SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  29
Télécharger pour lire hors ligne
3
สารบัญ
บทที่ 1. บทนํา (Introduction) 4
บทที่ 2. การตั้งคําถาม (Asking answerable question) 5
บทที่ 3. การคนหาหลักฐาน (Acquiring the evidence) 7
บทที่ 4. การประเมินหลักฐาน (Appraising the evidence) 13
สาเหตุของโรค (Etiology / Harm) 13
การพยากรณโรค (Prognosis) 14
การวินิจฉัยโรค (Diagnosis) 15
การรักษา / ปองกันโรค (Therapy / Prevention) 16
บททบทวนอยางเปนระบบ (Systematic reviews) 17
เศรษฐศาสตรสาธารณสุข (Economic analysis) 18
บทที่ 5. การประยุกตใชหลักฐาน (Applying the evidence) 19
บทที่ 6. การประเมินผลการใชหลักฐาน (Assessing outcome) 21
บทที่ 7. อภิธานศัพท (Glossary) 23
4
บทที่ 1
บทนํา
คําจํากัดความของเวชปฏิบัติอิงหลักฐาน (EBM)
EBM = กระบวนการการใชหลักฐานที่ดีที่สุดเทาที่มีอยูในปจจุบันเพื่อการตัดสินใจ
ดูแลรักษาผูปวย (Evidence-based medicine is the conscientious, explicit and
judicious use of current best evidence in making decisions about the care of
individual patients, David L Sackett)
ทําไมจึงตองรู EBM
ปจจุบันเปนยุคของการเกิดขอมูลขาวสารเปนจํานวนมาก (information explosion) มี
การศึกษาวิจัยใหมๆ มากมาย ความรูที่มีอยูในตําราอาจไมทันสมัย จึงมีความจําเปนที่จะตอง
รูวิธีการคนหาขอมูลและประเมิน นําหลักฐานที่ดีที่สุดเพื่อนําไปประยุกตใชกับผูปวย
ในบทตอๆ ไปจะเปนสาระสําคัญของขั้นตอนตามลําดับของ EBM โดยสวนการ
ประเมินหลักฐานจะแบงยอยออกเปนหลักฐานที่เกี่ยวกับการหาสาเหตุของโรคหรืออันตราย
ของปจจัย (Etiology/Harm) การวินิจฉัยโรค (Diagnosis) การพยากรณโรค (Prognosis) การ
รักษา/ปองกันโรค (Therapy/Prevention) และเศรษฐศาสตรสาธารณสุข (Health economics)
ขั้นตอนของ EBM (The 5 A’s of EBM)
1. A sk question : ตั้งคําถาม
2. A cquire evidence : คนหาหลักฐาน
3. A ppraise evidence : ประเมินหลักฐาน
4. A pply evidence : ประยุกตใชหลักฐาน
5. A ssess outcome : ประเมินผลการใชหลักฐาน
5
บทที่ 2
การตั้งคําถาม
ขั้นตอนแรกของกระบวนการ EBM คือการตั้งคําถาม (Asking clinical question)
การตั้งคําถามเกี่ยวกับปญหาของผูปวยใหใชหลัก P I C O ดังนี้
1. ปญหา หรือ ผูปวย (P roblem or P atient) เชน ลักษณะทางคลินิกของผูปวย
2. สิ่งที่จะใหแกผูปวย (I ntervention) เชน การใหยาใหม หรือการใชวิธีการวินิจฉัยแบบใหม
3. สิ่งที่เปนตัวเปรียบเทียบ (C omparison intervention) เชน การไมใหยา หรือใหยาเดิม
4. ผลที่ตองการ (O utcome) เชน ประสิทธิผลที่เกิดขึ้น หรือความแตกตางที่ตองการ
องคประกอบ ขอแนะ ตัวอยาง
ปญหา หรือ ผูปวย
(P)
เริ่มดวยคําถามที่วา “ฉันจะบรรยายถึง
กลุมผูปวยที่มีลักษณะเหมือนผูปวยของ
ฉันอยางไร”
“ในผูปวยหญิงวัยหมดประจําเดือน
..…………………………..…….”
สิ่งที่จะใหแกผูปวย
(I)
ถามวา “สิ่งที่ฉันจะใหผูปวยคืออะไร” “........................การใหยา estrogen
....……………………………...”
สิ่งที่เปนตัวเปรียบเทียบ
(C)
ถามวา “ทางเลือกเดิมหรือทางเลือกอื่น
ที่ตองการเปรียบเทียบคืออะไร”
“...............เปรียบเทียบกับการไมให
estrogen ........................................”
ผลที่ตองการ
(O)
ถามวา “ผลที่ฉันตองการคืออะไร” หรือ
“มีผลแตกตางไปจากเดิมหรือไม”
“.…………………….... จะทําให
อัตราการเกิดมะเร็งเตานมของหญิง
ดังกลาวเปลี่ยนแปลงหรือไม”
ชนิดของคําถามที่พบในเวชปฏิบัติเปนสวนใหญไดแก
คําถามเกี่ยวกับสาเหตุของโรค (Etiology/Harm)
คําถามเกี่ยวกับการพยากรณโรค (Prognosis)
คําถามเกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค (Diagnostic test)
คําถามเกี่ยวกับการรักษาหรือการปองกันโรค (Therapy or prevention)
คําถามเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรสาธารณสุข (Health economics)
6
ตัวอยางการตั้งคําถาม PICO (asking clinical question)
Domain Patient (P) Intervention (I) Comparison
(C)
Outcome (O)
Therapy
ในผูปวยที่เคย
เปน acute
M.I.
การใหยา
aspirin
เทียบกับการให
placebo
จะลดอัตราการเกิด
recurrent M.I. ได
ดีกวาหรือไม
Prognosis
ในผูปวย
ไตวาย
การทํา
hemodialysis
ที่บาน
เทียบกับการทํา
hemodialysis
ที่ รพ.
จะเพิ่ม life
expectancy ได
หรือไม
Diagnosis
ในผูที่สงสัย
เปน
coronary
disease
การใช exercise
ECHO
เทียบกับการให
exercise EKG
จะวินิจฉัยโรค
coronary artery
disease ไดดีกวา
หรือไม
Etiology /
Harm
ในหญิงวัย
หมดประจํา
เดือน
การให
hormone
replacement
therapy (HRT)
เทียบกับการไม
ให HRT
จะเพิ่มความเสี่ยง
ตอการเกิด CA
breast หรือไม
Economic
ในผูปวย
chronic renal
failure
การรักษาดวย
renal
transplant
เทียบกับการให
hemodialysis
จะคุมคาใชจายกวา
หรือไม
(cost- effective)
7
บทที่ 3
การคนหาหลักฐาน
ขั้นตอนที่สองของกระบวนการ EBM คือการคนหาหลักฐาน (Acquiring evidence) ดังนี้
1. กําหนดคําสําคัญ (key words) จากคําถามที่ตั้งไว
เชน ชื่อโรคหรือภาวะของผูปวย (P) สิ่งที่จะใหกับผูปวย (I) ตัวเปรียบเทียบ (C)
และผลที่ไดรับ (O) นอกจากนี้ยังมีคําสําคัญอื่นๆ ไดแก domain ที่ตองการคนหา (etiology,
diagnosis, prognosis therapy, prevention, etc.) และรูปแบบการศึกษาตาง ๆ (cohort
studies, case-control studies, randomized controlled trial, systematic review, meta-
analysis) รายละเอียดจะกลาวตอไป
2. กําหนดแหลงขอมูลที่จะคนหา ซึ่งมีอยูหลายแหลงดังตัวอยางตอไปนี้
แหลงขอมูล ทางผานที่เขาถึง ขอดี ขอดอย
Cochrane Library http://gateway.ovid.co
m หรือผาน website
ของสถาบัน
มีบทความที่ทบ
ทวนอยางเปน
ระบบดีมาก
มีจํานวนเรื่องนอย
ตองเปนสมาชิก
Bibliographic
database
(MEDLINE)
www.pubmed.com มีบทความใหมที่
เพิ่งตีพิมพในวาร
สารตางๆ
ยังไมไดมีการทบ
ทวนหรือรวบรวม
อยางเปนระบบ
CATs (Critically
appraised topics)
www.ebem.org/cats/ เปนเรื่องที่มีผูทํา
การ appraise มา
แลว
มักจะ appraise เพียง
การศึกษาเดียว
TRIP (Turning
Research Into
Practice)
www.tripdatabase.co
m
มีเรื่องสรุปที่ผาน
การ กลั่นกรองแลว
ตองเปนสมาชิก
8
3. วิธีการคนหา
สามารถคนหาขอมูลจาก internet ผาน websites ตาง ๆ มากมาย แตในที่นี้ จะ
กลาวถึงเฉพาะการคนหาจาก PUBMED และ OVID MEDLINE โดยยอเทานั้น
1. PUBMED เปนฐานขอมูลที่สรางโดย National Library of Medicine ของสหรัฐ
อเมริกา โดยรวบรวมบทความจากวารสารตาง ๆ ทั่วโลก เมื่อเราพิมพ www.pubmed.com
ลงในชอง address ของ web browser (Internet Explorer) จะนําไปสูดังรูปที่ 1
รูปที่ 1
Click ที่ Clinical Queries (ตรงลูกศรในรูปที่ 1) จะนําไปสูรูปที่ 2
รูปที่ 2
9
เลือก category ที่ตองการ (ตรงลูกศรในรูปที่ 2) ไดแก therapy หรือ diagnosis หรือ etiology
หรือ prognosis ตอไปใหพิมพชื่อเรื่องที่ตองการใน Enter subject search แลว click ที่ Go
2. OVID MEDLINE : เนื่องจากการคนหาโดยวิธี PUBMED จะใหบทความจํานวน
มาก การคนหาดวยวิธีของ OVID MEDLINE จะไดบทความนอยกวาแตกรองใหตรงตาม
ความตองการไดมากกวา และตองคนหาผานสถาบันที่มีการสมัครสมาชิก OVID ไวแลว
ผูที่ใชเครื่องคอมพิวเตอรผาน server ของหองสมุดคณะแพทยศาสตร รพ.รามาธิบดี
(http://library.ra.mahidol.ac.th) ใหเขาที่ OVID จะนําไปสูรายชื่อฐานขอมูลตางๆ ดังรูปที่ 3
รูปที่ 3
จะเห็นวามีฐานขอมูล 14 ฐาน หากตองการคนหามากกวา 1 ฐาน ให click ดานบนที่
select more than one database to search ซึ่งจะสามารถเลือกไดไมเกินครั้งละ 5 ฐาน
10
เมื่อเลือกฐานแลว click ที่ click to begin search ดานซายมือ จะปรากฏดังรูปที่ 4
รูปที่ 4
พิมพเรื่อง (Medical subject Heading, MeSH) ที่ตองการในชอง Enter Keyword or
phrase และเลือก check box ใน Limit to ตามที่ตองการ แลว click ที่ปุม
อยางไรก็ตาม ผลการคนหาจะมีบทความจํานวนมาก ผูคนหาจึงตองกําหนดคําสําคัญ
ที่เกี่ยวของจากคําถามที่ตั้งไวที่ PICO เมื่อพิมพแตละคําและคนหาก็จะไดผลทีละครั้งที่บอก
ถึงจํานวนบทความที่คนได เมื่อนําแตละครั้งที่เกิดจากแตละคํามารวมกันจะเปนผลลัพธสุด
ทาย
คําสําคัญที่จะใชคนหาบทความ จะแตกตางกันไปตามลักษณะของบทความที่
ตองการคนหา เชน ตองการคนบทความดาน prognosis อาจมีคําสําคัญตอไปนี้ cohort
studies, prognosis, survival analysis เปนตน
11
ตัวอยาง Ovid Medline Filters for Evidence-based Clinical Queries
ใหพิมพทีละบรรทัดตอไปนี้ในชอง Enter Keyword or phrase แลว click ที่ปุม
Domain : Therapeutics/Interventions Domain : Diagnosis
1 exp research design/
2 exp clinical trials/
3 comparative study/ or placebos/
4 multicenter study.pt.
5 clinical trial$1.pt.
6 random$.ti,ab.
7 (double blind$ or triple blind$3).ti,ab.
8 placebo$.ti,ab.
9 (clinical adj trial$1).ti,ab.
10 exp epidemiologic research design/
11 (controlled clinical trial or randomized
controlled trial).pt.
12 practice guideline.pt.
13 feasibility studies/
14 clinical protocols/
15 exp treatment outcome/
16 or/1-15
1 exp "sensitivity and specificity"/
2 false negative reactions/ or false positive
reactions/
3 (sensitivity or specificity).ti,ab.
4 (predictive adj value$1).ti,ab.
5 (likelihood adj ratio$1).ti,ab.
6 (false adj (negative$1 or positive$1)).ti,ab.
7 (randomized controlled trial or controlled
clinical trial).pt.
8 double blind method/ or single blind
method/
9 practice guideline.pt.
10 consensus development conference$.pt.
11 random$.ti,ab.
12 random allocation/
13 (single blind$3 or double blind$3 or triple
blind$3).ti,ab.
14 or/1-13
12
Domain : Etiology Domain : Prognosis
1 random$.ti,ab.
2 exp epidemiologic studies/
3 odds ratio/
4 cohort$.ti,ab.
5 (case$1 adj control$).ti,ab.
6 risk$.ti,ab.
7 (odds adj ratio$1).ti,ab.
8 causa$.ti,ab.
9 (relative$1 adj risk$).ti,ab.
10 predispos$.ti,ab.
11 (randomized controlled trial or
controlled clinical trial).pt.
12 exp risk/
13 practice guideline.pt.
14 case-control studies/
15 or/1-14
1 exp cohort studies/
2 prognosis/
3 exp mortality/
4 exp morbidity/
5 (natural adj history).ti,ab.
6 prognos$.ti,ab.
7 course.ti,ab.
8 predict$.ti,ab.
9 exp "outcome assessment (health care)"/
10 outcomes$1.ti,ab.
11 (inception adj cohort$1).ti,ab.
12 disease progression/
13 exp survival analysis/
14 or/1-13
พิมพเรื่องที่สนใจคนหาขอมูลเปนบรรทัดตอ ๆมา ซึ่งขึ้นอยูกับการกําหนด key word ที่เกี่ยว
ของกับโรคหรือภาวะที่กําลังคนหา ในชอง Enter Keyword or phrase แลว click ที่ปุม
บรรทัดสุดทายใหพิมพหมายเลขที่ปรากฏบวกกัน เชน 16+17 จะไดผลจํานวนขอมูลราย
งานสุดทายที่จะไปเลือกดูในรายละเอียดของแตละรายงาน
บรรทัดที่พิมพไวทั้งหมดเรียกวาเปน search strategy ซึ่งสามารถ save ไวเพื่อใชใหมไดกับ
โรคหรือภาวะอื่น ๆ ซึ่งจะมี option ให save ในหนาหลักของการคนหา แตตองสมัคร
สมาชิกเพื่อกําหนด username และ password ของตนเอง (ไมเสียคาใชจาย)
13
บทที่ 4
การประเมินหลักฐาน
การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับสาเหตุของโรค(Etiology) หรืออันตรายของปจจัย (Harm)
1. การศึกษามีความแมนตรง (valid) หรือไม
1.1 คําถามการวิจัยชัดเจนหรือไม
ความชัดเจนของประชากรและกลุมตัวอยางที่ศึกษา ปจจัยที่สนใจ และผลที่เกิดขึ้น
1.2 กลุมผูปวยไดกําหนดไวชัดเจนและเปนกลุมที่คลายคลึงกันหรือไม
กลุมที่ศึกษาเปรียบเทียบกันควรมีความคลายคลึงกันในปจจัยตัวแปรตาง ๆ
1.3 การวัดปจจัยหรือสาเหตุกับผลที่เกิดขึ้นกระทําโดยวิธีเดียวกันในทั้ง 2 กลุมหรือไม
วิธีการไดมาของขอมูลหรือการวัดผลตางๆ เปนไปในลักษณะหรือวิธีการเดียวกัน
1.4 การติดตามผูปวยครบถวนและนานพอหรือไม มีการติดตามอยางนอยรอยละ 80
ของผูปวย และควรนานพอที่จะเกิดโรคตามธรรมชาติของโรค
1.5 ปจจัยหรือสาเหตุที่ศึกษามีความเชื่อมโยงที่เหมาะสมหรือไม ประเด็นนี้หมายถึง
เกณฑของการเกิดโรค ไดแก ปจจัยมากอนโรค เกิดโรคมากนอยขึ้นอยูกับระดับของ
ปจจัย มีความสอดคลองกับการศึกษาอื่น ๆ และ มีความสัมพันธเชิงชีววิทยา
2. ผลของการศึกษามีความสําคัญ (importance) หรือไม
พิจารณาจากความเสี่ยงที่คํานวณไดจากการศึกษา ไดแก relative risk (R.R.) จาก
cohort study หรือ odds ratio (O.R.) จาก case-control study โดยตองดูชวงแหงความเชื่อมั่น
(confidence interval or C.I.) วาครอบคลุมคา 1 หรือไม หากไมครอบคลุมแสดงวามีนัย
สําคัญทางสถิติ หรือปจจัยนาจะเปนสาเหตุของโรค แตถาครอบคลุม แสดงวาไมมีนัยสําคัญ
ทางสถิติ (ปจจัยไมนาจะเปนสาเหตุหรืออันตรายตอผูปวย)
ในบางครั้งอาจคํานวณหาคา NNH (number needed to harm) ซึ่งเปนจํานวนผูปวยที่จะ
เกิดอันตรายเพิ่มขึ้นอีก 1 คนหากมีปจจัยดังกลาว สูตรคํานวณคือ
NNH = [{PEER (OR – 1) } +1] / [PEER (OR – 1) x (1 – PEER)]
[PEER = patients’ expected event rate หรืออัตราการเกิดโรคหรืออันตรายในผูปวยที่ไมได
รับปจจัย]
14
การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับการพยากรณโรค(Prognosis)
1. การศึกษามีความแมนตรง (valid) หรือไม
1.1 กลุมตัวอยางเปนตัวแทนที่ดีของผูปวยทั้งหมด มีการกําหนดเกณฑผูปวยที่นําเขา
และไมนําเขามาศึกษาอยางไร
1.2 ไดแกผูปวยทั้งหมดมีความรุนแรงของการปวยเทากัน ณ จุดที่ศึกษา ซึ่งควรเปนผู
ที่ปวยในระยะตนของโรค
1.3 มีปจจัยตัวแปรอื่นๆ ใกลเคียงกัน เชน มีอายุ เพศ โรคที่เกิดรวมดวย หากไมใกล
