SlideShare a Scribd company logo
1 of 165
Download to read offline
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 1 
Executive Coaching 
การโค้ชผู้บริหาร 
องค์ความรู้ ECS 
ถ่ายทอดโดย อาจารย์ เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย 
และทีมผู้ช่วย อาจารย์ ชัยรัตน์ วงศ์จินดานนท์ 
อาจารย์ ณษรา สุวศราภรณ์ อาจารย์ นพพร เทพสิทธา คุณพิมผกา มณีไทย 
ECS: ชัยยาณัฐ อนุรัตน์ ดร.ดไนยา ตั้งอุทัยสุข ดร.ธัญญา วงษ์วานิช 
เปรียบปราณ บุณยพุกกณะ พาศักดิ์ เสนาวงษ์ วิบูลย์ จุง 
ศันสนีย์ ลิ้มพงษ์ สุพรรษา เบญจเทพานันท์ สุวรรณชัย โลหะวัฒนกุล
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 2 
Executive Coaching 
การโค้ชผู้บริหาร
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 3 
บทนา 
E-book เรื่อง Executive Coaching นี้ จัดทำโดยผู้เข้ำร่วมโครงกำร Executive Coaching Scholarship by TheCoach (ECS) ระหว่ำงเดือนพฤษภำคม – มิถุนำยน 2555 สอนและ สนับสนุนค่ำใช้จ่ำยทั้งหมดโดยอ.เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย ผู้เชี่ยวชำญกำรโค้ชผู้บริหำร รำยบุคคล ภำยใต้แบรนด์ TheCoach 
โครงกำร ECS มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนำบุคลำกรของชำติผ่ำนกำรโค้ช ถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ เรื่อง Executive Coaching ให้แพร่หลำย และสร้ำงบริกำรโค้ชผู้บริหำรในรำคำย่อมเยำ 
E-book เล่มนี้ จัดทำขึ้นโดยรวบรวมหลักกำร Executive Coach ที่ถ่ำยทอดโดย อ.เกรียง ศักดิ์ ในโครงกำร ECS ซึ่งถือได้ว่ำเป็นหนังสือหรือคู่มือกำรโค้ชภำษำไทยเล่มแรกใน ประเทศไทย 
หนังสือเล่มนี้เหมำะกับผู้ที่ต้องกำรมีควำมรู้เรื่องกำรโค้ชผู้บริหำร หัวหน้ำงำนที่ต้องกำรเสริม ทักษะด้ำนกำรโค้ช และเจ้ำของธุรกิจที่ต้องกำรพัฒนำบุคลำกรผ่ำนกระบวนกำรโค้ช 
ดูสไลด์ประกอบคำบรรยำยครั้งที่ 1 ได้ที่ http://www.slideshare.net/coachkrieng/ecs- session-1-actual 
ดู Youtube ประกอบได้ที่ http://www.youtube.com/playlist?list=PLC7439567972EBB20 เริ่ม ตั้งแต่ ECS S1 01 ถึง ECS S1 18
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 4 
จากใจโค้ชเกรียงศักดิ์ 
การโค้ชผู้บริหารแบบตัวต่อตัว เป็นเรื่องใหม่ในต่างประเทศ และยิ่งเป็นเรื่องใหม่มากในบ้าน เรา การเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้ส่วนใหญ่จะมีแต่เอกสารและข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษ 
ดังนั้นหากจะมีแหล่งเรียนรู้ที่เป็นภาษาไทยสาหรับคนไทยเพิ่มขึ้น น่าจะเป็นประโยชน์ โดยรวมต่อสังคมของเรา 
ผมเองเริ่มทางานโค้ชผู้บริหารแบบตัวต่อตัวครั้งแรกเมื่อสิบปีก่อน โดยการเรียนรู้แบบศึกษา เอง เรียนรู้แบบครูพักลักจา ไม่ได้เข้ารับการอบรมหรือศึกษาในรูปแบบที่เป็นทางการด้วย วิชาการเกี่ยวกับเรื่องนี้แต่อย่างใด 
สิบปีที่ผ่านมาในเรื่องการโค้ชผู้บริหารแบบตัวต่อตัว ผมทาผิดเป็นส่วนใหญ่ โชคดีที่ลูกค้า เมตตาและให้โอกาสผมได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองแบบค่อยเป็นค่อยไป 
ผมคิดว่าประสบการณ์ที่ผ่านมาควรค่าที่จะนามาเผยแพร่แลกเปลี่ยน แทนที่จะปล่อยให้คน อื่นๆต้องมาเริ่มลองผิดลองถูกซ้าแล้วซ้าเล่า จึงเป็นที่มาของเอกสารชุดนี้ 
เอกสารชุดนี้เกิดจากแรงกายและแรงใจของทีมงาน ECS ท่านสามารถจะศึกษาได้ด้วยตนเอง โดยสามารถเรียนรู้ประกอบสื่อทาง Social Media อื่นๆ เช่นที่ 
http://www.youtube.com/playlist?list=PLC7439567972EBB20 
https://www.facebook.com/TheCoachinth 
www.thecoach.in.th
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 5 
การเรียนรู้ที่ดีคือ การลองลงมือทาและนาไปสอนต่อ หากท่านศึกษาแล้วคิดว่าดีมีประโยชน์ ก็ช่วยนาไปปฏิบัติและนาไปสอนต่อด้วยครับ 
ขอขอบคุณทุกๆท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทาเอกสารชุดนี้ครับ 
ผมขออุทิศความดีในกิจกรรมครั้งนี้ให้กับโค้ชสองคนแรกในชีวิตของผม คือคุณพ่อและคุณแม่ ทั้งสองท่านทาให้ผมมีโอกาสได้เกิดมา “ทาให้โลกนี้ดีขึ้น” 
ขอบคุณครับ 
เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย 
พฤษภาคม 2556
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 6 
จากใจทีม ECS 
ทีม ECS ทั้ง 9 คน ถือว่ำเป็นผู้โชคดีมำกๆที่มีโอกำสเข้ำรับกำรถ่ำยทอดควำมรู้ด้ำน Executive Coaching จำกอำจำรย์เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย ผู้เชี่ยวชำญกำรโค้ชผู้บริหำร รำยบุคคล ภำยใต้แบรนด์ TheCoach 
ตลอดเวลำ 6 สัปดำห์ของกำรเรียนรู้ในห้องเรียน พวกเรำได้ควำมรู้ ได้ฝึกฝน และได้รับกำร ดูแลอย่ำงใกล้ชิดจำกทีมคณำจำรย์ เพื่อให้แน่ใจว่ำเรำเข้ำใจจริง สำมำรถนำควำมรู้ไปใช้ได้ อย่ำงถูกต้อง 
ขณะนี้ พวกเรำได้สืบทอดปณิธำนของอำจำรย์ คือ “กำรทำโลกนี้ให้ดีขึ้น” ผ่ำนหน้ำที่กำรงำน และภำระกิจในหลำกหลำยรูปแบบ และพวกเรำหลำยคนก็ได้ให้บริกำรโค้ชผู้บริหำรในรำคำ ย่อมเยำ ตำมวัตถุประสงค์ของโครงกำรด้วย 
เรำเชื่อมั่นว่ำ กำรโค้ช เป็นอีกหนึ่งวิธีกำรที่สำมำรถพัฒนำบุคลำกรให้สำมำรถใช้ศักยภำพที่ มีอยู่ได้อย่ำงเต็มประสิทธิภำพ 
ทีม ECS ทั้ง 9 คน ขอขอบพระคุณอำจำรย์เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย และคณำจำรย์ทุกท่ำน พวกเรำขออำรำธนำคุณพระศรีรีตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลำยในสำกลโลก ได้คุ้มครอง และปกปักษ์รักษำท่ำนให้สุขภำพแข็งแรง มีควำมสุข สมบูรณ์พูนผลในสิ่งที่ปรำรถนำทุก ประกำร 
ด้วยควำมเคำรพอย่ำงสูง 
ดร.ดไนยำ ตั้งอุทัยสุข 
วิบูลย์ จุง 
ศันสนีย์ ลิ้มพงษ์ 
เปรียบปรำณ บุณยพุกกณะ 
สุวรรณชัย โลหะวัฒนกุล 
สุพรรษำ เบญจเทพำนันท์ 
ชัยยำณัฐ อนุรัตน์ 
ดร.ธัญญำ วงษ์วำนิช 
พำศักดิ์ เสนำวงษ์
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 7 
สารบัญ 
หน้า บทที่ 1 โค้ชชิ่งคืออะไร 8 
บทที่ 2 ประโยชน์ของกำรโค้ชผู้บริหำร 
10 บทที่ 3 โมเดลกำรโค้ช แบบ 4 ไอ 12 
บทที่ 4 รูปแบบกำรโค้ช ของ เดอะโค้ช 
20 บทที่ 5 รูปแบบกำรโค้ช แบบ โกรว์น 26 
บทที่ 6 รูปแบบกำรโค้ช เรื่องควำมเชื่อที่ไม่สมเหตุผล 
31 บทที่ 7 รูปแบบกำรโค้ช บนจุดแข็ง 40 
บทที่ 8 กติกำรในกำรสนทนำระหว่ำงกำรโค้ช 
51 บทที่ 9 คู่มือกำรฝึกโค้ช สำหรับมำสเตอร์โค้ช และผู้สังเกตกำรณ์ 52 
บทที่ 10 บันทึกสะท้อนกำรเรียนรู้ของชำว ECS 
54 บทที่ 11 สรุป ท้ำยเล่ม 60 
อ้ำงอิง 
61 สำรบัญวีดีโอ 62 
สไลด์ประกอบกำรเรียนหลักสูตร ECS สัปดำห์ที่ 1 
63 สไลด์ประกอบกำรเรียนหลักสูตร ECS สัปดำห์ที่ 2 78 
สไลด์ประกอบกำรเรียนหลักสูตร ECS สัปดำห์ที่ 3 
124 สไลด์ประกอบกำรเรียนหลักสูตร ECS สัปดำห์ที่ 4 131 
สไลด์ประกอบกำรเรียนหลักสูตร ECS สัปดำห์ที่ 5 
152
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 8 
บทที่ 1 โค้ชชิ่งคืออะไร 
ที่มาของคาว่า “โค้ช” 
คำว่ำ coach มีรำกศัพท์มำจำกคำว่ำ Kocs ภำษำฮังกำรี แปลว่ำรถม้ำขนำดใหญ่ และต่อมำ คำนี้ได้ใช้อย่ำงแพร่หลำยในยุโรป โดยมีควำมหมำยว่ำกำรเคลื่อนย้ำยจำกจุดหนึ่งไปยังอีกจุด หนึ่งด้วยควำมไวที่สุดเท่ำที่จะทำได้ ด้วยวิธีที่ดีที่สุด 
ต่อมำมีกำรใช้คำว่ำ coach ในมหำวิทยำลัยออกฟอร์ด เพื่อหมำยถึง ติวเตอร์ หรือผู้ช่วยให้ นักศึกษำสอบผ่ำน ดูเพิ่มเติมได้ที่วีดีโอ http://www.youtube.com/watch? 
v=IXQi4dDMk7Y&list=PL8FB460C9ACB9FC91&index=18&feature=plpp_video
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 9 
โค้ชชิ่ง คือ 
การช่วยผู้บริหารให้พัฒนาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จากจุดใดจุดหนึ่งไปยังอีกจุด 
หนึ่ง 
จำกภำพ โค้ชจะทำหน้ำที่พำโค้ชชี่เดินทำงจำกจุด A ไปยังจุด B โดยให้โค้ชชี่ได้ใช้ ควำมสำมำรถ ศักยภำพ และทรัพยำกรที่มีอยู่ในตัว เลือกเส้นทำงที่ต้องกำรไปด้วยตนเอง โค้ชจึงต้องมีคุณสมบัติที่สำมำรถนำศักยภำพที่แท้จริงของโค้ชชี่ออกมำได้ และให้นำไปใช้ได้ อย่ำงเต็มที่
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 10 
บทที่ 2 ประโยชน์ของการโค้ชผู้บริหาร 
ทาไม Executive จึงต้องมี Coach ? 
ผู้บริหำรระดับสูงมีควำมรู้ควำมสำมำรถ และมีบทบำทสำคัญที่จะนำพำองค์กรไปสู่เป้ำหมำย แต่ขณะนี้ยังพำองค์กรไปสู่จุดที่ต้องกำรไม่ได้ หรือไม่สำมำรถสื่อสำรให้พนักงำนในองค์กร เดินไปข้ำงหน้ำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ 
ผู้บริหำรระดับสูง หรือผู้บริหำรใหม่ที่เริ่มก้ำวขึ้นมำเป็นผู้บริหำรระดับสูง อำจพบปัญหำหรือ อุปสรรคต่ำงๆในกำรบริหำรงำน ทำให้ไม่สำมำรถใช้ศักยภำพที่มีอยู่ได้อย่ำงเต็มที่ Executive Coach จะทำหน้ำที่ให้ควำมช่วยเหลือ พำผู้บริหำรข้ำมผ่ำนปัญหำต่ำงๆให้ รวดเร็วขึ้น ปรับปรุงทัศนคติในกำรบริหำรจัดกำรและปรับพฤติกรรมให้ดียิ่งขึ้น 
เจ้ำของกิจกำรและผู้บริหำรระดับสูงในยุโรปและอเมริกำ ต่ำงก็ใช้บริกำรทำงด้ำน Executive Coaching เพื่อช่วยปลดปล่อยศักยภำพของบุคคล ให้สำมำรถนำควำมรู้ควำมสำมำรถที่มีอยู่ มำสร้ำงผลงำนได้อย่ำงแท้จริง รวมทั้งสำมำรถโค้ชเรื่องชีวิต เพื่อให้เกิดผลสำเร็จทั้งในด้ำน กำรงำนและด้ำนส่วนตัวได้ 
อีริค ชมิท ประธำนบริหำรของกูเกิ้ล ได้ให้สัมภำษณ์วำรสำรฟอร์จูนว่ำ “คำแนะนำที่ดีที่สุดที่ เขำได้รับคือกำรมีโค้ชประจำตัว” ดูบทสัมภำษณ์ที่ http://money.cnn.com/video/fortune/2009/06/19/f_ba_schmidt_google.fortune/ เขำเล่ำว่ำตอน แรกเขำไม่เข้ำใจ และไม่เห็นด้วย เพรำะไม่คิดว่ำโค้ชจะช่วยอะไรเขำได้ เขำเป็นคนที่เหมำะ กับตำแหน่งนี้ที่สุดแล้ว แต่เมื่อได้รับคำอธิบำยจึงทรำบว่ำนักกีฬำชั้นนำ นักแสดงระดับแนว หน้ำ ล้วนแล้วแต่มีโค้ชทั้งนั้น โค้ชทำหน้ำที่สะท้อนมุมมองที่พวกเขำไม่เห็น โค้ชจะคอยเช็ค
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 11 
