างผลประโยชน์จากคุณสมบัติ
้ ึ
่ ี
ผลิตภัณฑ์ หรือการทํางานของผลิตภัณฑ์ กับความคาดหวังของลูกค้า ระดับความพอใจของลูกค้าจะเกิดจาก
ความแต่กต่างระหว่างผลประโยชน์ตามผลิตภัณฑ์และความคาดหวังของบุคคล การคาดหวังของบุคคล
่
(Expectation) เกิดจากประสบการณ์และความรูในอดีตของผูซอ นักการตลาดและฝายอื่น ๆ ทีเกียวข้อง
้
้ ้ื
่ ่
จะต้องพยายามสร้างความพึงพอใจให้กบลูกค้าโดยพยายามสร้างคุณค่าเพิม (Value Added) การสร้างคุณค่า
ั
่
่
เพิมเกิดจากการผลิต (Manufacturing) และจากการตลาด (Marketing) รวมทังมีการทํางานร่วมกันกับฝาย
่
้
ต่าง ๆ โดยจัดหลักการสร้างคุณภาพรวม (Total Quality) คุณค่าเกิดจากความแตกต่างทางการแข่งขัน
8

(Competitive differentiation) คุณค่าทีมอบให้กบลูกค้าจะต้องมากกว่าต้นทุนของลูกค้า (Cost ) ต้นทุนของ
่
ั
ลูกค้าส่วนใหญ่กคอราคาสินค้า (Price) นันเอง
็ ื
่
คุณค่าด้านผลิตภัณฑ์ (Product value)
คุณค่าด้านบริการ (Service value)
คุณค่าด้านบุคลากร (Personnel value)

คุณค่าผลิตภัณฑ์รวม
ของลูกค้า
(Total customer value)

คุณค่าด้านภาพลักษณ์ (Image value)
ราคา (ต้นทุน) ในรูปตัวเงิน
ต้นทุนด้านราคา (Time cost)

ต้นทุนรวมของลูกค้า
(Total customer cost)

ผลิตภัณฑ์
ทีสงมองแก่
่่
ลูกค้า
(Customer
delivered
value)

ต้นทุนด้านพลังงาน (Energy cost)
ต้นทุนด้านจิตวิทยา (Psychic cost)
คุณค่าทีสงมอบแก่ลกค้า = คุณค่ารวมสําหรับลูกค้า – ต้นทุนรวมของลูกค้า
่่
ู

ภาพประกอบ 1 แสดงคุณค่าทีสงมอบแก่ลกค้า
่่
ู
ทีมา : Kotler, Phillip. (2003). Marketing Management millenium Edition .p60. New Jersey : Prentice
่
Hall Inc .
นักการตลาดจะต้องสร้างความแตกต่างทางการแข่งขันและความแตกต่างนันจะต้องสามารถสร้าง
้
คุณค่าเพิม (Value Added) คุณค่านันจะต้องสูงเกินกว่าต้นทุน (Cost) หรือราคาสินค้า (Price) ทังนี้ยดหลักว่า
่
้
้ ึ
คุณค่า (Value) ทีสงมอบแก่ลกค้าต้องมากกว่าราคาสินค้า (Price)
่่
ู
เครื่องมือในการติดตามและการวัดความพึงพอใจของลูกค้า เป็ นวิธการที่จะติดตามวัดและค้นหา
ี
ความต้องการของลูกค้าโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กบลูกค้า การสร้างความพึงพอใจให้กบ
ั
ั
ั
ลูกค้ามีปจจัยทีตองคํานึงถึง คือ
่ ้
1. วิธการสร้างความพึงพอใจโดยการลดต้นทุนของลูกค้า (ลดราคา) หรือการเพิมการบริการและ
ี
่
จุดเด่นของสินค้าซึงสิงนี้จะมีผลทําให้กาไรของบริษทลดลง
่ ่
ํ
ั
2. บริษทต้องสามารถสร้างกําไรโดยการผลิตลงทุน หรือการวิจยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (R&D)
ั
ั
9

วิธการติดตามและวัดความพึงพอใจของลูกค้า สามารถวัดได้ดวยวิธการ ดังนี้
ี
้
ี
1. ระบบการติเตียนและข้อเสนอแนะ (Complaint and Suggestion Systems) เป็ นการหาข้อมูล
ั
ทัศนคติของลูกค้าเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และการทํางานของบริษัท ปญหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และการทํางาน
รวมทังข้อเสนอแนะต่างๆ
้
2. การสํารวจความพึงพอใจของลูกค้า (Customer satisfaction surveys) จะเป็ นการสํารวจความ
พึงพอใจของลูกค้า เครืองมือทีใช้มากคือการวิจยตลาด
่
่
ั
้
3. การเลือกซือโดยกลุมทีเป็ นเปาหมาย (Ghost shopping) วิธน้ีจะเชิญบุคคลทีคาดว่าจะเป็ นผูซอ
้
่ ่
ี
่
้ ้ื
ั
ที่มศกยภาพ ให้วเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนในการซื้อสินค้าของบริษทและคู่แข่งขัน พร้อมทังระบุปญหา
ี ั
ิ
ั
้
เกียวกับสินค้าหรือบริการ
่
4. การวิเคราะห์ถงลูกค้าทีสญเสียไป (Lost Customer Analysis)จะวิเคราะห์หรือสัมภาษณ์ลกค้า
ึ
ู่
ู
เดิมทีเปลียนไปใช้ตราสินค้าอื่น เพือทราบถึงสาเหตุททาให้ลกค้าเปลียนใจ
่ ่
่
่ี ํ ู
่
ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติและความพึงพอใจ
แหล่งข้อมูลทีสาคัญเกียวกับทัศนคติของผูบริโภคอย่างหนึ่งก็คอประสบการณ์สวนตัวของผูบริโภค
่ ํ
่
้
ื
่
้
ั ยทีสาคัญทีสดในแง่ของการใช้หลักประสบการณ์สวนตัวของผูบริโภค
(Personal experience)และสิงทีเป็ นปจจั ่ ํ
่ ่
ุ่
่
้
นัน คือ นักการตลาดสามารถใช้การโฆษณา (Advertising) การส่งเสริมการขาย (Sale Promotion) จูงใจให้
้
คนซือสินค้าอย่างไรก็ได้ แต่ในแง่ของประสบการณ์ขนสุดท้ายแล้วนันขึนอยูกบผูบริโภคว่ามีความพึงพอใจใน
้
ั้
้ ้ ่ ั ้
สินค้าที่ซ้อไปหรือไม่ ถ้าผูบริโภคมีความพึงพอใจจะมีทศนคติท่ดต่อสินค้า แต่ถ้าผู้บริโภคแต่ถ้าผูบริโภคไม่
ื
้
ั
ี ี
้
เกิดความพึงพอใจในสินค้าก็จะทําให้เกิดทัศนคติทไม่ดกบสินค้า
่ี ี ั
การรับรู้ (Awareness)

ทัศนคติก่อนใช้
(Pre-attitude)

การยอมรับทัศนคติ (Acceptance attitudes)
การค้นหา (Search)

ประสบการณ์ตรง
( Direct experience )

การเลือก (Select)

+ บวก
หรือ - ลบ

การใช้(Use)

เกิดทัศนคติ
(Post attitudes)

ความพึงพอใจหรือไม่พงพอใจ
ึ
ทัศนคติหลังใช้ (Post Attitude)

ภาพประกอบ 2 แสดงทัศนคติของผูบริโภค
้
ทีมา : เสรี วงษ์มณฑา.(2542). พฤติกรรมผูบริโภค. P.120.กรุงเทพฯ : บริษท ธีระฟิลม และ ไซเท็กซ์ จํากัด .
่
้
ั
์
10

ผูบริโภครับรู้ (Awareness) ว่าสินค้านันมีขายอยูแล้วจึงเกิดการยอมรับ (Acceptance) ซึ่งสิงนี้คอ ทัศนคติ
้
้
่
่ ื
(Attitude) เมื่อผูบริโภคเริมยอมรับแล้วจะทําการค้นหา (Serach) ว่าสินค้านันมีขายทีไหนมีคุณสมบัตอย่างไร
้
่
้
่
ิ
เมื่อได้ขอมูลจากการค้นหาแล้วผู้บริโภคจะเลือก (Select) ว่าจะซื้อหรือไม่ซ้อ เมื่อซื้อก็จะนํ าไปใช้ (Use)
้
ื
จากนันผูบริโภคจะเกิดความพึงพอใจ (Satisfaction) หรือไม่พงพอใจ (Dissatisfaction) หลังจากใช้สนค้านัน
้ ้
ึ
ิ
้
ซึ่งสิงนี้จะมีผลกลับไปทีการยอมรับ (Acceptance) ว่าจะชอบมากขึนหรือลดลง (บวกหรือลบ ) การยอมรับ
่
่
้
หรือทัศนคติของผูบริโภคเกิดจากข้อมูล (Information) ที่ได้รบเป็ นทัศนคติก่อนใช้ (Pre Attitudes) เป็ น
้
ั
ประสบการณ์ ส่วนตัว (Direct Experiece) ของผูบริโภค จะเป็ นส่วนสําคัญมากกว่าทัศนคติก่อนใช้ เมื่อนัก
้
การตลาดนํ าหลักการนี้มาพิจารณาในแง่ของการตลาดจะทราบว่าถึงแม้นักการตลาดจะพยายามสื่อสารกับ
ผูบริโภคโดยการโฆษณา (Advertising) ประชาสัมพันธ์ (Public Relations) แล้วก็ตาม ถ้าสินค้าไม่เป็ นที่
้
ยอมรับของผูบริโภคก็จะไม่มการซือซํ้าเกิดขึน
้
ี
้
้
ในงานวิจยฉบับนี้ได้นําแนวคิดในด้านความพึงพอใจมาใช้ในการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความ
ั
พึงพอใจในประโยชน์ทได้รบในด้านต่างๆซึงได้แก่ คุณค่าในการเสริมความงาม ,ความปลอดภัย ,ความคุมค่า ,
่ี ั
่
้
ราคา, ช่องทางการจัดจําหน่าย, การส่งเสริมการตลาด มีผลต่อความพึงพอใจรวมในการบริโภคผลิตภัณฑ์
เสริมอาหารเพื่อความงาม
ิ
2. แนวคดด้านพฤติ กรรมผูบรโภค
้ ิ
2.1. ความหมายของผูบริโภค
้
ทัศนะของนักเศรษฐศาสตร์: ผูบริโภค หมายถึง บุคคลต่างๆทีมความสามารถในการซือ
้
่ ี
้
(Ability to buy)
ทัศนะของนักการตลาด: ผูบริโภค หมายถึงผูทมความเต็มใจในการซือสินค้าหรือบริการ
้
้ ่ี ี
้
(Willingness to buy)
ทัศนะอื่นๆ: ผูบริโภค หมายถึง ผูซอสินค้าไปเพือใช้ประโยชน์สวนตัว หรือเพือไปขายต่อ
้
้ ้ื
่
่
่
ทัศนะของคณะผูวจย: ผูบริโภค หมายถึง ผูท่มอทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าและ
้ิั
้
้ ี ีิ
บริการ
2.2. ความหมายพฤติกรรมผูบริโภค
้
ธงชัย สันติวงษ์ (2540:45) : กล่าวว่า พฤติกรรมผูบริโภค เป็ นส่วนทีเกียวข้องกับ
้
่ ่
การศึกษาผูบริโภคซึงต่างต้องจัดหาสิงจําเป็ นสําหรับความเป็ นอยูในชีวตประจําวัน คือ สินค้าและบริการ จาก
้
่
่
่
ิ
ระบบเศรษฐกิจมาตอบสนองความต้องการของคน ในเวลาเดียวกันกิจกรรมทางด้านการตลาด (Marketing) ก็
เป็ นส่วนสําคัญทีเกียวข้องกับการตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในสังคม
่ ่
ธงชัย สันติวงษ์ (2540:30) : กล่าวว่า พฤติกรรมผูบริโภค เป็ นเรื่องทีเกียวข้องกับการ
้
่ ่
ปฏิบตหรือการแสดงออกของมนุ ษย์เฉพาะเรื่อง ทีเกี่ยวกับกระบวนการของตัวบุคคลทีตดสินใจซื้อสินค้าและ
ั ิ
่
่ ั
บริการ การตัดสินใจดังกล่าวจะประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ทังทางใจและทางกายทีจาเป็ นสําหรับการตัดสินใจ
้
่ํ
และพฤติกรรมผูบริโภคจะเน้นการซือของ ซึงผูซอนําไปใช้บริโภคเอง การซือของผูบริโภคเกือบทังหมดจะ
้
้
่ ้ ้ื
้
้
้
ซือมาเพือตอบสนองความต้องการส่วนตัว
้
่
11