เคียงกันตองมีการปรับ (adjust) ดวยวิธีใดวิธีหนึ่ง
1.4 การติดตามผูปวยนานพอที่จะเกิดผลที่ตองการวัด เชนการหายหรือการตายจาก
โรค
1.5 การติดตามครบถวน อยางนอยไมควรต่ํากวารอยละ 80
1.6 การวัดผลเปนในลักษณะ “blind” โดยผูวัดไมทราบวาผูปวยถูกจัดอยูในกลุมใด
2. ผลของการศึกษามีความสําคัญ (importance) หรือไม
2.1. ความเสี่ยงของผลที่เกิด (risk of outcome) ตามระยะเวลาเปนอยางไร ซึ่งมี 3 วิธี
ดังนี้
-รอยละของผูปวยที่รอดชีวิตในระยะเวลาหนึ่ง
-มัธยฐานของการรอดชีพ เชน ระยะเวลาที่รอยละ 50 ของผูปวยที่ยังมีชีวิตอยู
-กราฟการรอดชีพที่ ณ จุดตางๆ ของเวลาจะมีสัดสวนของผูปวยที่ยังมีชีวิตอยู
2.2 คาที่คํานวณไดมีความแมนยํา (precision) เพียงไร โดยดูจากความแคบกวางของ
ชวงแหงความเชื่อมั่น (confidence interval) ถาแคบแสดงวามีความแมนยําสูง
15
การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับการการวินิจฉัยโรค (Diagnosis)
1. การศึกษามีความแมนตรง (valid) หรือไม
1.1 มีการเปรียบเทียบกับวิธีตรวจที่เปนมาตรฐาน (“gold” or reference standard)
1.2 การเปรียบเทียบในขอ 1.1 เปนในลักษณะที่ blind (ไมทราบวาใครเปน/ไมเปน
โรค)
1.3 ผูปวยที่นํามาศึกษาควรมีระยะตางๆ ของโรคกระจายอยางเหมาะสม
1.4 มีการศึกษาแหลงอื่นที่ไดผลอยางเดียวกัน (reproducible)
2. ผลของการศึกษามีความสําคัญ (importance) หรือไม
พิจารณา accuracy ของ test ไดแก
2.1 sensitivity : สัดสวนของผูปวยที่สามารถตรวจพบได
2.2 specificity : สัดสวนของผูไมปวยที่สามารถตรวจพบได
2.3 predictive values : อํานาจการทํานายวาเปนโรคหลังทราบผลการตรวจ
2.4 likelihood ratio (L.R) : โอกาสที่จะพบผลการตรวจในกลุมที่เปนโรคตอกลุมที่
ไมเปนโรค
Disease present (gold std) Disease absent (gold std)
Test + a b
Test - c d
Sensitivity = a/(a+c) Specificity = d/(b+d)
Positive predictive value = a/(a+b) Negative predictive value = c/(c+d)
L.R. for positive test = {a/(a+c)}/{b/(b+d)}
L.R. for negative test = {c/(a+c)}/{d/(b+d)}
Prevalence (or pre-test probability) = (a+c) / (a+b+c+d)
16
การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับการรักษา/ปองกันโรค(Therapy/Prevention)
1. การศึกษามีความแมนตรง (valid) หรือไม
1.1 คําถามวิจัยที่มีความชัดเจน
1.2 ผูปวยแตละคนไดรับวิธีการรักษาแบใดเปนไปโดยการสุม
1.3 ผูศึกษาไมทราบผลการสุม (randomized list concealed)
1.4 การติดตามผลไมควรต่ํากวารอยละ 80 ของผูปวย
1.5 การวิเคราะหผลเปนแบบ intention-to-treat (analyze as randomized)
1.6 หากเปนไปได ผูศึกษาและผูถูกศึกษาตางก็ไมทราบวาใครไดการรักษาวิธีใด
1.7 กลุมที่เปรียบเทียบกันไมคววรไดการรักษาอื่นๆเพิ่มเติมที่แตกตางกัน
2. ผลของการศึกษามีความสําคัญ (importance) หรือไม
2.1 ผลการศึกษามีนัยสําคัญทางสถิติหรือไม โดยพิจารณาที่ p-value (ปกติให <0.05)
2.2 ผลการศึกษามีนัยสําคัญทางคลินิกหรือไม พิจารณาที่ confidence interval (C.I.)
ของ ARR, RRR หรือ NNT ดังนี้
Control Experimental Control event rate (CER) = a/(a+c)
Event a b Experimental event rate (EER) = b/(b+d)
No event c d ARR=CER–EER; RRR=(CER – EER) / CER
ถา C.I. ของ ARR ไมครอบคลุมคา 0 หรือ RRR ไมครอบคลุมคา 1 แสดงวามีนัยสําคัญ
ทางสถิติ (เนื่องจากคา ARR เปน absolute จึงพิจารณาครอมคา 0 สวน RRR เปน relative จึง
พิจารณาครอมคา 1)
สวน NNT เปนจํานวนผูปวยที่ตองใชวิธีการ experimental เพื่อใหปองกันการเกิดผลเสีย
ได 1 คน มีคาเทากับ 1/ARR
17
การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับบททบทวนอยางเปนระบบ(Systematic reviews)
1. บทบททวนนี้มีความแมนตรง (valid) หรือไม
1.1 บททบทวนมีความสอดคลองกับคําถามที่ตั้งไวหรือไม
1.2 การทบทวนไดผสมผสานวิธีการคนหาขอมูลเอกสารอยางกวางขวางเพียงพอหรือไม
1.3 ผูทบทวนไดพิจารณาความแมนตรง (validity) ของแตละเอกสารขอมูลอยางไร
1.4 ผลการทบทวนมีนัยสําคัญทางสถิติและทางคลินิกหรือไม มีความสอดคลองกันอยาง
ไร
2. บททบทวนนี้มีความสําคัญ (importance) หรือไม
2.1 มีผลของแตละการศึกษาปรากฏในรายงานหรือไม และมีการนํามารวมกันคํานวณ
ใหมหรือไม
2.2 ผลของแตละการศึกษามีความแตกตางกันมากหรือไม หากตางกันเปนเพราะเหตุใด
2.3 ผลสรุปรวมของการศึกษาทั้งหมดมีความแมนยํา (precision) เมื่อดูจาก confidence
interval
2.4 หากมีการวิเคราะหกลุมยอยแยกตางหาก มีการแปลผลอยางระมัดระวังอยางไร
3. บททบทวนนี้สามารถนําไปประยุกตใชในผูปวยของเรา (Applicability) ไดหรือไม
3.1 ลักษณะผูปวยในบททบทวนเปนกลุมที่เปรียบเทียบไดกับผูปวยของเราหรือไม
3.2 ความเปนไปไดในการนําไปใชเมื่อพิจารณาดานคาใชจายและการยอมรับของผูปวย
เปนอยางไร
3.3 มีการรายงานผลขางเคียงหรือผลที่เกิดขึ้นในดานอื่น ๆ หรือไม
3.4 การสรุปไดอิงสิ่งที่คนพบในการศึกษาตางๆ ที่นํามาสรางบททบทวนนี้หรือไม
18
การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรสาธารณสุข (Economic analysis)
1. บทความนี้มีความแมนตรง (valid) หรือไม
1.1 บทความมีการเปรียบเทียบระหวางยุทธวิธีทางเศรษฐศาสตรอยางนอย 2 วิธีหรือไม
1.2 บทความเปนการศึกษาแบบใด cost-effectiveness, cost-benefit หรือ cost-utility
1.3 การวัด cost กับ outcome กระทําไดถูกวิธีหรือไม
1.4 มีการประเมินความไมแนนอนอยางไร เชน ทํา sensitivity analysis หรือไม
2. ผลการศึกษานี้มีความสําคัญ (importance) หรือไม
2.1 ผลตางของ cost กับ outcome เปรียบเทียบแตละยุทธวิธีเปนอยางไร
2.2 มีความแตกตางของ cost กับ outcome ในกลุมยอย (subgroup) หรือไม
2.3 การประเมินความไมแนนอน (sensitivity analysis) ทําใหผลเปลี่ยนแปลงไปอยางไร
3. ผลการศึกษานี้สามารถนําไปประยุกตใชในผูปวยของเรา (Applicability) ไดหรือไม
3.1 ประโยชนที่จะไดรับคุมกับคาใชจายและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นหรือไม
3.2 ผูปวยของเรานาจะไดรับผลเชนเดียวกับในการศึกษานี้หรือไม
3.3 คาใชจายในการรักษาจะใกลเคียงหรือเทากับการศึกษานี้หรือไม
19
บทที่ 5
การประยุกตใชหลักฐาน
ประเด็นที่พิจารณา
6. ผูปวยของทานมีความเหมือนหรือคลายคลึงกับในรายงานการศึกษาหรือไม
6. ขนาดของผลที่เกิดขึ้นในผูปวยเปนเทาไร
สําหรับ Diagnostic test ใหเริ่มคิดจาก pre-test probability ดังนี้
Pre-test odds = (pre-test probability) / (1 – pre-test probability)
Post-test odds = pre-test odds x LR
Post-test probability = post-test odds (ost-test odds + 1)
สําหรับ Therapy
ใหประมาณการคา PEER (Patient’s Expected Event Rate)
หรือคา NNT (สําหรับผูปวยของทาน) = 1 / (PEER x RRR)
3. วิธีการรักษาหรือสิ่งที่จะใหกับผูปวยทําไดจริงหรือไมในสถานที่ของทาน
4. มีวิธีการหรือทางเลือกอื่นอีกหรือไม
5. ผลที่เกิดขึ้นจะเหมาะกับผูปวยของทานหรือไม
6. ผูปวยจะยอมรับวิธีการรักษาหรือสิ่งที่ทานจะใหหรือไม
20
บทที่ 6
การประเมินผลการใชหลักฐาน
ผลของการนําหลักฐานมาประยุกตใชในผูปวยของทานเปนอยางไร
-เปนไปตามที่คาดหวังหรือไม
-หากไมเปนไปตามที่คาด เปนเพราะเหตุใด
-การวัด outcome ทําอยางไร มีเงื่อนไขเวลาหรือไม
-ความพึงพอใจและคุณภาพชีวิตของผูปวยเปนอยางไร
คนหาเพิ่มเติม
David Sacket. Evidence-Based Medicine : How to Practice and Teach EBM
( New York : Churchill Livingstone, 2000)
www.cebm.net
www.cebm.utoronto.ca
www.cochrane.org
21
Glossary of Evidence-based Medicine
Absolute risk reduction (ARR) ดู treatment effects
Accuracy ความถูกตองของการวัด ในเรื่องการวินิจฉัยโรค จะมีคาเทากับ (true positive +
true negative) / (true positive + true negative + false positive + false negative)
Age standardization วิธีการปรับอัตราตางๆ ที่ตองการเปรียบเทียบกัน เชน อัตราปวย
อัตราตาย เพื่อลดผลจากความแตกตางในการกระจายของอายุระหวางประชากรกลุมตางๆ
(มีโครงสรางอายุที่แตกตางกัน)
Alpha error ดู error Type I
Alternative hypothesis ดู hypothesis
Analytic study การศึกษาเชิงวิเคราะหที่ตองการหาความสัมพันธระหวางตัวแปร เชน การ
หาปจจัยเสี่ยงของโรค อาจมีรูปแบบการศึกษาชนิด cross-sectional, cohort หรือ case-
control ก็ได
Anectdotal evidence หลักฐานที่ไดจากกรณีศึกษาจํานวนนอย และไมไดเก็บขอมูลเปน
ระบบเพื่อการวิเคราะหทางสถิติ เชน รายงานผูปวย 1 ราย (case report)
Association ความสัมพันธระหวางตัวแปรหรือเหตุการณตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป อาจกลาว
เปนความสัมพันธเชิงสถิติ (statistical association) แตการที่ปจจัยมีความสัมพันธกับโรคมิ
ไดหมายถึงวา ปจจัยเปนสาเหตุของโรค (causal association)
Attributable fraction (exposed, A.R.) สัดสวนของผูปวยที่เปนโรคเนื่องจาก exposure นั้น
มีคาเทากับ (IE - IU ) / IU หรือเทากับ (RR - 1) / RR โดยที่ IE คือ incidence in the exposed
group, IU คือ incidence in the unexposed group, RR = relative risk
Attributable fraction (population, P.A.R.) สัดสวนของประชากรทั้งหมด (ผูปวยและผูไม
ปวย) ที่เปนโรคเนื่องจาก exposure นั้น มีคาเทากับ (IT - IU ) / IU หรือเทากับ B(RR - 1) /
{B(RR-1) + 1} โดยที่ IT คือ incidence in the total population, IU คือ incidence in the
unexposed group, RR = relative risk, B = สัดสวนผูมีปจจัยในประชากรทั้งหมด (exposed
proportion)
22
Attributable risk อัตราการเกิดโรคในผูปวยที่เกิดเนื่องจากปจจัย (exposure, E) นั้น มีคา
เทากับ IE - IU อาจเรียกวา excess risk
Beta error ดู error Type II
Bias (systematic error) ความผิดพลาดเนื่องจากไดผลไมตรงกับความจริง เ กิดจากระบบที่
ไมถูกตอง อาจเปนระบบการเก็บขอมูล การวิเคราะห การแปลผล การตีพิมพ หรือการทบ
ทวนรายงานตางๆ มิไดเปนความผิดพลาดที่เกิดโดยบังเอิญ (non-systematic or random
error)
Blinding การปกปดสิ่งที่ผูถูกทดลองไดรับในการทดลอง เชน single-blind หมายถึงผูถูก
ทดลองไมทราบวาไดรับอะไร double-blind หมายถึงทั้งผูถูกทดลองและผูทําการทดลองไม
ทราบวาใครไดรับ intervention อะไร
Case-control study การศึกษาที่นําผูที่มีโรคแลว (case) กับผูยังไมมีโรค (control) เพื่อดู
ยอนหลังวามีปจจัยที่สนใจศึกษา (exposure) หรือไม โดยการคํานวณคาความเสี่ยง odds
ratio
Case series รายงานผูปวยจํานวนหนึ่ง (ที่ไมมากนัก) ถึงโรคที่สนใจโดยไมมีกลุมเปรียบ
เทียบ (กลุมไมเปนโรค)
Cause สาเหตุของผลที่เกิดขึ้น ซึ่งมีเกณฑดังนี้ (ตาม Hill’s criteria)
-temporality : การไดรับปจจัยตองเกิดขึ้นกอนผลหรือโรค
-strength : ขนาดของความเสี่ยงสัมพัทธตองมีนัยสําคัญทางสถิติ
-experiment : ผลที่เกิดขึ้นสามารถพิสูจนโดยทําการทดลองได
-consistency : มีผลการศึกษาที่ใหผลสอดคลองกันมากกวา 1 การศึกษา
-coherence : ความสัมพันธที่พบสอดคลองกับความรูหรือทฤษฎีที่มีอยูเดิม
-specificity : ปจจัยนั้นทําใหเกิดผลหรือโรคเพียงโรคเดียว ไมทําใหเกิดผลหรือโรคอื่น
-dose-response relationship ขนาดของผลที่เกิดขึ้นแปรตามขนาดปจจัยที่ไดรับ
-biologic plausibility : ผลที่เกิดขึ้นสอดคลองกับกระบวนการพยาธิชีววิทยา
Chi-square test วิธีการทางสถิติที่พิสูจนความสัมพันธระหวางตัวแปรชนิดไมตอเนื่อง
(discrete or categorical variables)
23
Clinical decision analysis กระบวนการตัดสินใจทางคลินิกที่อาศัยขอมูลทางระบาดวิทยา
และความนาจะเปนของผลที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบ intervention ตางๆ โดยพิจารณา 3
ประการไดแก ทางเลือก (choice) ความนาจะเปน (chance) และคาผลลัพธที่เกิดขึ้น (values)
ของแตละ intervention
Clinical epidemiology การประยุกตความรูทางระบาดวิทยาในเวชปฏิบัติ เกี่ยวของกับการ
วินิจฉัย การรักษาและปองกันโรค แตกตางจาก classical epidemiology ที่มุงศึกษาอัตราการ
เกิดและหาสาเหตุหรือปจจัยเสี่ยงของโรค
Clinical practice guideline (CPG) แนวทางการดูแลรักษาผูปวย เกิดขึ้นจากการพัฒนา
โดยผูเชี่ยวชาญ แตการนําไปใชอาจตองมีการปรับเปลี่ยนตามสถานการณ
Clinical significance นัยสําคัญทางคลินิก พิจารณาที่ magnitude of effect วาสําคัญทางเวช
ปฏิบัติหรือไม
Clinical trial การศึกษา interventions ในคน ซึ่งอาจเปนการรักษาหรือการปองกันโรค เชน
การทดลองยา วัคซีน เพื่อประเมินเปรียบเทียบประสิทธิผลของ interventions
Cluster sampling การสุมตัวอยางที่หนวยของการสุมคือกลุมบุคคล เชน สุมจากจังหวัด
อําเภอ เปนตน ใชในการศึกษาประชากรที่มีขนาดใหญมาก ๆ
Cohort กลุมบุคคลที่มีสิ่งที่เหมือนกันตั้งแตแรกเริ่มของการศึกษา เชน เกิดปเดียวกัน เขา
เรียนพรอมกัน หรือไดรับปจจัยเสี่ยงพรอมกัน
Cohort study การศึกษาที่นํากลุม 2 กลุมมาเปรียบเทียบกัน กลุมหนึ่งมีปจจัย (exposure)
อีกกลุมไมมีปจจัย แลวติดตามการเกิดโรคในทั้ง 2 กลุม
Co-intervention การที่ผูถูกทดลองไดรับ intervention อื่นๆ ที่นอกเหนือจาก intervention ที่
กําลังทดลองอยู เชน การแนะนําผูปวยความดันเลือดสูงใหออกกําลังกายขณะทําการทดลอง
ยาใหม
Confidence interval (CI) ชวงระยะของคาที่มั่นใจไดวา จะครอบคลุมคาที่แทจริงในประชา
กรที่ถูกสุมตัวอยางมา มักนิยมรายงานเปนรอยละ 95 เชน 95% CI = 5 - 15 แตอาจเปนรอย
ละ 90 หรือ 99 ก็ได
Confidence limits (CL) คาสูงสูดและต่ําสุดของ confidence interval
24
Confounding การเกิดความเบี่ยงเบนของความสัมพันธที่แทจริงระหวาง 2 ตัวแปร ที่เนื่อง
จากตัวแปรที่ 3
Confounding variable, confounder ตัวแปร (ที่ 3) ที่เบี่ยงเบนความสัมพันธที่แทจริงของ
2 ตัวแปร
Contamination การที่กลุม control ไดรับ intervention ของกลุมทดลอง ซึ่งแทที่จริงไมควร
เปนเชนนั้น
Control group, controls กลุมที่กําหนดใหเปนตัวเปรียบเทียบกับกลุมทดลอง