ว่ำสิ่งที่เขำพูดและแสดงออกมำนั้น เขำต้องกำรสื่อควำมหมำยเช่นนั้นเช่นนี้ใช่หรือไม่ เพรำะ สิ่งที่คนทั่วไปทาได้ไม่ดีคือมองตัวเองอย่างที่ถูกมอง อภิวุฒิ พิมลแสงสุริยำ ให้สัมภำษณ์หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ เมื่อวันที่ 26 ธันวำคม 2555 ว่ำ “กำรโค้ชผู้บริหำร โค้ชไม่จำเป็นต้องเก่งกว่ำผู้บริหำร ผู้บริหำรหลำยคนเก่งกว่ำและ ประสบควำมสำเร็จมำกกว่ำโค้ชเสียอีก แต่โค้ชยืนอยู่คนละตำแหน่งกับผู้บริหำร จึงมอง ปัญหำในมุมมองที่ต่ำงกัน และผู้บริหำรระดับสูงส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีใครกล้ำโต้แย้งหรือเห็น ต่ำง โค้ชจึงทำหน้ำที่ท้ำทำย (Challenge) ควำมคิดของผู้บริหำรในมุมมองที่ต่ำงไปและทำ หน้ำที่เป็นกระจกสะท้อนมุมมองที่ผู้อื่นมองผู้บริหำรให้มีโอกำสเห็นตัวตนที่แท้จริง นอกจำกนั้น โค้ชยังทำหน้ำที่ช่วยให้ผู้บริหำรได้คิดและมองในมุมมองที่ต่ำงไปและสำมำรถดึง ศักยภำพของตนเองที่มีอยู่ออกมำใช้ได้มำกขึ้น” ในองค์กรที่มีพนักงำนเป็นคนใน Generation Y เป็นพนักงำนที่ใช้ควำมรู้ในกำรทำงำน ต้องกำรแรงบันดำลใจ กำรโน้มน้ำวใจ กำรโค้ชจึงเป็นวิธีกำรที่เหมำะสมเพื่อสร้ำง Engagement คือควำมสนุกสนำนในที่ทำงำน Empowerment คือมีควำมเป็นเจ้ำของในงำน Entrepreneurship คือกำรมีจิตวิญญำณของผู้ประกอบกำร ไม่เกี่ยงงำน เป็นต้น ดูวีดีโอได้ที่ http://www.youtube.com/watch? v=xUJnZzWxTzY&list=PL8FB460C9ACB9FC91&index=17&feature=plpp_video ดังนั้น กำรสั่งงำนอำจไม่เหมำะอีกต่อไป
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 12 
บทที่ 3 โมเดลการโค้ช แบบ 4 ไอ 
ในกำร Coach ผู้บริหำรนั้น ควรเริ่มด้วยกำรตรวจเช็คว่ำศรศิลป์กินกันหรือไม่ เรียกว่ำ Checking-Chemistry แล้วเริ่มวิเครำะห์สถำนกำรณ์ เรียกว่ำ diagnosis แล้วจึงออกแบบ กำรโค้ชสำหรับ Coachee โดยเฉพำะ 
กำรตรวจเช็คว่ำศรศิลป์กินกันหรือไม่ ทำได้โดยกำรพบกันแบบไม่เป็นทำงกำรระหว่ำง Coach และ Coachee ใช้เวลำอย่ำงน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อให้ทั้ง 2 ฝ่ำยได้ศึกษำซึ่งกันและ กันว่ำถูกจริตกันมำกน้อยเพียงใด เพรำะกำรโค้ชนั้นเป็นกำรพูดคุยของคน 2 คนที่ต้อง พบกันอย่ำงน้อยเดือนละ 2 ครั้ง เป็นเวลำอย่ำงน้อย 6 เดือน หำกเข้ำกันไม่ได้ก็จะอึดอัด ด้วยกันทั้ง 2 ฝ่ำย เรื่องที่พูดคุยในกำรพบกันครั้งนี้มักจะเป็นเรื่องประวัติของแต่ละคน สิ่ง ที่ Coachee มองหำ บทบำทและหน้ำที่ของ Coach และ Coachee วิธีกำร Coaching ผลลัพธ์ที่ต้องกำร เป็นต้น 
หำกพูดคุยแล้วคิดว่ำจริตไม่ตรงกัน Coach ก็สำมำรถแนะนำให้ Coachee คุยกับว่ำที่ Coach ท่ำนอื่นได้ 
กรณีที่พูดคุยกันแล้วพบว่ำ Coach และ Coachee เข้ำกันได้ดี ก็จะเข้ำสู่ขั้นตอนกำร วิเครำะห์ หรือ diagnosis สถำนภำพของ Coachee โดยมี 2 ขั้นตอนคือ 
1. กำรค้นพบตนเองโดยใช้ Gallup’s Strengthsfinder ทำแบบสอบถำมออนไลน์ เพื่อหำ พรสวรรค์ที่โดดเด่น 5 ประกำร (อ่ำนรำยละเอียดเพิ่มในบทที่ 7)
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 13 
2. กำรทำ 360 Feedback คือกำรเก็บข้อมูลของ Coachee ผ่ำนกระบวนกำรสัมภำษณ์ บุคคลใกล้ชิด 6 คนๆละ 1 ชั่วโมง ได้แก่ ผู้บังคับบัญชำโดยตรง 1 คน เพื่อนร่วมงำน ระดับเดียวกัน 2 คน และผู้ใต้บังคับบัญชำโดยตรง 3 คน 
คำถำมที่ใช้ในกำรสัมภำษณ์เพื่อทำ 360 Feedback เช่น 
 คุณรู้สึกอย่ำงไรในกำรทำงำนร่วมกันคุณ... 
 คุณ...ทำอะไรบ้ำง ที่ทำให้คุณทำงำนได้ดีขึ้น 
 คุณ...เคยทำอะไรบ้ำง ที่เป็นอุปสรรคในกำรทำงำนของคุณ 
 คุณปรำรถนำจะได้อะไรจำก... แต่ยังไม่ได้รับ 
 (ถำมเฉพำะผู้ใต้บังคับบัญชำ) คุณ...ควรจะ ทำต่อ / หยุด / เริ่ม ในเรื่องใดบ้ำง ที่จะทำให้คุณทำงำนได้มีประสิทธิภำพมำกขึ้น 
 (ถำมเฉพำะผู้ใต้บังคับบัญชำ) คุณได้รับกำรสนับสนุนให้ประสบควำมสำเร็จ และก้ำวหน้ำมำกน้อยเพียงใดจำกคุณ... หำกมี เขำทำอย่ำงไร หำกยังไม่มี จะ เสนอแนะอะไร 
Coach จะทำกำรวิเครำะห์ข้อมูลที่ได้จำกทั้ง 2 ขั้นตอน เสนอเป็นรำยงำนต่อ Coachee ว่ำมีจุดแข็งอะไร สิ่งที่ควรเริ่มคืออะไร และสิ่งที่ควรหยุดคืออะไร
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 14 
Coaching เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 
กำรที่ Coach จะทำให้ Coachee เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของเขำนั้นเป็นสิ่งที่ท้ำทำยมำก 
ถ้ำถำมว่ำ Coach สำมำรถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ Coachee ได้จริงๆหรือ? 
ในควำมเป็นจริง Coach ไม่สำมำรถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของใครได้ นอกเสียจำก Coachee ต้องกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเอง 
กำรจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองให้ได้ผล ต้องประกอบด้วย 4 ปัจ จัยหลักๆ ได้แก่ 
1. Coachee เห็นประโยชน์ต่อกำรเปลี่ยนแปลงนั้น เช่น กำรปรับปรุงพฤติกรรม เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ใหม่ที่ต้องกำร 
2. มีควำมมุ่งมั่น และมีกำลังใจในกำรเปลี่ยนแปลง 
3. มีวินัยต่อกำรเปลี่ยนแปลง เพื่อให้มีควำมต่อเนื่องในทำงปฏิบัติ 
4. อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อกำรเปลี่ยนแปลง 
ไม่มีใครเปลี่ยนแปลงนิสัยของคุณได้ นอกจากคุณต้องการ เปลี่ยนแปลงด้วยตัวของคุณเอง
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 15 
อ.เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย ได้พัฒนำ Coaching Model โดยในกระบวนกำร Coaching จะเริ่มต้นด้วย 4Is 
เริ่มต้นจำก Individualization ซึ่งเป็นกำรวิเครำะห์ Coachee ว่ำมีลักษณะนิสัยเป็น อย่ำงไร มีคุณสมบัติอะไร ควำมเชื่อ ศักยภำพ แนวทำงกำรเรียนรู้อย่ำงไร เพื่อประเมิน จริตของ Coachee ในกำรเรียนรู้หรือกำรรับกำร Coach เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องกำร
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 16 
เมื่อประเมินจริตของ Coachee แล้ว Coach จะเลือกว่ำจะใช้วิธีใดต่อไปนี้ในกระบวนกำร Coaching 
I แรกคือ Instruct หรือกำรสอน เป็นวิธีที่ช่วยให้ Coachee เรียนรู้ด้วยกำรบอก สอน หรือสั่ง จะใช้ในกรณีที่ Coach มีควำมรู้ในเรื่องนั้นๆมำกกว่ำ Coachee เช่น วิธีกำร ทำงำนเฉพำะอย่ำง 
I ที่สองคือ Inspire เป็นวิธีสอนทำงอ้อม เพื่อให้ Coachee เกิดแรงบันดำลใจ หรือ คิดได้ ว่ำจะทำอย่ำงไรต่อสิ่งที่เขำต้องกำรเปลี่ยนแปลง วิธีที่ใช้ได้คือกำรเล่ำเรื่อง กำรแชร์ ประสบกำรณ์ส่วนตัว กำรทำให้ดูเป็นตัวอย่ำง 
I ที่สำมคือ Inquire เป็นกำรโค้ชโดยใช้คำถำมเพื่อให้ Coachee คิดได้ดีมำกขึ้น กำรใช้ คำถำมเพื่อให้คิดแบบนี้เรียกว่ำกำรใช้คำถำมแบบโสครำติส* ผู้ที่ถูกถำมจะสำมำรถค้นหำ คำตอบได้จำกคำถำมที่ดีและเหมำะสม นอกจำกนี้กำรค้นพบคำตอบด้วยตนเองยังเป็น กำรเสริมควำมเชื่อมั่นให้เขำมำกขึ้นด้วย 
*โสคราติส คือ นักปราชญ์ชาวกรีก ที่ชอบใช้คาถามสอนให้คนคิด หากไปถามเขา เขาจะ ตั้งคาถามตอบให้คนคิด ค้นหาคาตอบด้วยตนเอง หากเรามีประเด็นถกกับเขา เขาจะไม่ เห็นด้วยกับเราง่ายๆ แต่เขาไม่โต้เถียง เขาจะตั้งคาถามให้เราคิดในมุมมองอื่นๆ
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 17 
Insight Learning หลังจากที่ได้เรียน 4 Is Coaching model จากอาจารย์เกรียงศักดิ์ ผมแอบอุ่นใจขึ้นเล็กน้อย เพราะรู้สึกว่าอย่างน้อยผมก็รู้อะไรบ้างแล้วเกี่ยวกับการ Coaching จากการเป็นผู้บริหารมาหลายปี ผมใช้วิธีการที่หลากหลายในการพัฒนาบุคลากรระดับ หัวหน้าและผู้จัดการของบริษัท โดยคานึงถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคล ให้ความเข้าใจใน ความคิด หน้าที่การงาน และความรู้ความสามารถต่างๆที่พวกเขาเหล่านั้นมี รวมทั้ง ประสบการณ์ที่เคยทางานร่วมกัน เพื่อค้นหาศักยภาพที่ซ่อนอยู่เพิ่มเติมและความพร้อมใน การเปลี่ยนแปลงก่อนที่จะดึงพวกเขาเข้ามาพัฒนาผลักดันให้เติบโตต่อไปเสมอ ขั้นตอนนี้ ใน 4 Is Coaching Model จะเหมือนเป็น I ตัวแรกคือ Individualize ที่ Coach ต้องทาการ ประเมิน Coachee ก่อนที่เข้าสู่ อีก 3 I ที่เหลือเพื่อเลือกวิธีการที่เหมาะสมที่สุดสาหรับคน นั้นๆ 3 I ที่เหลือคือ Instruct บอกให้เขารู้ Inspire เล่าเรื่องให้เขาตัดสินใจ หรือ Inquire ใช้ การถามเพื่อให้เขาหาคาตอบเอง บ่อยครั้งที่ผสมผสานวิธีการทั้ง3นี้เข้าหากัน บอกไปเล่า เรื่องไป บอกไปถามไป แต่ก็ยอมรับว่า มักจะใช้วิธีการ บอก มากกว่า จะถามจนกว่าเขาจะ หาทางคาตอบได้เองเสียเป็นส่วนใหญ่ อาจเป็นเพราะว่า การบอก เป็นวิธีที่ง่ายที่สุดและ รวดเร็วที่สุดด้วย แต่ในวันนี้ หลังจากที่ได้รู้จัก Coaching Model นี้แล้ว ผมก็บอกตัวเองว่า จะพยายามใช้วิธี การถาม ให้มากขึ้นเพื่อให้เขาค้นหาคาตอบได้เอง วิธีนี้จะทาให้เขาเก่งขึ้น และเก่งอย่างยั่งยืนด้วย ในขณะเดียวกัน ก็จะพยายามเลือกใช้วิธี การบอก เป็นทางออก สุดท้ายเมื่อเขาหาคาตอบไม่ได้เท่านั้น ในช่วงบ่ายของการฝึกอบรม ECS ( Executive Coaching Scholarship) อาจารย์เกรียงศักดิ์ ได้แบ่งพวกเรา 9 คนออกเป็น 3 กลุ่มๆละ 3 คน เพื่อทดลอง Role Play ให้พวกเราได้ฝึก “การโค้ชด้วยการถาม” ดู โดยในครั้งแรก ผมเป็นผู้สังเกตการณ์ก่อน แล้วก็หมุนเวียนเป็น คนถูกโค้ช และสุดท้ายเป็น โค้ชเองตามลาดับ ความยากง่ายก็เป็นไปตามลาดับนี้ด้วย การ เป็นผู้สังเกตการณ์ เหมือนกับการดูการแข่งขันกีฬา ที่ไม่ต้องลงแข่งเองนี่ ง่ายที่สุดจริงๆครับ มองเห็นจังหวะ ช่องว่างและสิ่งที่น่าจะทาได้ เต็มไปหมด จนทาให้แอบคิดไปว่า ทาไมคนเล่น
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 18 
