SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
. CPG. for Superficial Fungal- 35 -
Superficial Fungal Infection
ความนํา
การวินิจฉัยแนวทางการดูแลรักษาโรคผิวหนังเปน
ความเห็นรวมกันของกลุมผูรูที่ปฏิบัติการดูแล
รักษาผูปวย แนวทางที่วางไวนี้เพื่อใชเปน
แนวทางในการดูแลรักษาผูปวย มิใชกฎตายตัว
ที่ตองปฏิบัติการรักษาตามที่เขียนไวทุก
ประการ ทั้งนี้ เพราะผูปวยแตละรายมีปญหาที่
แตกตางกัน การวางแนวทางการรักษานี้เปนการ
สรางมาตรฐาน และพัฒนาการดูแลรักษาโรค
ผิวหนัง เพื่อใหประชาชนที่มาพบแพทยไดรับ
ความมั่นใจวา จะไดรับการดูแลรักษาที่ดี
1. ลักษณะทางคลินิก
เปนดวงขาว น้ําตาล ดําหรือแดง ขอบเขต
ชัดเจน และมีขุยบาง ๆ พบบอยที่บริเวณลําตัว
ตนแขน และตนขา ถาสองดูผื่นดวย Wood’s
light จะเรืองแสงเปนสีเหลืองทอง (golden-
yellow fluorescence) ที่บริเวณผื่นในบางราย
2. การตรวจทางหองปฏิบัติการ
2.1 ขูดขุยยอมดวย 10%โปแตสเซียม-
ไฮดรอกไซด ผสมหมึกดําหรือใช scotch tape
แปะขุยจากบริเวณผื่นแลวยอมดวย methylene
blue จะพบลักษณะ short, fragmented hyphae
และ round to oval budding yeast cells
คณะผูจัดทําขอสงวนสิทธิ์ในการนําไปใช
อางอิงทางกฎหมายโดยไมผานการพิจารณา
จากผูทรงคุณวุฒิ หรือผูเชี่ยวชาญในแตละกรณี 2.2 การเพาะเลี้ยงเชื้อ ไมจําเปนตองทํา
เพื่อการวินิจฉัย
โรคในกลุม Superficial fungal infection
ประกอบดวย
การรักษา
1. การรักษามาตรฐาน (Standardtreatment)
1. โรคเกลื้อน (Pityriasis versicolor, Tinea
versicolor)
ไดแก ยาทาซึ่งแตละชนิดใหผลใกลเคียงกัน
การเลือกใชยาขึ้นอยูกับความสะดวก ราคา และ
การกระจายของผื่นวาเปนมากนอยเพียงใด
ยาทาไดแก
2. โรคกลาก (Dermatophytosis)
3. โรคเชื้อราที่เล็บ (Onychomycosis)
4. โรคติดเชื้อแคนดิดา (Candidiasis) ก. กลุมยาสระผมฆาเชื้อรา ใชฟอกทั่วตัว
ทิ้งไว 15 นาที วันละครั้ง ติดตอกัน
2 - 4 สัปดาห ไดแก
โรคเกลื้อน (Pityriasis versicolor, Tinea
versicolor)
- 2.5% selenium sulfide shampoo
นิยาม
- 1 - 2% zinc pyrithione shampoo
Pityriasis versicolor เปนโรคเชื้อราที่พบ
ไดบอยในประเทศภูมิอากาศรอนชื้น เกิดจาก
เชื้อรากลุมยีสต Malassezia furfur ซึ่งเปน
เชื้อราที่พบไดเปนปกติอยูบนหนังกําพรา
- 2% ketoconazole shampoo
ข. 20% sodium thiosulfate หรือ
40 - 50% propylene glycol ทาทั้งตัว
วันละ 2 ครั้ง ติดตอกันนาน 2 - 4
  
สถาบันโรคผิวหนัง
. CPG. for Superficial Fungal- 36 -
สัปดาห
ผื่นเกลื้อน
methylene blue/KOH with ink
positive negative
รักษา 1. ไมตองรักษา
1.ยาทามาตรฐาน 2. แนะนําเรื่องการปองกัน
2.ยารับประทานทางเลือก
ติดตามผล
เปนครั้งแรก เปนบอย
แนะนําการปองกัน ปองกันโดยการใชยาทา/
โดยการปฏิบัติตัว ยารับประทาน 2-4 สัปดาห
2. การรักษาทางเลือก (Alternative treatment)
2.1 ยาทาตานเชื้อรากลุม imidazole เนื่องจาก
ยากลุมนี้มีราคาแพงและโรคเกลื้อนตองทาเปน
บริเวณกวางทําใหสิ้นเปลือง จึงไมแนะนําใหใช
2.2 ยารับประทานใชในรายที่เปนมากทั้งตัว
ไมตอบสนองตอยาทา ไมสะดวกที่จะใชยาทาหรือ
เปนซ้ําบอย ๆ ยาในกลุมนี้ไดแก ketoconazole
วันละ 200 มก. 10-14 วัน หรือ 400-800 มก.
รับประทานครั้งเดียว หลังอาหารทันที แตควร
ระวังในผูปวยที่มีโรคตับ (ดูในบทสงทาย)
ขอแนะนําสําหรับผูปวย
- แนะนําใหใสเสื้อผาที่ระบายอากาศไดดี
เชน ผาฝาย
- หลังออกกําลังกายควรเช็ดเหงื่อใหแหง
และเปลี่ยนเสื้อผาหรืออาบน้ําทันที
การติดตามผลการรักษา
เนื่องจากโรคเกลื้อนมักเกิดซ้ําได นอกจาก
การปฏิบัติตนดังกลาวขางตนแลว ในบางราย
อาจจําเปนตองใหการรักษาเพื่อปองกันการกลับ
เปนซ้ํา ไดแก
1. ยาทามาตรฐาน กลุมยาสระผมฆาเชื้อรา
เชน แชมพูผสม selenium sulfide, ketoconazole
ฟอกตัวสัปดาหละครั้ง
2. ยารับประทาน ในรายที่แพยาทาหรือไม
  
สถาบันโรคผิวหนัง
. CPG. for Superficial Fungal- 37 -
สะดวกที่จะใชยาทา พิจารณาให ketoconazole
400 มก. เดือนละ 1 ครั้ง หรือวันละ 200 มก.
ติดตอกัน 3 วัน เดือนละครั้ง
โรคกลาก (Dermatophytosis)
นิยาม
Dermatophytosis เปนโรคติดเชื้อรากลุม
Dermatophyte ซึ่งจะกอโรคในสวนของผิวหนังที่
สรางเคอราติน (keratin) เทานั้น ฉะนั้นจะเกิด
โรคไดที่ผิวหนังชั้นขี้ไคล (stratum corneum)
เสนผมและเล็บ
การวินิจฉัย
1. ลักษณะทางคลินิก
ลักษณะทางคลินิกจะแตกตางกันไปตาม
ตําแหนงที่เกิดโรคและมีชื่อเรียกจําเพาะ เชน
1.1 โรคกลากที่หนังศีรษะ และเสนผม เรียก
Tinea capitis (โรคกลากที่ศีรษะ)
1.2 โรคกลากที่ผิวหนัง จะเกิดไดทั่วไป
ตั้งแตหนา (Tinea faciei) ลําตัว (Tinea corporis)
ขาหนีบ (Tinea cruris) มือ (Tinea manuum) เทา
(Tinea pedis)
1.3 โรคกลากที่เล็บ เรียก Tinea unguium
ซึ่งอาจเปนไดทั้งเล็บมือ และเล็บเทา
โรคกลากที่ศีรษะ (Tinea capitis)
เปนโรคติดเชื้อราที่หนังศีรษะ และเสนผม
ลักษณะทางคลินิกที่พบบอย ไดแก
1. Grey-patch ringworm พบมากในเด็ก
พบผมรวงหลาย ๆ หยอม ขอบเขตชัดเจน ขนาด
ใหญเล็กตางๆกันมีขุยสีขาวอมเทาที่หนังศีรษะ
ไมมีอาการแสดงของการอักเสบ เมื่อใช Wood’s
lamp อาจเรืองแสงสีเขียวบริเวณผมที่ติดเชื้อรา
ในบางราย
2. Kerion เปนการติดเชื้อที่มีการอักเสบ
รุนแรง รวดเร็ว มักมีผื่นเดียว ระยะแรกเปนตุม
นูนแดง อักเสบ ตอมามีหนองและขยายออกจน
เปนกอนเนื้อใหญที่ประกอบดวย หนอง สะเก็ด
หนอง และเสนผมรวงที่หัก มีรูเปดที่มีหนองไหล
ออกมา
หลายรู ซึ่งรูเหลานี้จะติดตอกัน ผูปวยจะมีอาการ
ปวด บวม อาจมีไข และตอมน้ําเหลืองในบริเวณ
นั้นโตได
โรคกลากที่ผิวหนัง
เปนโรคติดเชื้อราที่ผิวหนังทั่วๆไป มีอาการ
คันมาก ลักษณะผื่นที่พบบอยไดแก
1. เปนวงขอบนูนแดง (Annular lesion หรือ
Ringworm) ผื่นของกลากชนิดนี้มีลักษณะเปน
วงกลม หรือรีหรือวงแหวนมีขุย อาจพบตุมน้ําใส
ที่ขอบ ตรงกลางวงอาจราบลงไดในขณะที่ขอบ
ขยายออกเรื่อย ๆ บางครั้งเกิดหลายวงซอนกัน
หรือเรียง ตอกันก็ได
2. ผื่นนูนแดงมีขุย (Papulosquamous
lesion) ลักษณะเปนผื่นนูนแดงมีขุยหรือสะเก็ด
หนาปกคลุม
โรคกลากที่เล็บ (Tinea unguium) (ดูใน
เรื่องโรคเชื้อราที่เล็บ)
2. การตรวจทางหองปฏิบัติการ
2.1 ขูดขุยหรือสะเก็ดจากผื่น และถอน
เสนผมยอมดวย 10% โปแตสเซี่ยมไฮดรอกไซด
จะพบลักษณะ branching, septate hyphae
บางครั้งอาจพบ hyphae ที่มีลักษณะเปนปลอง
เรียกวา arthroconidia ดวย ที่เสนผมจะพบเชื้อ
  