Control event rate (CER) ดู event rate
Correlation coefficient คาความสัมพันธระหวาง 2 ตัวแปรชนิด continuous มีคาระหวาง
–1 ถึง +1 โดยคาลบหมายถึงสัมพันธผกผันกัน และคาใกล 1 หรือ –1 แสดงถึงความ
สัมพันธเชิงเสนตรงมาก (linear relationship)
Correlation (ecological) study การศึกษาหาความสัมพันธโดยใชขอมูลกลุมบุคคลแทนที่
จะใชขอมูลของแตละบุคคล
Cost-benefit analysis การวิเคราะหคาใชจายโดยนําผลที่ได (คิดเปนตัวเงิน) มาหักลบกับ
เงินที่ลงทุน
Cost-effectiveness analysis การวิเคราะหคาใชจาย (คิดเปนตัวเงิน) ตอหนวยของผลที่ได
(ซึ่งไมไดวัดเปนตัวเงิน) นิยมวิเคราะหเปรียบเทียบระหวาง intervention ตางๆ
Cost-minimization analysis การวิเคราะหเปรียบเทียบคาใชจาย (คิดเปนตัวเงิน) เปรียบ
เทียบระหวางวิธีการตางๆ ที่ใหผล (health effect) เทากัน และเลือกวิธีการที่เสียคาใชจาย
นอยที่สุด
Cost-utility analysis การวิเคราะหคาใชจายตอหนวยอรรถประโยชน (utility) ซึ่งวัดเปน
quality gain เชน quality-adjusted life year (QALY) หรือระยะเวลา 1 ปที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี
Critical appraisal การประเมินคุณคาของรายงานการศึกษาวิจัย โดยคํานึงถึงความถูกตอง
(validity) ของการศึกษา และความสามารถประยุกตนําผลการศึกษาไปใช (application) ใน
เวชปฏิบัติ
25
Crossover study design การศึกษาที่ใหผูปวยกลุมหนึ่งเพียงกลุมเดียวไดรับวิธีการรักษาที่
ตองการเปรียบเทียบกันอยางนอย 2 วิธีขึ้นไป โดยสลับเวลาการไดรับแตละวิธี
Cross-sectional study การศึกษา ณ ชวงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยการสุมตัวอยางจากประชากร
ทั้งหมด และดูปจจัย (exposure) และผล (outcome) พรอมกันขณะกําลังศึกษา
Cumulative incidence สัดสวนของประชากรที่เกิดโรค โดยทุกคนในประชากรไดรับการ
ติดตามตั้งแตแรกพรอมกันขณะที่ยังไมมีใครเปนโรค เปน average risk ของการเกิดโรคใน
ประชากร
Decision analysis (or clinical decision analysis) การประยุกตการคํานวณมาพยากรณโรค
หรือผลการรักษาของผูปวยเพื่อการตัดสินใจภายใตเงื่อนไขของความนาจะเปน
Deduction กระบวนการที่ใชทฤษฎีหรือภาพรวม ไปอธิบายเหตุการณยอยแตละเหตุการณ
Descriptive epidemiology ระบาดวิทยาเชิงพรรณนาที่บรรยายเฉพาะขอมูลตัวแปร เชน
เวลา สถานที่ และบุคคล โดยไมมีการวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปร
Differential misclassification ดู misclassification
Dose-response relationship เกณฑหนึ่งของความสัมพันธเชิงเหตุและผลที่กลาวถึงขนาด
ของ outcome ที่ตองขึ้นอยูกับขนาดหรือปริมาณ exposure
Double-blind ดู blinding
Dropout ผูที่ไมสามารถมาติดตามผลการทดลองหรือการรักษา
Ecological fallacy ความผิดพลาดของการสรุปความสัมพันธที่ไดจากการศึกษาขอมูลจาก
กลุมแทนที่จะศึกษาขอมูลจากแตละบุคคล
Ecological survey การศึกษาขอมูลที่มีลักษณะเปนกลุมกอน (aggregated data) ของประชา
กร ไมใชขอมูลของแตละคน เพื่อหาความสัมพันธระหวางปจจัยเสี่ยง (risk factor) กับผล
(outcome) ที่เกิดขึ้น
Effectiveness ประสิทธิผลที่เกิดขึ้นจากการสถานการณจริง ดู efficacy
Efficacy ประสิทธิผลที่เกิดขึ้นจากสถานการณในอุดมคติ ดู effectiveness
Efficiency ประสิทธิภาพ หรือผลที่เกิดขึ้นตอหนวยทรัพยากรที่ลงทุน
26
Error, type 1 (alpha error) ความผิดพลาดเนื่องจากไปปฏิเสธ null hypothesis ที่เปน
ความจริง หรือการยอมรับวามีความแตกตางในขณะที่ความเปนจริงไมมี
Error, type 2 (beta error) ความผิดพลาดเนื่องจากไปรับ null hypothesis ที่เปนเท็จ หรือ
การยอมรับวาไมมีความแตกตางในขณะที่ความเปนจริงมีความแตกตาง
Event rate อัตราการเกิดเหตุการณ เชน EER (experimental event rate) คือ สัดสวนของ
คนไขที่หายจากการรักษาดวยวิธีที่ทดลองอยู สวน CER (control event rate) คือ สัดสวน
ของคนไขที่หายจากการรักษาดวยวิธีที่เปรียบเทียบกัน สําหรับ PEER (patient expected
event rate) หมายถึงสัดสวนของผูปวยที่คาดหวังวาจะหายโดยไมไดรับการรักษาหรือไดรับ
การรักษาแบบเดิม ดู treatment effects
Evidence-based health care การประยุกตใชความรูทางการแพทยเชิงหลักฐาน (evidence-
based medicine) ในสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการแพทยและสาธารณสุข เชน เศรษฐ
ศาสตรสาธารณสุข การบริหารจัดการ
Evidence-based medicine การใชหลักฐานที่ดีที่สุดทางการแพทยที่มีอยูในการตัดสินใจดู
แลรักษาผูปวย โดยหลักฐานนั้นตองมาจากการวิจัยที่ดีและเปนระบบ
Experimental event rate (EER) ดู event rate
Exposure การที่ไดรับหรือสัมผัสกับปจจัย
External validity ดู validity
False negative ผลทดสอบที่เปนลบในผูที่ปวยจริง
False positive ผลทดสอบที่เปนบวกในผูที่ไมปวยจริง
Gold standard การทดสอบหรือวิธีการวินิจฉัยที่เปนมาตรฐานสําหรับเปรียบเทียบ หากให
ผลบวกหรือลบใหถือเปนขอยุติ
Hawthorne effect ผลดีที่เกิดขึ้นเนื่องจากการที่ไดรับการดูแลเอาใจใส
Hierarchy of evidence ระดับคุณภาพความนาเชื่อถือของการศึกษาหรืองานวิจัย แบงออก
เปน
I: หลักฐานจาก randomized controlled trial อยางนอย 1 study
II-1 หลักฐานจาก controlled trial ที่ไมมี randomization
27
II-2 หลักฐานจาก cohort หรือ case-control studies ที่ควรมีมากกกวา 1 การศึกษา
II-3 หลักฐานจาก uncontrolled studies
III หลักฐานจากประสบการณ ความเห็น หรือรายงานเชิงพรรณนา (case report / series)
Historical control กลุมเปรียบเทียบที่ขอมูลไดรับคนละ (กอน) เวลาที่เก็บขอมูลกลุม
ทดลอง
Hypothesis สมมติฐาน หรือการคาดเดา แบงออกเปน
-null hypothesis (H0) สมมติฐานของความไมแตกตาง หรือไมคาดวาจะแตกตางกันระหวาง
กลุม
-alternative hypothesis (HA) สมมติฐานทางเลือกที่คาดวาจะแตกตางกันระหวางกลุม
Inception cohort กลุมผูปวยที่เริ่มมีอาการโรคพรอมกัน (ระยะเดียวกันของโรค)
Indirect standardizeation/adjustment ดู standardization
Inference กระบวนการสรุปผลโดยอาศัยขอเท็จจริงหรือการสังเกตตางๆ เชน inferential
statistic หมายถึงการสรุปผลและแปลผลขอมูลดวยวิธีการสถิติ
Information bias อคติในการวัด exposure หรือ outcome เนื่องจากไดรับขอมูลผิดพลาด
Informed consent การที่ผูถูกทดลอง อนุญาตโดยสมัครใจหลังจากไดรับทราบขอมูลผลดี
ผลเสียของการทดลอง
Intention-to-treat analysis วิธีการวิเคราะหขอมูลที่ไมสนใจวา ผูปวยจะไดเปลี่ยนแปลง
วิธีการรักษาหรือไมหลังจากเริ่มทดลองไปแลว โดยใหถือวา ผูปวยไดรับวิธีการรักษาตามที่
ถูกสุมตั้งแตตน
Internal validity ดู validity
Kappa ความสอดคลองของการวัด 2 ครั้ง หรือผูวัด 2 คน คํานวณจากสูตร
(P0 – Pc) / (1 – Pc) P0 = observed agreement, Pc = chance agreement
Lead-time bias ความผิดพลาดในการวัดการรอดชีพเนื่องจากการตรวจคัดกรองที่สามารถ
ตรวจพบผูเปนโรคกอนที่จะมีอาการ แตหากการรอดชีพไมเปลี่ยนแปลง จะทําใหเขาใจผิด
วา มีอายุ (การรอดชีพ) นานขึ้น
28
Length bias ความผิดพลาดในการวัดการรอดชีพเนื่องจากความรุนแรงของแตละโรคไมเทา
กัน และการตรวจคัดกรองพบมักจะขึ้นอยูกับความรุนแรงของโรคนั้นๆ (รุนแรงนอย ตรวจ
คัดกรองพบไดเร็ว)
Likelihood ratio (LR) อัตราสวนระหวางโอกาสไดผลการทดสอบวินิจฉัยอยางเดียวกันใน
ผูที่เปนโรค ตอผูไมเปนโรค
Positive LR = Sensitivity / (1 – Specificity)
Negative LR = (1 – Sensitiivity ) / Specificity
Meta-analysis การทบทวนรายงานการศึกษาตางๆ อยางเปนระบบโดยการใชวิธีการทาง
คณิตศาสตรเพื่อสรุปผลภาพรวม
Misclassifaction การจัดกลุมผิด เชนจัดกลุมมีปจจัยเปนกลุมไมมีปจจัย แบงออกเปน
-differential misclassification จัดกลุมผิดโดยโอกาสจัดกลุมผิดเกิดขึ้นไมเทากันใน
ทั้งสองกลุม
-non-differential misclassification จัดกลุมผิดโดยโอกาสจัดกลุมผิดเกิดขึ้นเทากันใน
ทั้งสองกลุม
Negative predictive value (NPV) สัดสวนของผูไดผลการทดสอบเปนลบที่ไมเปนโรคจริง
Null hypothesis ดู hypothesis
Number needed to treat (NNT) จํานวนผูปวยที่ตองไดรับการรักกษาดวยวิธีใหมหาก
ตองการใหหายเพิ่มขึ้นอีก 1 คน มีคาเทากับ 1 / ARR
Observational study การศึกษาวิจัยที่มิไดมีการทดลองหรือให intervention แตเปนการเฝา
สังเกตเหตุการณที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ
Odds อัตราสวนระหวางโอกาสที่จะเกิดเหตุการณกับโอกาสที่จะไมเกิดเหตุการณนั้น หรือ
p / (1 - p)
Odds ratio อัตราสวนระหวาง 2 odds เชน อัตราสวนระหวาง odds of case (อัตราสวน
ระหวางโอกาสที่จะพบ exposure ในผูที่เปนโรคกับโอกาสที่จะไมพบ exposure ในผูที่เปน
โรค) กับ odds of control (อัตราสวนระหวางโอกาสที่จะพบ exposure ในผูที่ไมเปนโรคกับ
โอกาสที่จะไมพบ exposure ในผูที่ไมเปนโรค)
29
Outbreak epidemic ที่จํากัดขอบเขตพื้นที่ เชน ในหมูบาน โรงเรียน
p-vale (probability value) โอกาสที่จะไดคาสถิติเทากับหรือมากกวาที่พบในกลุมตัวอยาง
หาก null hypothesis เปนจริง
Patient expected event rate (PEER) ดู event rate
Power อํานาจในการตรวจสอบความแตกตางที่มีอยูจริง (ถามี) มีคาเทากับ 1- beta ดู error
Type II
Positive predictive value (PPV) สัดสวนของผูไดผลการทดสอบเปนบวกที่เปนโรคจริง
Post-test odds อัตราสวนระหวางโอกาสที่จะเปนโรคกับโอกาสที่จะไมเปนโรคหลังการ
ทดสอบ มีคาเทากับ pre-test odds x likelihood ratio
Post-test probability สัดสวนของผูไดผลการทดสอบนั้นและเปนโรคจริง มีคาเทากับ
post-test odds / 1 + post-test odds
Precision ความแมนยํา ความสามารถวัดไดคาเดิมทุก ๆ ครั้ง (reliability, repeatability,
reproducibility) แตคาที่วัดอาจไมถูกตอง (valid) ตามคาที่เปนจริง
Pre-test odds อัตราสวนระหวางโอกาสที่จะเปนโรคกับโอกาสที่จะไมเปนโรคกอนการ
ทดสอบ มีคาเทากับ pre-test probability / (1 + pretest probability)
Pre-test probability or prevalence สัดสวนของประชากรที่เปนโรค ณ เวลานั้น (point
prevalence) หรือชวงเวลานั้น (period prevalence)
Publication bias อคติในการตีพิมพที่มักจะตีพิมพรายงานที่ใหผลการศึกษาในเชิงบวกหรือ
ไดผลดีเทานั้น
Random error ความผิดพลาดแบบสุม เกิดเนื่องจากความบังเอิญที่ไดตัวอยางที่ไมเปนตัว
แทนของประชากร
Randomization (or random allocation) วิธีการสุมที่คลายกับการโยนเหรียญเพื่อกําหนด
วิธีการรักษา เชน โยนไดหัวจะใหวิธีรักษาแบบหนึ่ง และไดกอยจะใหวิธีรักษาอีกแบบหนึ่ง
ที่เปรียบเทียบกัน ซึ่งมุงหวังใหทั้งสองฝาย (กลุมทดลองและกลุมควบคุม) มีปจจัยตัวแปรที่
จะมีผลตอ outcome กระจายเทาเทียมกัน
30
Randomized controlled clinical trial (RCT) การทดลองเปรียบเทียบวิธีการรักษาที่ผูปวย
แตละคนถูก randomize ใหไดรับการรักษาดวยวิธีใหมหรือวิธีที่เปรียบเทียบ
Recall bias อคติจากการที่จําขอมูลในอดีตไมไดหรือจําผิดพลาด
Relative risk reduction (RRR) ดู treatment effects
Research กระบวนหาองคความรูใหมอยางเปนระบบ
Risk โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ เชน เปนโรค หรือ ตาย
Risk ratio (RR) อัตราสวนระหวางความเสี่ยง (โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ) ในกลุมทดลอง
กับ ความเสี่ยง (โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ) ในกลุมเปรียบเทียบ RR = EER / CER
Screening การตรวจคัดกรอง หรือการคนหาผูที่เปนโรคแตยังไมมีอาการของโรคปรากฏ
Sensitivity สัดสวนของผูเปนโรคจริงที่ใหผลการทดสอบเปนบวก มีคาเทากับ a / a + c
SnNout การทดสอบที่มี sensitivity (Sn)สูง หากไดผลลบ (N) จะเปนการ rule out
Specificity สัดสวนของผูไมเปนโรคจริงที่ใหผลการทดสอบเปนลบ มีคาเทากับ d / b + d
SpPin การทดสอบที่มี specificity (Sp)สูง หากไดผลบวก (P) จะเปนการ rule in
Standardization กระบวนการปรับใหมีมาตรฐานเดียวกันเพื่อใหเปรียบเทียบกันได เชน
ประชากร 2 กลุมที่มีโครงสรางอายุไมเหมือนกัน หากเปรียบเทียบตัวชี้วัดอื่นๆ โดยไมปรับ
ใหโครงสรางอายุเหมือนกันอาจแปลผลผิดพลาดได
-direct standardization ใชจํานวนประชากรมาตรฐานหรือประชากรอางอิงมาเปนตัวปรับ
-indirect standardization ใชอัตรามาตรฐานหรืออัตราอางอิงมาเปนตัวปรับ
Statistical significance นัยสําคัญทางสถิติ หรือการเกิดเหตุการณที่มีโอกาสเกิดขึ้นไดนอย
พิจารณาจากคา p-value หากต่ํากวา 0.05 มักจะถือวามีนัยสําคัญทางสถิติ
Survival analysis การวิเคราะหการรอดชีพ เปนกระบวนการที่ใชวิธีการทางสถิติในการ
ประเมินการรอดชีพจากโรคหรือจากการไดรับการรักษาปองกันวิธีตางๆ
Systematic error ดู bias
Systematic review การสรุปผลโดยคนหารายงานวิจัยตางๆ อยางเปนระบบและประเมิน
คุณคา (critical appraisal) ของบทความรวมกับวิธีการทางสถิติเพื่อสรุปผลภาพรวมของราย
งานวิจัยทั้งหมด
31
Treatment effects ไดแก
ARR (absolute risk reduction) = EER - CER
RRR (relative risk reduction) = (EER - CER) / CER ถาวัด good outcome
RRI (relative risk increase) = (EER - CER) / CER ถาวัด bad outcome
ABI (absolute benefit increase) = ARR
RBI (relative benefit increase) = RRR
NNT (number needed to treat) = 1 / ARR ถาเปน good outcome
NNH (number needed to harm) = 1 / ARR ถาเปน bad outcome
EER = experimental event rate; CER = control event rate
Validity การวัดไดคาถูกตองตามคาที่เปนจริง หรือการที่ไมมีความผิดพลาดชนิดมีระบบที่
อธิบายได (ไมมี bias)
Validity, study ความถูกตองของการศึกษากับการนําไปประยุกตใช แบงออกเปน
-internal validity สามารถนําไปประยุกตใชในประชากรที่สุมตัวอยางมา
-external validity สามารถนําไปประยุกตใชนอกประชากรที่สุมตัวอยางมา
(generalizability)