พฤติกรรมผูบริโภคตามความหมายของ Philips Kotler
้
สิงกระตุน
่
้
ทางการตลาด
(Marketing
Stimuli

,iilllllll

ผลิตภัณฑ์
(Product)
ราคา (Price)
ช่องทางการจัด
จําหน่าย
(Place)
การส่งเสริมการ
ขาย
(Promotion)

สิงกระตุนอื่นๆ
่
้

ภาวะเศรษฐกิจ
(Economic)
เทคโนโลยี
(Technology)
การเมือง
(Political)
วัฒนะธรรม
(Cultural)

กระบวนการ
ลักษณะของผูซอ
้ ้ื
ตัดสินใจของผูซอ
้ ้ื
(Buyer’s
(Buyer’s Decision
Characteristic)
Process)
วัฒนธรรม
(Cultural)
สังคม (Social)
ส่วนบุคคล
(Personal)
จิตวิทยา
(Psychological)

การตระหนักถึง
ั
ปญหา
การแสวงหา
ข้อมูล
การประเมินทาง
เลือก
การตัดสินใจซือ
้
การตัดสินใจหลัง
การซือ
้

การตัดสินใจ
ของผูซอ
้ ้ื
(Buyer’s
Decision)
การเลือกผลิตภัณฑ์
(Product choice)
การเลือกตราสินค้า
(Brand Choice)
การเลือกผูขาย
้
(Dealer Choice)
การเลือกเวลาใน
การซือ
้
(Purchase Timing)

ภาพประกอบ 3 ตัวแบบพฤติกรรมการซือของผูบริโภค
้
้
ทีมา : Kotler, Phillip. (2003). Marketing Management millenium Edition .p184. New Jersey : Prentice
่
Hall Inc .
คอตเลอร์ (Kotler.2000) ได้อธิบายตัวแบบพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค (Model of Buyer
้
Behavior) ว่า มูลเหตุจงใจทีทาให้เกิดการตัดสินใจซื้อ มีจุดเริมต้นทีผซอได้รบสิงกระตุนเข้าสูความนึกคิดทํา
ู ่ ํ
่
่ ู้ ้ ื ั ่
้
่
ให้เกิดความต้องการ ผูซ้อจะแสวงหาสินค้าและบริการใดมาตอบสนองความต้องการ ขึนอยู่กบลักษณะของผู้
้ ื
้
ั
ซือและกระบวนการตัดสินใจของผูซ้อ ขันตอนสุดท้าย ทําการตัดสินใจ ซึ่งสามารถอธิบายรายละเอียดของตัว
้
้ ื ้
แบบดังกล่าวได้ ดังนี้
1. สิงกระตุน (Stimuli) สิงกระตุนอาจเกิดขึนเองจากภายในร่างกาย (Internal Stimuli) และสิง
่
้
่
้
้
่
กระตุนจากภายนอก (External Stimuli) ซึงผูผลิตหรือผูขายสินค้า จะต้องสนใจและจัดการเพื่อให้ผบริโภคเกิด
้
่ ้
้
ู้
ความต้องการในสินค้าโดยถือเป็ นเหตุจงใจให้เกิดการซือ (Buying Motive) ซึงอาจใช้เหตุจงใจซือด้านเหตุผล
ู
้
่
ู ้
และด้านจิตวิทยาก็ได้ สิงกระตุนภายนอกประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
่
้
1.1. สิงกระตุนทางการตลาด (Marketing Stimuli) เป็ นสิงกระตุนทีนกการตลาดสามารถ
่
้
่
้ ่ ั
ควบ คุมและต้องให้มขน ประกอบด้วยสิงกระตุ้นด้านผลิตภัณฑ์ สิงกระตุ้นด้านราคา สิงกระตุ้นด้านการจัด
ี ้ึ
่
่
่
ช่องทางการจัดจําหน่าย และสิงกระตุนด้านการส่งเสริมการขาย
่
้
1.2. สิงกระตุนอื่นๆ (Other Stimuli) เป็ นสิงซึงอยู่ภายนอกธุรกิจผ้ผลิตหรือผูขายมิอาจ
่
้
่ ่
้
ควบคุมได้ ประกอบด้วย สิงกระตุนทางเศรษฐกิจ (Economic) สิงกระตุนทางเทคโนโลยี (Technological) และ
่
้
่
้
สิงกระตุนทางวัฒนธรรม (Cultural)
่
้
ั
ั
2. ลักษณะของผูซอ (Buyer’s Characteristices) ได้รบอิทธิพลจากปจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปจจัย
้ ้ื
ั
ั
ั
ั
ด้านวัฒนธรรม ปจจัยด้านสังคม ปจจัยด้านส่วนบุคคลและปจจัยด้านจิตวิทยา
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม
ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม

Contenu connexe

Tendances

คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันแบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันสำเร็จ นางสีคุณ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามสำเร็จ นางสีคุณ
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วAdithun Sukprasert
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พัน พัน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 

Tendances (20)

คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันแบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 

Similaire à ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม

Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552
Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552
Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552Utai Sukviwatsirikul
 
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...Utai Sukviwatsirikul
 
งานวิจัย ธุรกิจผักออร์แกนิค.pdf
งานวิจัย ธุรกิจผักออร์แกนิค.pdfงานวิจัย ธุรกิจผักออร์แกนิค.pdf
งานวิจัย ธุรกิจผักออร์แกนิค.pdfThunderproJazzband
 
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการพฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการUtai Sukviwatsirikul
 
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรการจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรZiwapohn Peecharoensap
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdfRabbitBlock
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552tanong2516
 
Business Plan for Klungya chaingkhum
Business Plan for Klungya chaingkhumBusiness Plan for Klungya chaingkhum
Business Plan for Klungya chaingkhumUtai Sukviwatsirikul
 
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)Chamada Rinzine
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)tanong2516
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)Chamada Rinzine
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013Vorawut Wongumpornpinit
 

Similaire à ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม (20)

Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552
Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552
Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552
 
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
 
งานวิจัย ธุรกิจผักออร์แกนิค.pdf
งานวิจัย ธุรกิจผักออร์แกนิค.pdfงานวิจัย ธุรกิจผักออร์แกนิค.pdf
งานวิจัย ธุรกิจผักออร์แกนิค.pdf
 
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการพฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
 
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรการจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
 
Convenient pharmacy
Convenient pharmacyConvenient pharmacy
Convenient pharmacy
 
Piyapan
PiyapanPiyapan
Piyapan
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
 
Business Plan for Klungya chaingkhum
Business Plan for Klungya chaingkhumBusiness Plan for Klungya chaingkhum
Business Plan for Klungya chaingkhum
 
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
 
Mark30955nk abs
Mark30955nk absMark30955nk abs
Mark30955nk abs
 
Mark30955nk abs
Mark30955nk absMark30955nk abs
Mark30955nk abs
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
 
Pharmacy ayudya
Pharmacy ayudyaPharmacy ayudya
Pharmacy ayudya
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
ภาพที่ 9-6 ตัวอย่างบทคัดย่อ (Abstract)
 
Beauti Drink
Beauti DrinkBeauti Drink
Beauti Drink
 
Curri 02 11
Curri 02 11Curri 02 11
Curri 02 11
 
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
คู่มือการแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรภายใต้โครงการ Lanna health hub 2013
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม

  • 1. ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามของผูบริโภคในเขต ่ ้ กรุงเทพมหานคร สารนิพนธ์ ของ ั้ นางสาววิไลลักษณ์ ทองปน เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพือเป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา ่ ตามหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด พฤษภาคม 2546 ลิขสิทธิเ์ ป็ นของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 2. ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามของผูบริโภคในเขต ่ ้ กรุงเทพมหานคร บทคัดย่อ ของ ั้ นางสาววิไลลักษณ์ ทองปน เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพือเป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา ่ ตามหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด พฤษภาคม 2546
  • 3. ั้ วิไลลักษณ์ ทองปน. (2546). ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ่ ของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ บธ.ม.(การตลาด).กรุงเทพฯ : บัญฑิตวิทยาลัย ้ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ. อาจารย์ทปรึกษาสารนิพนธ์ : รองศาสตราจารย์สมชาย หิรญกิตติ. ่ี ั การวิจ ัย นี้ ม ีจุ ด มุ่ ง หมายในการศึก ษาความพึง พอใจและพฤติก รรมในการบริโ ภคผลิต ภัณ ฑ์ เสริมอาหารเพื่อความงาม เช่น ผลิตภัณฑ์ผสมโปรตีนปลาทะเล ผลิตภัณฑ์ผสมสารโคเอนไซม์ควเทน ิ ผลิตภัณฑ์ผสมสารสกัดจากเปลือกสนฝรังเศส วิตามิน อี วิตามิน ซี นํ้ามันดอกอีฟนิ่งพริมโรส สารสกัด ่ จากเมล็ดองุ่น เป็ นต้น โดยทําการศึกษาความแตกต่างของลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้บริโภคต่อ ั พฤติกรรมและความพึงพอใจในการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม อิทธิพลของปจจัยในด้า น ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อราคาและความคุมค่า ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย ้ ในการใช้ ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขาย ที่มผลต่อความพึงพอใจโดยรวมในการบริโภคผลิตภัณฑ์ ี เสริมอาหารเพือความงาม ่ การวิจยครังนี้เป็ นการสํารวจข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเป็ นเครืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ั ้ ่ ประชากรทีเป็ นกลุมตัวอย่างในการวิจยนี้เป็ นผูบริโภคทีบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามในเขต ่ ่ ั ้ ่ ่ กรุงเทพมหานคร จํานวน 410 คน โดยอาศัยหลักในการเก็บข้อมูลแบบเป็ นระบบ ( Systematic Sampling ) โดยเลือกเก็บข้อมูลจากบริเวณร้านขายยาประเภทเครือข่ายสาขาในเขตกรุงเทพมหานครจํานวน 21 แห่ง สถิตทใช้ในการวิเคราะห์ขอมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย ค่าเบียงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ ิ ่ี ้ ่ ่ ค่าแตกต่างของค่าเฉลียด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ผลต่างค่าเฉลียด้วยค่าสถิติ t ( Independent t-test ) การ ่ ่ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ( Oneway ANOVA ) การวิเคราะห์ความแตกต่างเชิงพหุ ( Multiple ั Comparison ) โดยใช้เทคนิค Least Significant Different (LSD) การวิเคราะห์ปจจัยทีมผลต่อความพึงพอใจ ่ ี ในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ ่ ( Multiple Regression ) และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในด้านต่างๆกับพฤติกรรมและ แนวโน้มพฤติกรรมในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามใช้เทคนิคการวิเคราะห์สมประสิทธิ ์ ้ ่ ั สหสัมพันธ์ (Correlation) ผลการวิจยพบว่า ผูบริโภคส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 19 ถึง 29 ปี ระดับการศึกษาอยู่ ั ้ ในระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่มสถานภาพการสมรสเป็ นโสด อาชีพเป็ นพนักงานบริษทเอกชน มีรายได้สวน ี ั ่ ใหญ่อยูในช่วง 10,000 – 20,000 บาท ่ ผูบริโภคมีเหตุผลในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามมากทีสดคือเพือบํารุงผิว โดยมี ้ ้ ่ ุ่ ่ ความถีในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทีมากทีสดคือ เพิงเคยซือเพียงครังเดียว รองลงมาคือทุก 3 เดือน ่ ้ ่ ุ่ ่ ้ ้ ตามลําดับ ระยะเวลาในการบริโภคประมาณ 6 เดือน และ 6 เดือนถึง 1 ปี ตามลําดับ แหล่งในการซือ ้ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามทีผบริโภคไปซือมากทีสดคือร้านขายยาทัวไป รองลงมาได้แก่รานขายยา ่ ่ ู้ ้ ุ่ ่ ้ เครือข่ายสาขา ผลิตภัณฑ์ทผบริโภคซือมากทีสดคือ ผลิตภัณฑ์วตามินซี รองลงมาได้แก่ผลิตภัณฑ์ ่ ี ู้ ้ ุ่ ิ ผสมโปรตีนจากปลาทะเล (อิมดน) และนํ้ามันดอกอีฟนิ่งพริมโรส (EPO) ตามลําดับ และค่าใช้จายในการซือ ี ี ่ ้ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามเฉลียต่อครังมีคาเฉลียโดยรวม 1,481.70 บาท ่ ่ ้ ่ ่ จากการทดสอบสมมติฐานโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ (Multiple Regression) พบว่า ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์มความสัมพันธ์เป็ นเชิงเส้นตรงกับความพึงพอใจรวมต่อการบริโภค ี ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม มากทีสด รองลงมาได้แก่ ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย ่ ุ่ ความพึงพอใจต่อราคาและความคุมค่า และ ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย โดยมีคาสัมประสิทธิ ์ ้ ่ ความถดถอยเท่ากับ 0.563 , 0.132 , 0.130 และ 0.0899 ตามลําดับ ทีระดับนัยสําคัญ 0.05 สําหรับ ่
  • 4. ความพึงพอใจในด้านการส่งเสริมการขายไม่มความสัมพันธ์เป็ นเชิงเส้นตรงกับความพึงพอใจรวมต่อการ ี บริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ่ การเปรียบเทียบค่าเฉลียความพึงพอใจของแต่ละด้านของลักษณะทางประชากรศาสตร์พบว่า ่ อาชีพทีแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารแตกต่างกัน ่ โดยเมือวิเคราะห์ถง ่ ึ รายละเอียดแล้วพบว่าอาชีพธุรกิจส่วนตัวมีคาเฉลียของความพึงพอใจในการฃือและบริโภคผลิตภัณฑ์ ่ ่ ้ เสริมอาหารเพื่อความงามมากกว่าอาชีพพนักงานบริษทเอกชน และผูบริโภคทีมการศึกษาระดับตํ่ากว่าปริญญ ั ้ ่ ี ตรีและระดับปริญญาตรีมความพึงพอใจไม่แตกต่างกันแต่ผบริโภคทัง 2 กลุมมีความพึงพอใจสูงกว่า ระดับสูง ี ู้ ้ ่ ั กว่าปริญญาตรี ส่วนปจจัยด้าน เพศ อายุ สถานภาพการสมรส และ รายได้ ทีแตกต่างกันมีความพึงพอใจ ่ ในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามไม่แตกต่างกัน ่ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในด้านต่างๆกับพฤติกรรมในการซือ พบว่าความ ้ พึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อราคาและความคุมค่า ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขาย ้ ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย มีความสัมพันธ์กบพฤติกรรมในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือ ั ้ ่ ความงามในทิศทางเดียวกันโดยมีคาสหสัมพันธ์เท่ากับ 0.308 , 0.305 , 0.186 , 0.157 ตามลําดับ ทีระดับ ่ ่ นัยสําคัญ .05 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในด้านต่างๆกับแนวโน้มในการซือผลิตภัณฑ์ ้ เสริมอาหารเพื่อความงาม พบว่า ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย ความพึง พอใจต่อราคาและความคุมค่า ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขาย ้ ความพึงพอใจต่อช่องทางการ จัดจําหน่าย มีความสัมพันธ์กบแนวโน้มทีจะซือผลิตภัณฑ์ทกาลังใช้อยูต่อไป ในทิศทางเดียวกัน ั ่ ้ ่ี ํ ่ ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อราคาและความคุมค่า ความพึงพอใจต่อการ ้ ส่งเสริมการขาย ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย มีความสัมพันธ์กบแนวโน้มทีจะภักดีต่อตราสินค้า ั ่ ทีกาลังใช้อยู่ ในทิศทางเดียวกัน ่ ํ ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย ความพึงพอใจต่อการส่งเสริม การขาย ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย มีความสัมพันธ์กบแนะนําให้แก่คนทัวไปและเพือนสนิท ั ่ ่ ให้ซอ โดยมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ้ื ั ั การวิเคราะห์ปญหาและข้อเสนอแนะ จากผูบริโภคทีตอบแบบสอบถาม พบว่าผูบริโภคมีปญหา ้ ่ ้ มากทีสดคือ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามมีราคาแพงเกินไป รองลงมาได้แก่ การอวดอ้างสรรพคุณ ุ่ ่ เกินจริง และข้อเสนอแนะทีผบริโภคแนะนํามากทีสดคือ ควรแนะนําผลิตภัณฑ์อ่นทีสามารถรับประทาน ่ ู้ ุ่ ื ่ ร่วมกันได้ และควรลดราคาลง
  • 5. SATISFACTION AND BEHAVIOR TOWARD BEAUTY AIDS DIETARY SUPPLEMENT PRODUCTS CONSUMTION OF CONSUMERS IN BANGKOK METROPOLITAN AREA. AN ABSTRACT BY MISS WILAILUK THONGPUN Presented in partial fulfillment of the requirements for the Master of Business Administration in Marketing at Srinakharinwirot Universisty May 2003