สถาบันโรคผิวหนัง
. CPG. for Superficial Fungal- 38 -
ที่เยื่อหุมรอบ ๆ หรือภายในเสนผมโดยพบ
microconidia, arthroconidia และ hyphae
2.2 การเพาะเลี้ยงเชื้อ ทําเฉพาะในรายที่มี
ปญหาทางการวินิจฉัยและการรักษา
การรักษา
1. การรักษามาตรฐาน (Standard treatment)
1.1 ยาทา
- Keratolytic ไดแก benzoic acid
compound (Whitfield’s ointment)
- Undecylinic acid (Desenex)
- Tolnaftate
- Imidazoleไดแก clotrimazole,econazole,
ketoconazole, miconazole
- Allylamine
ระยะเวลาที่ใหขึ้นกับตําแหนงที่เปนคือ กลาก
ที่ผิวหนังทั่วไป ใหนาน 2 - 4 สัปดาห กลากที่
หนังศีรษะ ฝามือ ฝาเทา อยางนอย 6 - 8 สัปดาห
1.2. ยารับประทาน ไดแก griseofulvin
(micronized) 0.5 – 1 กรัมตอวัน (ดูตามตาราง)
ขอบงชี้ในการใชคือ
- กลากที่หนังศีรษะ เสนผม และเล็บ
- กลากที่ผิวหนัง ที่เปนบริเวณกวาง
ไมตอบสนองตอยาทา เปนเรื้อรัง หรือกลับเปนซ้ํา
บอย ๆ
- รายที่มีโรคตามระบบอื่น ๆ หรือไดยา
กดภูมิตานทาน
2. การรักษาทางเลือก (Alternative treatment)
ยารับประทาน ใชในรายที่แพยา griseofulvin,
มีขอหามในการใชยา griseofulvin, ไมตอบสนอง
หรือไมสะดวกในการใหยาในการรักษามาตรฐาน
ยาที่ใช ไดแก
- Ketoconazole
- Itraconazole
- Terbinafine
  
สถาบันโรคผิวหนัง
. CPG. for Superficial Fungal- 39 -
ยา T.corporis T.manuum, T.pedis T.capitis
ยามาตรฐาน
Griseofulvin
(micronized)
0.5-1 mg/day 0.5-1 mg/day 10-25 mg/kg/day
4 wk. 6-8 wk. 8-12 wk
ยาทางเลือก
Ketoconazole 200 mg/d - -
2 - 4 wk.
Itraconazole 200 mg bid 200 mg bid 5 mg/kg/day
7 day 1 สัปดาหตอเดือนนาน 2 เดือน 4-8 wk.
Terbinafine 250 mg/day 250 mg/day <20 kg 62.5 mg/day
1-2 wk. 2-4 wk. 20-40 kg 125 mg/day
>40 kg 250 mg /day
4 wk.
สงสัยโรคกลาก
ศีรษะ ลําตัว, เทา
ผมรวงเปนหยอม ขูดสะเก็ดขอบผื่น
KOH/Culture
อักเสบ ไมอักเสบมีขุย
ถอนเสนผมบริเวณขอบ positive
KOH/Culture รักษาตามการรักษามาตรฐาน
positive negative
1. Oral griseofulvin KOH, Culture ซ้ํา อยางนอย 2 ครั้ง
10-25 mg/kg/d
นาน 8-10 สัปดาห
positive
รักษาตามการรักษา
negative
  
สถาบันโรคผิวหนัง
- ไมใชโรคเชื้อรา
- พิจารณาโรคอื่น
. CPG. for Superficial Fungal- 40 -
2. สระผมดวย selenium sulfide
หรือ ketoconazole shampoo
3. การรักษาประคับประคอง (Supportive
treatment)
1. ลักษณะทางคลินิก
1.1 มีโพรงใตเล็บ (onycholysis)
3.1 ใสเสื้อผาและรองเทาโปรงที่อากาศถายเท
ได
1.2 มีการหนาตัวและเปลี่ยนสีของแผนเล็บ
ผิวเล็บไมเรียบ มีการผุทําใหเล็บเสียรูปราง เล็บบาง
ลง
3.2 ใชยาลดเหงื่อ เชน 6.25 - 20% aluminium
chloride ถาเปนในบริเวณที่อับและเหงื่อออกมาก
เชน รักแร ฝาเทา และฝอไปในบางราย
3.3 ใช undecylinic acid หรือ tolnaftate
powder โรยเทา
1.3 เปนปนขาว ขอบเขตชัดเจนบนผิวเล็บ
2. การตรวจทางหองปฏิบัติการ
3.4 ไมควรใชสิ่งเหลานี้รวมกับผูอื่น เชน
หวี เสื้อผา กรรไกรตัดเล็บ รองเทา
2.1 ขูดขุยในบริเวณที่เปนจากใตเล็บ หรือ
ผิวเล็บ แลวนํามายอมบนแผนสไลดดวย 10-20%
โปแตสเซียมไฮดรอกไซด เพื่อดูเชื้อรา
3.5 ใน T. capitis ใช selenium sulfide หรือ
ketoconazole shampoo สระผมรวมดวยเพื่อลด
จํานวน spore 2.2 การเพาะเลี้ยงเชื้อ เพื่อชวยในการวินิจฉัย
ที่แนนอนโรคเชื้อราที่เล็บ (Onychomycosis)
การรักษานิยาม
โรคเชื้อราที่เล็บมือOnychomycosis คือ การติดเชื้อราที่เล็บ พบได
ประมาณรอยละ 50 ของความผิดปกติของเล็บ
เกิดไดทั้งที่เล็บมือและเล็บเทา แตมักพบที่เล็บเทา
มากกวา แบงตามชนิดของเชื้อที่เปนสาเหตุได
2 กลุม
1. การรักษามาตรฐาน (Standard treatment)
Griseofulvin (micronized) 0.5-1 กรัม/วัน
นาน 4 - 6 เดือน หรือจนกวาเล็บจะงอกปกติ
ถาภายใน 3 เดือนอาการไมดีขึ้นหรือเลวลง
ใหปรึกษาผูเชี่ยวชาญ
1. เกิดจากเชื้อกลาก เรียก tinea unguium
เปนชนิดที่พบไดบอยที่สุด
2. การรักษาทางเลือก (Alternative treatment)2. เกิดจากเชื้อราอื่น ๆ พบไดนอย มักพบ
ในรายที่เปนโรคอื่น ๆ ของเล็บ หรือมีการบาดเจ็บ
ที่เล็บมากอน
2.1 Itraconazole 200 มก. วันละ 2 ครั้ง
ติดตอกัน 7 วัน เดือนละครั้งนาน 2 เดือน (pulse
therapy)
การวินิจฉัยโรค
  
สถาบันโรคผิวหนัง
. CPG. for Superficial Fungal- 41 -
2.2 Terbinafine 200 มก.วันละครั้งนาน 6
สัปดาห
3. Adjunctive treatment
การถอดเล็บโดยวิธีการใชยาทา (40 % urea)
หรือการผาตัด อาจพิจารณาในรายที่เล็บหนามาก
ควรปรึกษาผูเชี่ยวชาญ
โรคเชื้อราที่เล็บเทา
1. การรักษามาตรฐาน (Standard treatment)
1.1 Griseofulvin(micronized)0.5-1กรัม/วัน
นาน 8 - 12 เดือน หรือจนกวาเล็บจะงอกปกติ ถา
ภายใน 3 เดือน อาการไมดีขึ้นหรือเลวลงให
ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ
1.2 Itraconazole 200 มก. วันละ 2 ครั้ง
ติดตอกัน 7 วัน เดือนละครั้ง นาน 3 - 4 เดือน
(pulse therapy)
1.3 Terbinafine 200 มก.วันละครั้ง นาน 12
สัปดาห
2. Adjunctive treatment
การถอดเล็บโดยวิธีการใชยาทา (40 % urea)
หรือการผาตัด อาจพิจารณาในรายที่เล็บหนามาก
ควรปรึกษาผูเชี่ยวชาญ
การติดตามผลการรักษา
วัดความยาวของเล็บปกติ เดือนละครั้ง
  