Contenu connexe

Tendances

คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
Weerawan Ueng-aram
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
Papawee Laonoi
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
Aom S
 

Tendances (20)

คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Cpg alcoholism
Cpg alcoholismCpg alcoholism
Cpg alcoholism
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
Mna thai
Mna thaiMna thai
Mna thai
 
Hepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinomaHepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinoma
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 

En vedette

En vedette (20)

การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนดการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ทางการพยาบาลกับทิศทางการกำหนด
 
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อการทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
การทำลายเชื้อและการทำให้ปราศจากเชื้อ
 
PICO exercise
PICO exercise PICO exercise
PICO exercise
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
 
PICO Research Question
PICO Research QuestionPICO Research Question
PICO Research Question
 
Asthma guideline thailand 2012
Asthma guideline thailand 2012Asthma guideline thailand 2012
Asthma guideline thailand 2012
 
ระบบประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
ระบบประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงระบบประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
ระบบประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
 
Hyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapyHyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapy
 
The successful handwashing in ophthalmology ward
The successful handwashing in ophthalmology wardThe successful handwashing in ophthalmology ward
The successful handwashing in ophthalmology ward
 
Evidence-Based Medicine: Risk & Harm
Evidence-Based Medicine: Risk & HarmEvidence-Based Medicine: Risk & Harm
Evidence-Based Medicine: Risk & Harm
 
การติดเชื้อดื้อยา C.difficile cre vre ภัยเงียบในโรงพยาบาล
การติดเชื้อดื้อยา C.difficile cre vre ภัยเงียบในโรงพยาบาลการติดเชื้อดื้อยา C.difficile cre vre ภัยเงียบในโรงพยาบาล
การติดเชื้อดื้อยา C.difficile cre vre ภัยเงียบในโรงพยาบาล
 
Evidence Based Medicine : เวชศาสตร์เชิงประจักษ์
Evidence Based Medicine : เวชศาสตร์เชิงประจักษ์Evidence Based Medicine : เวชศาสตร์เชิงประจักษ์
Evidence Based Medicine : เวชศาสตร์เชิงประจักษ์
 
Emerging infectious disease
Emerging infectious diseaseEmerging infectious disease
Emerging infectious disease
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
What is PICO?
What is PICO?What is PICO?
What is PICO?
 