ไม่เห็นก็ไม่รู้ น่าแปลกใจ ผมคิดว่าทุกคนคงเคยมีประสบการณ์แบบเดียวกันนี้แน่นอน พอมา เป็น คนถูกถาม ก็ไม่ยากเลย แค่ตอบในสิ่งที่ถูกถามก็พอ แต่การตอบให้ตรงกับคาถามนั้นก็ ไม่ง่ายเลยสาหรับบางคน แถมยังมีบางคนที่ตอบเป็นแต่ ไม่รู้ ก็คงทาให้คนถามงงงวยได้ไป ตามๆกัน แต่ถ้าต้องเป็นคนถามคาถามเองเมื่อไหร่ จะรู้ทันทีเลยครับว่า มันไม่ง่ายเลย คาสารภาพของโค้ชมือใหม่ของผม เกิดขึ้นตอนที่ผมต้องสวมบทเป็น โค้ช นี่แหละครับ Coachee ของผมตั้งคาถามไว้ว่า “อยากเขียนบทความแต่ไม่ลงมือเขียนสักที ไม่รู้ทาไม” ผม ก็ค่อยๆถามไปเรื่อยๆ จนได้ทราบว่า บทความที่เขาจะเขียนนั้นน่าสนใจมาก มีประโยชน์ต่อ ผู้อ่านแน่นอน และยังไม่มีผู้ใดเขียนมาก่อนด้วย เท่านั้นผมก็เริ่มติดกับดักผู้เชี่ยวชาญทันที เนื่องจากผมเองก็มีบทความที่เขียนลงในนิตยสาร FashionBiz คอลัมน์ We Share มาหลาย ปีแล้ว จึงรู้ปัญ หาดีว่า ขั้นตอนที่ยากที่สุดของการเขียนบทความใดๆคือ ขั้นตอนการยก ปากกาขึ้นเขียน นั่นเอง ผมจึงเริ่มถามแบบชี้นาขึ้น ผม : เรื่องน่าสนใจมากขนาดนี้ น่าจะได้เป็นคนแรกที่นาเสนอเรื่องนี้เลยนะครับ Coachee: ไม่เป็นคนแรกก็ไม่เป็นไรค่ะ ผม : ไม่เสียดายถ้าคนอื่นเอาไปเขียนก่อนเหรอครับ Coachee: ไม่เสียดายค่ะ ผม : แล้วทาไมไม่เขียนเลยล่ะครับ Coachee: นั่นน่ะสิคะ ไม่รู้เหมือนกันค่ะ ผม : (เริ่มไปไม่ถูกแล้ว) คิดแบบนี้ได้ไหมครับ ถ้าบทความที่เราจะเขียนนั้นมีประโยชน์ ทาให้ ผู้อ่านได้ความรู้เพิ่มเติม แล้วถ้าเราเริ่มเขียนเร็วขึ้นหนึ่งวัน คนอ่านก็จะได้ความรู้เร็วขึ้นหนึ่ง วันด้วย เริ่มเขียนเลยดีไหมครับ Coachee: ไม่สนใจค่ะว่าใครจะอ่านแล้วได้ประโยชน์ยังไง ผม : (เงียบ.....สารภาพเลยครับว่าไปไม่ถูกแล้ว .....จนเสียงระฆังช่วย หมดเวลารอบ แรก)........
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 19 
อาจารย์ผู้ช่วยบอกว่าให้ลองเปลี่ยนคาถามดู เพราะคาถามผมชี้นาตลอด และผมก็ยอมรับว่า ชี้นาจริงๆเพราะมั่นใจว่า สิ่งที่เขาจะเขียนนั้นมีประโยชน์มาก เพียงแค่เขาเริ่มเขียนเท่านั้น เอง พอรอบสองเริ่มขึ้น ผมก็ถามไปไม่ถึงไหนเลย ไปไม่รอดเลยครับ คิดไปเองว่าที่เขาไม่เริ่ม เขียน เพราะเขาไม่มั่นใจว่าจะเขียนให้ใครอ่าน เขียนแล้วลงสื่อไหน จึงถามวนเวียนไปเพื่อให้ ได้ข้อมูลเพิ่มเติม แล้ว 5 นาทีผ่านไปอย่างรวดเร็ว หมดเวลาแต่ผมลืมถามแม้กระทั่งว่า แรงจูงใจในการเขียนบทความของเขาคืออะไร ทั้งๆที่น้องที่เป็นผู้สังเกตการณ์ได้ฝากถามไว้ แล้วก็ตาม ผมรู้สึกแย่มากว่า ในรอบสองนี้ ผมถามได้แย่กว่าเดิมอีก เหมือนติดกับดักผู้หวัง ดีเข้าไปอีกหนึ่งกับดัก ลืมไปอย่างสิ้นเชิงว่ากาลังเป็นโค้ช ที่ต้องถามเพื่อช่วยเขาหาคาตอบ ไม่ใช่หาคาตอบให้กับเขาเสียเอง ผมอึดอัดกับตัวเองมากในเวลานั้น ผมบอกกับตัวเองว่า วัน แรกของการเป็นโค้ชมือใหม่ของผมนั้น สอบตกอย่างสิ้นเชิง อาจารย์เกรียงศักดิ์ฝากทิ้งท้าย เหมือนเข้าใจความรู้สึกของผมมากว่า “เป็นเรื่องปกติที่จะอึด อัด” “ใครๆก็จะอึดอัดเมื่อกาลังฝึกทักษะใหม่ที่เราไม่คุ้นเคย” ถ้าการเขียนบทความ เริ่มต้นได้แค่หยิบปากกาขึ้นมาเขียน การเป็นโค้ชที่เก่งขึ้นของผมนั้น ก็เริ่มต้นใหม่ได้แค่หยุดติดกับดักทั้งหลายของตัวเอง ไม่เก่งในเรื่องใหม่ไม่ใช่เรื่องแปลกเลย แต่ถ้าไม่พยายามเปลี่ยนแปลงตัวเองนี่สิ ไม่มีวันประสบความสาเร็จในเส้นทางใหม่ที่กาลัง เริ่มต้นอย่างแน่นอน ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม ผมจะทาให้ได้ดีขึ้นในสัปดาห์ต่อๆไป ผมตัดสินแล้วว่า ผมจะเป็นโค้ชที่ เก่งให้ได้ครับ
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 20 
บทที่ 4 รูปแบบการโค้ช ของ เดอะโค้ช 
ในห้องเรียน ECS ที่อ.เกรียงศักดิ์สอนวิธีกำร Coaching ได้เปิดโอกำสให้พวกเรำได้ ฝึกซ้อมกันหลำยครั้ง คุณวิบูลย์ สมำชิก 1 ใน 9 ของชำว ECS ได้สังเกต และสังเครำะห์ รูปแบบกำร Coach ของ อ.เกรียงศักดิ์ ออกมำ แล้วนำมำจัดเรียงเพื่อให้เห็นกระบวนกำร และขั้นตอนได้ชัดขึ้น ทำให้ Coach มือใหม่สำมำรถนำไปปฏิบัติได้อย่ำงเต็มรูปแบบง่ำย ขึ้น 
พื้นฐำนในกำร Coaching ที่อ.เกรียงศักดิ์ได้แนะนำและทำให้ดูเป็นตัวอย่ำงเสมอคือ 
1) Coach มีควำมจริงใจที่จะสนับสนุน Coachee ให้มีควำมก้ำวหน้ำตำมต้องกำร ผ่ำน กระบวนกำร Coaching 
2) Coach อยู่กับปัจ จุบันอย่ำงมีสติและมีสมำธิในกระบวนกำร Coaching 
3) Coach ทบทวนข้อมูลที่ได้รับจำก Coachee เพื่อให้แน่ใจว่ำมีควำมเข้ำใจตรงกัน 
TheCoach Pattern ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนหลัก และ 20 ขั้นตอนย่อยในกระบวนกำร Coaching ดังนี้
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 21 
Introduction 
1. Coach เริ่มต้นกระบวนกำรโดยแจ้งให้ทรำบว่ำจะใช้เวลำเท่ำไรในกระบวนกำร Coaching ในครั้งนี้ ซึ่งเป็นกำร Coach บนจุดแข็งของ Coachee และจะใช้วิธีตั้งคำถำม เป็นส่วนมำก เพื่อให้ Coachee คิดได้ดีขึ้น 
Clarify Needs 
2. ค้นหำเป้ำหมำยที่ต้องกำรจำกกำร Coaching ในครั้งนี้ โดยใช้คำถำม เช่น 
 เมี่อจบกำร Coaching ในครั้งนี้ คุณอยำกเห็นผลลัพธ์อะไร 
 อะไรคือสิ่งที่สำคัญที่สุดที่คุณต้องกำรจะพูดคุยในครั้งนี้ 
 คุณต้องกำรแลกเปลี่ยนมุมมองเรื่องอะไรกับผมในครั้งนี้ 
อย่ำงไรก็ตำม กำรถำมเพื่อให้คนคิดนั้น โค้ชต้องสร้ำงบรรยำกำศกำรสนทนำที่ดี ไม่ เหมือนกับกำรสอบสวน ให้โค้ชชี่รู้สึกสบำยใจ หำกไม่แน่ใจในประเด็นที่คุยกัน โค้ชอำจใช้ คำถำมว่ำ “ช่วยขยำยควำมในเรื่องนี้หน่อยครับ” หรือ อำจพูดว่ำ “เรำมำช่วยกันระดม ควำมคิด ไม่มีผิดถูกครับ ช่วยกันคิดดังๆ” 
3. ค้นหำกรอบหรือขอบเขตที่ต้องกำรในกำร Coaching ครั้งนี้ เพื่อให้กำร Coaching นั้น เฉพำะเจำะจงมำกขึ้น เช่น ด้ำนพฤติกรรม ด้ำนกิจกรรม หรือด้ำนผลลัพธ์ หรือเป็น
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 22 
กิจกรรมเพื่อผลลัพธ์ที่ต้องกำร เช่น คุณเอก ต้องกำรเลื่อนอันดับผลงำนให้สูงขึ้น และ เลือกที่จะพูดคุยเรื่องกิจกรรมที่จะทำให้คุณเอกสำมำรถเลื่อนอันดับผลงำนได้ 
4. ทำกำรยืนยันขอบเขตและเป้ำหมำยที่ต้องกำร โดย Coach ใช้ประโยคคำพูดว่ำ 
 ผมขอทวนเป้ำหมำยและขอบเขตที่เรำจะพูดคุยกันน่ะครับ 
 เรื่องที่คุณสนใจจะแลกเปลี่ยนมุมมองในครั้งนี้คือ... 
5. Coach กล่ำวถึงควำมคำดหวังจำกผลลัพธ์ของกำร Coaching ครั้งนี้ เช่น 
 ครั้งนี้เรำมีเวลำเพียง 60 นำที ผมไม่แนใจว่ำเรำจะได้คำตอบในทุกเรื่อง ผมจะ พยำมใช้เวลำที่มีให้คุ้มค่ำที่สุดครับ (ข้อนี้อำจมีหรือไม่ก็ได้) 
Finding Information 
6. เนื้อหำ สถำนกำรณ์ หรือเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น เป็นข้อเท็จจริงสำหรับกำร Coaching 
 เกิดเหตุกำรณ์อะไรขึ้น 
 ควำมยุ่งยำกคืออะไร 
 คุณได้ทำอะไรไปแล้วบ้ำง 
 อะไรคืออุปสรรคที่ทำให้คุณไปต่อไม่ได้ 
 อะไรที่คุณทำได้ดี 
 ทำไมเรื่องนี้ทำให้คุณยุ่งยำก 
 คุณใช้ Criteria อะไรในกำรเลือกวิธีกำรนี้ 
7. สอบถำมถึงผลกระทบที่ได้รับจำกเหตุกำรณ์หรือปัญหำนั้น 
 ผลที่เกิดจำกเหตุกำรณ์นี้คืออะไร 
 มีอะไรเป็นสัญญำณว่ำคุณได้รับผลกระทบจำกเรื่องนี้ 
8. สอบถำมถึงองค์ประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น บุคคล องค์กร
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 23 
 มีใครช่วยคุณคิดในเรื่องนี้บ้ำง 
 คุณเคยขอควำมคิดเห็นจำกใครบ้ำงหรือเปล่ำ 
 ใครเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเรื่องนี้บ้ำง 
 จริงๆแล้วคุณทำเรื่องนี้เพื่อใคร 
 เจ้ำนำย / ลูกน้องของคุณ ทรำบเรื่องนี้บ้ำงหรือเปล่ำ เขำคิดอย่ำงไร 
 เรื่องนี้มีผลกระทบต่อธุรกิจอื่นๆของคุณมำกน้อยเพียงไร 
 คุณเตรียมแผนสำรองไว้หรือไม่ 
9. สอบถำมถึงควำมสำเร็จที่ผ่ำนมำ 
 คุณได้ลองวิธีไหนไปแล้วบ้ำง 
 ในอดีตที่ผ่ำนมำ คุณได้ทำอะไรไปบ้ำงที่ทำให้คุณประสบควำมสำเร็จ 
Asking for Thinking 
10. ใช้กรอบเวลำเป็นตัวเชื่อมโยงประสบกำรณ์ และให้ Coachee ได้มองย้อนไปในอดีต หรือมองย้อนกลับมำจำกอนำคต 
 ที่ผ่ำนมำ คุณได้ทำอะไรไปแล้วบ้ำง 
 ถ้ำคุณกลับไปในเหตุกำรณ์นั้นได้ คุณจะทำอะไรให้ดีขึ้น 
 ถ้ำมีโอกำสทำใหม่อีกครั้งหนึ่ง คุณจะทำอะไรให้ต่ำงไปจำกเดิม 
 เมื่อคุณอำยุ 60 ปี คุณมองย้อนกลับมำตอนนี้ คุณจะแนะนำตัวคุณเองว่ำอย่ำงไร 
 คุณวำงเป้ำหมำยในอนำคตไว้อย่ำงไร 
 คุณจะทำอะไรบ้ำง ถ้ำไม่มีอะไรเป็นอุปสรรค 
11. สอบถำมแนวคิด หรือทำงเลือก
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 24 
 ถ้ำใช้ควำมรู้สึก คุณจะเลือกแบบไหน 
 ถ้ำใช้เหตุผล คุณจะเลือกทำงไหน 
 ถ้ำคุณเนรมิตได้ คุณจะเลือกเนรมิตอะไร 
12. เสนอให้คิดจำกมุมมองคนอื่น 
 ถ้ำคุณเป็นเจ้ำนำย คุณคิดว่ำ เจ้ำนำยของคุณจะทำอย่ำงไรกับเหตุกำรณ์นี้ 
13. ยกตัวอย่ำง เพื่อเชื่อมโยงให้ Coachee คิดได้ หรือเพื่อสร้ำงแรงบันดำลใจ 
 ผมมีเรื่องจะเล่ำให้ฟัง....คุณได้อะไรจำกเรื่องนี้บ้ำง 
 ถ้ำเปรียบเทียบเรื่องของคุณกับประสบกำรณ์ในอดีต คุณจะทำอย่ำงไรกับเรื่องนี้ 
14. ช่วยค้นหำทำงเลือกเพื่อจัดกำรกับปัญหำ 
 สิ่งที่ทำได้ในขณะนี้คืออะไร 
 คุณมีทำงเลือกอะไรบ้ำง 
 ทำงเลือกใดที่เหมำะสมที่สุดขณะนี้ 
15. ทบทวนทำงเลือกให้ Coachee ฟังโดยใช้ข้อมูลที่ได้จำกกำร Coaching 
16. หำกยังไม่แน่ใจ ให้ช่วยค้นหำต่อด้วยกำรใช้คำถำม 
 ดูเหมือนว่ำในทำงเลือกที่ 3 นี้มีอะไรที่ Inspire คุณอยู่ ถ้ำจะทำให้เป็นรูปเป็นร่ำง คุณต้องทำอะไรบ้ำง 
17. เพื่อให้กำรพูดคุยในกระบวนกำร Coaching นี้เป็นรูปธรรมมำกขึ้น Coach จะให้ Coachee วำงแผนลงมือทำ 
 จำกแผนที่คิดมำทั้งหมดคุณคิดว่ำคุณเลือกจะทำอะไรบ้ำง 
 คุณสำมำรถเริ่มได้เมื่อไร 
 คุณต้องกำรที่จะได้รับกำรสนับสนุนอะไรบ้ำง
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 25 
 คุณมีควำมมั่นใจในทำงเลือกใดที่สุด 
 (ถ้ำมีหลำยขั้นตอน) คุณจะเลือกทำขั้นตอนใดก่อน เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยใด 
18. ตรวจสอบควำมมั่นใจของ Coachee และตัวชี้วัดควำมก้ำวหน้ำ 
 คุณจะรู้ได้อย่ำงไรว่ำคุณบรรลุเป้ำหมำยที่วำงไว้ 
Conclusions 
19. สรุป เพื่อทบทวนเนื้อหำในกำร Coaching และ Coach อำจเพิ่มกำรเน้นย้ำได้ด้วย ประโยคคำถำม เช่น 
 เรำได้ข้อสรุปแล้ว ครำวหน้ำเรำจะเห็นกำรเปลี่ยนแปลงอะไรบ้ำง 
 หลังจำกวันนี้ จะมีอะไรเกิดขึ้นบ้ำง 