สถาบันโรคผิวหนัง
. CPG. for Superficial Fungal- 42 -
ความผิดปกติที่เล็บ
แยกสาเหตุอื่น ๆ ที่ทําใหเกิดเล็บผิดปกติ เชน psoriasis, lichen planus ฯลฯ
KOH preparation
positive negative
สงเพาะเชื้อและเริ่มรักษา KOH preparation ซ้ํา และสงเพาะเชื้อ
ตามการรักษามาตรฐาน
ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ
โรคติดเชื้อแคนดิดา (Candidiasis)
นิยาม
Candidiasis เปนผื่นที่ผิวหนังและเยื่อบุตาง ๆ
ที่เกิดจากเชื้อราในกลุม candida ซึ่งสวนใหญมัก
เปนจาก Candida albicans ซึ่งเปนเชื้อราที่พบเปน
ปกติ (normal flora) ในเยื่อบุชองปาก ทางเดิน
อาหารและชองคลอด เชื้อแคนดิดาจะกอโรคใน
ผูปวยที่มีปจจัยเสี่ยงตอไปนี้
- Non-immunologic factors เชน มีแผลถลอก
อับชื้น การไดรับยาปฏิชีวนะหลายๆชนิดทําให
มีการทําลายเชื้อแบคทีเรียที่พบปกติบนเยื่อบุ
(normal bacterial flora) การขาดธาตุเหล็ก
โรคเบาหวาน Cushing syndrome ภาวะตั้งครรภ
KOH positive KOH negative
รักษาตามการรักษามาตรฐาน รอผลเพาะเชื้อ
รอผลเพาะเชื้อ เพาะเชื้อขึ้น เพาะเชื้อขึ้นราอื่น ๆ
dermatophyte และเชื้อไมขึ้น
เพาะเชื้อไมขึ้น เพาะเชื้อขึ้น เพาะเชื้อขึ้น รักษาตาม ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ
dermatophyte เชื้อราอื่น ๆ การรักษามาตรฐาน
ดูลักษณะทางคลินิก
รักษาตามการรักษา
ดีขึ้น ไมดีขึ้น มาตรฐานตอไป
รักษาตาม ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ
การรักษา
  
สถาบันโรคผิวหนัง
. CPG. for Superficial Fungal- 43 -
การไดรับยาคุมกําเนิด เปนตน
- Immunologic factors ไดแก ผูปวยที่มีภาวะ
ภูมิคุมกันผิดปกติ เชน เอดส ผูปวยที่ไดรับยากด
ภูมิคุมกันหรือเปนโรคเรื้อรังอื่น ๆ
การวินิจฉัย
1. ลักษณะทางคลินิก ขึ้นกับตําแหนงที่เปน
1.1 บริเวณเยื่อบุชองปากที่พบบอยมี3แบบ
คือ
- ผื่นเปนฝาขาวคลายคราบน้ํานม ถาขูด
ออกจะพบเปนรอยถลอกมีเลือดออกงาย พบได
บอยที่สุด
- เปนผื่นแดง เปนแผลตื้นๆ ผิวเลี่ยน
มักมีอาการเจ็บ พบบอยบริเวณลิ้น เพดาน
โดยเฉพาะใตฟนปลอม
- ผื่นแดง เปอยเจ็บที่มุมปากทั้ง 2 ขาง
1.2 บริเวณอวัยวะเพศ
- ที่ชองคลอด มาดวยผื่นแดง คัน มี
ตกขาวคลายครีม
- ที่อวัยวะเพศชายมักเปนบริเวณ glans
penis, prepuce ลักษณะเปนผื่นแดง คัน อาจมีตุม
หนองรวมดวย
1.3 บริเวณผิวหนัง มักเปนบริเวณซอกพับ
ตาง ๆ เชน ใตราวนม รักแร ขาหนีบ โดยเฉพาะ
ในคนอวน
ลักษณะเปนผื่นแดง คัน แฉะ ผิวหนังเปอย
ลอก ขอบเขตชัดเจน มักมีตุมแดงขนาดเล็ก ๆ
หรือตุมหนองกระจายอยูที่บริเวณขอบ ๆ ของผื่น
(satellitelesion)ในคนที่มือและเทาโดนน้ําบอยๆ
พบผื่นที่ซอกนิ้วได
1.4 ผิวหนังบริเวณรอบ ๆ เล็บอักเสบ พบมาก
ที่เล็บมือ พบในคนที่มือสัมผัสน้ําบอย ๆ อาการมี
บวมแดง เจ็บ บางครั้งพบหนอง ผิวหนังรอบเล็บ
แยกออกจากแผนเล็บ อาจมีความผิดปกติของเล็บ
รวมดวย เชน ผิวเล็บเปนคลื่น เปลี่ยนเปนสีน้ําตาล
2. การวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการ
2.1 ขูดบริเวณขอบผื่นหรือตุมหนองมายอม
ดวย 10% โปแตสเซียมไฮดรอกไซด จะพบ
budding yeast และ pseudohyphae
2.2 การตรวจอื่นๆเพื่อหาปจจัยเสี่ยงของ
ผูปวย เชน ตรวจปสสาวะ, CBC, ระดับน้ําตาลใน
เลือด, HIV antibody
2.3 การเพาะเลี้ยงเชื้อ ไมจําเปนในการ
วินิจฉัย
การรักษา
1. การรักษามาตรฐาน (Standard treatment)
1.1 ยาตานเชื้อราชนิดใชเฉพาะที่
บริเวณเยื่อบุชองปาก
- Nystatin oral suspension (4 - 6 แสนIU)
อมกลั้วปากแลวกลืนวันละ5ครั้งนาน2 สัปดาห
- ยาอม clotrimazole (1 มก.) วันละ
5 ครั้ง นาน 2 สัปดาห
บริเวณผิวหนัง ขอบเล็บและอวัยวะเพศชาย
- Imidazole cream ทาวันละ 2 ครั้ง นาน 2
สัปดาห
บริเวณชองคลอด
- ยาเหน็บชองคลอด nystatin และกลุม
imidazole
1.2 ยาตานเชื้อราชนิดรับประทาน ใชในราย
ที่เปนบริเวณกวางหรือภูมิคุมกันผิดปกติหรือไม
ตอบสนองตอ ยาทา
- Ketoconazole200มก./วันนาน10–14วัน
  
สถาบันโรคผิวหนัง
. CPG. for Superficial Fungal- 44 -
2. การรักษาทางเลือก (Alternative treatment)
ยาตานเชื้อราชนิดรับประทาน
- Itraconazole 100 – 200 มก./วัน นาน 10 –
14 วัน
- Fluconazole 50 – 100 มก./วัน นาน 7 วัน
3. การรักษาประคับประคอง (Supportive
treatment)
treatment)
3.1 รักษาปจจัยเสี่ยง
3.2 ในรายที่ติดเชื้อที่อวัยวะเพศ ใหรักษา
sexual partner ดวย
สงสัยแคนดิดา
KOH preparation
negative positive
1. ไมรักษา 1. รักษา
2. พิจารณาโรคอื่น 2. หลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง
บทสงทาย
- ผลขางเคียงที่พบบอย คือ คลื่นไส อาเจียน
ปวดศีรษะ หามใชในคนที่เปนโรคตับวาย และ
กลุม porphyria
ยาตานเชื้อราชนิดรับประทาน แบงเปน 4 กลุมคือ
1. Griseofulvin
2. Polyene: ไดแก Nystatin
- ยาจะทําใหระดับของcyclosporinยาคุมกําเนิด
และ anticoagulant ลดลง สวนยา barbiturate
จะลดการดูดซึมของยา griseofulvin
3. Azole compounds: ไดแก Ketoconazole,
Itraconazole, Fluconazole
4. Allylamine : Terbinafine
Polyene
Griseofulvin
ออกฤทธิ์เปน fungistatic โดยจับกับ ergosterol ซึ่ง
เปนสวนประกอบที่สําคัญของ cell membrane
ของเชื้อรา
- ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งการสราง nucleic
acid และการแบงตัวของเซลลในระยะ metaphase
จัดเปนยา fungistatic ไดผลดีในการรักษาโรค
เชื้อกลากเทานั้น
Nystatinเปนยาที่ใชไดผลเฉพาะกับเชื้อCandida
เทานั้น ยาชนิดรับประทานจะไมถูกดูดซึมจาก
ทางเดินอาหาร จึงใชรักษาไดเฉพาะการติดเชื้อ
ในปากและทางเดินอาหารเทานั้น
- ยาจะถูกดูดซึมไดดีโดยรับประทาน
รวมกับอาหารที่มีไขมันสูงและควรใช
micronized form ยาถูกทําลายที่ตับและขับออก
  