PICO question
PICO questionPICO question
PICO question
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 

Similaire à การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551

เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
Kanti Bkk
 
Best tools for ebm
Best tools for ebmBest tools for ebm
Best tools for ebm
songsri
 
สมมุติฐาน
สมมุติฐานสมมุติฐาน
สมมุติฐาน
guest16840
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
Ultraman Taro
 

Similaire à การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551 (20)

Analytical Study
Analytical StudyAnalytical Study
Analytical Study
 
Evidence-Based Medicine: Prognosis
Evidence-Based Medicine: PrognosisEvidence-Based Medicine: Prognosis
Evidence-Based Medicine: Prognosis
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
 
Evidence-Based Medicine: Systematic Reviews
Evidence-Based Medicine: Systematic ReviewsEvidence-Based Medicine: Systematic Reviews
Evidence-Based Medicine: Systematic Reviews
 
Systematic Reviews
Systematic ReviewsSystematic Reviews
Systematic Reviews
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
 
Prognosis (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students) (...
Prognosis (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students) (...Prognosis (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students) (...
Prognosis (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students) (...
 
Ortho osteoarthritis
Ortho osteoarthritisOrtho osteoarthritis
Ortho osteoarthritis
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
8
88
8
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉินแนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผูปวยฉุกเฉิน
 
Best tools for ebm
Best tools for ebmBest tools for ebm
Best tools for ebm
 
สมมุติฐาน
สมมุติฐานสมมุติฐาน
สมมุติฐาน
 
Research process
Research processResearch process
Research process
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551