  • 6. Wilailuk Thongpun. (2003) . Satisfaction and behavior in consuming beauty aids dietary supplement of consumers in Bangkok metropolitan area. Master Project, M.B.A. (Marketing). Bangkok : Graduate School, Srinakharinwirot University. Project advisor : Assoc. Prof. Somchai Hirankitti The purpose of this research is to study satisfaction and behavior in consumer beauty aids dietary supplements such as fish protein extract products , Co enzyme Q-10 combination products , Vitamin E , Vitamin C , Evening primrose oil , Grape seeds extract , etc. by studying the effect of demographic differentiation toward consumer behavior and satisfaction in buying beauty aids dietary supplements. The effect of product satisfaction price and cost effective satisfaction , Safety in using satisfaction , Promotion satisfaction , toward total satisfaction in consuming beauty dietary supplements. The tools which were use in this research are questionnaires . The parametric sample are consumers who buy beauty aids dietary supplement in Bangkok Metropolitan area , amount 410 persons . Sampling technique is refer to systematic sampling technique , the sampling areas are set to chain drug stores 21 branches around Bangkok metropolitan area . The statistic technique which were used are percentage , Mean standard deviation , Mean comparison technique , Independent t-test , One way analysis of Variance (ANOVA) , Multiple comparison by using Least Significant Different (LSD) technique. Analyzing the factors which effect to consuming beauty aid satisfaction by using Multiple regression technique and the analyzing the relation between consuming satisfaction toward behavior and behavior trend to buy beauty aids dietary supplement the technique which were used is correlation. The results of this research are found that most of sample are female , age between 19-29 year old , education level mostly are bachelor degree , Marriage status mostly are single , occupation mostly are private company employee , Income level mostly are 10,000 – 20,000 bath per month. The most found reasons is buying beauty aids dietary supplement are for nourish skin , the frequency in buying mostly are just buy only one time , followed with every 3 month , the period which had consumed mostly are 6 month and 6 month to 1 year respectively , the buying source mostly are general pharmacy stores followed with chain drug stores , the product which consumers mostly use are vitamin C followed with fish protein extract products and Evening primrose oil respectively and the average expense in buying beauty aids dietary supplement in 1,481.70 bath . The result of hypothesis testing which using multiple regression technique found that product satisfaction have a most synergistic relation with total satisfaction in consumer dietary aids supplements follow with place to buy satisfaction , price and cost effective satisfaction and safety
  • 7. satisfaction respectively and the excluded factor is promotion satisfaction which not have relations each others. The comparison of satisfaction mean among demographic factors found the difference of occupations cause the difference satisfaction means when analyze to details found the business owners had highest satisfaction n consumer beauty aids dietary supplements than private firm employee and consumers which education level below bachelor and bachelor degree both have highest satisfaction mean than the one with highest bachelor degree . The relations analyzing between a consuming satisfactions and buying behavior found product satisfaction price and cost effective satisfaction Promotion satisfaction Place to buy satisfaction have synergistic relation to buying behavior which present correlation value in 0.308 , 0.305, 0.186, 0.157 respectively at the significant level 0.05 . The analyzing of consuming satisfaction toward buying trend of beauty aids dietary supplement found that Product satisfaction safety satisfaction Price and Cost effective satisfaction Promotion satisfaction Place of distribution satisfaction have synergistic relation to buying trend Product satisfaction safety satisfaction Promotion satisfaction Place of distribution satisfaction have relation trend to continue to buy . Product satisfaction safety satisfaction Promotion satisfaction, Place of distribution satisfaction, have relations to advise products to other people and friends to buy. Problems and advices from the consumers were found the problems which consumers mostly notice are the products were too expensive , Over claims The advices from consumers mostly are Should advise other products which can use together and reduce price.
  • 8. ประกาศคุณูปการ สารนิพนธ์ฉบับนี้สําเร็จได้ด้วยความอนุ เคราะห์จากอาจารย์ท่ปรึกษา รองศาสตราจารย์สมชาย ี หิรญกิตติ ซึงเป็ นอาจารย์ทปรึกษาการทําวิจยครังนี้ ผูวจยขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงในความอนุ เคราะห์ ั ่ ่ี ั ้ ้ิั ช่วยเหลือ ตรวจสอบและกรุณาให้คาแนะนํา ข้อคิดเห็น อันมีคุณค่าและเป็ นประโยชน์ในการวิจยเป็ นอย่างดียง ํ ั ิ่ รวมทัง ขอขอบพระคุ ณ คณะกรรมการสอบสารนิ พ นธ์ รองศาสตราจารย์ ศิ ร ิ ว รรณ เสรี ร ัต น์ และ ้ รองศาสตราจารย์สพาดา สิรกุตตา ทีให้ความกรุณาเป็ นผูเชียวชาญในการตรวจคุณภาพเครื่องมือ ตลอดจน ุ ิ ่ ้ ่ ให้คาปรึกษาข้อเสนอแนะเพือแก้ไขปรับปรุงให้สารนิพนธ์ให้มความสมบูรณ์ ํ ่ ี การทําวิจยครังนี้ จะสําเร็จลุล่วงด้วยดีไม่ได้เลยหากไม่ได้รบข้อมูลจากเอกสารงานวิจยทีเกี่ยวข้อง ั ้ ั ั ่ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ จากผูตอบแบบสอบถาม รวมทังเพือนนักศึกษา X-MBA มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ้ ้ ่ ที่ให้ความช่วยเหลือ รวมทังคําแนะนํ าต่างๆด้วยดีเสมอมา ผูวจยจึงขอกราบขอบพระคุณทุกท่านด้วยความ ้ ้ิั เคารพอย่างสูงไว้ ณ ทีน้ี ่ ั้ วิไลลักษณ์ ทองปน
  • 9. สารบัญ บทที่ 1 บทนํา..........................................................................................................................…. ภูมหลัง...............................................................................................................….. ิ ความมุงหมายของการวิจย..................................................................................….. ่ ั ความสําคัญของการวิจย.....................................................................................….. ั ขอบเขตของการวิจย...........................................................................................….. ั ประชากรและกลุมตัวอย่างทีใช้ในการวิจย................................................……... ่ ่ ั ตัวแปรทีศกษา....................................................................................….....….. ่ ึ นิยามศัพท์..........................................................................................….....….. กรอบแนวคิดในการวิจย.....................................................................................….. ั สมมติฐานในการศึกษา......................................................................................….. หน้า 1 1 2 2 2 2 3 4 5 6 2 เอกสารและงานวิจยทีเกียวข้อง...................................................................................…. ั ่ ่ ตอนที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กียวกับงานวิจย...................................................….. ่ ั แนวคิดด้านความพึงพอใจ................................................………….…….....….. แนวคิดในด้านพฤติกรรมผูบริโภค..............................…………………………… ้ แนวคิดเกียวกับส่วนประสมทางการตลาด....................................………….…… ่ ข้อมูลทัวไปเกียวกับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม.............……....…….… ่ ่ ่ ตอนที่ 2 ผลงานวิจยทีเกียวข้อง...................................................................…...