สถาบันโรคผิวหนัง
. CPG. for Superficial Fungal- 45 -
- หามใช ketoconazole รวมกับยาเหลานี้
ไดแก
Azole compound
ออกฤทธิ์fungistaticโดยไปหยุดยั้งcytochrome
p-450 demethylase ซึ่งใชในการสราง ergosterol
ซึ่งเปนสวนประกอบของ cell membrane มีขอดี
คือ ออกฤทธิ์ฆาเชื้อราไดอยางกวางขวาง
* ยาแกแพไดแกterfenadineและastemizole
ยาcisapride เพราะทําใหระดับยาเหลานี้
สูงขึ้นเกิดcardiac arrythmiaทําใหผูปวย
เสียชีวิตได
* ยาลดไขมันในเลือดไดแก lovastatin,
simvastatin เพราะทําใหระดับยาเหลานี้
สูงขึ้นอาจทําใหเกิด rhabdomyolysis ได
1. Ketoconazole
- ควรรับประทานหลังอาหารทันทีเพราะ
ตองการภาวะที่เปนกรดในกระเพาะเพื่อเพิ่มการ
ดูดซึม ยาถูกทําลายที่ตับและขับออกทางน้ําดี และ
เขาสูผิวหนังโดยขับออกทางเหงื่อ
* ย า น อ น ห ลั บ ไ ด แ ก alpazolam,
midazolam, triazolam เพราะทําใหระดับ
ยาเหลานี้สูงขึ้นทําใหเกิด prolong
sedation อาจเกิดอันตรายได
- ผลขางเคียงพบidiosyncratic hepatotoxicity
ทําใหเกิด fulminant hepatitis ได จึงควรใหยาดวย
ความระมัดระวัง และยังมีผลตอการทํางานของ
cytochrome p-450 enzymes ใน adrenal gland,
ลูกอัณฑะ รังไข ไตและตับ มีผลตอตอมหมวกไต
เกิดสูญเสียความรูสึกทางเพศ, gynecomastia ซึ่ง
เปน dose-related ไมควรใชในคนตั้งครรภ เพราะ
สามารถผาน placenta ได เกิด teratogenicity
2. Itraconazole
- ยาถูกทําลายโดยตับและขับออกทางผิวหนัง
ทางตอมไขมัน ออกฤทธิ์คลาย ketoconazole และ
ไมควรใหในคนตั้งครรภ
- Drug interaction คลาย ketoconazole แต
นอยกวาเนื่องจากยารบกวนการทํางานของ
เอนไซม cytochrome p-450 ของมนุษยนอยกวา
3. Fluconazole
Drug interaction: - ดูดซึมไดดี มีฤทธิ์ hydrophilic สามารถ
ละลายน้ําไดดี จึงพบระดับยาใน tissue fluid ได
สูงเทากับในพลาสมา ระดับยาใน CSF จะเทากับ
50-90% ของในเลือด
- การดูดซึมของ ketoconazole จะลดลงถาให
รวมกับ antacid, H2blocker, anticholinergic,
antispasmodic agent
- ถาให ketoconazoleรวมดวยจะทําใหระดับ
ยาเหลานี้สูงขึ้นตองใหดวยความระมัดระวังไดแก
cyclosporin, chlordiazepoxide, insulin, warfarin
และ sulfonylureas
- ยาถูกขับถายเปน unchanged form ใน
ปสสาวะ จึงควรใชดวยความระมัดระวังในผูปวย
โรคไต
- ยาเขาสูผิวหนัง โดยขับออกทางเหงื่อ
- ระดับของ ketoconazole ในเลือดจะลดลง
เนื่องจากถูก metabolized เร็วขึ้นถาใหรวมกับ
rifampicin, phenytoin และ isoniazid
- Drug interaction คลายที่พบใน ketoconazole
พบไดนอย ยกเวนในกรณีที่ใหยาในขนาดสูง
(> 400 mg/d)
  
สถาบันโรคผิวหนัง
. CPG. for Superficial Fungal- 46 -
Allylamine
- ออกฤทธิ์โดยการยับยั้ง squalene epoxidase
ทําใหมีการคั่งของ squalene ซึ่งเปนพิษตอเซลล
เชื้อรา ทําใหเซลลตาย จึงมีฤทธิ์เปน fungicidal
- การดูดซึมของยาไมขึ้นกับสภาวะความเปน
กรดดางในกระเพาะอาหาร ยามีสภาวะเปน
lipophilic จึงสะสมไดดีในไขมันเขาสูผิวหนังโดย
ถูกขับออกทางตอมไขมัน ยาจะถูกทําลายที่ตับ
และขับออกทางไต
- ผลขางเคียงพบไดนอย ไดแก การระคาย
เคือง ของทางเดินอาหาร ใชไดผลดีมากตอเชื้อ
กลาก แตไมนิยมใชเปนยาตัวแรกเนื่องจากราคา
แพง
References
1. Albright SD, Hitch JM. Rapid treatment of
tinea versicolor with a selenium sulfide
shampoo. Arch Dermatol 1965; 93:460-2.
2. Elwski BE, Hay RJ. Update on the
management of onychomycosis: highlights
on the third annual international summit on
cutaneous antifungal therapy. Clin Infect Dis
1996; 23: 305.
3. Faergemann J, Fredricksson T. An open
trial of the effect of a zinc pyrithione
shampoo in tinea versicolor. Cutis 1980; 25:
667-9.
4. Faergemann J, Fredriksson T. Propylene
glycol in the treatment of tinea versicolor.
ActaDermVenereol(Stockh)1980;60:92-3.
5. Gupta AK, Sauder DN. Antifungal agents:
an overview, part 1. J Am Acad Dermatol
1994; 30: 677-98.
6. Gupta AK, Sauder DN. Antifungal agents:
an overview, part 2. J Am Acad Dermatol
1994; 30: 911-33.
7. Hay RJ, Midgeley G. Short course
ketoconazole therapy in pityriasis versicolor.
Clin Exp Dermatol 1984; 9: 571-3.
8. Hay RJ. The management of superficial
candidiasis. J Am Acad Dermatol 1999; 40:
S35-42.
9. Hay RJ. Yeast infections. Dermatol Clin
1996; 14: 113-24.
10. Higgins EM, Fuller LC, Smith CH.
Guideline for the management of tinea
capitis. Br J Dermatol 2000; 143: 53-8.
11. Katz HI. Oral antifungal adverse drug
interactions. In: Cutaneous fungal infection.
2nd
ed. Blackwell Science; 1998. p.347-56.
12. Martin AG, Kobayashi GS. Superficial
fungal infection: dermatophytosis, tinea
ungium, piedra.In: Freeberg IM, Eisen AZ,
eds. Fitzpatrick’s dermatology in general
medicine, vol.2. 5th
ed. New York, McGraw-
Hill; 1999. p.2337-57
13. Martin AG, Kobayashi GS. Yeast infections:
candidiasis, pityriasis (tinea) versicolor. In:
Freeberg IM, Eisen AZ, eds. Fitzpatrick’s
dermatology in general medicine, vol. 2.
5th
ed. New York: McGraw-Hill; 1999.
p.2358-68.
14. Rausch LJ, Jacobs PH. Tinea versicolor:
  
สถาบันโรคผิวหนัง
. CPG. for Superficial Fungal- 47 -
treatment and prophylaxis with monthly
administration of ketoconazole. Cutis 1984;
34: 470-1.
15. Rippon JW. Dermatophytosis and
dermatomycosis. In: Rippon JW, ed.
Medical Mycology. 3rd
ed. Philadelphia:
WB Saunders; 1988. p.169-275.
16. Savin RC, HorwItz SN. Double-blind
comparison of 2% ketoconazole cream and
placebo in the treatment of tinea versicolor.
J Am Acad Dermatol 1986; 15: 500-3.
17. Vander Schroeff JG, et al. A randomized
treatment duration-finding study of
terbinafine in onychomycosis. Br J
Dermatol 1992; 126:36.
18. Zaias N. Pityriasis versicolor with
ketoconazole. J Am Acad Dermatol 1989;
20: 703-4.
  