  • 1. 3 สารบัญ บทที่ 1. บทนํา (Introduction) 4 บทที่ 2. การตั้งคําถาม (Asking answerable question) 5 บทที่ 3. การคนหาหลักฐาน (Acquiring the evidence) 7 บทที่ 4. การประเมินหลักฐาน (Appraising the evidence) 13 สาเหตุของโรค (Etiology / Harm) 13 การพยากรณโรค (Prognosis) 14 การวินิจฉัยโรค (Diagnosis) 15 การรักษา / ปองกันโรค (Therapy / Prevention) 16 บททบทวนอยางเปนระบบ (Systematic reviews) 17 เศรษฐศาสตรสาธารณสุข (Economic analysis) 18 บทที่ 5. การประยุกตใชหลักฐาน (Applying the evidence) 19 บทที่ 6. การประเมินผลการใชหลักฐาน (Assessing outcome) 21 บทที่ 7. อภิธานศัพท (Glossary) 23
  • 2. 4 บทที่ 1 บทนํา คําจํากัดความของเวชปฏิบัติอิงหลักฐาน (EBM) EBM = กระบวนการการใชหลักฐานที่ดีที่สุดเทาที่มีอยูในปจจุบันเพื่อการตัดสินใจ ดูแลรักษาผูปวย (Evidence-based medicine is the conscientious, explicit and judicious use of current best evidence in making decisions about the care of individual patients, David L Sackett) ทําไมจึงตองรู EBM ปจจุบันเปนยุคของการเกิดขอมูลขาวสารเปนจํานวนมาก (information explosion) มี การศึกษาวิจัยใหมๆ มากมาย ความรูที่มีอยูในตําราอาจไมทันสมัย จึงมีความจําเปนที่จะตอง รูวิธีการคนหาขอมูลและประเมิน นําหลักฐานที่ดีที่สุดเพื่อนําไปประยุกตใชกับผูปวย ในบทตอๆ ไปจะเปนสาระสําคัญของขั้นตอนตามลําดับของ EBM โดยสวนการ ประเมินหลักฐานจะแบงยอยออกเปนหลักฐานที่เกี่ยวกับการหาสาเหตุของโรคหรืออันตราย ของปจจัย (Etiology/Harm) การวินิจฉัยโรค (Diagnosis) การพยากรณโรค (Prognosis) การ รักษา/ปองกันโรค (Therapy/Prevention) และเศรษฐศาสตรสาธารณสุข (Health economics) ขั้นตอนของ EBM (The 5 A’s of EBM) 1. A sk question : ตั้งคําถาม 2. A cquire evidence : คนหาหลักฐาน 3. A ppraise evidence : ประเมินหลักฐาน 4. A pply evidence : ประยุกตใชหลักฐาน 5. A ssess outcome : ประเมินผลการใชหลักฐาน
  • 3. 5 บทที่ 2 การตั้งคําถาม ขั้นตอนแรกของกระบวนการ EBM คือการตั้งคําถาม (Asking clinical question) การตั้งคําถามเกี่ยวกับปญหาของผูปวยใหใชหลัก P I C O ดังนี้ 1. ปญหา หรือ ผูปวย (P roblem or P atient) เชน ลักษณะทางคลินิกของผูปวย 2. สิ่งที่จะใหแกผูปวย (I ntervention) เชน การใหยาใหม หรือการใชวิธีการวินิจฉัยแบบใหม 3. สิ่งที่เปนตัวเปรียบเทียบ (C omparison intervention) เชน การไมใหยา หรือใหยาเดิม 4. ผลที่ตองการ (O utcome) เชน ประสิทธิผลที่เกิดขึ้น หรือความแตกตางที่ตองการ องคประกอบ ขอแนะ ตัวอยาง ปญหา หรือ ผูปวย (P) เริ่มดวยคําถามที่วา “ฉันจะบรรยายถึง กลุมผูปวยที่มีลักษณะเหมือนผูปวยของ ฉันอยางไร” “ในผูปวยหญิงวัยหมดประจําเดือน ..…………………………..…….” สิ่งที่จะใหแกผูปวย (I) ถามวา “สิ่งที่ฉันจะใหผูปวยคืออะไร” “........................การใหยา estrogen ....……………………………...” สิ่งที่เปนตัวเปรียบเทียบ (C) ถามวา “ทางเลือกเดิมหรือทางเลือกอื่น ที่ตองการเปรียบเทียบคืออะไร” “...............เปรียบเทียบกับการไมให estrogen ........................................” ผลที่ตองการ (O) ถามวา “ผลที่ฉันตองการคืออะไร” หรือ “มีผลแตกตางไปจากเดิมหรือไม” “.…………………….... จะทําให อัตราการเกิดมะเร็งเตานมของหญิง ดังกลาวเปลี่ยนแปลงหรือไม” ชนิดของคําถามที่พบในเวชปฏิบัติเปนสวนใหญไดแก คําถามเกี่ยวกับสาเหตุของโรค (Etiology/Harm) คําถามเกี่ยวกับการพยากรณโรค (Prognosis) คําถามเกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค (Diagnostic test) คําถามเกี่ยวกับการรักษาหรือการปองกันโรค (Therapy or prevention) คําถามเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรสาธารณสุข (Health economics)
  • 4. 6 ตัวอยางการตั้งคําถาม PICO (asking clinical question) Domain Patient (P) Intervention (I) Comparison (C) Outcome (O) Therapy ในผูปวยที่เคย เปน acute M.I. การใหยา aspirin เทียบกับการให placebo จะลดอัตราการเกิด recurrent M.I. ได ดีกวาหรือไม Prognosis ในผูปวย ไตวาย การทํา hemodialysis ที่บาน เทียบกับการทํา hemodialysis ที่ รพ. จะเพิ่ม life expectancy ได หรือไม Diagnosis ในผูที่สงสัย เปน coronary disease การใช exercise ECHO เทียบกับการให exercise EKG จะวินิจฉัยโรค coronary artery disease ไดดีกวา หรือไม Etiology / Harm ในหญิงวัย หมดประจํา เดือน การให hormone replacement therapy (HRT) เทียบกับการไม ให HRT จะเพิ่มความเสี่ยง ตอการเกิด CA breast หรือไม Economic ในผูปวย chronic renal failure การรักษาดวย renal transplant เทียบกับการให hemodialysis จะคุมคาใชจายกวา หรือไม (cost- effective)
  • 5. 7 บทที่ 3 การคนหาหลักฐาน ขั้นตอนที่สองของกระบวนการ EBM คือการคนหาหลักฐาน (Acquiring evidence) ดังนี้ 1. กําหนดคําสําคัญ (key words) จากคําถามที่ตั้งไว เชน ชื่อโรคหรือภาวะของผูปวย (P) สิ่งที่จะใหกับผูปวย (I) ตัวเปรียบเทียบ (C) และผลที่ไดรับ (O) นอกจากนี้ยังมีคําสําคัญอื่นๆ ไดแก domain ที่ตองการคนหา (etiology, diagnosis, prognosis therapy, prevention, etc.) และรูปแบบการศึกษาตาง ๆ (cohort studies, case-control studies, randomized controlled trial, systematic review, meta- analysis) รายละเอียดจะกลาวตอไป 2. กําหนดแหลงขอมูลที่จะคนหา ซึ่งมีอยูหลายแหลงดังตัวอยางตอไปนี้ แหลงขอมูล ทางผานที่เขาถึง ขอดี ขอดอย Cochrane Library http://gateway.ovid.co m หรือผาน website ของสถาบัน มีบทความที่ทบ ทวนอยางเปน ระบบดีมาก มีจํานวนเรื่องนอย ตองเปนสมาชิก Bibliographic database (MEDLINE) www.pubmed.com มีบทความใหมที่ เพิ่งตีพิมพในวาร สารตางๆ ยังไมไดมีการทบ ทวนหรือรวบรวม อยางเปนระบบ CATs (Critically appraised topics) www.ebem.org/cats/ เปนเรื่องที่มีผูทํา การ appraise มา แลว มักจะ appraise เพียง การศึกษาเดียว TRIP (Turning Research Into Practice) www.tripdatabase.co m มีเรื่องสรุปที่ผาน การ กลั่นกรองแลว ตองเปนสมาชิก
  • 6. 8 3. วิธีการคนหา สามารถคนหาขอมูลจาก internet ผาน websites ตาง ๆ มากมาย แตในที่นี้ จะ กลาวถึงเฉพาะการคนหาจาก PUBMED และ OVID MEDLINE โดยยอเทานั้น 1. PUBMED เปนฐานขอมูลที่สรางโดย National Library of Medicine ของสหรัฐ อเมริกา โดยรวบรวมบทความจากวารสารตาง ๆ ทั่วโลก เมื่อเราพิมพ www.pubmed.com ลงในชอง address ของ web browser (Internet Explorer) จะนําไปสูดังรูปที่ 1 รูปที่ 1 Click ที่ Clinical Queries (ตรงลูกศรในรูปที่ 1) จะนําไปสูรูปที่ 2 รูปที่ 2
  • 7. 9 เลือก category ที่ตองการ (ตรงลูกศรในรูปที่ 2) ไดแก therapy หรือ diagnosis หรือ etiology หรือ prognosis ตอไปใหพิมพชื่อเรื่องที่ตองการใน Enter subject search แลว click ที่ Go 2. OVID MEDLINE : เนื่องจากการคนหาโดยวิธี PUBMED จะใหบทความจํานวน มาก การคนหาดวยวิธีของ OVID MEDLINE จะไดบทความนอยกวาแตกรองใหตรงตาม ความตองการไดมากกวา และตองคนหาผานสถาบันที่มีการสมัครสมาชิก OVID ไวแลว ผูที่ใชเครื่องคอมพิวเตอรผาน server ของหองสมุดคณะแพทยศาสตร รพ.รามาธิบดี (http://library.ra.mahidol.ac.th) ใหเขาที่ OVID จะนําไปสูรายชื่อฐานขอมูลตางๆ ดังรูปที่ 3 รูปที่ 3 จะเห็นวามีฐานขอมูล 14 ฐาน หากตองการคนหามากกวา 1 ฐาน ให click ดานบนที่ select more than one database to search ซึ่งจะสามารถเลือกไดไมเกินครั้งละ 5 ฐาน
  • 8. 10 เมื่อเลือกฐานแลว click ที่ click to begin search ดานซายมือ จะปรากฏดังรูปที่ 4 รูปที่ 4 พิมพเรื่อง (Medical subject Heading, MeSH) ที่ตองการในชอง Enter Keyword or phrase และเลือก check box ใน Limit to ตามที่ตองการ แลว click ที่ปุม อยางไรก็ตาม ผลการคนหาจะมีบทความจํานวนมาก ผูคนหาจึงตองกําหนดคําสําคัญ ที่เกี่ยวของจากคําถามที่ตั้งไวที่ PICO เมื่อพิมพแตละคําและคนหาก็จะไดผลทีละครั้งที่บอก ถึงจํานวนบทความที่คนได เมื่อนําแตละครั้งที่เกิดจากแตละคํามารวมกันจะเปนผลลัพธสุด ทาย คําสําคัญที่จะใชคนหาบทความ จะแตกตางกันไปตามลักษณะของบทความที่ ตองการคนหา เชน ตองการคนบทความดาน prognosis อาจมีคําสําคัญตอไปนี้ cohort studies, prognosis, survival analysis เปนตน
  • 9. 11 ตัวอยาง Ovid Medline Filters for Evidence-based Clinical Queries ใหพิมพทีละบรรทัดตอไปนี้ในชอง Enter Keyword or phrase แลว click ที่ปุม Domain : Therapeutics/Interventions Domain : Diagnosis 1 exp research design/ 2 exp clinical trials/ 3 comparative study/ or placebos/ 4 multicenter study.pt. 5 clinical trial$1.pt. 6 random$.ti,ab. 7 (double blind$ or triple blind$3).ti,ab. 8 placebo$.ti,ab. 9 (clinical adj trial$1).ti,ab. 10 exp epidemiologic research design/ 11 (controlled clinical trial or randomized controlled trial).pt. 12 practice guideline.pt. 13 feasibility studies/ 14 clinical protocols/ 15 exp treatment outcome/ 16 or/1-15 1 exp "sensitivity and specificity"/ 2 false negative reactions/ or false positive reactions/ 3 (sensitivity or specificity).ti,ab. 4 (predictive adj value$1).ti,ab. 5 (likelihood adj ratio$1).ti,ab. 6 (false adj (negative$1 or positive$1)).ti,ab. 7 (randomized controlled trial or controlled clinical trial).pt. 8 double blind method/ or single blind method/ 9 practice guideline.pt. 10 consensus development conference$.pt. 11 random$.ti,ab. 12 random allocation/ 13 (single blind$3 or double blind$3 or triple blind$3).ti,ab. 14 or/1-13
  • 10. 12 Domain : Etiology Domain : Prognosis 1 random$.ti,ab. 2 exp epidemiologic studies/ 3 odds ratio/ 4 cohort$.ti,ab. 5 (case$1 adj control$).ti,ab. 6 risk$.ti,ab. 7 (odds adj ratio$1).ti,ab. 8 causa$.ti,ab. 9 (relative$1 adj risk$).ti,ab. 10 predispos$.ti,ab. 11 (randomized controlled trial or controlled clinical trial).pt. 12 exp risk/ 13 practice guideline.pt. 14 case-control studies/ 15 or/1-14 1 exp cohort studies/ 2 prognosis/ 3 exp mortality/ 4 exp morbidity/ 5 (natural adj history).ti,ab. 6 prognos$.ti,ab. 7 course.ti,ab. 8 predict$.ti,ab. 9 exp "outcome assessment (health care)"/ 10 outcomes$1.ti,ab. 11 (inception adj cohort$1).ti,ab. 12 disease progression/ 13 exp survival analysis/ 14 or/1-13 พิมพเรื่องที่สนใจคนหาขอมูลเปนบรรทัดตอ ๆมา ซึ่งขึ้นอยูกับการกําหนด key word ที่เกี่ยว ของกับโรคหรือภาวะที่กําลังคนหา ในชอง Enter Keyword or phrase แลว click ที่ปุม บรรทัดสุดทายใหพิมพหมายเลขที่ปรากฏบวกกัน เชน 16+17 จะไดผลจํานวนขอมูลราย งานสุดทายที่จะไปเลือกดูในรายละเอียดของแตละรายงาน บรรทัดที่พิมพไวทั้งหมดเรียกวาเปน search strategy ซึ่งสามารถ save ไวเพื่อใชใหมไดกับ โรคหรือภาวะอื่น ๆ ซึ่งจะมี option ให save ในหนาหลักของการคนหา แตตองสมัคร สมาชิกเพื่อกําหนด username และ password ของตนเอง (ไมเสียคาใชจาย)
  • 11. 13 บทที่ 4 การประเมินหลักฐาน การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับสาเหตุของโรค(Etiology) หรืออันตรายของปจจัย (Harm) 1. การศึกษามีความแมนตรง (valid) หรือไม 1.1 คําถามการวิจัยชัดเจนหรือไม ความชัดเจนของประชากรและกลุมตัวอยางที่ศึกษา ปจจัยที่สนใจ และผลที่เกิดขึ้น 1.2 กลุมผูปวยไดกําหนดไวชัดเจนและเปนกลุมที่คลายคลึงกันหรือไม กลุมที่ศึกษาเปรียบเทียบกันควรมีความคลายคลึงกันในปจจัยตัวแปรตาง ๆ 1.3 การวัดปจจัยหรือสาเหตุกับผลที่เกิดขึ้นกระทําโดยวิธีเดียวกันในทั้ง 2 กลุมหรือไม วิธีการไดมาของขอมูลหรือการวัดผลตางๆ เปนไปในลักษณะหรือวิธีการเดียวกัน 1.4 การติดตามผูปวยครบถวนและนานพอหรือไม มีการติดตามอยางนอยรอยละ 80 ของผูปวย และควรนานพอที่จะเกิดโรคตามธรรมชาติของโรค 1.5 ปจจัยหรือสาเหตุที่ศึกษามีความเชื่อมโยงที่เหมาะสมหรือไม ประเด็นนี้หมายถึง เกณฑของการเกิดโรค ไดแก ปจจัยมากอนโรค เกิดโรคมากนอยขึ้นอยูกับระดับของ ปจจัย มีความสอดคลองกับการศึกษาอื่น ๆ และ มีความสัมพันธเชิงชีววิทยา 2. ผลของการศึกษามีความสําคัญ (importance) หรือไม พิจารณาจากความเสี่ยงที่คํานวณไดจากการศึกษา ไดแก relative risk (R.R.) จาก cohort study หรือ odds ratio (O.R.) จาก case-control study โดยตองดูชวงแหงความเชื่อมั่น (confidence interval or C.I.) วาครอบคลุมคา 1 หรือไม หากไมครอบคลุมแสดงวามีนัย สําคัญทางสถิติ หรือปจจัยนาจะเปนสาเหตุของโรค แตถาครอบคลุม แสดงวาไมมีนัยสําคัญ ทางสถิติ (ปจจัยไมนาจะเปนสาเหตุหรืออันตรายตอผูปวย) ในบางครั้งอาจคํานวณหาคา NNH (number needed to harm) ซึ่งเปนจํานวนผูปวยที่จะ เกิดอันตรายเพิ่มขึ้นอีก 1 คนหากมีปจจัยดังกลาว สูตรคํานวณคือ NNH = [{PEER (OR – 1) } +1] / [PEER (OR – 1) x (1 – PEER)] [PEER = patients’ expected event rate หรืออัตราการเกิดโรคหรืออันตรายในผูปวยที่ไมได รับปจจัย]