….. ั ่ ่ 7 7 7 10 18 22 26 3 วิธดาเนินการวิจย.......................................................................................................…. ี ํ ั การกําหนดประชากรและการเลือกกลุมตัวอย่าง..................................................….. ่ การเลือกกลุมตัวอย่าง........................................................................................….. ่ การสร้างเครืองมือทีใช้ในการวิจย.......................................................................….. ่ ่ ั การเก็บรวบรวมข้อมูล........................................................................................….. การจัดกระทําและการวิเคราะห์ขอมูล..................................................................….. ้ 28 28 29 34 36 37 4 ผลการวิเคราะห์ขอมูล....................................................................................…………… ้ การเสนอผลการวิเคราะห์ขอมูล…………………………………………………………. ้ ผลการวิเคราะห์ขอมูลเชิงพรรณนา(Descriptive analysis)……………………………. ้ การทดสอบสมมติฐาน.......................................................................................…… 47 47 48 59 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ...........................................................................… สังเขปความมุงหมาย และสมมติฐาน....................................................................…. ่ สรุปผลการศึกษาค้นคว้า.......................................................................................… 75 75 77
  • 10. ่ สารบัญ(ตอ) บทที่ 5(ต่อ) อภิปรายผล .............................…..................................................................……. ั ปญหาทีพบจากผูบริโภคทีตอบแบบสอบถาม...................................................……… ่ ้ ่ ข้อเสนอแนะ ………………………….................................…........................……… หน้า 81 83 83 บรรณานุกรม.............................................................................….............…..…….....……. 84 ภาคผนวก......................................…................……………..........…….......................…… แบบสอบถามทีใช้ในการวิจย.............................................................................…….. ่ ั รายนามผูเชียวชาญตรวจสอบแบบสอบถาม.......................................................……. ้ ่ หนังสือขอความร่วมมือเพือการวิจย..................................................................…….. ่ ั 87 89 95 96 ประวัตยอผูทาสารนิพนธ์.......................…......................................................….........…….. ิ่ ้ ํ 105
  • 11. บัญชีตาราง ตาราง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 แสดงประเภทของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม……………………………...………….. ่ รายชื่อร้านขายยาเครือข่ายสาขา(Chain Drug Stores)ในเขตกรุงเทพมหานคร..............…….. รายชื่อร้านขายยาเครือข่ายสาขา(Chain Drug Stores)ทีถกเลือกเป็ นตัวอย่าง..........…………. ่ ู ตาราง Completely Randomized Design………...............…………………………………….. แสดงข้อมูลทัวไปเกียวปจจัยส่วนบุคคลผูตอบแบบสอบถามข้อมูลแบบเชิงลําดับ จําแนกตาม ่ ่ ั ้ เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา สถานภาพการสมรส รายได้............………………….....…... แสดงจํานวนและค่าร้อยละของเหตุผลทีซอผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม...............……. ่ ้ื ่ แสดงจํานวนและค่าร้อยละของความถีในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร...........................……. ่ ้ แสดงจํานวนและค่าร้อยละของระยะเวลาในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม...……. ้ ่ แสดงจํานวนและค่าร้อยละของแหล่งในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม....….……. ้ ่ แสดงค่าช่วง ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย และส่วนเบียงเบนมาตรฐานของค่าใช้จายในการ ่ ่ ่ ซือผลิตเสริมอาหารเพือความงามเฉลียต่อครัง……………………………………………… ้ ่ ่ ้ แสดงจํานวนและค่าร้อยละของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามทีผบริโภคทีตอบแบบ ่ ่ ู้ ่ สอบถามซือ ………………………………………………………………………………….. ้ ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์โดยแสดง ช่วง ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย และส่วนเบียง ่ ่ เบนมาตรฐาน…………………………………………………………………………………. ความพึงพอใจด้านความปลอดภัยโดยแสดง ช่วง ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย และส่วนเบียง ่ ่ เบนมาตรฐาน…………………………………………………………………………………. ความพึงพอใจด้านราคาและความคุมค่าโดยแสดง ช่วง ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย และส่วน ้ ่ เบียงเบนมาตรฐาน…………………………………………………………………………… ่ ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขายโดยแสดง ช่วง ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย และส่วน ่ เบียงเบนมาตรฐาน…………………………………………………………………………… ่ ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่ายโดยแสดง ช่วง ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลีย และ ่ ส่วนเบียงเบนมาตรฐาน……………………..………..……………..……..………………… ่ แสดงการทดสอบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เพือความงามจําแนกตามเพศ………………………………...……………………………… ่ 18 แสดงการทดสอบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เพือความงาม จําแนกตามอายุ………………………………………………………………. ่ 19 แสดงการทดสอบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เพือความงาม จําแนกตามอาชีพ…………………………………………………………….. ่ 20 การเปรียบเทียบเชิงพหุระหว่าง อาชีพ และความพึงพอใจรวมโดยใช้เทคนิค LSD…………… 21 แสดงการทดสอบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เพือความงามจําแนกตามระดับการศึกษา…………………………………………………… ่ 22 การเปรียบเทียบเชิงพหุระหว่าง การศึกษา และความพึงพอใจรวมโดยใช้เทคนิค LSD……….. หน้า 23 31 33 41 49 50 51 51 52 52 53 54 55 56 57 58 59 60 60 61 62 62
  • 12. ่ บัญชีตาราง (ตอ) ตาราง 23 แสดงการทดสอบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เพือความงามจําแนกตามสถานภาพการสมรส……………………………………………. ่ 24 แสดงการทดสอบความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เพือความงามจําแนกตามรายได้...........................................................….................... ่ 25 แสดงผลการทดสอบความเป็ นปกติของการแจกแจงของตัวแปรความคลาดเคลื่อน..………… 26 แสดงผลการวิเคราะห์คาสหสัมพันธ์เชิงพหุระหว่างความพึงพอใจในด้านต่างๆทีมผลต่อ ่ ่ ี ความพึงพอใจรวม……………………..…………………………………………………… 27 แสดงผลการวิเคราะห์แปรปรวนของการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุระว่างความพึงพอใจ ในด้าน ต่างๆทีมผลต่อความพึงพอใจรวม.......................................….....……………… ่ ี 28 แสดงผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ความพึงพอใจในด้านต่างๆทีมผลต่อความพึงพอ ่ ี ใจรวมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม………………………………… ่ 29 แสดงผลของตัวแปรทีถกคัดออก …………………………………………………………….… ่ ู 30 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในด้านต่างๆกับพฤติกรรมในการซือผลิตภัณฑ์ ้ เสริมอาหารเพือความงาม …………………………………………….…………………… ่ 31 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในด้านต่างๆ กับแนวโน้มในการซือผลิตภัณฑ์เสริม ้ อาหารเพือความงาม…………………………………………………………..…………… ่ ั 32 แสดงปญหาทีพบจากผูบริโภคทีตอบแบบสอบถาม..…………………………………………... ่ ้ ่ 33 ข้อเสนอแนะจากผูบริโภคทีตอบแบบสอบถาม.………………………………………………… ้ ่ หน้า 63 64 65 65 65 66 66 67 69 72 73
  • 13. บัญชีภาพประกอบ ภาพประกอบ ั 1 แสดงปจจัยทีเป็ นตัวกําหนดคุณค่าเพิมสําหรับลูกค้า (Customer value added)………………. ่ ่ 2 แสดงทัศนคติของผูบริโภค ..................................................…………………………............. ้ 3 ตัวแบบพฤติกรรมการซือของผูบริโภค..........………………………………………..………...... ้ ้ ั 4 ปจจัยสําคัญทีมอทธิพลต่อพฤติกรรมการซือของผูบริโภค....………………………..…............. ่ ีิ ้ ้ 5 กระบวนการตัดสินใจของผูซอ……………………………………..………………..……………. ้ ้ื 6 แสดงช่องทางการจัดจําหน่าย...................………………………………………………..……... 7 ส่วนผสมทางการตลาด..........……...............................................................…….................. หน้า 8 9 11 12 14 20 21