สถาบันโรคผิวหนัง

More Related Content

What's hot

Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาUtai Sukviwatsirikul
 
Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)
Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)
Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)some163
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Utai Sukviwatsirikul
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenThorsang Chayovan
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceLoveis1able Khumpuangdee
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาUtai Sukviwatsirikul
 
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx pop Jaturong
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า Utai Sukviwatsirikul
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)
Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)
Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in children
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013CPG for Dengue 2013
CPG for Dengue 2013
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 

Similar to Cpg superficial fungal infection

Skin part 2
Skin part 2Skin part 2
Skin part 2Or Chid
 
เรียนการแพทย์ 2023.pdf
เรียนการแพทย์ 2023.pdfเรียนการแพทย์ 2023.pdf
เรียนการแพทย์ 2023.pdfNapasornPongjitlertk
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากWan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Anti Mouse Ink By Pantapong
Anti Mouse Ink By PantapongAnti Mouse Ink By Pantapong
Anti Mouse Ink By Pantapongpantapong
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitโรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะClinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to Cpg superficial fungal infection (20)

Cpg superficial fungal infection
Cpg superficial fungal infectionCpg superficial fungal infection
Cpg superficial fungal infection
 
Skin part 2
Skin part 2Skin part 2
Skin part 2
 
เรียนการแพทย์ 2023.pdf
เรียนการแพทย์ 2023.pdfเรียนการแพทย์ 2023.pdf
เรียนการแพทย์ 2023.pdf
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
 
Allergy
AllergyAllergy
Allergy
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
Anti Mouse Ink By Pantapong
Anti Mouse Ink By PantapongAnti Mouse Ink By Pantapong
Anti Mouse Ink By Pantapong
 
Allergic rhinitis
Allergic rhinitisAllergic rhinitis
Allergic rhinitis
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitโรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
 
ตาแดง
ตาแดงตาแดง
ตาแดง
 
ตาแดง
ตาแดงตาแดง
ตาแดง
 
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะClinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Cpg superficial fungal infection