20. นัดหมำยเพื่อกำร Coaching ในครั้งต่อไป
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 26 
บทที่ 5 รูปแบบการโค้ช แบบ โกรว์น 
รูปแบบที่ได้รับควำมนิยมในกระบวนกำร Coaching คือ GROW Model ซึ่งมำจำก Coaching for Performance ของ Sir John Whitmore เป็นลำดับกำรสนทนำ ตั้งแต่กำหนด เป้ำหมำย ค้นหำควำมจริง ไปจนถึงทำงเลือก และแผนกำรที่จะลงมือทำเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ ต้องกำร 
GROW ย่อมำจำก GOAL – REALITY – OPTIONS – WILL และเมื่อชำว ECS ได้ทดลอง ใช้ ก็พบว่ำควรเสริมตัว N หรือคำว่ำ NOW เข้ำมำกำกับกระบวนกำร Coaching ด้วย เพื่อให้ได้สำระที่ต้องกำรที่สุด 
กลำยเป็น GROWN Model หรืออีกนัยหนึ่งคือ กำรเติบโตจำกกระบวนกำร Coaching นั่นเอง
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 27 
GOAL หมำยถึง เป้ำหมำยในกำรโค้ช ซึ่งคู่สนทนำ คือ Coach และ Coachee ได้ทำกำร ตกลงกันไว้ล่วงหน้ำ ส่วนมำกจะเลือกเพียง 1 ประเด็นเท่ำนั้น หำกจำเป็นอำจมีประเด็น ปลีกย่อยเพิ่มเข้ำมำได้อีก 1 ประเด็นสำหรับกำร Coaching แต่ละครั้ง 
ตัวอย่ำงคำถำม 
 คุณต้องกำรจะได้อะไรจำกกำรคุยกันในครั้งนี้ 
 อะไรคือสิ่งสำคัญที่สุดที่เรำควรจะพูดถึงขณะนี้ 
 คุณกำลังกังวลใจเรื่องอะไร 
 เมื่อจบวันนี้คุณอยำกเห็นผลลัพธ์อะไร 
ตัวอย่ำงคำตอบ 
 ฉันอยำกจะฟังควำมเห็นของคุณและแลกเปลี่ยนมุมมองในเรื่อง... 
 ตอนนี้เป็นเวลำที่เหมำะหรือไม่ที่จะ... 
กำรจะได้มำซึ่ง Goal อำจจะใช้ SMART Model เข้ำมำมีส่วนร่วมด้วยก็ได้ S - Specific คำถำมเฉพำะเจำะจง ซึ่งอำจถำมโดยใช้ 5W1H คือ Who ใครทำอะไร, What อะไรที่เกิดขึ้น, How เกิดขึ้นได้อย่ำงไร, When เกิดขึ้นเมื่อไร, Where เกิดขึ้นที่ไหน, Why ทำไมถึงทำเช่นนั้น M - Measurable เป็นกำรถำมโดยอ้ำงอิงเชิงปริมำตร หรือ สำมำรถตรวจวัดได้ เช่น จำนวน เท่ำไหร่, รู้ได้อย่ำงไรว่ำสำเร็จ A - Achievable กำรบรรลุวัตถุประสงค์ เช่น สำมำรถปฏิบัติได้จริง, ทำให้เกิดผลสำเร็จได้จริง R - Realistic สิ่งที่จะทำนี้เป็นสำมำรถทำให้บรรลุเป้ำหมำยได้
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 28 
T – Time Specific มีกำหนดระยะเวลำ ช่วงระยะเวลำใดต้องทำอย่ำงไร ทั้งอดีต ปัจ จุบัน และ อนำคต 
Reality หมำยถึง สิ่งที่เกิดขึ้นในขณะนี้ เป็นข้อเท็จจริงเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับกำรหำทำง เลือกต่อไป 
ตัวอย่ำงคำถำม 
 มันเกิดอะไรขึ้น... 
 ควำมยุ่งยำกคืออะไร 
 คุณได้ทำอะไรไปแล้วบ้ำง 
 คุณได้ลองวิธีไหนไปแล้วบ้ำง 
 คุณทำอะไรได้ดีบ้ำง 
 อะไรคืออุปสรรคที่พบ 
 ควำมเป็นมำของเรื่องนี้คืออะไร 
ตัวอย่ำงคำตอบ 
 ตอนนี้ เกิดปัญหำเรื่อง... 
 เรื่องนี้ทำให้ผมยุ่งยำกใจ เพรำะ.... 
Option หมำยถึง ทำงเลือกต่ำงๆที่เป็นไปได้ (บำงตำรำเลือกใช้คำว่ำ Obstacles หรือ อุปสรรคแทนคำว่ำทำงเลือก) 
ตัวอย่ำงคำถำม 
 ตอนนี้ คุณมีทำงเลือกอะไรบ้ำง
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 29 
 ถ้ำหำกไม่มีข้อจำกัดอะไรเลย คุณจะทำอย่ำงไร 
 ถ้ำมีโอกำสจะทำให้สถำนกำรณ์ดีขึ้น คุณอยำกจะทำอะไรบ้ำง 
 ถ้ำมันไม่เป็นอย่ำงที่คุณคิด คุณจะทำอย่ำงไร 
 คุณยังมีหนทำงอะไรบ้ำงในกำรแก้ปัญหำ 
 ถ้ำคุณเนรมิตได้ คุณจะเลือกเนรมิตอะไร 
 ถ้ำคุณเป็นเจ้ำนำย คุณคิดว่ำ เจ้ำนำยของคุณเขำจะทำอย่ำงไร 
 ถ้ำใช้ควำมรู้สึก คุณจะเลือกแบบไหน 
 ถ้ำใช้เหตุผล คุณจะเลือกแบบไหน 
Will หมำยถึง สิ่งที่ตั้งใจจะลงมือทำ (บำงตำรำใช้คำว่ำ Way-Ahead หรือ Way Forward ซึ่งหมำยถึง ทำงที่จะดำเนินต่อไป, Warp-Up สิ่งที่เกิดขึ้นมำอย่ำงทันทีทันใด และ What Next จะดำเนินกำรอะไรต่อไป) 
ตัวอย่ำงคำถำม 
 คุณจะลงมือทำอะไรบ้ำง 
 คุณจะลงมือทำเมื่อไร 
 คุณต้องกำรสิ่งใดบ้ำงเพื่อสนับสนุนงำนนี้ 
 คุณจะประเมินผลอย่ำงไร 
 กิจกรรมที่จะทำให้คุณบรรลุเป้ำหมำยมีอะไรบ้ำง 
 จำกตอนนี้จนถึงครั้งต่อไปที่เรำจะพบกัน มันจะมีอะไรเกิดขึ้นบ้ำง
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 30 
Now เป็นคุณลักษณะของตัว Coach เอง ซึ่งต้องมีสติอยู่กับปัจจุบัน ระวังควำมคิดของ ตัวเอง ไม่ไปพะวงกับเรื่องที่คุยไปแล้ว ไม่คิดถึงคำถำมที่ต้องกำรถำมต่อไป ไม่ด่วนตัดสิน เรื่องรำวที่กำลังสนทนำอยู่ ให้มีสติอยู่กับกำรสนทนำขณะนี้ และต้องสำมำรถทำให้ Coachee มีสติอยู่กับปัจ จุบันได้เช่นกัน หำก Coachee พูดถึงเรื่องอื่นๆที่ไม่ใช่ประเด็นหลักในกำร สนทนำ Coach จะพำ Coachee กลับมำ ณ ปัจ จุบันได้ด้วยกำรตั้งคำถำม 
ตัวอย่ำงคำถำม 
 ขณะนี้เรำกำลังคุยเรื่องอะไรกันอยู่ 
 คุณกำลังคิดอะไรอยู่ครับ 
 ดูเหมือนว่ำตอนนี้คุณกำลังคิดเรื่องกำรนำไปปฏิบัติอยู่ (หำกขณะนี้กำลังคุย เรื่องเป้ำหมำยของโครงกำร) 
 เรื่องที่กำลังเล่ำนี้ มีควำมสัมพันธ์อย่ำงไรกับเป้ำหมำยของกำรคุยกันในวันนี้ ครับ 
ดูสไลด์ประกอบคำบรรยำยได้ที่ http://www.slideshare.net/coachkrieng/ecs-session-3- 13361355 
ดู Youtube ประกอบได้ที่ http://www.youtube.com/playlist?list=PLC7439567972EBB20 เริ่ม ตั้งแต่ ECS S3 01 ถึง ECS S3 24
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 31 
บทที่ 6 รูปแบบการโค้ช เรื่องความเชื่อที่ไม่สมเหตุผล 
ในกระบวนกำรพัฒนำตนเองหรือกำรพัฒนำองค์กร หำกบุคคลหรือองค์กรนั้นมีควำมรู้ที่ เพียงพอและทักษะที่เหมำะสมแล้ว แต่ยังไม่สำมำรถทำงำนได้สมกับศักยภำพที่มีอยู่ เรื่อง ที่ Coach จะให้ควำมสนใจคือเรื่องพฤติกรรม 
รูปต่อไปนี้แสดงให้เห็นว่ำพฤติกรรมของมนุษย์เกิดจำกกำรสะสมประสบกำรณ์ เมื่อเกิดซ้ำ กันนำนเข้ำก็กลำยเป็นควำมเชื่อ นำไปสู่ควำมคิด และสะท้อนออกมำเป็นพฤติกรรมของ บุคคลนั้น 
เนื่องจำกคนมีประสบกำรณ์ต่ำงกัน พฤติกรรมของเรำจึงแตกต่ำงกัน ในสังคมองค์กรซึ่งมี คนที่มีประสบกำรณ์แตกต่ำงกันมำอยู่ร่วมกัน จึงมีโอกำสเกิดควำมขัดแย้งกันในทำง ควำมคิดและพฤติกรรมขึ้น 
ตัวอย่ำงเช่น ผู้บริหำรมีควำมเชื่อว่ำกำรเรียนรู้เกิดจำกกำรลงมือทำด้วยตนเอง แต่ พนักงำนมีควำมเชื่อว่ำกำรเรียนรู้เกิดจำกกำรมีคนสอน ทำให้เกิดควำมคำดหวังต่ำงกัน ผู้บริหำรคำดว่ำพนักงำนที่เข้ำมำใหม่ต้องเรียนรู้ด้วยตนเอง แต่พนักงำนใหม่กลับคำดหวัง ให้มีกำรสอนงำน เมื่อควำมคิดไม่ตรงกันแล้วก็นำไปสู่ควำมไม่เข้ำใจกันและอำจนำไปสู่ ควำมเสียหำยขององค์กรโดยรวมได้
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 32 
Steve Jobs เป็นเด็กกำพร้ำที่มีควำมเชื่อว่ำเขำเป็นเด็กพิเศษจึงทำให้พ่อแม่บุญธรรมของ เขำรับมำเลี้ยง ควำมเชื่อว่ำเขำเป็นเด็กพิเศษเป็นตัวผลักดันให้สร้ำงผลงำนที่พิเศษตลอด มำจนประสบควำมสำเร็จในธุรกิจอย่ำงที่เรำทรำบกัน 
ดังที่ได้กล่ำวไว้แล้วว่ำ ผลงำนของคนเรำควรเท่ำกับศักยภำพที่มี แต่หำกผลงำนที่เกิดขึ้น นั้นต่ำกว่ำศักยภำพที่มี ให้พิจำรณำว่ำอะไรเป็นตัวบั่นทอนศักยภำพของเรำ 
ตัวบั่นทอนในที่นี้อำจหมำยถึงควำมเชื่อที่ผิด (Fault Belief) ควำมเชื่อที่ไม่สมเหตุผล (Irrational Belief) อำจหมำยถึง ควำมสงสัยในตัวเอง (Self Doubt) หรือควำมกลัวที่จะ ล้มเหลว (Fear to Fail) ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นตัวบั่นทอนที่สำคัญทั้งสิ้น 
ในชั้นเรียน ECS ของเรำ อ.เกรียงศักดิ์ ได้ยกตัวอย่ำงของท่ำนเองขึ้นมำเพื่อให้เรำได้เห็น ภำพชัดเจนขึ้น ถึงควำมเชื่อที่บั่นทอนศักยภำพ และวิธีกำรจัดกำรกับตัวบั่นทอนนั้น 
สมกำร P = p – i 
นำเสนอได้ 80% = ศักยภำพ 100% - ตัวบั่นทอน 20%
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 33 
ในตัวอย่ำงนี้ กำรนำเสนองำน (Presentation) ควรจะนำเสนอได้อย่ำงดีเยี่ยมไม่มีที่ติเป็น ตัวบั่นทอน เป็นควำมเชื่อที่ไม่สมเหตุผล ทำให้ควำมสมบูรณ์ในกำรนำเสนอทำได้เพียง 80% ทั้งๆที่มีศักยภำพ 100% 
ในที่นี้ จะเห็นว่ำตัวที่บั่นทอนผลงำนคือควำมเชื่อของตัวเอง เรำจึงต้องทำกำรลดทอน ควำมเชื่อเดิม และปลูกควำมเชื่อใหม่ให้เกิดขึ้นในตัวเรำ โดยให้มีอิทธิพลเหนือควำมเชื่อ เก่ำ และทำให้สำมำรถแสดงศักยภำพออกมำได้ 100% 
กระบวนกำรลดทอนควำมเชื่อเก่ำและสร้ำงควำมเชื่อใหม่ อ.เกรียงศักดิ์ได้เสนอแนวทำงไว้ 5 ขั้นตอน
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 34 
1.ระบุความเชื่อที่ไม่สมเหตุผล 
ในกำรหำควำมเชื่อนี้ Coach สำมำรถใช้คำถำมว่ำ มีใครบอกคุณว่ำ คุณเป็น.....? หรือ คุณมี ควำมเชื่ออะไรจึงทำให้คุณทำอย่ำงนี้? 
2.ท้าทายความเชื่อที่ไม่สมเหตุผล 
คือกำรหักล้ำงควำมเชื่อเดิม เพื่อให้เปลี่ยนควำมคิดและพฤติกรรมใหม่ 
3.ทดแทนด้วยความเชื่อใหม่ 
เพื่อที่จะส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมใหม่ และทำให้ผลงำนเท่ำกับศักยภำพที่มี 
4.เตรียมบทพูดความเชื่อใหม่ 
ในขั้นตอนนี้เป็นกำรสร้ำง Self-Talk หรือกำรพูดกับตนเองเพื่อให้รับรู้ว่ำเรำมีควำมเชื่อใหม่ อะไรบ้ำง 
5.จัดทาแผน 21 วัน 
ให้อ่ำนบทพูดที่เตรียมไว้วันละ 15 นำทีเป็นเวลำ 21 วัน (อ่านเรื่อง 21-Day Habit Theory เพิ่มเติมได้จากหนังสือ Psycho-Cybernetics ของ Dr.Maxwell Maltz)
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 35 
ตัวอย่าง 
1. ระบุ ความเชื่อไม่สมเหตุผล 
“ทุกครั้งที่เรำนำเสนอ เรำ ‘ต้อง’ นำเสนอได้ถูกต้องทุกขั้นตอนตำมที่เรำสอนใน หนังสือกำรนำเสนอ” 
2. ท้าทาย ความเชื่อไม่สมเหตุสมผล 
 ไม่มีหลักฐำนใดๆที่บอกว่ำมีใครทำได้ทุกขั้นตอน 
 ผลกำรประเมินไม่เคยมีใครบอกแบบที่เรำเชื่อ 
 คุณเปำะ มักเอ่ยบ่อยๆว่ำเรำเตรียมตัวมำก 
 คุณชนะ ยืนยันว่ำเรำทำได้ดี 
 หำกไม่ดีจริง คุณโจ้ ต้องบอกเรำไปแล้ว 
ดังนั้น ควำมเชื่อว่ำ “เรำต้องนำเสนอได้ถูกต้องทุกขั้นตอนตำมที่เรำสอนฯ” เป็นควำม เชื่อที่ไม่สมเหตุสมผล โดยที่เรำเป็นคน “เลือก” ที่จะเชื่อแบบนั้นเอง ดังนั้น เรำจึงมี สิทธิ์ที่จะ “เลือก” ที่จะไม่เชื่อแบบนั้นได้เช่นกัน 
3. ทดแทนด้วยความเชื่อใหม่ 
 เรำ “ควร” นำเสนอได้ถูกต้องทุกขั้นตอนตำมที่เรำสอน 
 หำกพลำดบ้ำงก็เป็นปุถุชน มีหลักฐำนสนับสนุนหรือไม่? 