  • 14. บทที่1 บทนํา ภูมิ หลัง ั ั ั ในปจจุบนปญหาทางเศรษฐกิจส่งผลให้คนในสังคมต้องออกไปทํางานนอกบ้าน ความรีบเร่งในการ ั ทํางานแข่งกับเวลา ปญหาการจราจรในกรุงเทพมหานคร ประชาชนมีความเป็ นอยูในสภาพแวดล้อมทีเป็ นพิษ ่ ่ ทําให้ผวหนังเสื่อมสภาพ และชราก่อนวัย ประกอบกับเมืองไทยเป็ นเมืองร้อน แสงแดดแรงตลอดทังวันทําให้ ิ ้ แสงอุ ลต้าไวโอเล็ตส่งผลให้ผิว หนังเกิดริ้วรอยและเหี่ยวย่นจึงเป็ นโอกาสให้ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ใช้เป็ นช่องทางในการทําการส่งเสริมการตลาดแก่ประชาชน โดยเฉพาะเพศหญิงซึงมีความกังวลต่อความงาม ่ มากเป็ นพิเศษ โดยใช้จุดขายการชะลอความชรา ลดริวรอย มาอวดอ้างสรรพคุณ และทําการโฆษณาโอ้อวด ้ เกินความเป็ นจริง(สรนิต ศิลธรรม.2541:20) จนผูบริโภคเกิดความคาดหวังต่อผลิตภัณฑ์เหล่านี้สงแต่เมื่อ ้ ู ั ั ั นําไปบริโภคกลับไม่ได้ผลตามที่ได้รบรูขอมูลข่าวสาร ซึ่งนับเป็ นปญหาในปจจุบนที่หน่ วยงานสาธารณะสุข ั ้ ้ ไม่ส ามารถดูแลได้อย่างทัวถึง การทํา ตลาดของสิน ค้า บางรายมีก ารกล่า วอ้า งสรรพคุณ ของผลิตภัณ ฑ์ ่ เสริมอาหารของตนเอง เพือหวังผลในทางการตลาดและการเอาชนะคู่แข่งมากกว่าจะคํานึงถึงข้อเท็จจริง การ ่ ั ั รับประทานอาหารให้ครบและหลากชนิ ดเป็ นสิงที่ทําให้ครบถ้วนได้ยากในปจจุบน ดังนันการรับประทาน ่ ้ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจึงได้รบความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆโดยเฉพาะการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อ ั ความงามทีมการอวดอ้างสรรพคุณเกินจริงอยู่เสมอถึงแม้จะมีผูบริโภคที่ใช้ได้ผลบ้างไม่ได้ผลบ้างก็ตาม การ ่ ี ้ ผลิตและจําหน่ ายผลิตภัณฑ์เสริมอาหารก็ยงสามารถขยายตัวได้อย่างรวดเร็ว ตลาดอาหารเสริมสุขภาพของ ั ไทยมีมลค่า 2,600 ล้านบาท ขยายตัวจากปี 2543 ร้อยละ 5 ขณะทีประเมินว่าในปี 2545 ตลาดอาหารเสริมจะ ู ่ มีมลค่า ประมาณ 3,000 ล้านบาท และยังมีแนวโน้มทีจะเติบโตได้อกมาก แม้ภาวะเศรษฐกิจของประเทศกําลัง ู ่ ี อยูในสภาวะชะลอตัว ส่วนผลิตภัณฑ์เสริมอาหารกลุมวิตามินและเกลือแร่ ซึงผูบริโภคมักรับประทานเพื่อบํารุง ่ ่ ่ ้ สุขภาพ แต่กมบางคนรับประทานเพื่อบํารุงรักษาผิวด้วยเช่นกัน ซึงมีตลาดโดยรวมมีมลค่า 157 ล้านบาท ใน ็ ี ่ ู ปี 2544 เพิมขึน 17.9% เป็ น 183 ล้านบาท และปี 2545 คาดว่าจะมีการโต ร้อยละ12 หรือ 208 ล้านบาท ่ ้ ( “ตลาดผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของไทย”. 2545 : 31) ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเป็ นผลิตภัณฑ์ท่ีสํา นักงานคณะกรรมการอาหารและยาจัดให้อยู่ภายใต้ ระเบียบปฎิบตของ “กฎหมายอาหาร” สามารถจําหน่ ายได้ทวไป และสามารถทําการตลาดแบบขายตรง ั ิ ั่ (Direct Sale) ได้อกด้วย จากการวิจยถึงแนวโน้มการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร พบว่าผูบริโภคให้ความ ี ั ้ คํานึงถึงประโยชนทีมต่อผูบริโภคมากทีสดร้อยละ 83 ( “ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร“. 2543:9 ) และในการวิจย ่ ี ้ ุ่ ั เกี่ย วกับ ทัศ นะคติใ นการบริโ ภคผลิต ภัณ ฑ์เ สริม อาหาร พบว่า ผู้บ ริโ ภคยัง ให้ค วามสํา คัญ ต่ อ คุ ณ ค่ า และ ประโยชน์ มากเป็ นอันดับแรก และยังพบว่าผู้ท่ยงบริโภคอยู่และเคยบริโภคเป็ นเวลา 1 ปี หรือน้ อยกว่า ี ั มีสดส่วนร้อยละ 67.38 , บริโภคมากกว่า 1 ปี ขนไปมีรอยละ 32.62 ส่วนสาเหตุทผเคยบริโภคเลิกบริโภค ั ้ึ ้ ่ ี ู้ เพราะบริโภคแล้วไม่เห็นผลคิดเป็ นร้อยละ 42.73 , ราคาแพงและหาซือยากร้อยละ 33.64 และไม่มนใจใน ้ ั่ ความปลอดภัย ร้อยละ 16.36 , ผูอ่นแนะให้เลิกร้อยละ 4 , มีผลข้างเคียง ร้อยละ 4 (ศศพินทุ์ ปิ นฑะดิษฐ์ และ ้ ื สิรภา สุจริต.2545:บทคัดย่อ) ิ ตลาดผลิตภัณฑ์เสริมอาหารใช้กลยุทธ์ทางการตลาดในรูปแบบต่างๆ เพื่อ กระตุนให้ผบริโภคตัดสินใจเลือกซือและบริโภคผลิตภัณฑ์ของตน ผูผลิตทีกําลังจะเข้าสูตลาดผลิตภัณฑ์เสริม ้ ู้ ้ ้ ่ ่ ั อาหาร ควรคํานึงถึงปจจัยทีสงผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เหล่านี้ของผูบริโภค นอกจากนี้ผูผลิตควรมี ่ ่ ้ ้ จรรยาบรรณในการทําตลาดและมีความจริงใจต่อผูบริโภค ้
  • 15. 2 การศึกษาวิจยเรือง “ ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความ ั ่ งามของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ” เป็ นการมุงศึกษาถึงความพึงพอใจรวมทังพฤติกรรมและแนวโน้ม ้ ่ ้ พฤติกรรมของผูบริโภคกลุมเปาหมายทีเคยบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ซึงช่วยในการประเมิน ้ ่ ้ ่ ่ ่ สถานการณ์ของตลาดและใช้วดศักยภาพของตลาด ในการทีจะขยายตัวของตลาดผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือ ั ่ ่ ความงามในอนาคตและผูประกอบการสามารถนําผลการศึกษาทีได้มาใช้เป็ นข้อมูลในการวางแผนกลยุทธ์ทาง ้ ่ การตลาดของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามได้ ่ ิ ่ ความมุงหมายของการวจัย ั 1. เพือศึกษาปจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ของผูบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ่ ้ ่ 2. เพือศึกษาความพึงพอใจต่อประโยชน์ทได้รบจากการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความ ่ ่ี ั งาม 3. เพือศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ่ ้ ่ 4. เพือศึกษาแนวโน้มพฤติกรรมในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ่ ้ ่ 5. เพือศึกษาความพึงพอใจในด้านต่างๆทีมผลต่อความพึงพอใจรวมในการบริโภคผลิตภัณฑ์ ่ ่ ี เสริมอาหารเพื่อความงาม 6. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในด้านต่างๆกับพฤติกรรมและแนวโน้มในการ ซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ้ ่ ิ ความสําคัญของการวจัย 1. ผู้ป ระกอบการสามารถนํ า ผลการศึก ษาที่ไ ด้ม าใช้เ ป็ น ข้อ มูล ในการวางแผนกลยุ ท ธ์ท าง การตลาดของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ่ 2. ใช้วดศักยภาพของตลาดในการที่จะขยายตัวของตลาดในอนาคต โดยประเมินจากความพึง ั พอใจและพฤติกรรมของผูบริโภค ้ ิ ขอบเขตของการวจัย ขอบเขตการศึกษาวิจยนี้ ทําการศึกษาความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริม ั อาหารเพือความงามของผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานครอายุตงแต่ 19 ปี เนื่องจากอายุตงแต่ 19 ปี ขนไปเป็ น ่ ้ ั้ ั้ ้ึ วัยรุนตอนปลายและอยูในวัยทํางาน (เสรี วงษ์มณฑา.2542 :158) เพื่อนํ าข้อมูลมาใช้ในการวิเคราะห์ความ ่ ่ พึงพอใจในด้านต่างๆรวมทังพฤติกรรมและแนวโน้มในการซือผลิตภัณฑ์ภณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม โดย ้ ้ ั ใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลตังแต่วนที่ 20 มกราคม 2546 ถึงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2546 ้ ั ิ ่ ประชากรและกลุ่มตัวอยางที่ใช้ในการวจัย ประชากรทีทาการวิจยครังนี้ คือ ผูบริโภคทังเพศชายและหญิงทีเคยซือและบริโภคผลิตภัณฑ์เสริม ่ ํ ั ้ ้ ้ ่ ้ อาหารเพือความงามทีมอายุตงแต่ 19 ปีขนไป และพักอาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ่ ่ ี ั้ ้ึ ่ ิ ่ กลุ่มตัวอยางที่ใช้ในการวจัย เนื่องจากไม่ทราบจํานวนประชากรอายุตงแต่19 ปีขนไปทีอาศัยอยูในเขตกรุงเทพมหานครที่ ั้ ้ึ ่ ่ แน่นอนจึงใช้ตองทําการสํารวจนําร่อง (Pilot Survey) จํานวน 30 ตัวอย่าง เพื่อหาข้อมูลด้านความแปรปรวน ้ ของกลุมตัวอย่างเพือใช้ในการประมาณจํานวนขนาดตัวอย่างทีระดับความเชื่อมันร้อยละ 95 กัลยา วานิชย์ ่ ่ ่ ่ บัญชา.(2545:73) ได้จานวนประชากรตัวอย่างจํานวน 410 คน การสุมตัวอย่างมีขนตอนดังนี้ ํ ่ ั้
  • 16. 3 ขันที่ 1 ใช้วธการสุมแบบเป็ นระบบ (Systematic Sampling) สุมเลือกร้านขายยาประเภทเครือข่าย ้ ิี ่ ่ สาขามา 21 สาขาจากจํานวนทังหมด 83 สาขา โดยมีชวงห่างกันเท่ากับ 4 ตัวอย่างเช่นเลือกสาขาที่ 3, 7, 11 ้ ่ เป็ นต้น ขันที่ 2 การสุมตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกกลุมตัวอย่างเฉพาะผูทเี่ คย ้ ่ ่ ้ ซือและเคยบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ้ ่ ขันที่ 3 กําหนดโควต้า (Quota Sampling) ของกลุมตัวอย่างเพือให้ได้สดส่วนทีเท่ากันในแต่ละร้าน ้ ่ ่ ั ่ ขายยาประเภทเครือข่ายสาขาตามทีระบุไว้ในขันที่ 2 ่ ้ ขันที่ 4 การสุมตัวอย่างโดยใช้ความสะดวก (Convenience Sampling) เพือเก็บรวบรวมข้อมูลโดย ้ ่ ่ ใช้แบบสอบถามทีจดเตรียมไว้นําไปเก็บข้อมูลบริเวณทีรานขายยาประเภทเครือข่ายสาขาทัง 21 สาขาทีเลือก ่ั ่้ ้ ่ ไว้ในขันที่ 1 ้ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ แบ่งเป็ นดังนี้ 1. ตัวแปรด้านประชากรศาสตร์ 1.1 เพศ 1.1.1 ชาย 1.1.2 หญิง 1.2 อายุ 1.2.2 19-29ปี 1.2.3 30-39ปี 1.2.4 40-49ปี 1.2.5 50ปีขนไป ้ึ 1.3 ระดับการศึกษา 1.3.1 ตํ่ากว่าปริญญาตรี 1.3.2 ปริญญาตรี 1.3.3 สูงกว่าปริญญาตรี 1.4 สถานภาพการสมรส 1.4.1 โสด 1.4.2 สมรส 1.4.3 ม่าย / หย่าร้าง 1.5 อาชีพ 1.5.1 รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 1.5.2 ธุรกิจส่วนตัว 1.5.3 พนักงานบริษทเอกชน ั 1.5.4 ลูกจ้างรายวัน 1.5.5 นักเรียน/นักศึกษา 1.5.6 อื่นๆ.........................