  • 1. . CPG. for Superficial Fungal- 35 - Superficial Fungal Infection ความนํา การวินิจฉัยแนวทางการดูแลรักษาโรคผิวหนังเปน ความเห็นรวมกันของกลุมผูรูที่ปฏิบัติการดูแล รักษาผูปวย แนวทางที่วางไวนี้เพื่อใชเปน แนวทางในการดูแลรักษาผูปวย มิใชกฎตายตัว ที่ตองปฏิบัติการรักษาตามที่เขียนไวทุก ประการ ทั้งนี้ เพราะผูปวยแตละรายมีปญหาที่ แตกตางกัน การวางแนวทางการรักษานี้เปนการ สรางมาตรฐาน และพัฒนาการดูแลรักษาโรค ผิวหนัง เพื่อใหประชาชนที่มาพบแพทยไดรับ ความมั่นใจวา จะไดรับการดูแลรักษาที่ดี 1. ลักษณะทางคลินิก เปนดวงขาว น้ําตาล ดําหรือแดง ขอบเขต ชัดเจน และมีขุยบาง ๆ พบบอยที่บริเวณลําตัว ตนแขน และตนขา ถาสองดูผื่นดวย Wood’s light จะเรืองแสงเปนสีเหลืองทอง (golden- yellow fluorescence) ที่บริเวณผื่นในบางราย 2. การตรวจทางหองปฏิบัติการ 2.1 ขูดขุยยอมดวย 10%โปแตสเซียม- ไฮดรอกไซด ผสมหมึกดําหรือใช scotch tape แปะขุยจากบริเวณผื่นแลวยอมดวย methylene blue จะพบลักษณะ short, fragmented hyphae และ round to oval budding yeast cells คณะผูจัดทําขอสงวนสิทธิ์ในการนําไปใช อางอิงทางกฎหมายโดยไมผานการพิจารณา จากผูทรงคุณวุฒิ หรือผูเชี่ยวชาญในแตละกรณี 2.2 การเพาะเลี้ยงเชื้อ ไมจําเปนตองทํา เพื่อการวินิจฉัย โรคในกลุม Superficial fungal infection ประกอบดวย การรักษา 1. การรักษามาตรฐาน (Standardtreatment) 1. โรคเกลื้อน (Pityriasis versicolor, Tinea versicolor) ไดแก ยาทาซึ่งแตละชนิดใหผลใกลเคียงกัน การเลือกใชยาขึ้นอยูกับความสะดวก ราคา และ การกระจายของผื่นวาเปนมากนอยเพียงใด ยาทาไดแก 2. โรคกลาก (Dermatophytosis) 3. โรคเชื้อราที่เล็บ (Onychomycosis) 4. โรคติดเชื้อแคนดิดา (Candidiasis) ก. กลุมยาสระผมฆาเชื้อรา ใชฟอกทั่วตัว ทิ้งไว 15 นาที วันละครั้ง ติดตอกัน 2 - 4 สัปดาห ไดแก โรคเกลื้อน (Pityriasis versicolor, Tinea versicolor) - 2.5% selenium sulfide shampoo นิยาม - 1 - 2% zinc pyrithione shampoo Pityriasis versicolor เปนโรคเชื้อราที่พบ ไดบอยในประเทศภูมิอากาศรอนชื้น เกิดจาก เชื้อรากลุมยีสต Malassezia furfur ซึ่งเปน เชื้อราที่พบไดเปนปกติอยูบนหนังกําพรา - 2% ketoconazole shampoo ข. 20% sodium thiosulfate หรือ 40 - 50% propylene glycol ทาทั้งตัว วันละ 2 ครั้ง ติดตอกันนาน 2 - 4    สถาบันโรคผิวหนัง
  • 2. . CPG. for Superficial Fungal- 36 - สัปดาห ผื่นเกลื้อน methylene blue/KOH with ink positive negative รักษา 1. ไมตองรักษา 1.ยาทามาตรฐาน 2. แนะนําเรื่องการปองกัน 2.ยารับประทานทางเลือก ติดตามผล เปนครั้งแรก เปนบอย แนะนําการปองกัน ปองกันโดยการใชยาทา/ โดยการปฏิบัติตัว ยารับประทาน 2-4 สัปดาห 2. การรักษาทางเลือก (Alternative treatment) 2.1 ยาทาตานเชื้อรากลุม imidazole เนื่องจาก ยากลุมนี้มีราคาแพงและโรคเกลื้อนตองทาเปน บริเวณกวางทําใหสิ้นเปลือง จึงไมแนะนําใหใช 2.2 ยารับประทานใชในรายที่เปนมากทั้งตัว ไมตอบสนองตอยาทา ไมสะดวกที่จะใชยาทาหรือ เปนซ้ําบอย ๆ ยาในกลุมนี้ไดแก ketoconazole วันละ 200 มก. 10-14 วัน หรือ 400-800 มก. รับประทานครั้งเดียว หลังอาหารทันที แตควร ระวังในผูปวยที่มีโรคตับ (ดูในบทสงทาย) ขอแนะนําสําหรับผูปวย - แนะนําใหใสเสื้อผาที่ระบายอากาศไดดี เชน ผาฝาย - หลังออกกําลังกายควรเช็ดเหงื่อใหแหง และเปลี่ยนเสื้อผาหรืออาบน้ําทันที การติดตามผลการรักษา เนื่องจากโรคเกลื้อนมักเกิดซ้ําได นอกจาก การปฏิบัติตนดังกลาวขางตนแลว ในบางราย อาจจําเปนตองใหการรักษาเพื่อปองกันการกลับ เปนซ้ํา ไดแก 1. ยาทามาตรฐาน กลุมยาสระผมฆาเชื้อรา เชน แชมพูผสม selenium sulfide, ketoconazole ฟอกตัวสัปดาหละครั้ง 2. ยารับประทาน ในรายที่แพยาทาหรือไม    สถาบันโรคผิวหนัง
  • 3. . CPG. for Superficial Fungal- 37 - สะดวกที่จะใชยาทา พิจารณาให ketoconazole 400 มก. เดือนละ 1 ครั้ง หรือวันละ 200 มก. ติดตอกัน 3 วัน เดือนละครั้ง โรคกลาก (Dermatophytosis) นิยาม Dermatophytosis เปนโรคติดเชื้อรากลุม Dermatophyte ซึ่งจะกอโรคในสวนของผิวหนังที่ สรางเคอราติน (keratin) เทานั้น ฉะนั้นจะเกิด โรคไดที่ผิวหนังชั้นขี้ไคล (stratum corneum) เสนผมและเล็บ การวินิจฉัย 1. ลักษณะทางคลินิก ลักษณะทางคลินิกจะแตกตางกันไปตาม ตําแหนงที่เกิดโรคและมีชื่อเรียกจําเพาะ เชน 1.1 โรคกลากที่หนังศีรษะ และเสนผม เรียก Tinea capitis (โรคกลากที่ศีรษะ) 1.2 โรคกลากที่ผิวหนัง จะเกิดไดทั่วไป ตั้งแตหนา (Tinea faciei) ลําตัว (Tinea corporis) ขาหนีบ (Tinea cruris) มือ (Tinea manuum) เทา (Tinea pedis) 1.3 โรคกลากที่เล็บ เรียก Tinea unguium ซึ่งอาจเปนไดทั้งเล็บมือ และเล็บเทา โรคกลากที่ศีรษะ (Tinea capitis) เปนโรคติดเชื้อราที่หนังศีรษะ และเสนผม ลักษณะทางคลินิกที่พบบอย ไดแก 1. Grey-patch ringworm พบมากในเด็ก พบผมรวงหลาย ๆ หยอม ขอบเขตชัดเจน ขนาด ใหญเล็กตางๆกันมีขุยสีขาวอมเทาที่หนังศีรษะ ไมมีอาการแสดงของการอักเสบ เมื่อใช Wood’s lamp อาจเรืองแสงสีเขียวบริเวณผมที่ติดเชื้อรา ในบางราย 2. Kerion เปนการติดเชื้อที่มีการอักเสบ รุนแรง รวดเร็ว มักมีผื่นเดียว ระยะแรกเปนตุม นูนแดง อักเสบ ตอมามีหนองและขยายออกจน เปนกอนเนื้อใหญที่ประกอบดวย หนอง สะเก็ด หนอง และเสนผมรวงที่หัก มีรูเปดที่มีหนองไหล ออกมา หลายรู ซึ่งรูเหลานี้จะติดตอกัน ผูปวยจะมีอาการ ปวด บวม อาจมีไข และตอมน้ําเหลืองในบริเวณ นั้นโตได โรคกลากที่ผิวหนัง เปนโรคติดเชื้อราที่ผิวหนังทั่วๆไป มีอาการ คันมาก ลักษณะผื่นที่พบบอยไดแก 1. เปนวงขอบนูนแดง (Annular lesion หรือ Ringworm) ผื่นของกลากชนิดนี้มีลักษณะเปน วงกลม หรือรีหรือวงแหวนมีขุย อาจพบตุมน้ําใส ที่ขอบ ตรงกลางวงอาจราบลงไดในขณะที่ขอบ ขยายออกเรื่อย ๆ บางครั้งเกิดหลายวงซอนกัน หรือเรียง ตอกันก็ได 2. ผื่นนูนแดงมีขุย (Papulosquamous lesion) ลักษณะเปนผื่นนูนแดงมีขุยหรือสะเก็ด หนาปกคลุม โรคกลากที่เล็บ (Tinea unguium) (ดูใน เรื่องโรคเชื้อราที่เล็บ) 2. การตรวจทางหองปฏิบัติการ 2.1 ขูดขุยหรือสะเก็ดจากผื่น และถอน เสนผมยอมดวย 10% โปแตสเซี่ยมไฮดรอกไซด จะพบลักษณะ branching, septate hyphae บางครั้งอาจพบ hyphae ที่มีลักษณะเปนปลอง เรียกวา arthroconidia ดวย ที่เสนผมจะพบเชื้อ    สถาบันโรคผิวหนัง
  • 4. . CPG. for Superficial Fungal- 38 - ที่เยื่อหุมรอบ ๆ หรือภายในเสนผมโดยพบ microconidia, arthroconidia และ hyphae 2.2 การเพาะเลี้ยงเชื้อ ทําเฉพาะในรายที่มี ปญหาทางการวินิจฉัยและการรักษา การรักษา 1. การรักษามาตรฐาน (Standard treatment) 1.1 ยาทา - Keratolytic ไดแก benzoic acid compound (Whitfield’s ointment) - Undecylinic acid (Desenex) - Tolnaftate - Imidazoleไดแก clotrimazole,econazole, ketoconazole, miconazole - Allylamine ระยะเวลาที่ใหขึ้นกับตําแหนงที่เปนคือ กลาก ที่ผิวหนังทั่วไป ใหนาน 2 - 4 สัปดาห กลากที่ หนังศีรษะ ฝามือ ฝาเทา อยางนอย 6 - 8 สัปดาห 1.2. ยารับประทาน ไดแก griseofulvin (micronized) 0.5 – 1 กรัมตอวัน (ดูตามตาราง) ขอบงชี้ในการใชคือ - กลากที่หนังศีรษะ เสนผม และเล็บ - กลากที่ผิวหนัง ที่เปนบริเวณกวาง ไมตอบสนองตอยาทา เปนเรื้อรัง หรือกลับเปนซ้ํา บอย ๆ - รายที่มีโรคตามระบบอื่น ๆ หรือไดยา กดภูมิตานทาน 2. การรักษาทางเลือก (Alternative treatment) ยารับประทาน ใชในรายที่แพยา griseofulvin, มีขอหามในการใชยา griseofulvin, ไมตอบสนอง หรือไมสะดวกในการใหยาในการรักษามาตรฐาน ยาที่ใช ไดแก - Ketoconazole - Itraconazole - Terbinafine    สถาบันโรคผิวหนัง