  • 12. 14 การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับการพยากรณโรค(Prognosis) 1. การศึกษามีความแมนตรง (valid) หรือไม 1.1 กลุมตัวอยางเปนตัวแทนที่ดีของผูปวยทั้งหมด มีการกําหนดเกณฑผูปวยที่นําเขา และไมนําเขามาศึกษาอยางไร 1.2 ไดแกผูปวยทั้งหมดมีความรุนแรงของการปวยเทากัน ณ จุดที่ศึกษา ซึ่งควรเปนผู ที่ปวยในระยะตนของโรค 1.3 มีปจจัยตัวแปรอื่นๆ ใกลเคียงกัน เชน มีอายุ เพศ โรคที่เกิดรวมดวย หากไมใกล เคียงกันตองมีการปรับ (adjust) ดวยวิธีใดวิธีหนึ่ง 1.4 การติดตามผูปวยนานพอที่จะเกิดผลที่ตองการวัด เชนการหายหรือการตายจาก โรค 1.5 การติดตามครบถวน อยางนอยไมควรต่ํากวารอยละ 80 1.6 การวัดผลเปนในลักษณะ “blind” โดยผูวัดไมทราบวาผูปวยถูกจัดอยูในกลุมใด 2. ผลของการศึกษามีความสําคัญ (importance) หรือไม 2.1. ความเสี่ยงของผลที่เกิด (risk of outcome) ตามระยะเวลาเปนอยางไร ซึ่งมี 3 วิธี ดังนี้ -รอยละของผูปวยที่รอดชีวิตในระยะเวลาหนึ่ง -มัธยฐานของการรอดชีพ เชน ระยะเวลาที่รอยละ 50 ของผูปวยที่ยังมีชีวิตอยู -กราฟการรอดชีพที่ ณ จุดตางๆ ของเวลาจะมีสัดสวนของผูปวยที่ยังมีชีวิตอยู 2.2 คาที่คํานวณไดมีความแมนยํา (precision) เพียงไร โดยดูจากความแคบกวางของ ชวงแหงความเชื่อมั่น (confidence interval) ถาแคบแสดงวามีความแมนยําสูง
  • 13. 15 การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับการการวินิจฉัยโรค (Diagnosis) 1. การศึกษามีความแมนตรง (valid) หรือไม 1.1 มีการเปรียบเทียบกับวิธีตรวจที่เปนมาตรฐาน (“gold” or reference standard) 1.2 การเปรียบเทียบในขอ 1.1 เปนในลักษณะที่ blind (ไมทราบวาใครเปน/ไมเปน โรค) 1.3 ผูปวยที่นํามาศึกษาควรมีระยะตางๆ ของโรคกระจายอยางเหมาะสม 1.4 มีการศึกษาแหลงอื่นที่ไดผลอยางเดียวกัน (reproducible) 2. ผลของการศึกษามีความสําคัญ (importance) หรือไม พิจารณา accuracy ของ test ไดแก 2.1 sensitivity : สัดสวนของผูปวยที่สามารถตรวจพบได 2.2 specificity : สัดสวนของผูไมปวยที่สามารถตรวจพบได 2.3 predictive values : อํานาจการทํานายวาเปนโรคหลังทราบผลการตรวจ 2.4 likelihood ratio (L.R) : โอกาสที่จะพบผลการตรวจในกลุมที่เปนโรคตอกลุมที่ ไมเปนโรค Disease present (gold std) Disease absent (gold std) Test + a b Test - c d Sensitivity = a/(a+c) Specificity = d/(b+d) Positive predictive value = a/(a+b) Negative predictive value = c/(c+d) L.R. for positive test = {a/(a+c)}/{b/(b+d)} L.R. for negative test = {c/(a+c)}/{d/(b+d)} Prevalence (or pre-test probability) = (a+c) / (a+b+c+d)
  • 14. 16 การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับการรักษา/ปองกันโรค(Therapy/Prevention) 1. การศึกษามีความแมนตรง (valid) หรือไม 1.1 คําถามวิจัยที่มีความชัดเจน 1.2 ผูปวยแตละคนไดรับวิธีการรักษาแบใดเปนไปโดยการสุม 1.3 ผูศึกษาไมทราบผลการสุม (randomized list concealed) 1.4 การติดตามผลไมควรต่ํากวารอยละ 80 ของผูปวย 1.5 การวิเคราะหผลเปนแบบ intention-to-treat (analyze as randomized) 1.6 หากเปนไปได ผูศึกษาและผูถูกศึกษาตางก็ไมทราบวาใครไดการรักษาวิธีใด 1.7 กลุมที่เปรียบเทียบกันไมคววรไดการรักษาอื่นๆเพิ่มเติมที่แตกตางกัน 2. ผลของการศึกษามีความสําคัญ (importance) หรือไม 2.1 ผลการศึกษามีนัยสําคัญทางสถิติหรือไม โดยพิจารณาที่ p-value (ปกติให <0.05) 2.2 ผลการศึกษามีนัยสําคัญทางคลินิกหรือไม พิจารณาที่ confidence interval (C.I.) ของ ARR, RRR หรือ NNT ดังนี้ Control Experimental Control event rate (CER) = a/(a+c) Event a b Experimental event rate (EER) = b/(b+d) No event c d ARR=CER–EER; RRR=(CER – EER) / CER ถา C.I. ของ ARR ไมครอบคลุมคา 0 หรือ RRR ไมครอบคลุมคา 1 แสดงวามีนัยสําคัญ ทางสถิติ (เนื่องจากคา ARR เปน absolute จึงพิจารณาครอมคา 0 สวน RRR เปน relative จึง พิจารณาครอมคา 1) สวน NNT เปนจํานวนผูปวยที่ตองใชวิธีการ experimental เพื่อใหปองกันการเกิดผลเสีย ได 1 คน มีคาเทากับ 1/ARR
  • 15. 17 การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับบททบทวนอยางเปนระบบ(Systematic reviews) 1. บทบททวนนี้มีความแมนตรง (valid) หรือไม 1.1 บททบทวนมีความสอดคลองกับคําถามที่ตั้งไวหรือไม 1.2 การทบทวนไดผสมผสานวิธีการคนหาขอมูลเอกสารอยางกวางขวางเพียงพอหรือไม 1.3 ผูทบทวนไดพิจารณาความแมนตรง (validity) ของแตละเอกสารขอมูลอยางไร 1.4 ผลการทบทวนมีนัยสําคัญทางสถิติและทางคลินิกหรือไม มีความสอดคลองกันอยาง ไร 2. บททบทวนนี้มีความสําคัญ (importance) หรือไม 2.1 มีผลของแตละการศึกษาปรากฏในรายงานหรือไม และมีการนํามารวมกันคํานวณ ใหมหรือไม 2.2 ผลของแตละการศึกษามีความแตกตางกันมากหรือไม หากตางกันเปนเพราะเหตุใด 2.3 ผลสรุปรวมของการศึกษาทั้งหมดมีความแมนยํา (precision) เมื่อดูจาก confidence interval 2.4 หากมีการวิเคราะหกลุมยอยแยกตางหาก มีการแปลผลอยางระมัดระวังอยางไร 3. บททบทวนนี้สามารถนําไปประยุกตใชในผูปวยของเรา (Applicability) ไดหรือไม 3.1 ลักษณะผูปวยในบททบทวนเปนกลุมที่เปรียบเทียบไดกับผูปวยของเราหรือไม 3.2 ความเปนไปไดในการนําไปใชเมื่อพิจารณาดานคาใชจายและการยอมรับของผูปวย เปนอยางไร 3.3 มีการรายงานผลขางเคียงหรือผลที่เกิดขึ้นในดานอื่น ๆ หรือไม 3.4 การสรุปไดอิงสิ่งที่คนพบในการศึกษาตางๆ ที่นํามาสรางบททบทวนนี้หรือไม
  • 16. 18 การประเมินหลักฐานเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรสาธารณสุข (Economic analysis) 1. บทความนี้มีความแมนตรง (valid) หรือไม 1.1 บทความมีการเปรียบเทียบระหวางยุทธวิธีทางเศรษฐศาสตรอยางนอย 2 วิธีหรือไม 1.2 บทความเปนการศึกษาแบบใด cost-effectiveness, cost-benefit หรือ cost-utility 1.3 การวัด cost กับ outcome กระทําไดถูกวิธีหรือไม 1.4 มีการประเมินความไมแนนอนอยางไร เชน ทํา sensitivity analysis หรือไม 2. ผลการศึกษานี้มีความสําคัญ (importance) หรือไม 2.1 ผลตางของ cost กับ outcome เปรียบเทียบแตละยุทธวิธีเปนอยางไร 2.2 มีความแตกตางของ cost กับ outcome ในกลุมยอย (subgroup) หรือไม 2.3 การประเมินความไมแนนอน (sensitivity analysis) ทําใหผลเปลี่ยนแปลงไปอยางไร 3. ผลการศึกษานี้สามารถนําไปประยุกตใชในผูปวยของเรา (Applicability) ไดหรือไม 3.1 ประโยชนที่จะไดรับคุมกับคาใชจายและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นหรือไม 3.2 ผูปวยของเรานาจะไดรับผลเชนเดียวกับในการศึกษานี้หรือไม 3.3 คาใชจายในการรักษาจะใกลเคียงหรือเทากับการศึกษานี้หรือไม
  • 17. 19 บทที่ 5 การประยุกตใชหลักฐาน ประเด็นที่พิจารณา 6. ผูปวยของทานมีความเหมือนหรือคลายคลึงกับในรายงานการศึกษาหรือไม 6. ขนาดของผลที่เกิดขึ้นในผูปวยเปนเทาไร สําหรับ Diagnostic test ใหเริ่มคิดจาก pre-test probability ดังนี้ Pre-test odds = (pre-test probability) / (1 – pre-test probability) Post-test odds = pre-test odds x LR Post-test probability = post-test odds (ost-test odds + 1) สําหรับ Therapy ใหประมาณการคา PEER (Patient’s Expected Event Rate) หรือคา NNT (สําหรับผูปวยของทาน) = 1 / (PEER x RRR) 3. วิธีการรักษาหรือสิ่งที่จะใหกับผูปวยทําไดจริงหรือไมในสถานที่ของทาน 4. มีวิธีการหรือทางเลือกอื่นอีกหรือไม 5. ผลที่เกิดขึ้นจะเหมาะกับผูปวยของทานหรือไม 6. ผูปวยจะยอมรับวิธีการรักษาหรือสิ่งที่ทานจะใหหรือไม
  • 18. 20 บทที่ 6 การประเมินผลการใชหลักฐาน ผลของการนําหลักฐานมาประยุกตใชในผูปวยของทานเปนอยางไร -เปนไปตามที่คาดหวังหรือไม -หากไมเปนไปตามที่คาด เปนเพราะเหตุใด -การวัด outcome ทําอยางไร มีเงื่อนไขเวลาหรือไม -ความพึงพอใจและคุณภาพชีวิตของผูปวยเปนอยางไร คนหาเพิ่มเติม David Sacket. Evidence-Based Medicine : How to Practice and Teach EBM ( New York : Churchill Livingstone, 2000) www.cebm.net www.cebm.utoronto.ca www.cochrane.org
  • 19. 21 Glossary of Evidence-based Medicine Absolute risk reduction (ARR) ดู treatment effects Accuracy ความถูกตองของการวัด ในเรื่องการวินิจฉัยโรค จะมีคาเทากับ (true positive + true negative) / (true positive + true negative + false positive + false negative) Age standardization วิธีการปรับอัตราตางๆ ที่ตองการเปรียบเทียบกัน เชน อัตราปวย อัตราตาย เพื่อลดผลจากความแตกตางในการกระจายของอายุระหวางประชากรกลุมตางๆ (มีโครงสรางอายุที่แตกตางกัน) Alpha error ดู error Type I Alternative hypothesis ดู hypothesis Analytic study การศึกษาเชิงวิเคราะหที่ตองการหาความสัมพันธระหวางตัวแปร เชน การ หาปจจัยเสี่ยงของโรค อาจมีรูปแบบการศึกษาชนิด cross-sectional, cohort หรือ case- control ก็ได Anectdotal evidence หลักฐานที่ไดจากกรณีศึกษาจํานวนนอย และไมไดเก็บขอมูลเปน ระบบเพื่อการวิเคราะหทางสถิติ เชน รายงานผูปวย 1 ราย (case report) Association ความสัมพันธระหวางตัวแปรหรือเหตุการณตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป อาจกลาว เปนความสัมพันธเชิงสถิติ (statistical association) แตการที่ปจจัยมีความสัมพันธกับโรคมิ ไดหมายถึงวา ปจจัยเปนสาเหตุของโรค (causal association) Attributable fraction (exposed, A.R.) สัดสวนของผูปวยที่เปนโรคเนื่องจาก exposure นั้น มีคาเทากับ (IE - IU ) / IU หรือเทากับ (RR - 1) / RR โดยที่ IE คือ incidence in the exposed group, IU คือ incidence in the unexposed group, RR = relative risk Attributable fraction (population, P.A.R.) สัดสวนของประชากรทั้งหมด (ผูปวยและผูไม ปวย) ที่เปนโรคเนื่องจาก exposure นั้น มีคาเทากับ (IT - IU ) / IU หรือเทากับ B(RR - 1) / {B(RR-1) + 1} โดยที่ IT คือ incidence in the total population, IU คือ incidence in the unexposed group, RR = relative risk, B = สัดสวนผูมีปจจัยในประชากรทั้งหมด (exposed proportion)
  • 20. 22 Attributable risk อัตราการเกิดโรคในผูปวยที่เกิดเนื่องจากปจจัย (exposure, E) นั้น มีคา เทากับ IE - IU อาจเรียกวา excess risk Beta error ดู error Type II Bias (systematic error) ความผิดพลาดเนื่องจากไดผลไมตรงกับความจริง เ กิดจากระบบที่ ไมถูกตอง อาจเปนระบบการเก็บขอมูล การวิเคราะห การแปลผล การตีพิมพ หรือการทบ ทวนรายงานตางๆ มิไดเปนความผิดพลาดที่เกิดโดยบังเอิญ (non-systematic or random error) Blinding การปกปดสิ่งที่ผูถูกทดลองไดรับในการทดลอง เชน single-blind หมายถึงผูถูก ทดลองไมทราบวาไดรับอะไร double-blind หมายถึงทั้งผูถูกทดลองและผูทําการทดลองไม ทราบวาใครไดรับ intervention อะไร Case-control study การศึกษาที่นําผูที่มีโรคแลว (case) กับผูยังไมมีโรค (control) เพื่อดู ยอนหลังวามีปจจัยที่สนใจศึกษา (exposure) หรือไม โดยการคํานวณคาความเสี่ยง odds ratio Case series รายงานผูปวยจํานวนหนึ่ง (ที่ไมมากนัก) ถึงโรคที่สนใจโดยไมมีกลุมเปรียบ เทียบ (กลุมไมเปนโรค) Cause สาเหตุของผลที่เกิดขึ้น ซึ่งมีเกณฑดังนี้ (ตาม Hill’s criteria) -temporality : การไดรับปจจัยตองเกิดขึ้นกอนผลหรือโรค -strength : ขนาดของความเสี่ยงสัมพัทธตองมีนัยสําคัญทางสถิติ -experiment : ผลที่เกิดขึ้นสามารถพิสูจนโดยทําการทดลองได -consistency : มีผลการศึกษาที่ใหผลสอดคลองกันมากกวา 1 การศึกษา -coherence : ความสัมพันธที่พบสอดคลองกับความรูหรือทฤษฎีที่มีอยูเดิม -specificity : ปจจัยนั้นทําใหเกิดผลหรือโรคเพียงโรคเดียว ไมทําใหเกิดผลหรือโรคอื่น -dose-response relationship ขนาดของผลที่เกิดขึ้นแปรตามขนาดปจจัยที่ไดรับ -biologic plausibility : ผลที่เกิดขึ้นสอดคลองกับกระบวนการพยาธิชีววิทยา Chi-square test วิธีการทางสถิติที่พิสูจนความสัมพันธระหวางตัวแปรชนิดไมตอเนื่อง (discrete or categorical variables)
  • 21. 23 Clinical decision analysis กระบวนการตัดสินใจทางคลินิกที่อาศัยขอมูลทางระบาดวิทยา และความนาจะเปนของผลที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบ intervention ตางๆ โดยพิจารณา 3 ประการไดแก ทางเลือก (choice) ความนาจะเปน (chance) และคาผลลัพธที่เกิดขึ้น (values) ของแตละ intervention Clinical epidemiology การประยุกตความรูทางระบาดวิทยาในเวชปฏิบัติ เกี่ยวของกับการ วินิจฉัย การรักษาและปองกันโรค แตกตางจาก classical epidemiology ที่มุงศึกษาอัตราการ เกิดและหาสาเหตุหรือปจจัยเสี่ยงของโรค Clinical practice guideline (CPG) แนวทางการดูแลรักษาผูปวย เกิดขึ้นจากการพัฒนา โดยผูเชี่ยวชาญ แตการนําไปใชอาจตองมีการปรับเปลี่ยนตามสถานการณ Clinical significance นัยสําคัญทางคลินิก พิจารณาที่ magnitude of effect วาสําคัญทางเวช ปฏิบัติหรือไม Clinical trial การศึกษา interventions ในคน ซึ่งอาจเปนการรักษาหรือการปองกันโรค เชน การทดลองยา วัคซีน เพื่อประเมินเปรียบเทียบประสิทธิผลของ interventions Cluster sampling การสุมตัวอยางที่หนวยของการสุมคือกลุมบุคคล เชน สุมจากจังหวัด อําเภอ เปนตน ใชในการศึกษาประชากรที่มีขนาดใหญมาก ๆ Cohort กลุมบุคคลที่มีสิ่งที่เหมือนกันตั้งแตแรกเริ่มของการศึกษา เชน เกิดปเดียวกัน เขา เรียนพรอมกัน หรือไดรับปจจัยเสี่ยงพรอมกัน Cohort study การศึกษาที่นํากลุม 2 กลุมมาเปรียบเทียบกัน กลุมหนึ่งมีปจจัย (exposure) อีกกลุมไมมีปจจัย แลวติดตามการเกิดโรคในทั้ง 2 กลุม Co-intervention การที่ผูถูกทดลองไดรับ intervention อื่นๆ ที่นอกเหนือจาก intervention ที่ กําลังทดลองอยู เชน การแนะนําผูปวยความดันเลือดสูงใหออกกําลังกายขณะทําการทดลอง ยาใหม Confidence interval (CI) ชวงระยะของคาที่มั่นใจไดวา จะครอบคลุมคาที่แทจริงในประชา กรที่ถูกสุมตัวอยางมา มักนิยมรายงานเปนรอยละ 95 เชน 95% CI = 5 - 15 แตอาจเปนรอย ละ 90 หรือ 99 ก็ได Confidence limits (CL) คาสูงสูดและต่ําสุดของ confidence interval