  • 17. 4 1.6 รายได้ 1.6.1 1.6.2 1.6.3 1.6.4 1.6.5 ตํ่ากว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาท 10,001 – 20,000 บาท 20,001 – 30,000 บาท 30,001 – 40,000 บาท 40,001 บาทขึนไป ้ 2. ความพึงพอใจต่อประโยชน์ทได้รบ ่ี ั 2.1 ผลิตภัณฑ์ 2.2 ความปลอดภัย 2.3 ราคาและความคุมค่า ้ 2.4 การส่งเสริมการขาย 2.5 ช่องทางการจัดจําหน่าย ตัวแปรตาม ได้แก่ 3. ความพึงพอใจรวมต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม 4. พฤติกรรมและแนวโน้มในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม ้ 4.1 พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ่ 4.2 แนวโน้มพฤติกรรมการในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ้ ่ ิ นยามศัพท์ 1. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม หรือ (Beauty Aids Dietary Supplement Products) หมายถึง ผลิตภัณฑ์ท่ใช้รบประทานโดยตรง นอกเหนือจากการรับประทานอาหารหลักตามปกติ ซึ่งเป็ น ี ั ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่างๆ เช่น เม็ด แคปซูล ผง เกล็ด ของเหลว หรือลักษณะอื่น โดยมุ่งหวังให้เกิดความ สวยงามต่อผิวหนัง ผม และเล็บหรืออวัยวะอื่นๆทีสงเสริมให้เกิดความงาม ่่ ้ 2. ผู้บริโภคกลุ่มเปาหมาย หมายถึง กลุ่มบุคคลที่คาดว่ามีคุณสมบัติท่จะเป็ นลูกค้าของผลิตภัณฑ์ ี เสริมอาหารเพือความงามได้ ่ 3. ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับความพึงพอใจต่อประโยชน์ทได้รบจากการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริม ่ี ั อาหารเพือความงาม ่ 4. ลักษณะด้านประชากรศาสตร์ หมายถึง เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา , สถานภาพการสมรส , อาชีพ , รายได้ 5. ร้านขายยาประเภทเครือข่ายสาขา(Chain Drug Stores) หมายถึงร้านจําหน่ายผลิตภัณฑ์เสริม อาหารและเวชภัณฑ์ทได้รบใบอนุ ญาตในการจําหน่ายยาจากกระทรวงสาธารณสุข โดยมีการแตกสาขาออกไป ่ี ั ในทําเลต่างๆภายใต้ช่อเดียวกัน ื
  • 18. 5 ิ กรอบแนวคด การวิจยเรือง ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงามของ ั ่ ่ ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร สามารถแสดงกรอบแนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามได้ ้ ดังนี้ ิ ตัวแปรอสระ 1. 2. 3. 4. 5. 6. ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรส อาชีพ รายได้ ่ ความพึงพอใจตอประโยชน์ ที่ได้รบ ั 1. ผลิตภัณฑ์ 2. ความปลอดภัย 3. ราคาและความคุมค่า ้ 4. การส่งเสริมการขาย 5. ช่องทางการจัดจําหน่าย ตัวแปรตาม ความพึงพอใจรวมต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารเพื่อความงาม ิ พฤตกรรมและแนวโน้ มในการซื้อ ิ ิ ผลตภัณฑ์เสรมอาหารเพื่อความงาม 1. พฤติกรรมการซือผลิตภัณฑ์เสริม ้ อาหารเพือความงาม ่ 2. แนวโน้มพฤติกรรมการในการซือผลิต ้ ภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงาม
  • 19. 6 ิ ิ สมมตฐานในการวจัย ั 1. ปจจัยด้านประชากรศาสตร์ทีแตกต่างกันมีความพึงพอใจรวมต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือ ่ ่ ความงามแตกต่างกัน 2. ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย ความพึงพอใจต่อราคาและความ คุมค่า ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขาย ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย มีผลต่อความพึงพอใจ ้ รวมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ่ 3. ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย ความพึงพอใจต่อราคาและความ คุมค่า ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขาย ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย มีความสัมพันธ์กบ ้ ั พฤติกรรมในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ้ ่ 4. ความพึงพอใจในด้านผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจต่อความปลอดภัย ความพึงพอใจต่อราคาและความ คุมค่า ความพึงพอใจต่อการส่งเสริมการขาย ความพึงพอใจต่อช่องทางการจัดจําหน่าย มีความสัมพันธ์แนวโน้ม ้ ในการซือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ้ ่
  • 20. บทที่ 2 ิ เอกสารและงานวจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจยเรื่อง “ความพึงพอใจและพฤติกรรมในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อความงามของ ั ผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร” ได้นําแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยทีเกียวข้องมาศึกษาเพื่อใช้เป็ นแนวทาง ้ ั ่ ่ ในการศึกษาวิจย ดังนี้ ั ตอนที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กียวกับงานวิจย ่ ั 1. แนวคิดด้านความพึงพอใจ 2. แนวคิดด้านพฤติกรรมผูบริโภค ้ 3. ทฤษฎีสวนประสมทางการตลาด ่ 4. ข้อมูลทัวไปเกียวกับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพือความงาม ่ ่ ่ ตอนที่ 2 งานวิจยทีเกียวข้อง ั ่ ่ ิ ิ ตอนที่ 1 แนวคดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับงานวจัย ิ 1. แนวคดด้านความพึงพอใจ คอตเลอร์ (Kotler.1999:36) กล่าวถึงความพึงพอใจของลูกค้า (Customer Satisfaction) ว่า เป็ นการ ตัดสินใจของลูกค้าที่มต่อการนํ าเสนอคุณค่าทางการตลาด และทําให้เกิดการตัดสินใจซื้อนันจะเกี่ยวข้องกับ ี ้ รูปแบบของสินค้าทีนําเสนอออกมา และเชื่อมโยงไปถึงความคาดหวังของลูกค้า โดยลูกค้าแต่ละรายอาจจะมี ่ ระดับความพึงพอใจทีแตกต่างกัน โดยถ้ารูปแบบทีนําเสนอสินค้ามีความคาดหวังทีต่า ลูกค้าจะไม่พงพอใจ แต ่ ่ ่ ํ ึ ถ้าเพิมความคาดหวังเข้าไป ่ ลูกค้าจะพึงพอใจเพิมมากขึ้น อย่างไรก็ตามความคาดหวังยังขึ้นอยู่ก บ ่ ั ประสบการณ์การซือในอดีตของลูกค้า ความคิดเห็นของเพื่อนและผูทเกียวข้อง รวมทังข้อมูลของนักการตลาด ้ ้ ่ี ่ ้ และคู่แข่งขันทีนําเสนอหรือสัญญาไว้ นักการตลาดจะต้องระมัดระวังในเรื่องระดังความพึงพอใจของลูกค้าเป็ น ่ สําคัญ ศิรวรรณ เสรีรตน์ และคณะ (2539:365) กล่าวสรุปไว้วา การจูงใจเป็ นสิงเร้าและความพยายามทีจะ ิ ั ่ ่ ่ ้ ตอบสนองความต้องการหรือเปาหมาย ส่วนความพึงพอใจ หมายถึงความพอใจเมื่อความต้องการได้รบการ ั ตอบสนอง ดังนันการจูงใจจึงเป็ นสิงเร้าเพือให้ได้ผลลัพธ์คอ ความพึงพอใจซึงเป็ นผลลัพธ์ ซึงเมื่อเกิดแรงจูงใจ ้ ่ ่ ื ่ ่ ขึน แล้วสามารถตอบสนองแรงจูงใจนัน ผลลัพธ์กคอ ความพึงพอใจ ้ ้ ็ ื ศิรวรรณ เสรีรตน์ และคณะ (2541:14) กล่าวว่า ความพึงพอใจของลูกค้า (Customer Satisfaction) ิ ั เกิดจากการได้รบผลิตภัณฑ์ท่มคุณค่าสูงกว่าต้นทุนที่เขาต้องจ่ายไปและยังขึ้นกับเครื่องมือการตลาดและ ั ี ี กิจกรรมการตลาดอื่นๆอีกด้วย ศิรวรรณ เสรีรตน์ และคณะ (2541:45-48) กล่าวว่า ความพึงพอใจของลูกค้า (Customer ิ ั Satisfaction) เป็ นระดับความรูสกของลูกค้าทีมผลจากการเปรียบเทียบระหว่างผลประโยชน์จากคุณสมบัติ ้ ึ ่ ี ผลิตภัณฑ์ หรือการทํางานของผลิตภัณฑ์ กับความคาดหวังของลูกค้า ระดับความพอใจของลูกค้าจะเกิดจาก ความแต่กต่างระหว่างผลประโยชน์ตามผลิตภัณฑ์และความคาดหวังของบุคคล การคาดหวังของบุคคล ่ (Expectation) เกิดจากประสบการณ์และความรูในอดีตของผูซอ นักการตลาดและฝายอื่น ๆ ทีเกียวข้อง ้ ้ ้ื ่ ่ จะต้องพยายามสร้างความพึงพอใจให้กบลูกค้าโดยพยายามสร้างคุณค่าเพิม (Value Added) การสร้างคุณค่า ั ่ ่ เพิมเกิดจากการผลิต (Manufacturing) และจากการตลาด (Marketing) รวมทังมีการทํางานร่วมกันกับฝาย ่ ้ ต่าง ๆ โดยจัดหลักการสร้างคุณภาพรวม (Total Quality) คุณค่าเกิดจากความแตกต่างทางการแข่งขัน
  • 21. 8 (Competitive differentiation) คุณค่าทีมอบให้กบลูกค้าจะต้องมากกว่าต้นทุนของลูกค้า (Cost ) ต้นทุนของ ่ ั ลูกค้าส่วนใหญ่กคอราคาสินค้า (Price) นันเอง ็ ื ่ คุณค่าด้านผลิตภัณฑ์ (Product value) คุณค่าด้านบริการ (Service value) คุณค่าด้านบุคลากร (Personnel value) คุณค่าผลิตภัณฑ์รวม ของลูกค้า (Total customer value) คุณค่าด้านภาพลักษณ์ (Image value) ราคา (ต้นทุน) ในรูปตัวเงิน ต้นทุนด้านราคา (Time cost) ต้นทุนรวมของลูกค้า (Total customer cost) ผลิตภัณฑ์ ทีสงมองแก่ ่่ ลูกค้า (Customer delivered value) ต้นทุนด้านพลังงาน (Energy cost) ต้นทุนด้านจิตวิทยา (Psychic cost) คุณค่าทีสงมอบแก่ลกค้า = คุณค่ารวมสําหรับลูกค้า – ต้นทุนรวมของลูกค้า ่่ ู ภาพประกอบ 1 แสดงคุณค่าทีสงมอบแก่ลกค้า ่่ ู ทีมา : Kotler, Phillip. (2003). Marketing Management millenium Edition .p60. New Jersey : Prentice ่ Hall Inc . นักการตลาดจะต้องสร้างความแตกต่างทางการแข่งขันและความแตกต่างนันจะต้องสามารถสร้าง ้ คุณค่าเพิม (Value Added) คุณค่านันจะต้องสูงเกินกว่าต้นทุน (Cost) หรือราคาสินค้า (Price) ทังนี้ยดหลักว่า ่ ้ ้ ึ คุณค่า (Value) ทีสงมอบแก่ลกค้าต้องมากกว่าราคาสินค้า (Price) ่่ ู เครื่องมือในการติดตามและการวัดความพึงพอใจของลูกค้า เป็ นวิธการที่จะติดตามวัดและค้นหา ี ความต้องการของลูกค้าโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กบลูกค้า การสร้างความพึงพอใจให้กบ ั ั ั ลูกค้ามีปจจัยทีตองคํานึงถึง คือ ่ ้ 1. วิธการสร้างความพึงพอใจโดยการลดต้นทุนของลูกค้า (ลดราคา) หรือการเพิมการบริการและ ี ่ จุดเด่นของสินค้าซึงสิงนี้จะมีผลทําให้กาไรของบริษทลดลง ่ ่ ํ ั 2. บริษทต้องสามารถสร้างกําไรโดยการผลิตลงทุน หรือการวิจยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (R&D) ั ั