  • 5. . CPG. for Superficial Fungal- 39 - ยา T.corporis T.manuum, T.pedis T.capitis ยามาตรฐาน Griseofulvin (micronized) 0.5-1 mg/day 0.5-1 mg/day 10-25 mg/kg/day 4 wk. 6-8 wk. 8-12 wk ยาทางเลือก Ketoconazole 200 mg/d - - 2 - 4 wk. Itraconazole 200 mg bid 200 mg bid 5 mg/kg/day 7 day 1 สัปดาหตอเดือนนาน 2 เดือน 4-8 wk. Terbinafine 250 mg/day 250 mg/day <20 kg 62.5 mg/day 1-2 wk. 2-4 wk. 20-40 kg 125 mg/day >40 kg 250 mg /day 4 wk. สงสัยโรคกลาก ศีรษะ ลําตัว, เทา ผมรวงเปนหยอม ขูดสะเก็ดขอบผื่น KOH/Culture อักเสบ ไมอักเสบมีขุย ถอนเสนผมบริเวณขอบ positive KOH/Culture รักษาตามการรักษามาตรฐาน positive negative 1. Oral griseofulvin KOH, Culture ซ้ํา อยางนอย 2 ครั้ง 10-25 mg/kg/d นาน 8-10 สัปดาห positive รักษาตามการรักษา negative    สถาบันโรคผิวหนัง - ไมใชโรคเชื้อรา - พิจารณาโรคอื่น
  • 6. . CPG. for Superficial Fungal- 40 - 2. สระผมดวย selenium sulfide หรือ ketoconazole shampoo 3. การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment) 1. ลักษณะทางคลินิก 1.1 มีโพรงใตเล็บ (onycholysis) 3.1 ใสเสื้อผาและรองเทาโปรงที่อากาศถายเท ได 1.2 มีการหนาตัวและเปลี่ยนสีของแผนเล็บ ผิวเล็บไมเรียบ มีการผุทําใหเล็บเสียรูปราง เล็บบาง ลง 3.2 ใชยาลดเหงื่อ เชน 6.25 - 20% aluminium chloride ถาเปนในบริเวณที่อับและเหงื่อออกมาก เชน รักแร ฝาเทา และฝอไปในบางราย 3.3 ใช undecylinic acid หรือ tolnaftate powder โรยเทา 1.3 เปนปนขาว ขอบเขตชัดเจนบนผิวเล็บ 2. การตรวจทางหองปฏิบัติการ 3.4 ไมควรใชสิ่งเหลานี้รวมกับผูอื่น เชน หวี เสื้อผา กรรไกรตัดเล็บ รองเทา 2.1 ขูดขุยในบริเวณที่เปนจากใตเล็บ หรือ ผิวเล็บ แลวนํามายอมบนแผนสไลดดวย 10-20% โปแตสเซียมไฮดรอกไซด เพื่อดูเชื้อรา 3.5 ใน T. capitis ใช selenium sulfide หรือ ketoconazole shampoo สระผมรวมดวยเพื่อลด จํานวน spore 2.2 การเพาะเลี้ยงเชื้อ เพื่อชวยในการวินิจฉัย ที่แนนอนโรคเชื้อราที่เล็บ (Onychomycosis) การรักษานิยาม โรคเชื้อราที่เล็บมือOnychomycosis คือ การติดเชื้อราที่เล็บ พบได ประมาณรอยละ 50 ของความผิดปกติของเล็บ เกิดไดทั้งที่เล็บมือและเล็บเทา แตมักพบที่เล็บเทา มากกวา แบงตามชนิดของเชื้อที่เปนสาเหตุได 2 กลุม 1. การรักษามาตรฐาน (Standard treatment) Griseofulvin (micronized) 0.5-1 กรัม/วัน นาน 4 - 6 เดือน หรือจนกวาเล็บจะงอกปกติ ถาภายใน 3 เดือนอาการไมดีขึ้นหรือเลวลง ใหปรึกษาผูเชี่ยวชาญ 1. เกิดจากเชื้อกลาก เรียก tinea unguium เปนชนิดที่พบไดบอยที่สุด 2. การรักษาทางเลือก (Alternative treatment)2. เกิดจากเชื้อราอื่น ๆ พบไดนอย มักพบ ในรายที่เปนโรคอื่น ๆ ของเล็บ หรือมีการบาดเจ็บ ที่เล็บมากอน 2.1 Itraconazole 200 มก. วันละ 2 ครั้ง ติดตอกัน 7 วัน เดือนละครั้งนาน 2 เดือน (pulse therapy) การวินิจฉัยโรค    สถาบันโรคผิวหนัง
  • 7. . CPG. for Superficial Fungal- 41 - 2.2 Terbinafine 200 มก.วันละครั้งนาน 6 สัปดาห 3. Adjunctive treatment การถอดเล็บโดยวิธีการใชยาทา (40 % urea) หรือการผาตัด อาจพิจารณาในรายที่เล็บหนามาก ควรปรึกษาผูเชี่ยวชาญ โรคเชื้อราที่เล็บเทา 1. การรักษามาตรฐาน (Standard treatment) 1.1 Griseofulvin(micronized)0.5-1กรัม/วัน นาน 8 - 12 เดือน หรือจนกวาเล็บจะงอกปกติ ถา ภายใน 3 เดือน อาการไมดีขึ้นหรือเลวลงให ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ 1.2 Itraconazole 200 มก. วันละ 2 ครั้ง ติดตอกัน 7 วัน เดือนละครั้ง นาน 3 - 4 เดือน (pulse therapy) 1.3 Terbinafine 200 มก.วันละครั้ง นาน 12 สัปดาห 2. Adjunctive treatment การถอดเล็บโดยวิธีการใชยาทา (40 % urea) หรือการผาตัด อาจพิจารณาในรายที่เล็บหนามาก ควรปรึกษาผูเชี่ยวชาญ การติดตามผลการรักษา วัดความยาวของเล็บปกติ เดือนละครั้ง    สถาบันโรคผิวหนัง
  • 8. . CPG. for Superficial Fungal- 42 - ความผิดปกติที่เล็บ แยกสาเหตุอื่น ๆ ที่ทําใหเกิดเล็บผิดปกติ เชน psoriasis, lichen planus ฯลฯ KOH preparation positive negative สงเพาะเชื้อและเริ่มรักษา KOH preparation ซ้ํา และสงเพาะเชื้อ ตามการรักษามาตรฐาน ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ โรคติดเชื้อแคนดิดา (Candidiasis) นิยาม Candidiasis เปนผื่นที่ผิวหนังและเยื่อบุตาง ๆ ที่เกิดจากเชื้อราในกลุม candida ซึ่งสวนใหญมัก เปนจาก Candida albicans ซึ่งเปนเชื้อราที่พบเปน ปกติ (normal flora) ในเยื่อบุชองปาก ทางเดิน อาหารและชองคลอด เชื้อแคนดิดาจะกอโรคใน ผูปวยที่มีปจจัยเสี่ยงตอไปนี้ - Non-immunologic factors เชน มีแผลถลอก อับชื้น การไดรับยาปฏิชีวนะหลายๆชนิดทําให มีการทําลายเชื้อแบคทีเรียที่พบปกติบนเยื่อบุ (normal bacterial flora) การขาดธาตุเหล็ก โรคเบาหวาน Cushing syndrome ภาวะตั้งครรภ KOH positive KOH negative รักษาตามการรักษามาตรฐาน รอผลเพาะเชื้อ รอผลเพาะเชื้อ เพาะเชื้อขึ้น เพาะเชื้อขึ้นราอื่น ๆ dermatophyte และเชื้อไมขึ้น เพาะเชื้อไมขึ้น เพาะเชื้อขึ้น เพาะเชื้อขึ้น รักษาตาม ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ dermatophyte เชื้อราอื่น ๆ การรักษามาตรฐาน ดูลักษณะทางคลินิก รักษาตามการรักษา ดีขึ้น ไมดีขึ้น มาตรฐานตอไป รักษาตาม ปรึกษาผูเชี่ยวชาญ การรักษา    สถาบันโรคผิวหนัง
  • 9. . CPG. for Superficial Fungal- 43 - การไดรับยาคุมกําเนิด เปนตน - Immunologic factors ไดแก ผูปวยที่มีภาวะ ภูมิคุมกันผิดปกติ เชน เอดส ผูปวยที่ไดรับยากด ภูมิคุมกันหรือเปนโรคเรื้อรังอื่น ๆ การวินิจฉัย 1. ลักษณะทางคลินิก ขึ้นกับตําแหนงที่เปน 1.1 บริเวณเยื่อบุชองปากที่พบบอยมี3แบบ คือ - ผื่นเปนฝาขาวคลายคราบน้ํานม ถาขูด ออกจะพบเปนรอยถลอกมีเลือดออกงาย พบได บอยที่สุด - เปนผื่นแดง เปนแผลตื้นๆ ผิวเลี่ยน มักมีอาการเจ็บ พบบอยบริเวณลิ้น เพดาน โดยเฉพาะใตฟนปลอม - ผื่นแดง เปอยเจ็บที่มุมปากทั้ง 2 ขาง 1.2 บริเวณอวัยวะเพศ - ที่ชองคลอด มาดวยผื่นแดง คัน มี ตกขาวคลายครีม - ที่อวัยวะเพศชายมักเปนบริเวณ glans penis, prepuce ลักษณะเปนผื่นแดง คัน อาจมีตุม หนองรวมดวย 1.3 บริเวณผิวหนัง มักเปนบริเวณซอกพับ ตาง ๆ เชน ใตราวนม รักแร ขาหนีบ โดยเฉพาะ ในคนอวน ลักษณะเปนผื่นแดง คัน แฉะ ผิวหนังเปอย ลอก ขอบเขตชัดเจน มักมีตุมแดงขนาดเล็ก ๆ หรือตุมหนองกระจายอยูที่บริเวณขอบ ๆ ของผื่น (satellitelesion)ในคนที่มือและเทาโดนน้ําบอยๆ พบผื่นที่ซอกนิ้วได 1.4 ผิวหนังบริเวณรอบ ๆ เล็บอักเสบ พบมาก ที่เล็บมือ พบในคนที่มือสัมผัสน้ําบอย ๆ อาการมี บวมแดง เจ็บ บางครั้งพบหนอง ผิวหนังรอบเล็บ แยกออกจากแผนเล็บ อาจมีความผิดปกติของเล็บ รวมดวย เชน ผิวเล็บเปนคลื่น เปลี่ยนเปนสีน้ําตาล 2. การวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการ 2.1 ขูดบริเวณขอบผื่นหรือตุมหนองมายอม ดวย 10% โปแตสเซียมไฮดรอกไซด จะพบ budding yeast และ pseudohyphae 2.2 การตรวจอื่นๆเพื่อหาปจจัยเสี่ยงของ ผูปวย เชน ตรวจปสสาวะ, CBC, ระดับน้ําตาลใน เลือด, HIV antibody 2.3 การเพาะเลี้ยงเชื้อ ไมจําเปนในการ วินิจฉัย การรักษา 1. การรักษามาตรฐาน (Standard treatment) 1.1 ยาตานเชื้อราชนิดใชเฉพาะที่ บริเวณเยื่อบุชองปาก - Nystatin oral suspension (4 - 6 แสนIU) อมกลั้วปากแลวกลืนวันละ5ครั้งนาน2 สัปดาห - ยาอม clotrimazole (1 มก.) วันละ 5 ครั้ง นาน 2 สัปดาห บริเวณผิวหนัง ขอบเล็บและอวัยวะเพศชาย - Imidazole cream ทาวันละ 2 ครั้ง นาน 2 สัปดาห บริเวณชองคลอด - ยาเหน็บชองคลอด nystatin และกลุม imidazole 1.2 ยาตานเชื้อราชนิดรับประทาน ใชในราย ที่เปนบริเวณกวางหรือภูมิคุมกันผิดปกติหรือไม ตอบสนองตอ ยาทา - Ketoconazole200มก./วันนาน10–14วัน    สถาบันโรคผิวหนัง