o มี ขนำด Steve Jobs ยังพลำดเลย แม้จะซ้อมอย่ำงหนัก 
4. เตรียมบทพูด ความเชื่อใหม่ 
4.1 ตัดกำลังควำมเชื่อที่ไม่สมเหตุผล 
 ที่ผ่ำนมำยังไม่เห็นใครทำได้เลย 
 ในหนังสือเรำต้องหำตัวอย่ำงแต่ละบทไม่ซ้ำคน
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 36 
4.2 เร่งควำมเชื่อใหม่ 
 เน้นที่ประโยชน์คนฟัง 
 เมื่อพลำดบ้ำงก็ให้อภัยตนเอง 
 ไม่มีใครคำดหวังให้เรำสมบูรณ์แบบ 
4.3 ฝึกตัวเองให้ฝืนควำมเชื่อเดิม 
 สบำยใจกับควำมอึดอัด 
 ซ้อมและเตรียมพอสมควร 
5. จัดทาแผน 21 วัน 
 อ่ำนทบทวนข้อ 3/4 
 อ่ำนทบทวนข้อ 3/4 ลงเทปฟังในรถ 
 อ่ำนทบทวนข้อ 3/4 กับโจ้ ทุก 3 วัน 
ดูสไลด์ประกอบคำบรรยำยได้ที่ http://www.slideshare.net/coachkrieng/ecs-4-slideshare 
ดู Youtube ประกอบได้ที่ http://www.youtube.com/playlist?list=PLC7439567972EBB20 เริ่ม ตั้งแต่ ECS S4 01 ถึง ECS S4 22
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 37 
Insight Learning พฤติกรรมต่ำงๆที่แสดงออกของมนุษย์ เกิดขึ้นมำจำกความคิดเดิมซ้ำๆ ที่กลั่นกรองมำ จำกความเชื่อ และประสบการณ์ของแต่ละบุคคล มันคงยำกที่จะลบล้ำงควำมคิดที่เป็นลบออกจำกใจ เนื่องจำกเรำมักปล่อยให้ประสบกำรณ์ใน อดีต จูงควำมคิดที่ผิดซึ่งเกิดมำจำกควำมเชื่อ จนทำให้ควำมเชื่อที่ผิดนั้นอำจบั่นทอน สุขภำพจิตและศักยภำพของตนเองโดยไม่รู้ตัว ซึ่งในควำมเป็นจริงแล้วมันสำมำรถลบเลือนออกไปได้ด้วยควำมเชื่อใหม่ ถ้ำเรำมีจินตนำกำร ทำงด้ำนบวก เปิดจิตให้สว่ำง เพื่อรับควำมเชื่อใหม่ ด้วยควำมแน่วแน่ กำรพัฒนำศักยภำพของตนเอง ไม่ว่ำจะเป็นเรื่องสุขภำพกำยและใจ ก่อให้เกิดผลดีแก่ ตนเองและผู้อื่น กำรพัฒนำนั้นทำได้โดยกำร coach ผ่ำน Coach หรือทำด้วยตนเองโดย... 1. ระบุควำมเชื่อที่ไม่สมเหตุผลของพฤติกรรม โดยกำรสำรวจระดับจิตใต้สำนึกในอดีตที่ อยู่ภำยใต้ภูเขำน้ำแข็ง 2. ท้าทายควำมเชื่อที่บั่นทอนจิตใจ ว่ำมีควำมเชื่ออะไรที่บั่นทอนจิตใจเรำ 3. หำทำงทดแทนควำมเชื่อใหม่ ด้วยพลังของควำมคิด สร้ำงสะพำนแห่งควำมคิด ระหว่ำงข้อมูลกับสมอง ปลดกรอบควำมฝังใจที่อยู่ในจิตใจ คลี่คลำยสิ่งที่ขีดขวำงศักยภำพ นั้น 4. เตรียมสร้ำงพลังด้วยศรัทธำ จงสังเกตว่ำเรำเรียนรู้ รับรู้เรื่องที่ดีกว่ำได้ด้วยสื่อใด เช่น กำรอ่ำน กำรฟัง กำรพูด กำรบันทึก หรือกำรสร้ำงภำพในใจ ดังนั้นเรำอำจเตรียมบทพูดกับ ตนเอง ฟังเทปที่ให้พลังใจ หรือกำร coach เพื่อล้ำงและถ่ำยเทควำมคิดที่เป็นลบออกจำก จิตใจ แล้วนำควำมเชื่อใหม่เข้ำมำป้อนข้อมูลใหม่ในสมองที่สดใส 5. จำกนั้นวางแผนให้ตนเองอย่ำงมีเป้ำหมำยว่ำเรำจะทำอะไรบ้ำง เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ภำยใน 21 วัน หรือตำมเวลำที่เรำสำมำรถกำหนดได้ ตรำบใดที่เรำไม่สำมำรถคิดได้ทันท่วงที่ เรำก็อำจจะเสียเวลำกับสิ่งที่บั่นทอนศักยภำพของ ตนเองไปอย่ำงนั้น จนกระทั่งมันอำจจะสำยไป ถ้ำเรำปิดใจอย่ำงถำวร
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 38 
จำกประสบกำรณ์ของกำร Coach เรื่องของควำมเชื่อที่ว่ำ “ควำมเร่งรีบคือควำมสำเร็จ” เป็นกำร Coach ที่ดีมำกสำหรับดิฉัน พฤติกรรมของ Coachee ที่มีควำมรีบเร่งในกำรดำรง ชีพอยู่หลำยอย่ำง เช่น กำรขับรถ กำรรับประทำนอำหำร กำรทำงำน รวมไปถึงเรื่องของ ควำมสัมพันธ์ ซึ่งเธอสงสัยว่ำทำไมเธอจึงเป็นอย่ำงนั้น ในช่วงเวลำของกำร Coach ภำยใน 15 ยังไม่สำมำรถทำให้ Coachee มองเห็นแนวทำงของ ควำมเชื่อใหม่ได้ในขณะนั้น เพรำะเธอยังตอบคำถำมว่ำ “สิ่งที่เธอทำไปหรือควำมรีบเร่งของ เธอ ไม่เสียหำยอะไร”และกำรค้นหำประสบกำรณ์เหล่ำนั้นจำกเธอ ไม่ใช่เรื่องง่ำยๆที่จะใช้ เวลำเพียงไม่กี่นำที ควำมเชื่อเป็นสิ่งที่ไม่สามารถเปลี่ยนกันง่ายๆ โดยเฉพาะ Coachee มี Self-Assurance สูง เรายิ่งต้องใช้เวลาและพยายามตั้งคาถาม เพื่อหาเหตุผลมาหักล้างความเชื่อเดิม จนทาให้ เกิดการ Coach แบบ “ถาม แถ เถียง” ดิฉันควรตั้งตาถามหาเพื่อหาความคิดจากเขาว่า  “ทาไมจึงคิดว่าการรีบเร่งเป็นความสาเร็จ”  “อะไรทาให้เธอเชื่อว่าความรีบเร่งคือความสาเร็จ”  “ในประสบการณ์ที่มีมาในอดีตอะไรทาให้เธอต้องรีบเร่งมากมายถึงขนาดนั้น”  “อะไรที่ทาให้เธอได้รับรางวัลจากกการเร่งรีบ แล้วเธอประสบความสาเร็จ”  “อะไรคือผลเสียที่เธอได้รับจากความเร่งรีบในอดีต และปัจ จุบัน”  “ใครได้รับผลเสียทางร่างกายหรือจิตใจจากพฤติกรรมที่เร่งรีบของเรา” จากคาตอบเหล่านั้นของเธอ อาจจะช่วยเธอเปลี่ยนความคิดใหม่ได้ในเวลานั้น หรือเวลาถัด มา แต่การที่เธอจะเปลี่ยนความเชื่อหรือไม่จะต้องอยู่ที่ตัวของเธอเอง เราต้องเคารพการ ตัดสินใจของ Coachee เสมอ ข้อควรสังเกตในการ coach “เรื่องของความเชื่อที่ไม่ถูกต้อง” คือ  เราควรทาให้บรรยากาศผ่อนคลายมากกว่าที่จะรีบเร่ง เพื่อให้ Coachee ได้คลี่คลาย สิ่งกีดขวางและบั่นทอนศักยภาพของตนเองให้หลุดพ้นจากความรีบเร่ง
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 39 
 ยิ่ง Coachee มี Self-Assurance สูง การใช้ภาษาในการตั้งคาถามควรจะต้องระวัด ระวังมาก  การที่เรามีความจริงใจช่วยอย่างเดียว ไม่สามารถทาให้การ coach สาเร็จลงได้ เรา ต้องฝึกเป็น coach ฝึกตั้งคาถาม ฝึกการใช้ภาษาให้ดี  จงพูดในภาษาของ coachee  จงฟังอย่างตั้งใจว่า coachee พูดประโยคใด และย้าประโยคใดบ่อย เพราะนั่นคือสิ่งที่ เธอติดอยู่ในใจ เหมือนเครื่องยนต์ที่ start ไม่ติด Coach มีหน้าที่ที่จะค้นหาปัญหาภายในใจ และดึงเขาออกมาจากปัญหาหรือความเชื่อที่ไม่ถูกต้องนั้นๆ ดิฉันพบว่า จิตของเราจะรับสิ่งใหม่ได้ดี เมื่อเรามีการผ่อนคลายทั้งกายและใจ ความคิด สร้างสรรค์เหล่านั้นจะเกิดขึ้นมาและยับยั้งความคิดทางลบของเราได้ เราสามารถ เปลี่ยน หรือค้นคิดหาความจริง ความเชื่อที่ถูกต้องได้ด้วยตัวของเราเอง การตั้งคาถามและหาตอบคาถามให้ตนเองนั้น จะเป็นวลีที่ทรงพลัง สามารถลบความคิดที่ บั่นทอนศักยภาพ เพื่อประโยชน์สูงสุดของการพัฒนาตนเองไปสู่สิ่งที่ดีกว่า เช่น “ถ้าวันนั้น ฉันไม่...ฉันคงไม่ต้องประสบกับ...” “ถ้าฉันย้อนกลับไปในอดีตได้ ฉันจะไม่...” “แต่ในเมื่อฉันผิดพลาดไปแล้ว ฉันก็พร้อมที่จะต่อสู้กับปัญหา” “ฉันพร้อมที่จะเดินไปด้วยความมั่นใจ” “ไม่มีอะไรที่ฉันทาไม่ได้” จากนั้น หายใจลึกๆ ร้องเพลงที่ให้กาลังใจตนเอง ร้องไห้ออกมาดังๆ “ไม่มีอะไรที่ฉันทาไม่ได้ เวลาที่เหลืออยู่ของฉัน อยู่ในกามือฉันเอง”
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 40 
บทที่ 7 รูปแบบการโค้ชบนจุดแข็ง 
จุดแข็ง คือ กำรทำกิจกรรมอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งได้แทบสมบูรณ์แบบอย่ำงสม่ำเสมอ (Consistent near perfect performance in an activity) 
หลักกำรสำคัญในกำรใช้จุดแข็งให้เป็นประโยชน์ต่อชีวิตคือ 
1. จะถือกิจกรรมใดๆเป็นจุดแข็งได้ก็ต่อเมื่อสำมำรถคำดหวังผลลัพธ์ได้อย่ำงสม่ำเสมอ 
2. บุคคลไม่จำเป็นต้องมีจุดแข็งที่เกี่ยวกับบทบำทของตนในทุกด้ำนจึงจะเป็นเลิศได้ ควำมคิดที่ว่ำผู้ปฏิบัติได้ดีเลิศต้องเก่งรอบด้ำนนั้นเป็นเรื่องที่เป็นไปแทบไม่ได้ ในทำงตรง ข้ำมเมื่อศึกษำผู้ปฏิบัติได้เป็นเลิศนั้น พวกเขำแหลมคมกันเฉพำะด้ำน 
3. บุคคลจะเป็นเลิศได้ด้วยกำรเพิ่มพูนจุดแข็งของตนให้มำกที่สุด 
มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ปรับตัวได้สูง สำมำรถปรับตัวและเรียนรู้ได้แทบทุกเรื่องถ้ำจำเป็น โดยอำจจะทำได้ดีขึ้นเพียงเล็กน้อย แต่ไม่สำมำรถพัฒนำจนกระทั่งแทบสมบูรณ์แบบ อย่ำงสม่ำเสมอได้โดยเพียงกำรฝึกหัด กำรพัฒนำจุดแข็งในกิจกรรมใดๆก็ตำม จำต้องใช้ พรสวรรค์ตำมธรรมชำติบำงประกำรเข้ำมำประกอบ ดังนั้นจึงควรมีเครื่องมือที่สำมำรถ แยกพรสวรรค์ที่มีตำมธรรมชำติออกจำกสิ่งที่สำมำรถเรียนรู้ได้
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 41 
พรสวรรค์ (Talents) คือแบบแผนของควำมคิด ควำมรู้สึก หรือพฤติกรรมของบุคคลที่ เกิดขึ้นซ้ำๆอย่ำงเป็นธรรมชำติ สิ่งที่แบบประเมิน Strengths Finder (SF) วัดได้ก็คือ ลักษณะของพรสวรรค์ต่ำงๆ 
ทักษะ (Skills) คือขั้นตอนในกำรฝึกฝน กำรทำกิจกรรม 
ความรู้ (Knowledge) ประกอบด้วยข้อมูลและบทเรียนที่ได้เรียนรู้ 
พรสวรรค์ ควำมรู้ และทักษะ ร่วมกันสร้ำงจุดแข็ง (Strengths) ให้กับบุคคล 
พรสวรรค์มีมำแต่กำเนิด ในขณะที่ทักษะและควำมรู้นั้นสำมำรถหำมำได้ด้วยกำรเรียนรู้และ ฝึกฝน เช่น ตัวอย่ำงของพนักงำนขำย เรียนวิธีกำรบรรยำยสรรพคุณผลิตภัณฑ์ (ควำมรู้) เรียนวิธีตั้งคำถำมเปิดเพื่อค้นหำควำมต้องกำรของลูกค้ำ (ทักษะ) แต่จะไม่มีวันเรียนวิธี ผลักดันให้ผู้มุ่งหวังตกลง ณ ขณะเวลำที่เหมำะสมด้วยรูปแบบที่ถูกจังหวะพอดี เพรำะนั่น เป็นพรสวรรค์ 
หัวใจในกำรสร้ำงจุดแข็งที่แท้จริงก็คือ กำรจำแนกพรสวรรค์ที่สำคัญที่สุดของตนแล้วนำไป ขัดเกลำด้วยควำมรู้และทักษะ
Executive Coaching : ECS by TheCoach 
Page | 42 
ทาไมต้องพัฒนาจุดแข็ง 
ในกำรศึกษำเรื่องกำรพัฒนำจุดแข็งด้ำนกำรอ่ำนหนังสือเร็วสำหรับนักเรียน (Speed Reading) เริ่มจำกวัดควำมสำมำรถในกำรอ่ำนของนักเรียน กลุ่มแรก อ่ำนได้ 90 คำต่อนำที กลุ่มที่สอง อ่ำนได้ 350 คำต่อนำที จำกนั้นฝึกฝนกำรอ่ำนเร็วให้แก่นักเรียนทั้งสองกลุ่มด้วย วิธีกำรเดียวกัน เมื่อวัดผลอีกครั้งปรำกฏว่ำ กลุ่มแรกสำมำรถพัฒนำกำรอ่ำนจำก 90 คำเป็น 150 คำต่อนำที หรือเพิ่มขึ้น 67% ในกลุ่มที่สองพัฒนำจำกอ่ำน 350 คำเป็น 2500 คำต่อ นำที หรือคิดเป็น 729% 
กำรพัฒนำพรสวรรค์ให้กลำยเป็นจุดแข็งเป็นเรื่องที่น่ำสนใจ แต่ไม่ได้หมำยควำมว่ำให้ เพิกเฉยต่อจุดอ่อน เพียงแต่ให้ควำมใส่ใจให้มำกในพรสวรรค์นั้นๆ 
ดูสไลด์ประกอบคำบรรยำย ได้ที่ http://www.slideshare.net/coachkrieng/ecs-session-2- slides 
ดู Youtube ประกอบได้ที่ http://www.youtube.com/playlist?list=PLC7439567972EBB20 เริ่ม ตั้งแต่ ECS S2 01 ถึง ECS S2 25
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร
Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร

More Related Content

What's hot

การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการWatcharasak Chantong
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )Sireetorn Buanak
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นการศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นwiraja
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาRatchaphon Cherngchon
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาniralai
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรSirirat Pongpid
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (20)

การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์นการศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
Pwนโยบายคืออะไร
PwนโยบายคืออะไรPwนโยบายคืออะไร
Pwนโยบายคืออะไร
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 

Viewers also liked

งานพรรณ
งานพรรณงานพรรณ
งานพรรณOrapan2529
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2Taweedham Dhamtawee
 
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพe-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพKriengsak Niratpattanasai
 
หลักการพูด
หลักการพูดหลักการพูด
หลักการพูดKruBowbaro
 
การออกแบบการนำเสนอ
การออกแบบการนำเสนอการออกแบบการนำเสนอ
การออกแบบการนำเสนอKriengsak Niratpattanasai
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดWilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณKriengsak Niratpattanasai
 
สรุป เจาะจุดแข็ง
สรุป เจาะจุดแข็ง สรุป เจาะจุดแข็ง
สรุป เจาะจุดแข็ง Kriengsak Niratpattanasai
 

Viewers also liked (20)

10 learning points of executive coaching
10 learning points of executive coaching 10 learning points of executive coaching
10 learning points of executive coaching
 
Listening workshop ho นปร
Listening workshop ho นปรListening workshop ho นปร
Listening workshop ho นปร
 