  • 22. 9 วิธการติดตามและวัดความพึงพอใจของลูกค้า สามารถวัดได้ดวยวิธการ ดังนี้ ี ้ ี 1. ระบบการติเตียนและข้อเสนอแนะ (Complaint and Suggestion Systems) เป็ นการหาข้อมูล ั ทัศนคติของลูกค้าเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และการทํางานของบริษัท ปญหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และการทํางาน รวมทังข้อเสนอแนะต่างๆ ้ 2. การสํารวจความพึงพอใจของลูกค้า (Customer satisfaction surveys) จะเป็ นการสํารวจความ พึงพอใจของลูกค้า เครืองมือทีใช้มากคือการวิจยตลาด ่ ่ ั ้ 3. การเลือกซือโดยกลุมทีเป็ นเปาหมาย (Ghost shopping) วิธน้ีจะเชิญบุคคลทีคาดว่าจะเป็ นผูซอ ้ ่ ่ ี ่ ้ ้ื ั ที่มศกยภาพ ให้วเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนในการซื้อสินค้าของบริษทและคู่แข่งขัน พร้อมทังระบุปญหา ี ั ิ ั ้ เกียวกับสินค้าหรือบริการ ่ 4. การวิเคราะห์ถงลูกค้าทีสญเสียไป (Lost Customer Analysis)จะวิเคราะห์หรือสัมภาษณ์ลกค้า ึ ู่ ู เดิมทีเปลียนไปใช้ตราสินค้าอื่น เพือทราบถึงสาเหตุททาให้ลกค้าเปลียนใจ ่ ่ ่ ่ี ํ ู ่ ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติและความพึงพอใจ แหล่งข้อมูลทีสาคัญเกียวกับทัศนคติของผูบริโภคอย่างหนึ่งก็คอประสบการณ์สวนตัวของผูบริโภค ่ ํ ่ ้ ื ่ ้ ั ยทีสาคัญทีสดในแง่ของการใช้หลักประสบการณ์สวนตัวของผูบริโภค (Personal experience)และสิงทีเป็ นปจจั ่ ํ ่ ่ ุ่ ่ ้ นัน คือ นักการตลาดสามารถใช้การโฆษณา (Advertising) การส่งเสริมการขาย (Sale Promotion) จูงใจให้ ้ คนซือสินค้าอย่างไรก็ได้ แต่ในแง่ของประสบการณ์ขนสุดท้ายแล้วนันขึนอยูกบผูบริโภคว่ามีความพึงพอใจใน ้ ั้ ้ ้ ่ ั ้ สินค้าที่ซ้อไปหรือไม่ ถ้าผูบริโภคมีความพึงพอใจจะมีทศนคติท่ดต่อสินค้า แต่ถ้าผู้บริโภคแต่ถ้าผูบริโภคไม่ ื ้ ั ี ี ้ เกิดความพึงพอใจในสินค้าก็จะทําให้เกิดทัศนคติทไม่ดกบสินค้า ่ี ี ั การรับรู้ (Awareness) ทัศนคติก่อนใช้ (Pre-attitude) การยอมรับทัศนคติ (Acceptance attitudes) การค้นหา (Search) ประสบการณ์ตรง ( Direct experience ) การเลือก (Select) + บวก หรือ - ลบ การใช้(Use) เกิดทัศนคติ (Post attitudes) ความพึงพอใจหรือไม่พงพอใจ ึ ทัศนคติหลังใช้ (Post Attitude) ภาพประกอบ 2 แสดงทัศนคติของผูบริโภค ้ ทีมา : เสรี วงษ์มณฑา.(2542). พฤติกรรมผูบริโภค. P.120.กรุงเทพฯ : บริษท ธีระฟิลม และ ไซเท็กซ์ จํากัด . ่ ้ ั ์
  • 23. 10 ผูบริโภครับรู้ (Awareness) ว่าสินค้านันมีขายอยูแล้วจึงเกิดการยอมรับ (Acceptance) ซึ่งสิงนี้คอ ทัศนคติ ้ ้ ่ ่ ื (Attitude) เมื่อผูบริโภคเริมยอมรับแล้วจะทําการค้นหา (Serach) ว่าสินค้านันมีขายทีไหนมีคุณสมบัตอย่างไร ้ ่ ้ ่ ิ เมื่อได้ขอมูลจากการค้นหาแล้วผู้บริโภคจะเลือก (Select) ว่าจะซื้อหรือไม่ซ้อ เมื่อซื้อก็จะนํ าไปใช้ (Use) ้ ื จากนันผูบริโภคจะเกิดความพึงพอใจ (Satisfaction) หรือไม่พงพอใจ (Dissatisfaction) หลังจากใช้สนค้านัน ้ ้ ึ ิ ้ ซึ่งสิงนี้จะมีผลกลับไปทีการยอมรับ (Acceptance) ว่าจะชอบมากขึนหรือลดลง (บวกหรือลบ ) การยอมรับ ่ ่ ้ หรือทัศนคติของผูบริโภคเกิดจากข้อมูล (Information) ที่ได้รบเป็ นทัศนคติก่อนใช้ (Pre Attitudes) เป็ น ้ ั ประสบการณ์ ส่วนตัว (Direct Experiece) ของผูบริโภค จะเป็ นส่วนสําคัญมากกว่าทัศนคติก่อนใช้ เมื่อนัก ้ การตลาดนํ าหลักการนี้มาพิจารณาในแง่ของการตลาดจะทราบว่าถึงแม้นักการตลาดจะพยายามสื่อสารกับ ผูบริโภคโดยการโฆษณา (Advertising) ประชาสัมพันธ์ (Public Relations) แล้วก็ตาม ถ้าสินค้าไม่เป็ นที่ ้ ยอมรับของผูบริโภคก็จะไม่มการซือซํ้าเกิดขึน ้ ี ้ ้ ในงานวิจยฉบับนี้ได้นําแนวคิดในด้านความพึงพอใจมาใช้ในการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความ ั พึงพอใจในประโยชน์ทได้รบในด้านต่างๆซึงได้แก่ คุณค่าในการเสริมความงาม ,ความปลอดภัย ,ความคุมค่า , ่ี ั ่ ้ ราคา, ช่องทางการจัดจําหน่าย, การส่งเสริมการตลาด มีผลต่อความพึงพอใจรวมในการบริโภคผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารเพื่อความงาม ิ 2. แนวคดด้านพฤติ กรรมผูบรโภค ้ ิ 2.1. ความหมายของผูบริโภค ้ ทัศนะของนักเศรษฐศาสตร์: ผูบริโภค หมายถึง บุคคลต่างๆทีมความสามารถในการซือ ้ ่ ี ้ (Ability to buy) ทัศนะของนักการตลาด: ผูบริโภค หมายถึงผูทมความเต็มใจในการซือสินค้าหรือบริการ ้ ้ ่ี ี ้ (Willingness to buy) ทัศนะอื่นๆ: ผูบริโภค หมายถึง ผูซอสินค้าไปเพือใช้ประโยชน์สวนตัว หรือเพือไปขายต่อ ้ ้ ้ื ่ ่ ่ ทัศนะของคณะผูวจย: ผูบริโภค หมายถึง ผูท่มอทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าและ ้ิั ้ ้ ี ีิ บริการ 2.2. ความหมายพฤติกรรมผูบริโภค ้ ธงชัย สันติวงษ์ (2540:45) : กล่าวว่า พฤติกรรมผูบริโภค เป็ นส่วนทีเกียวข้องกับ ้ ่ ่ การศึกษาผูบริโภคซึงต่างต้องจัดหาสิงจําเป็ นสําหรับความเป็ นอยูในชีวตประจําวัน คือ สินค้าและบริการ จาก ้ ่ ่ ่ ิ ระบบเศรษฐกิจมาตอบสนองความต้องการของคน ในเวลาเดียวกันกิจกรรมทางด้านการตลาด (Marketing) ก็ เป็ นส่วนสําคัญทีเกียวข้องกับการตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในสังคม ่ ่ ธงชัย สันติวงษ์ (2540:30) : กล่าวว่า พฤติกรรมผูบริโภค เป็ นเรื่องทีเกียวข้องกับการ ้ ่ ่ ปฏิบตหรือการแสดงออกของมนุ ษย์เฉพาะเรื่อง ทีเกี่ยวกับกระบวนการของตัวบุคคลทีตดสินใจซื้อสินค้าและ ั ิ ่ ่ ั บริการ การตัดสินใจดังกล่าวจะประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ทังทางใจและทางกายทีจาเป็ นสําหรับการตัดสินใจ ้ ่ํ และพฤติกรรมผูบริโภคจะเน้นการซือของ ซึงผูซอนําไปใช้บริโภคเอง การซือของผูบริโภคเกือบทังหมดจะ ้ ้ ่ ้ ้ื ้ ้ ้ ซือมาเพือตอบสนองความต้องการส่วนตัว ้ ่
  • 24. 11 พฤติกรรมผูบริโภคตามความหมายของ Philips Kotler ้ สิงกระตุน ่ ้ ทางการตลาด (Marketing Stimuli ,iilllllll ผลิตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) ช่องทางการจัด จําหน่าย (Place) การส่งเสริมการ ขาย (Promotion) สิงกระตุนอื่นๆ ่ ้ ภาวะเศรษฐกิจ (Economic) เทคโนโลยี (Technology) การเมือง (Political) วัฒนะธรรม (Cultural) กระบวนการ ลักษณะของผูซอ ้ ้ื ตัดสินใจของผูซอ ้ ้ื (Buyer’s (Buyer’s Decision Characteristic) Process) วัฒนธรรม (Cultural) สังคม (Social) ส่วนบุคคล (Personal) จิตวิทยา (Psychological) การตระหนักถึง ั ปญหา การแสวงหา ข้อมูล การประเมินทาง เลือก การตัดสินใจซือ ้ การตัดสินใจหลัง การซือ ้ การตัดสินใจ ของผูซอ ้ ้ื (Buyer’s Decision) การเลือกผลิตภัณฑ์ (Product choice) การเลือกตราสินค้า (Brand Choice) การเลือกผูขาย ้ (Dealer Choice) การเลือกเวลาใน การซือ ้ (Purchase Timing) ภาพประกอบ 3 ตัวแบบพฤติกรรมการซือของผูบริโภค ้ ้ ทีมา : Kotler, Phillip. (2003). Marketing Management millenium Edition .p184. New Jersey : Prentice ่ Hall Inc . คอตเลอร์ (Kotler.2000) ได้อธิบายตัวแบบพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค (Model of Buyer ้ Behavior) ว่า มูลเหตุจงใจทีทาให้เกิดการตัดสินใจซื้อ มีจุดเริมต้นทีผซอได้รบสิงกระตุนเข้าสูความนึกคิดทํา ู ่ ํ ่ ่ ู้ ้ ื ั ่ ้ ่ ให้เกิดความต้องการ ผูซ้อจะแสวงหาสินค้าและบริการใดมาตอบสนองความต้องการ ขึนอยู่กบลักษณะของผู้ ้ ื ้ ั ซือและกระบวนการตัดสินใจของผูซ้อ ขันตอนสุดท้าย ทําการตัดสินใจ ซึ่งสามารถอธิบายรายละเอียดของตัว ้ ้ ื ้ แบบดังกล่าวได้ ดังนี้ 1. สิงกระตุน (Stimuli) สิงกระตุนอาจเกิดขึนเองจากภายในร่างกาย (Internal Stimuli) และสิง ่ ้ ่ ้ ้ ่ กระตุนจากภายนอก (External Stimuli) ซึงผูผลิตหรือผูขายสินค้า จะต้องสนใจและจัดการเพื่อให้ผบริโภคเกิด ้ ่ ้ ้ ู้ ความต้องการในสินค้าโดยถือเป็ นเหตุจงใจให้เกิดการซือ (Buying Motive) ซึงอาจใช้เหตุจงใจซือด้านเหตุผล ู ้ ่ ู ้ และด้านจิตวิทยาก็ได้ สิงกระตุนภายนอกประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ่ ้ 1.1. สิงกระตุนทางการตลาด (Marketing Stimuli) เป็ นสิงกระตุนทีนกการตลาดสามารถ ่ ้ ่ ้ ่ ั ควบ คุมและต้องให้มขน ประกอบด้วยสิงกระตุ้นด้านผลิตภัณฑ์ สิงกระตุ้นด้านราคา สิงกระตุ้นด้านการจัด ี ้ึ ่ ่ ่ ช่องทางการจัดจําหน่าย และสิงกระตุนด้านการส่งเสริมการขาย ่ ้ 1.2. สิงกระตุนอื่นๆ (Other Stimuli) เป็ นสิงซึงอยู่ภายนอกธุรกิจผ้ผลิตหรือผูขายมิอาจ ่ ้ ่ ่ ้ ควบคุมได้ ประกอบด้วย สิงกระตุนทางเศรษฐกิจ (Economic) สิงกระตุนทางเทคโนโลยี (Technological) และ ่ ้ ่ ้ สิงกระตุนทางวัฒนธรรม (Cultural) ่ ้ ั ั 2. ลักษณะของผูซอ (Buyer’s Characteristices) ได้รบอิทธิพลจากปจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปจจัย ้ ้ื ั ั ั ั ด้านวัฒนธรรม ปจจัยด้านสังคม ปจจัยด้านส่วนบุคคลและปจจัยด้านจิตวิทยา