  • 10. . CPG. for Superficial Fungal- 44 - 2. การรักษาทางเลือก (Alternative treatment) ยาตานเชื้อราชนิดรับประทาน - Itraconazole 100 – 200 มก./วัน นาน 10 – 14 วัน - Fluconazole 50 – 100 มก./วัน นาน 7 วัน 3. การรักษาประคับประคอง (Supportive treatment) treatment) 3.1 รักษาปจจัยเสี่ยง 3.2 ในรายที่ติดเชื้อที่อวัยวะเพศ ใหรักษา sexual partner ดวย สงสัยแคนดิดา KOH preparation negative positive 1. ไมรักษา 1. รักษา 2. พิจารณาโรคอื่น 2. หลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง บทสงทาย - ผลขางเคียงที่พบบอย คือ คลื่นไส อาเจียน ปวดศีรษะ หามใชในคนที่เปนโรคตับวาย และ กลุม porphyria ยาตานเชื้อราชนิดรับประทาน แบงเปน 4 กลุมคือ 1. Griseofulvin 2. Polyene: ไดแก Nystatin - ยาจะทําใหระดับของcyclosporinยาคุมกําเนิด และ anticoagulant ลดลง สวนยา barbiturate จะลดการดูดซึมของยา griseofulvin 3. Azole compounds: ไดแก Ketoconazole, Itraconazole, Fluconazole 4. Allylamine : Terbinafine Polyene Griseofulvin ออกฤทธิ์เปน fungistatic โดยจับกับ ergosterol ซึ่ง เปนสวนประกอบที่สําคัญของ cell membrane ของเชื้อรา - ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งการสราง nucleic acid และการแบงตัวของเซลลในระยะ metaphase จัดเปนยา fungistatic ไดผลดีในการรักษาโรค เชื้อกลากเทานั้น Nystatinเปนยาที่ใชไดผลเฉพาะกับเชื้อCandida เทานั้น ยาชนิดรับประทานจะไมถูกดูดซึมจาก ทางเดินอาหาร จึงใชรักษาไดเฉพาะการติดเชื้อ ในปากและทางเดินอาหารเทานั้น - ยาจะถูกดูดซึมไดดีโดยรับประทาน รวมกับอาหารที่มีไขมันสูงและควรใช micronized form ยาถูกทําลายที่ตับและขับออก    สถาบันโรคผิวหนัง
  • 11. . CPG. for Superficial Fungal- 45 - - หามใช ketoconazole รวมกับยาเหลานี้ ไดแก Azole compound ออกฤทธิ์fungistaticโดยไปหยุดยั้งcytochrome p-450 demethylase ซึ่งใชในการสราง ergosterol ซึ่งเปนสวนประกอบของ cell membrane มีขอดี คือ ออกฤทธิ์ฆาเชื้อราไดอยางกวางขวาง * ยาแกแพไดแกterfenadineและastemizole ยาcisapride เพราะทําใหระดับยาเหลานี้ สูงขึ้นเกิดcardiac arrythmiaทําใหผูปวย เสียชีวิตได * ยาลดไขมันในเลือดไดแก lovastatin, simvastatin เพราะทําใหระดับยาเหลานี้ สูงขึ้นอาจทําใหเกิด rhabdomyolysis ได 1. Ketoconazole - ควรรับประทานหลังอาหารทันทีเพราะ ตองการภาวะที่เปนกรดในกระเพาะเพื่อเพิ่มการ ดูดซึม ยาถูกทําลายที่ตับและขับออกทางน้ําดี และ เขาสูผิวหนังโดยขับออกทางเหงื่อ * ย า น อ น ห ลั บ ไ ด แ ก alpazolam, midazolam, triazolam เพราะทําใหระดับ ยาเหลานี้สูงขึ้นทําใหเกิด prolong sedation อาจเกิดอันตรายได - ผลขางเคียงพบidiosyncratic hepatotoxicity ทําใหเกิด fulminant hepatitis ได จึงควรใหยาดวย ความระมัดระวัง และยังมีผลตอการทํางานของ cytochrome p-450 enzymes ใน adrenal gland, ลูกอัณฑะ รังไข ไตและตับ มีผลตอตอมหมวกไต เกิดสูญเสียความรูสึกทางเพศ, gynecomastia ซึ่ง เปน dose-related ไมควรใชในคนตั้งครรภ เพราะ สามารถผาน placenta ได เกิด teratogenicity 2. Itraconazole - ยาถูกทําลายโดยตับและขับออกทางผิวหนัง ทางตอมไขมัน ออกฤทธิ์คลาย ketoconazole และ ไมควรใหในคนตั้งครรภ - Drug interaction คลาย ketoconazole แต นอยกวาเนื่องจากยารบกวนการทํางานของ เอนไซม cytochrome p-450 ของมนุษยนอยกวา 3. Fluconazole Drug interaction: - ดูดซึมไดดี มีฤทธิ์ hydrophilic สามารถ ละลายน้ําไดดี จึงพบระดับยาใน tissue fluid ได สูงเทากับในพลาสมา ระดับยาใน CSF จะเทากับ 50-90% ของในเลือด - การดูดซึมของ ketoconazole จะลดลงถาให รวมกับ antacid, H2blocker, anticholinergic, antispasmodic agent - ถาให ketoconazoleรวมดวยจะทําใหระดับ ยาเหลานี้สูงขึ้นตองใหดวยความระมัดระวังไดแก cyclosporin, chlordiazepoxide, insulin, warfarin และ sulfonylureas - ยาถูกขับถายเปน unchanged form ใน ปสสาวะ จึงควรใชดวยความระมัดระวังในผูปวย โรคไต - ยาเขาสูผิวหนัง โดยขับออกทางเหงื่อ - ระดับของ ketoconazole ในเลือดจะลดลง เนื่องจากถูก metabolized เร็วขึ้นถาใหรวมกับ rifampicin, phenytoin และ isoniazid - Drug interaction คลายที่พบใน ketoconazole พบไดนอย ยกเวนในกรณีที่ใหยาในขนาดสูง (> 400 mg/d)    สถาบันโรคผิวหนัง
  • 12. . CPG. for Superficial Fungal- 46 - Allylamine - ออกฤทธิ์โดยการยับยั้ง squalene epoxidase ทําใหมีการคั่งของ squalene ซึ่งเปนพิษตอเซลล เชื้อรา ทําใหเซลลตาย จึงมีฤทธิ์เปน fungicidal - การดูดซึมของยาไมขึ้นกับสภาวะความเปน กรดดางในกระเพาะอาหาร ยามีสภาวะเปน lipophilic จึงสะสมไดดีในไขมันเขาสูผิวหนังโดย ถูกขับออกทางตอมไขมัน ยาจะถูกทําลายที่ตับ และขับออกทางไต - ผลขางเคียงพบไดนอย ไดแก การระคาย เคือง ของทางเดินอาหาร ใชไดผลดีมากตอเชื้อ กลาก แตไมนิยมใชเปนยาตัวแรกเนื่องจากราคา แพง References 1. Albright SD, Hitch JM. Rapid treatment of tinea versicolor with a selenium sulfide shampoo. Arch Dermatol 1965; 93:460-2. 2. Elwski BE, Hay RJ. Update on the management of onychomycosis: highlights on the third annual international summit on cutaneous antifungal therapy. Clin Infect Dis 1996; 23: 305. 3. Faergemann J, Fredricksson T. An open trial of the effect of a zinc pyrithione shampoo in tinea versicolor. Cutis 1980; 25: 667-9. 4. Faergemann J, Fredriksson T. Propylene glycol in the treatment of tinea versicolor. ActaDermVenereol(Stockh)1980;60:92-3. 5. Gupta AK, Sauder DN. Antifungal agents: an overview, part 1. J Am Acad Dermatol 1994; 30: 677-98. 6. Gupta AK, Sauder DN. Antifungal agents: an overview, part 2. J Am Acad Dermatol 1994; 30: 911-33. 7. Hay RJ, Midgeley G. Short course ketoconazole therapy in pityriasis versicolor. Clin Exp Dermatol 1984; 9: 571-3. 8. Hay RJ. The management of superficial candidiasis. J Am Acad Dermatol 1999; 40: S35-42. 9. Hay RJ. Yeast infections. Dermatol Clin 1996; 14: 113-24. 10. Higgins EM, Fuller LC, Smith CH. Guideline for the management of tinea capitis. Br J Dermatol 2000; 143: 53-8. 11. Katz HI. Oral antifungal adverse drug interactions. In: Cutaneous fungal infection. 2nd ed. Blackwell Science; 1998. p.347-56. 12. Martin AG, Kobayashi GS. Superficial fungal infection: dermatophytosis, tinea ungium, piedra.In: Freeberg IM, Eisen AZ, eds. Fitzpatrick’s dermatology in general medicine, vol.2. 5th ed. New York, McGraw- Hill; 1999. p.2337-57 13. Martin AG, Kobayashi GS. Yeast infections: candidiasis, pityriasis (tinea) versicolor. In: Freeberg IM, Eisen AZ, eds. Fitzpatrick’s dermatology in general medicine, vol. 2. 5th ed. New York: McGraw-Hill; 1999. p.2358-68. 14. Rausch LJ, Jacobs PH. Tinea versicolor:    สถาบันโรคผิวหนัง
  • 13. . CPG. for Superficial Fungal- 47 - treatment and prophylaxis with monthly administration of ketoconazole. Cutis 1984; 34: 470-1. 15. Rippon JW. Dermatophytosis and dermatomycosis. In: Rippon JW, ed. Medical Mycology. 3rd ed. Philadelphia: WB Saunders; 1988. p.169-275. 16. Savin RC, HorwItz SN. Double-blind comparison of 2% ketoconazole cream and placebo in the treatment of tinea versicolor. J Am Acad Dermatol 1986; 15: 500-3. 17. Vander Schroeff JG, et al. A randomized treatment duration-finding study of terbinafine in onychomycosis. Br J Dermatol 1992; 126:36. 18. Zaias N. Pityriasis versicolor with ketoconazole. J Am Acad Dermatol 1989; 20: 703-4.    สถาบันโรคผิวหนัง