งานพรรณ
งานพรรณงานพรรณ
งานพรรณ
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
 
Ch amp handout text
Ch amp handout textCh amp handout text
Ch amp handout text
 
Influencing other by listening
Influencing other by listeningInfluencing other by listening
Influencing other by listening
 
Prework coaching
Prework coachingPrework coaching
Prework coaching
 
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพe-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
e-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
 
หลักการพูด
หลักการพูดหลักการพูด
หลักการพูด
 
การออกแบบการนำเสนอ
การออกแบบการนำเสนอการออกแบบการนำเสนอ
การออกแบบการนำเสนอ
 
Coaching
Coaching Coaching
Coaching
 
The 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growthThe 15 invaluable laws of growth
The 15 invaluable laws of growth
 
Kongpan Slides With Photo
Kongpan Slides With PhotoKongpan Slides With Photo
Kongpan Slides With Photo
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณค้นหาเทวดาในตัวคุณ
ค้นหาเทวดาในตัวคุณ
 
รวม 20 คำคมโค้ช
รวม 20 คำคมโค้ชรวม 20 คำคมโค้ช
รวม 20 คำคมโค้ช
 
เจาะจุดแข็ง
เจาะจุดแข็งเจาะจุดแข็ง
เจาะจุดแข็ง
 
coaching
coachingcoaching
coaching
 
สรุป เจาะจุดแข็ง
สรุป เจาะจุดแข็ง สรุป เจาะจุดแข็ง
สรุป เจาะจุดแข็ง
 

Similar to Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร

Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic managementcapercom
 
การพัฒนาทีมงาน
การพัฒนาทีมงานการพัฒนาทีมงาน
การพัฒนาทีมงานPrapaporn Boonplord
 
โค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณโค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณSirirat Siriwan
 
E-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
E-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพE-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
E-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพDanaiya Inspire
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การwanna2728
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50Makin Puttaisong
 
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยcomed
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeTar Bt
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4nattawad147
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4benty2443
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4wanneemayss
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249gam030
 

Similar to Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร (20)

Change strategic management
Change strategic managementChange strategic management
Change strategic management
 
การพัฒนาทีมงาน
การพัฒนาทีมงานการพัฒนาทีมงาน
การพัฒนาทีมงาน
 
โค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณโค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
โค้ชวิธีคิด ปลดล็อคชีวิต พิชิตผลงาน โดย ศิริรัตน์ ศิริวรรณ
 
E-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
E-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพE-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
E-book สี่เส้นทางสู่โค้ชมืออาชีพ
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
 
Educate21 4
Educate21 4Educate21 4
Educate21 4
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
HPLearning
HPLearningHPLearning
HPLearning
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วยเส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
เส้นทางครูมืออาชีพสำหรับครูผู้ช่วย
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
4 170819173249
4 1708191732494 170819173249
4 170819173249
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Executive coaching-การโค้ชผู้บริหาร