  • 22. 24 Confounding การเกิดความเบี่ยงเบนของความสัมพันธที่แทจริงระหวาง 2 ตัวแปร ที่เนื่อง จากตัวแปรที่ 3 Confounding variable, confounder ตัวแปร (ที่ 3) ที่เบี่ยงเบนความสัมพันธที่แทจริงของ 2 ตัวแปร Contamination การที่กลุม control ไดรับ intervention ของกลุมทดลอง ซึ่งแทที่จริงไมควร เปนเชนนั้น Control group, controls กลุมที่กําหนดใหเปนตัวเปรียบเทียบกับกลุมทดลอง Control event rate (CER) ดู event rate Correlation coefficient คาความสัมพันธระหวาง 2 ตัวแปรชนิด continuous มีคาระหวาง –1 ถึง +1 โดยคาลบหมายถึงสัมพันธผกผันกัน และคาใกล 1 หรือ –1 แสดงถึงความ สัมพันธเชิงเสนตรงมาก (linear relationship) Correlation (ecological) study การศึกษาหาความสัมพันธโดยใชขอมูลกลุมบุคคลแทนที่ จะใชขอมูลของแตละบุคคล Cost-benefit analysis การวิเคราะหคาใชจายโดยนําผลที่ได (คิดเปนตัวเงิน) มาหักลบกับ เงินที่ลงทุน Cost-effectiveness analysis การวิเคราะหคาใชจาย (คิดเปนตัวเงิน) ตอหนวยของผลที่ได (ซึ่งไมไดวัดเปนตัวเงิน) นิยมวิเคราะหเปรียบเทียบระหวาง intervention ตางๆ Cost-minimization analysis การวิเคราะหเปรียบเทียบคาใชจาย (คิดเปนตัวเงิน) เปรียบ เทียบระหวางวิธีการตางๆ ที่ใหผล (health effect) เทากัน และเลือกวิธีการที่เสียคาใชจาย นอยที่สุด Cost-utility analysis การวิเคราะหคาใชจายตอหนวยอรรถประโยชน (utility) ซึ่งวัดเปน quality gain เชน quality-adjusted life year (QALY) หรือระยะเวลา 1 ปที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี Critical appraisal การประเมินคุณคาของรายงานการศึกษาวิจัย โดยคํานึงถึงความถูกตอง (validity) ของการศึกษา และความสามารถประยุกตนําผลการศึกษาไปใช (application) ใน เวชปฏิบัติ
  • 23. 25 Crossover study design การศึกษาที่ใหผูปวยกลุมหนึ่งเพียงกลุมเดียวไดรับวิธีการรักษาที่ ตองการเปรียบเทียบกันอยางนอย 2 วิธีขึ้นไป โดยสลับเวลาการไดรับแตละวิธี Cross-sectional study การศึกษา ณ ชวงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยการสุมตัวอยางจากประชากร ทั้งหมด และดูปจจัย (exposure) และผล (outcome) พรอมกันขณะกําลังศึกษา Cumulative incidence สัดสวนของประชากรที่เกิดโรค โดยทุกคนในประชากรไดรับการ ติดตามตั้งแตแรกพรอมกันขณะที่ยังไมมีใครเปนโรค เปน average risk ของการเกิดโรคใน ประชากร Decision analysis (or clinical decision analysis) การประยุกตการคํานวณมาพยากรณโรค หรือผลการรักษาของผูปวยเพื่อการตัดสินใจภายใตเงื่อนไขของความนาจะเปน Deduction กระบวนการที่ใชทฤษฎีหรือภาพรวม ไปอธิบายเหตุการณยอยแตละเหตุการณ Descriptive epidemiology ระบาดวิทยาเชิงพรรณนาที่บรรยายเฉพาะขอมูลตัวแปร เชน เวลา สถานที่ และบุคคล โดยไมมีการวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปร Differential misclassification ดู misclassification Dose-response relationship เกณฑหนึ่งของความสัมพันธเชิงเหตุและผลที่กลาวถึงขนาด ของ outcome ที่ตองขึ้นอยูกับขนาดหรือปริมาณ exposure Double-blind ดู blinding Dropout ผูที่ไมสามารถมาติดตามผลการทดลองหรือการรักษา Ecological fallacy ความผิดพลาดของการสรุปความสัมพันธที่ไดจากการศึกษาขอมูลจาก กลุมแทนที่จะศึกษาขอมูลจากแตละบุคคล Ecological survey การศึกษาขอมูลที่มีลักษณะเปนกลุมกอน (aggregated data) ของประชา กร ไมใชขอมูลของแตละคน เพื่อหาความสัมพันธระหวางปจจัยเสี่ยง (risk factor) กับผล (outcome) ที่เกิดขึ้น Effectiveness ประสิทธิผลที่เกิดขึ้นจากการสถานการณจริง ดู efficacy Efficacy ประสิทธิผลที่เกิดขึ้นจากสถานการณในอุดมคติ ดู effectiveness Efficiency ประสิทธิภาพ หรือผลที่เกิดขึ้นตอหนวยทรัพยากรที่ลงทุน
  • 24. 26 Error, type 1 (alpha error) ความผิดพลาดเนื่องจากไปปฏิเสธ null hypothesis ที่เปน ความจริง หรือการยอมรับวามีความแตกตางในขณะที่ความเปนจริงไมมี Error, type 2 (beta error) ความผิดพลาดเนื่องจากไปรับ null hypothesis ที่เปนเท็จ หรือ การยอมรับวาไมมีความแตกตางในขณะที่ความเปนจริงมีความแตกตาง Event rate อัตราการเกิดเหตุการณ เชน EER (experimental event rate) คือ สัดสวนของ คนไขที่หายจากการรักษาดวยวิธีที่ทดลองอยู สวน CER (control event rate) คือ สัดสวน ของคนไขที่หายจากการรักษาดวยวิธีที่เปรียบเทียบกัน สําหรับ PEER (patient expected event rate) หมายถึงสัดสวนของผูปวยที่คาดหวังวาจะหายโดยไมไดรับการรักษาหรือไดรับ การรักษาแบบเดิม ดู treatment effects Evidence-based health care การประยุกตใชความรูทางการแพทยเชิงหลักฐาน (evidence- based medicine) ในสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการแพทยและสาธารณสุข เชน เศรษฐ ศาสตรสาธารณสุข การบริหารจัดการ Evidence-based medicine การใชหลักฐานที่ดีที่สุดทางการแพทยที่มีอยูในการตัดสินใจดู แลรักษาผูปวย โดยหลักฐานนั้นตองมาจากการวิจัยที่ดีและเปนระบบ Experimental event rate (EER) ดู event rate Exposure การที่ไดรับหรือสัมผัสกับปจจัย External validity ดู validity False negative ผลทดสอบที่เปนลบในผูที่ปวยจริง False positive ผลทดสอบที่เปนบวกในผูที่ไมปวยจริง Gold standard การทดสอบหรือวิธีการวินิจฉัยที่เปนมาตรฐานสําหรับเปรียบเทียบ หากให ผลบวกหรือลบใหถือเปนขอยุติ Hawthorne effect ผลดีที่เกิดขึ้นเนื่องจากการที่ไดรับการดูแลเอาใจใส Hierarchy of evidence ระดับคุณภาพความนาเชื่อถือของการศึกษาหรืองานวิจัย แบงออก เปน I: หลักฐานจาก randomized controlled trial อยางนอย 1 study II-1 หลักฐานจาก controlled trial ที่ไมมี randomization
  • 25. 27 II-2 หลักฐานจาก cohort หรือ case-control studies ที่ควรมีมากกกวา 1 การศึกษา II-3 หลักฐานจาก uncontrolled studies III หลักฐานจากประสบการณ ความเห็น หรือรายงานเชิงพรรณนา (case report / series) Historical control กลุมเปรียบเทียบที่ขอมูลไดรับคนละ (กอน) เวลาที่เก็บขอมูลกลุม ทดลอง Hypothesis สมมติฐาน หรือการคาดเดา แบงออกเปน -null hypothesis (H0) สมมติฐานของความไมแตกตาง หรือไมคาดวาจะแตกตางกันระหวาง กลุม -alternative hypothesis (HA) สมมติฐานทางเลือกที่คาดวาจะแตกตางกันระหวางกลุม Inception cohort กลุมผูปวยที่เริ่มมีอาการโรคพรอมกัน (ระยะเดียวกันของโรค) Indirect standardizeation/adjustment ดู standardization Inference กระบวนการสรุปผลโดยอาศัยขอเท็จจริงหรือการสังเกตตางๆ เชน inferential statistic หมายถึงการสรุปผลและแปลผลขอมูลดวยวิธีการสถิติ Information bias อคติในการวัด exposure หรือ outcome เนื่องจากไดรับขอมูลผิดพลาด Informed consent การที่ผูถูกทดลอง อนุญาตโดยสมัครใจหลังจากไดรับทราบขอมูลผลดี ผลเสียของการทดลอง Intention-to-treat analysis วิธีการวิเคราะหขอมูลที่ไมสนใจวา ผูปวยจะไดเปลี่ยนแปลง วิธีการรักษาหรือไมหลังจากเริ่มทดลองไปแลว โดยใหถือวา ผูปวยไดรับวิธีการรักษาตามที่ ถูกสุมตั้งแตตน Internal validity ดู validity Kappa ความสอดคลองของการวัด 2 ครั้ง หรือผูวัด 2 คน คํานวณจากสูตร (P0 – Pc) / (1 – Pc) P0 = observed agreement, Pc = chance agreement Lead-time bias ความผิดพลาดในการวัดการรอดชีพเนื่องจากการตรวจคัดกรองที่สามารถ ตรวจพบผูเปนโรคกอนที่จะมีอาการ แตหากการรอดชีพไมเปลี่ยนแปลง จะทําใหเขาใจผิด วา มีอายุ (การรอดชีพ) นานขึ้น
  • 26. 28 Length bias ความผิดพลาดในการวัดการรอดชีพเนื่องจากความรุนแรงของแตละโรคไมเทา กัน และการตรวจคัดกรองพบมักจะขึ้นอยูกับความรุนแรงของโรคนั้นๆ (รุนแรงนอย ตรวจ คัดกรองพบไดเร็ว) Likelihood ratio (LR) อัตราสวนระหวางโอกาสไดผลการทดสอบวินิจฉัยอยางเดียวกันใน ผูที่เปนโรค ตอผูไมเปนโรค Positive LR = Sensitivity / (1 – Specificity) Negative LR = (1 – Sensitiivity ) / Specificity Meta-analysis การทบทวนรายงานการศึกษาตางๆ อยางเปนระบบโดยการใชวิธีการทาง คณิตศาสตรเพื่อสรุปผลภาพรวม Misclassifaction การจัดกลุมผิด เชนจัดกลุมมีปจจัยเปนกลุมไมมีปจจัย แบงออกเปน -differential misclassification จัดกลุมผิดโดยโอกาสจัดกลุมผิดเกิดขึ้นไมเทากันใน ทั้งสองกลุม -non-differential misclassification จัดกลุมผิดโดยโอกาสจัดกลุมผิดเกิดขึ้นเทากันใน ทั้งสองกลุม Negative predictive value (NPV) สัดสวนของผูไดผลการทดสอบเปนลบที่ไมเปนโรคจริง Null hypothesis ดู hypothesis Number needed to treat (NNT) จํานวนผูปวยที่ตองไดรับการรักกษาดวยวิธีใหมหาก ตองการใหหายเพิ่มขึ้นอีก 1 คน มีคาเทากับ 1 / ARR Observational study การศึกษาวิจัยที่มิไดมีการทดลองหรือให intervention แตเปนการเฝา สังเกตเหตุการณที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ Odds อัตราสวนระหวางโอกาสที่จะเกิดเหตุการณกับโอกาสที่จะไมเกิดเหตุการณนั้น หรือ p / (1 - p) Odds ratio อัตราสวนระหวาง 2 odds เชน อัตราสวนระหวาง odds of case (อัตราสวน ระหวางโอกาสที่จะพบ exposure ในผูที่เปนโรคกับโอกาสที่จะไมพบ exposure ในผูที่เปน โรค) กับ odds of control (อัตราสวนระหวางโอกาสที่จะพบ exposure ในผูที่ไมเปนโรคกับ โอกาสที่จะไมพบ exposure ในผูที่ไมเปนโรค)
  • 27. 29 Outbreak epidemic ที่จํากัดขอบเขตพื้นที่ เชน ในหมูบาน โรงเรียน p-vale (probability value) โอกาสที่จะไดคาสถิติเทากับหรือมากกวาที่พบในกลุมตัวอยาง หาก null hypothesis เปนจริง Patient expected event rate (PEER) ดู event rate Power อํานาจในการตรวจสอบความแตกตางที่มีอยูจริง (ถามี) มีคาเทากับ 1- beta ดู error Type II Positive predictive value (PPV) สัดสวนของผูไดผลการทดสอบเปนบวกที่เปนโรคจริง Post-test odds อัตราสวนระหวางโอกาสที่จะเปนโรคกับโอกาสที่จะไมเปนโรคหลังการ ทดสอบ มีคาเทากับ pre-test odds x likelihood ratio Post-test probability สัดสวนของผูไดผลการทดสอบนั้นและเปนโรคจริง มีคาเทากับ post-test odds / 1 + post-test odds Precision ความแมนยํา ความสามารถวัดไดคาเดิมทุก ๆ ครั้ง (reliability, repeatability, reproducibility) แตคาที่วัดอาจไมถูกตอง (valid) ตามคาที่เปนจริง Pre-test odds อัตราสวนระหวางโอกาสที่จะเปนโรคกับโอกาสที่จะไมเปนโรคกอนการ ทดสอบ มีคาเทากับ pre-test probability / (1 + pretest probability) Pre-test probability or prevalence สัดสวนของประชากรที่เปนโรค ณ เวลานั้น (point prevalence) หรือชวงเวลานั้น (period prevalence) Publication bias อคติในการตีพิมพที่มักจะตีพิมพรายงานที่ใหผลการศึกษาในเชิงบวกหรือ ไดผลดีเทานั้น Random error ความผิดพลาดแบบสุม เกิดเนื่องจากความบังเอิญที่ไดตัวอยางที่ไมเปนตัว แทนของประชากร Randomization (or random allocation) วิธีการสุมที่คลายกับการโยนเหรียญเพื่อกําหนด วิธีการรักษา เชน โยนไดหัวจะใหวิธีรักษาแบบหนึ่ง และไดกอยจะใหวิธีรักษาอีกแบบหนึ่ง ที่เปรียบเทียบกัน ซึ่งมุงหวังใหทั้งสองฝาย (กลุมทดลองและกลุมควบคุม) มีปจจัยตัวแปรที่ จะมีผลตอ outcome กระจายเทาเทียมกัน
  • 28. 30 Randomized controlled clinical trial (RCT) การทดลองเปรียบเทียบวิธีการรักษาที่ผูปวย แตละคนถูก randomize ใหไดรับการรักษาดวยวิธีใหมหรือวิธีที่เปรียบเทียบ Recall bias อคติจากการที่จําขอมูลในอดีตไมไดหรือจําผิดพลาด Relative risk reduction (RRR) ดู treatment effects Research กระบวนหาองคความรูใหมอยางเปนระบบ Risk โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ เชน เปนโรค หรือ ตาย Risk ratio (RR) อัตราสวนระหวางความเสี่ยง (โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ) ในกลุมทดลอง กับ ความเสี่ยง (โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ) ในกลุมเปรียบเทียบ RR = EER / CER Screening การตรวจคัดกรอง หรือการคนหาผูที่เปนโรคแตยังไมมีอาการของโรคปรากฏ Sensitivity สัดสวนของผูเปนโรคจริงที่ใหผลการทดสอบเปนบวก มีคาเทากับ a / a + c SnNout การทดสอบที่มี sensitivity (Sn)สูง หากไดผลลบ (N) จะเปนการ rule out Specificity สัดสวนของผูไมเปนโรคจริงที่ใหผลการทดสอบเปนลบ มีคาเทากับ d / b + d SpPin การทดสอบที่มี specificity (Sp)สูง หากไดผลบวก (P) จะเปนการ rule in Standardization กระบวนการปรับใหมีมาตรฐานเดียวกันเพื่อใหเปรียบเทียบกันได เชน ประชากร 2 กลุมที่มีโครงสรางอายุไมเหมือนกัน หากเปรียบเทียบตัวชี้วัดอื่นๆ โดยไมปรับ ใหโครงสรางอายุเหมือนกันอาจแปลผลผิดพลาดได -direct standardization ใชจํานวนประชากรมาตรฐานหรือประชากรอางอิงมาเปนตัวปรับ -indirect standardization ใชอัตรามาตรฐานหรืออัตราอางอิงมาเปนตัวปรับ Statistical significance นัยสําคัญทางสถิติ หรือการเกิดเหตุการณที่มีโอกาสเกิดขึ้นไดนอย พิจารณาจากคา p-value หากต่ํากวา 0.05 มักจะถือวามีนัยสําคัญทางสถิติ Survival analysis การวิเคราะหการรอดชีพ เปนกระบวนการที่ใชวิธีการทางสถิติในการ ประเมินการรอดชีพจากโรคหรือจากการไดรับการรักษาปองกันวิธีตางๆ Systematic error ดู bias Systematic review การสรุปผลโดยคนหารายงานวิจัยตางๆ อยางเปนระบบและประเมิน คุณคา (critical appraisal) ของบทความรวมกับวิธีการทางสถิติเพื่อสรุปผลภาพรวมของราย งานวิจัยทั้งหมด
  • 29. 31 Treatment effects ไดแก ARR (absolute risk reduction) = EER - CER RRR (relative risk reduction) = (EER - CER) / CER ถาวัด good outcome RRI (relative risk increase) = (EER - CER) / CER ถาวัด bad outcome ABI (absolute benefit increase) = ARR RBI (relative benefit increase) = RRR NNT (number needed to treat) = 1 / ARR ถาเปน good outcome NNH (number needed to harm) = 1 / ARR ถาเปน bad outcome EER = experimental event rate; CER = control event rate Validity การวัดไดคาถูกตองตามคาที่เปนจริง หรือการที่ไมมีความผิดพลาดชนิดมีระบบที่ อธิบายได (ไมมี bias) Validity, study ความถูกตองของการศึกษากับการนําไปประยุกตใช แบงออกเปน -internal validity สามารถนําไปประยุกตใชในประชากรที่สุมตัวอยางมา -external validity สามารถนําไปประยุกตใชนอกประชากรที่สุมตัวอยางมา (generalizability)