  • 1. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 1 Executive Coaching การโค้ชผู้บริหาร องค์ความรู้ ECS ถ่ายทอดโดย อาจารย์ เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย และทีมผู้ช่วย อาจารย์ ชัยรัตน์ วงศ์จินดานนท์ อาจารย์ ณษรา สุวศราภรณ์ อาจารย์ นพพร เทพสิทธา คุณพิมผกา มณีไทย ECS: ชัยยาณัฐ อนุรัตน์ ดร.ดไนยา ตั้งอุทัยสุข ดร.ธัญญา วงษ์วานิช เปรียบปราณ บุณยพุกกณะ พาศักดิ์ เสนาวงษ์ วิบูลย์ จุง ศันสนีย์ ลิ้มพงษ์ สุพรรษา เบญจเทพานันท์ สุวรรณชัย โลหะวัฒนกุล
  • 2. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 2 Executive Coaching การโค้ชผู้บริหาร
  • 3. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 3 บทนา E-book เรื่อง Executive Coaching นี้ จัดทำโดยผู้เข้ำร่วมโครงกำร Executive Coaching Scholarship by TheCoach (ECS) ระหว่ำงเดือนพฤษภำคม – มิถุนำยน 2555 สอนและ สนับสนุนค่ำใช้จ่ำยทั้งหมดโดยอ.เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย ผู้เชี่ยวชำญกำรโค้ชผู้บริหำร รำยบุคคล ภำยใต้แบรนด์ TheCoach โครงกำร ECS มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนำบุคลำกรของชำติผ่ำนกำรโค้ช ถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ เรื่อง Executive Coaching ให้แพร่หลำย และสร้ำงบริกำรโค้ชผู้บริหำรในรำคำย่อมเยำ E-book เล่มนี้ จัดทำขึ้นโดยรวบรวมหลักกำร Executive Coach ที่ถ่ำยทอดโดย อ.เกรียง ศักดิ์ ในโครงกำร ECS ซึ่งถือได้ว่ำเป็นหนังสือหรือคู่มือกำรโค้ชภำษำไทยเล่มแรกใน ประเทศไทย หนังสือเล่มนี้เหมำะกับผู้ที่ต้องกำรมีควำมรู้เรื่องกำรโค้ชผู้บริหำร หัวหน้ำงำนที่ต้องกำรเสริม ทักษะด้ำนกำรโค้ช และเจ้ำของธุรกิจที่ต้องกำรพัฒนำบุคลำกรผ่ำนกระบวนกำรโค้ช ดูสไลด์ประกอบคำบรรยำยครั้งที่ 1 ได้ที่ http://www.slideshare.net/coachkrieng/ecs- session-1-actual ดู Youtube ประกอบได้ที่ http://www.youtube.com/playlist?list=PLC7439567972EBB20 เริ่ม ตั้งแต่ ECS S1 01 ถึง ECS S1 18
  • 4. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 4 จากใจโค้ชเกรียงศักดิ์ การโค้ชผู้บริหารแบบตัวต่อตัว เป็นเรื่องใหม่ในต่างประเทศ และยิ่งเป็นเรื่องใหม่มากในบ้าน เรา การเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้ส่วนใหญ่จะมีแต่เอกสารและข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษ ดังนั้นหากจะมีแหล่งเรียนรู้ที่เป็นภาษาไทยสาหรับคนไทยเพิ่มขึ้น น่าจะเป็นประโยชน์ โดยรวมต่อสังคมของเรา ผมเองเริ่มทางานโค้ชผู้บริหารแบบตัวต่อตัวครั้งแรกเมื่อสิบปีก่อน โดยการเรียนรู้แบบศึกษา เอง เรียนรู้แบบครูพักลักจา ไม่ได้เข้ารับการอบรมหรือศึกษาในรูปแบบที่เป็นทางการด้วย วิชาการเกี่ยวกับเรื่องนี้แต่อย่างใด สิบปีที่ผ่านมาในเรื่องการโค้ชผู้บริหารแบบตัวต่อตัว ผมทาผิดเป็นส่วนใหญ่ โชคดีที่ลูกค้า เมตตาและให้โอกาสผมได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองแบบค่อยเป็นค่อยไป ผมคิดว่าประสบการณ์ที่ผ่านมาควรค่าที่จะนามาเผยแพร่แลกเปลี่ยน แทนที่จะปล่อยให้คน อื่นๆต้องมาเริ่มลองผิดลองถูกซ้าแล้วซ้าเล่า จึงเป็นที่มาของเอกสารชุดนี้ เอกสารชุดนี้เกิดจากแรงกายและแรงใจของทีมงาน ECS ท่านสามารถจะศึกษาได้ด้วยตนเอง โดยสามารถเรียนรู้ประกอบสื่อทาง Social Media อื่นๆ เช่นที่ http://www.youtube.com/playlist?list=PLC7439567972EBB20 https://www.facebook.com/TheCoachinth www.thecoach.in.th
  • 5. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 5 การเรียนรู้ที่ดีคือ การลองลงมือทาและนาไปสอนต่อ หากท่านศึกษาแล้วคิดว่าดีมีประโยชน์ ก็ช่วยนาไปปฏิบัติและนาไปสอนต่อด้วยครับ ขอขอบคุณทุกๆท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดทาเอกสารชุดนี้ครับ ผมขออุทิศความดีในกิจกรรมครั้งนี้ให้กับโค้ชสองคนแรกในชีวิตของผม คือคุณพ่อและคุณแม่ ทั้งสองท่านทาให้ผมมีโอกาสได้เกิดมา “ทาให้โลกนี้ดีขึ้น” ขอบคุณครับ เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย พฤษภาคม 2556
  • 6. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 6 จากใจทีม ECS ทีม ECS ทั้ง 9 คน ถือว่ำเป็นผู้โชคดีมำกๆที่มีโอกำสเข้ำรับกำรถ่ำยทอดควำมรู้ด้ำน Executive Coaching จำกอำจำรย์เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย ผู้เชี่ยวชำญกำรโค้ชผู้บริหำร รำยบุคคล ภำยใต้แบรนด์ TheCoach ตลอดเวลำ 6 สัปดำห์ของกำรเรียนรู้ในห้องเรียน พวกเรำได้ควำมรู้ ได้ฝึกฝน และได้รับกำร ดูแลอย่ำงใกล้ชิดจำกทีมคณำจำรย์ เพื่อให้แน่ใจว่ำเรำเข้ำใจจริง สำมำรถนำควำมรู้ไปใช้ได้ อย่ำงถูกต้อง ขณะนี้ พวกเรำได้สืบทอดปณิธำนของอำจำรย์ คือ “กำรทำโลกนี้ให้ดีขึ้น” ผ่ำนหน้ำที่กำรงำน และภำระกิจในหลำกหลำยรูปแบบ และพวกเรำหลำยคนก็ได้ให้บริกำรโค้ชผู้บริหำรในรำคำ ย่อมเยำ ตำมวัตถุประสงค์ของโครงกำรด้วย เรำเชื่อมั่นว่ำ กำรโค้ช เป็นอีกหนึ่งวิธีกำรที่สำมำรถพัฒนำบุคลำกรให้สำมำรถใช้ศักยภำพที่ มีอยู่ได้อย่ำงเต็มประสิทธิภำพ ทีม ECS ทั้ง 9 คน ขอขอบพระคุณอำจำรย์เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย และคณำจำรย์ทุกท่ำน พวกเรำขออำรำธนำคุณพระศรีรีตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลำยในสำกลโลก ได้คุ้มครอง และปกปักษ์รักษำท่ำนให้สุขภำพแข็งแรง มีควำมสุข สมบูรณ์พูนผลในสิ่งที่ปรำรถนำทุก ประกำร ด้วยควำมเคำรพอย่ำงสูง ดร.ดไนยำ ตั้งอุทัยสุข วิบูลย์ จุง ศันสนีย์ ลิ้มพงษ์ เปรียบปรำณ บุณยพุกกณะ สุวรรณชัย โลหะวัฒนกุล สุพรรษำ เบญจเทพำนันท์ ชัยยำณัฐ อนุรัตน์ ดร.ธัญญำ วงษ์วำนิช พำศักดิ์ เสนำวงษ์
  • 7. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 7 สารบัญ หน้า บทที่ 1 โค้ชชิ่งคืออะไร 8 บทที่ 2 ประโยชน์ของกำรโค้ชผู้บริหำร 10 บทที่ 3 โมเดลกำรโค้ช แบบ 4 ไอ 12 บทที่ 4 รูปแบบกำรโค้ช ของ เดอะโค้ช 20 บทที่ 5 รูปแบบกำรโค้ช แบบ โกรว์น 26 บทที่ 6 รูปแบบกำรโค้ช เรื่องควำมเชื่อที่ไม่สมเหตุผล 31 บทที่ 7 รูปแบบกำรโค้ช บนจุดแข็ง 40 บทที่ 8 กติกำรในกำรสนทนำระหว่ำงกำรโค้ช 51 บทที่ 9 คู่มือกำรฝึกโค้ช สำหรับมำสเตอร์โค้ช และผู้สังเกตกำรณ์ 52 บทที่ 10 บันทึกสะท้อนกำรเรียนรู้ของชำว ECS 54 บทที่ 11 สรุป ท้ำยเล่ม 60 อ้ำงอิง 61 สำรบัญวีดีโอ 62 สไลด์ประกอบกำรเรียนหลักสูตร ECS สัปดำห์ที่ 1 63 สไลด์ประกอบกำรเรียนหลักสูตร ECS สัปดำห์ที่ 2 78 สไลด์ประกอบกำรเรียนหลักสูตร ECS สัปดำห์ที่ 3 124 สไลด์ประกอบกำรเรียนหลักสูตร ECS สัปดำห์ที่ 4 131 สไลด์ประกอบกำรเรียนหลักสูตร ECS สัปดำห์ที่ 5 152
  • 8. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 8 บทที่ 1 โค้ชชิ่งคืออะไร ที่มาของคาว่า “โค้ช” คำว่ำ coach มีรำกศัพท์มำจำกคำว่ำ Kocs ภำษำฮังกำรี แปลว่ำรถม้ำขนำดใหญ่ และต่อมำ คำนี้ได้ใช้อย่ำงแพร่หลำยในยุโรป โดยมีควำมหมำยว่ำกำรเคลื่อนย้ำยจำกจุดหนึ่งไปยังอีกจุด หนึ่งด้วยควำมไวที่สุดเท่ำที่จะทำได้ ด้วยวิธีที่ดีที่สุด ต่อมำมีกำรใช้คำว่ำ coach ในมหำวิทยำลัยออกฟอร์ด เพื่อหมำยถึง ติวเตอร์ หรือผู้ช่วยให้ นักศึกษำสอบผ่ำน ดูเพิ่มเติมได้ที่วีดีโอ http://www.youtube.com/watch? v=IXQi4dDMk7Y&list=PL8FB460C9ACB9FC91&index=18&feature=plpp_video
  • 9. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 9 โค้ชชิ่ง คือ การช่วยผู้บริหารให้พัฒนาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จากจุดใดจุดหนึ่งไปยังอีกจุด หนึ่ง จำกภำพ โค้ชจะทำหน้ำที่พำโค้ชชี่เดินทำงจำกจุด A ไปยังจุด B โดยให้โค้ชชี่ได้ใช้ ควำมสำมำรถ ศักยภำพ และทรัพยำกรที่มีอยู่ในตัว เลือกเส้นทำงที่ต้องกำรไปด้วยตนเอง โค้ชจึงต้องมีคุณสมบัติที่สำมำรถนำศักยภำพที่แท้จริงของโค้ชชี่ออกมำได้ และให้นำไปใช้ได้ อย่ำงเต็มที่
  • 10. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 10 บทที่ 2 ประโยชน์ของการโค้ชผู้บริหาร ทาไม Executive จึงต้องมี Coach ? ผู้บริหำรระดับสูงมีควำมรู้ควำมสำมำรถ และมีบทบำทสำคัญที่จะนำพำองค์กรไปสู่เป้ำหมำย แต่ขณะนี้ยังพำองค์กรไปสู่จุดที่ต้องกำรไม่ได้ หรือไม่สำมำรถสื่อสำรให้พนักงำนในองค์กร เดินไปข้ำงหน้ำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ผู้บริหำรระดับสูง หรือผู้บริหำรใหม่ที่เริ่มก้ำวขึ้นมำเป็นผู้บริหำรระดับสูง อำจพบปัญหำหรือ อุปสรรคต่ำงๆในกำรบริหำรงำน ทำให้ไม่สำมำรถใช้ศักยภำพที่มีอยู่ได้อย่ำงเต็มที่ Executive Coach จะทำหน้ำที่ให้ควำมช่วยเหลือ พำผู้บริหำรข้ำมผ่ำนปัญหำต่ำงๆให้ รวดเร็วขึ้น ปรับปรุงทัศนคติในกำรบริหำรจัดกำรและปรับพฤติกรรมให้ดียิ่งขึ้น เจ้ำของกิจกำรและผู้บริหำรระดับสูงในยุโรปและอเมริกำ ต่ำงก็ใช้บริกำรทำงด้ำน Executive Coaching เพื่อช่วยปลดปล่อยศักยภำพของบุคคล ให้สำมำรถนำควำมรู้ควำมสำมำรถที่มีอยู่ มำสร้ำงผลงำนได้อย่ำงแท้จริง รวมทั้งสำมำรถโค้ชเรื่องชีวิต เพื่อให้เกิดผลสำเร็จทั้งในด้ำน กำรงำนและด้ำนส่วนตัวได้ อีริค ชมิท ประธำนบริหำรของกูเกิ้ล ได้ให้สัมภำษณ์วำรสำรฟอร์จูนว่ำ “คำแนะนำที่ดีที่สุดที่ เขำได้รับคือกำรมีโค้ชประจำตัว” ดูบทสัมภำษณ์ที่ http://money.cnn.com/video/fortune/2009/06/19/f_ba_schmidt_google.fortune/ เขำเล่ำว่ำตอน แรกเขำไม่เข้ำใจ และไม่เห็นด้วย เพรำะไม่คิดว่ำโค้ชจะช่วยอะไรเขำได้ เขำเป็นคนที่เหมำะ กับตำแหน่งนี้ที่สุดแล้ว แต่เมื่อได้รับคำอธิบำยจึงทรำบว่ำนักกีฬำชั้นนำ นักแสดงระดับแนว หน้ำ ล้วนแล้วแต่มีโค้ชทั้งนั้น โค้ชทำหน้ำที่สะท้อนมุมมองที่พวกเขำไม่เห็น โค้ชจะคอยเช็ค
  • 11. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 11 ว่ำสิ่งที่เขำพูดและแสดงออกมำนั้น เขำต้องกำรสื่อควำมหมำยเช่นนั้นเช่นนี้ใช่หรือไม่ เพรำะ สิ่งที่คนทั่วไปทาได้ไม่ดีคือมองตัวเองอย่างที่ถูกมอง อภิวุฒิ พิมลแสงสุริยำ ให้สัมภำษณ์หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ เมื่อวันที่ 26 ธันวำคม 2555 ว่ำ “กำรโค้ชผู้บริหำร โค้ชไม่จำเป็นต้องเก่งกว่ำผู้บริหำร ผู้บริหำรหลำยคนเก่งกว่ำและ ประสบควำมสำเร็จมำกกว่ำโค้ชเสียอีก แต่โค้ชยืนอยู่คนละตำแหน่งกับผู้บริหำร จึงมอง ปัญหำในมุมมองที่ต่ำงกัน และผู้บริหำรระดับสูงส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีใครกล้ำโต้แย้งหรือเห็น ต่ำง โค้ชจึงทำหน้ำที่ท้ำทำย (Challenge) ควำมคิดของผู้บริหำรในมุมมองที่ต่ำงไปและทำ หน้ำที่เป็นกระจกสะท้อนมุมมองที่ผู้อื่นมองผู้บริหำรให้มีโอกำสเห็นตัวตนที่แท้จริง นอกจำกนั้น โค้ชยังทำหน้ำที่ช่วยให้ผู้บริหำรได้คิดและมองในมุมมองที่ต่ำงไปและสำมำรถดึง ศักยภำพของตนเองที่มีอยู่ออกมำใช้ได้มำกขึ้น” ในองค์กรที่มีพนักงำนเป็นคนใน Generation Y เป็นพนักงำนที่ใช้ควำมรู้ในกำรทำงำน ต้องกำรแรงบันดำลใจ กำรโน้มน้ำวใจ กำรโค้ชจึงเป็นวิธีกำรที่เหมำะสมเพื่อสร้ำง Engagement คือควำมสนุกสนำนในที่ทำงำน Empowerment คือมีควำมเป็นเจ้ำของในงำน Entrepreneurship คือกำรมีจิตวิญญำณของผู้ประกอบกำร ไม่เกี่ยงงำน เป็นต้น ดูวีดีโอได้ที่ http://www.youtube.com/watch? v=xUJnZzWxTzY&list=PL8FB460C9ACB9FC91&index=17&feature=plpp_video ดังนั้น กำรสั่งงำนอำจไม่เหมำะอีกต่อไป
  • 12. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 12 บทที่ 3 โมเดลการโค้ช แบบ 4 ไอ ในกำร Coach ผู้บริหำรนั้น ควรเริ่มด้วยกำรตรวจเช็คว่ำศรศิลป์กินกันหรือไม่ เรียกว่ำ Checking-Chemistry แล้วเริ่มวิเครำะห์สถำนกำรณ์ เรียกว่ำ diagnosis แล้วจึงออกแบบ กำรโค้ชสำหรับ Coachee โดยเฉพำะ กำรตรวจเช็คว่ำศรศิลป์กินกันหรือไม่ ทำได้โดยกำรพบกันแบบไม่เป็นทำงกำรระหว่ำง Coach และ Coachee ใช้เวลำอย่ำงน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อให้ทั้ง 2 ฝ่ำยได้ศึกษำซึ่งกันและ กันว่ำถูกจริตกันมำกน้อยเพียงใด เพรำะกำรโค้ชนั้นเป็นกำรพูดคุยของคน 2 คนที่ต้อง พบกันอย่ำงน้อยเดือนละ 2 ครั้ง เป็นเวลำอย่ำงน้อย 6 เดือน หำกเข้ำกันไม่ได้ก็จะอึดอัด ด้วยกันทั้ง 2 ฝ่ำย เรื่องที่พูดคุยในกำรพบกันครั้งนี้มักจะเป็นเรื่องประวัติของแต่ละคน สิ่ง ที่ Coachee มองหำ บทบำทและหน้ำที่ของ Coach และ Coachee วิธีกำร Coaching ผลลัพธ์ที่ต้องกำร เป็นต้น หำกพูดคุยแล้วคิดว่ำจริตไม่ตรงกัน Coach ก็สำมำรถแนะนำให้ Coachee คุยกับว่ำที่ Coach ท่ำนอื่นได้ กรณีที่พูดคุยกันแล้วพบว่ำ Coach และ Coachee เข้ำกันได้ดี ก็จะเข้ำสู่ขั้นตอนกำร วิเครำะห์ หรือ diagnosis สถำนภำพของ Coachee โดยมี 2 ขั้นตอนคือ 1. กำรค้นพบตนเองโดยใช้ Gallup’s Strengthsfinder ทำแบบสอบถำมออนไลน์ เพื่อหำ พรสวรรค์ที่โดดเด่น 5 ประกำร (อ่ำนรำยละเอียดเพิ่มในบทที่ 7)
  • 13. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 13 2. กำรทำ 360 Feedback คือกำรเก็บข้อมูลของ Coachee ผ่ำนกระบวนกำรสัมภำษณ์ บุคคลใกล้ชิด 6 คนๆละ 1 ชั่วโมง ได้แก่ ผู้บังคับบัญชำโดยตรง 1 คน เพื่อนร่วมงำน ระดับเดียวกัน 2 คน และผู้ใต้บังคับบัญชำโดยตรง 3 คน คำถำมที่ใช้ในกำรสัมภำษณ์เพื่อทำ 360 Feedback เช่น  คุณรู้สึกอย่ำงไรในกำรทำงำนร่วมกันคุณ...  คุณ...ทำอะไรบ้ำง ที่ทำให้คุณทำงำนได้ดีขึ้น  คุณ...เคยทำอะไรบ้ำง ที่เป็นอุปสรรคในกำรทำงำนของคุณ  คุณปรำรถนำจะได้อะไรจำก... แต่ยังไม่ได้รับ  (ถำมเฉพำะผู้ใต้บังคับบัญชำ) คุณ...ควรจะ ทำต่อ / หยุด / เริ่ม ในเรื่องใดบ้ำง ที่จะทำให้คุณทำงำนได้มีประสิทธิภำพมำกขึ้น  (ถำมเฉพำะผู้ใต้บังคับบัญชำ) คุณได้รับกำรสนับสนุนให้ประสบควำมสำเร็จ และก้ำวหน้ำมำกน้อยเพียงใดจำกคุณ... หำกมี เขำทำอย่ำงไร หำกยังไม่มี จะ เสนอแนะอะไร Coach จะทำกำรวิเครำะห์ข้อมูลที่ได้จำกทั้ง 2 ขั้นตอน เสนอเป็นรำยงำนต่อ Coachee ว่ำมีจุดแข็งอะไร สิ่งที่ควรเริ่มคืออะไร และสิ่งที่ควรหยุดคืออะไร
  • 14. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 14 Coaching เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง กำรที่ Coach จะทำให้ Coachee เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของเขำนั้นเป็นสิ่งที่ท้ำทำยมำก ถ้ำถำมว่ำ Coach สำมำรถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ Coachee ได้จริงๆหรือ? ในควำมเป็นจริง Coach ไม่สำมำรถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของใครได้ นอกเสียจำก Coachee ต้องกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเอง กำรจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองให้ได้ผล ต้องประกอบด้วย 4 ปัจ จัยหลักๆ ได้แก่ 1. Coachee เห็นประโยชน์ต่อกำรเปลี่ยนแปลงนั้น เช่น กำรปรับปรุงพฤติกรรม เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ใหม่ที่ต้องกำร 2. มีควำมมุ่งมั่น และมีกำลังใจในกำรเปลี่ยนแปลง 3. มีวินัยต่อกำรเปลี่ยนแปลง เพื่อให้มีควำมต่อเนื่องในทำงปฏิบัติ 4. อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อกำรเปลี่ยนแปลง ไม่มีใครเปลี่ยนแปลงนิสัยของคุณได้ นอกจากคุณต้องการ เปลี่ยนแปลงด้วยตัวของคุณเอง
  • 15. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 15 อ.เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย ได้พัฒนำ Coaching Model โดยในกระบวนกำร Coaching จะเริ่มต้นด้วย 4Is เริ่มต้นจำก Individualization ซึ่งเป็นกำรวิเครำะห์ Coachee ว่ำมีลักษณะนิสัยเป็น อย่ำงไร มีคุณสมบัติอะไร ควำมเชื่อ ศักยภำพ แนวทำงกำรเรียนรู้อย่ำงไร เพื่อประเมิน จริตของ Coachee ในกำรเรียนรู้หรือกำรรับกำร Coach เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องกำร
  • 16. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 16 เมื่อประเมินจริตของ Coachee แล้ว Coach จะเลือกว่ำจะใช้วิธีใดต่อไปนี้ในกระบวนกำร Coaching I แรกคือ Instruct หรือกำรสอน เป็นวิธีที่ช่วยให้ Coachee เรียนรู้ด้วยกำรบอก สอน หรือสั่ง จะใช้ในกรณีที่ Coach มีควำมรู้ในเรื่องนั้นๆมำกกว่ำ Coachee เช่น วิธีกำร ทำงำนเฉพำะอย่ำง I ที่สองคือ Inspire เป็นวิธีสอนทำงอ้อม เพื่อให้ Coachee เกิดแรงบันดำลใจ หรือ คิดได้ ว่ำจะทำอย่ำงไรต่อสิ่งที่เขำต้องกำรเปลี่ยนแปลง วิธีที่ใช้ได้คือกำรเล่ำเรื่อง กำรแชร์ ประสบกำรณ์ส่วนตัว กำรทำให้ดูเป็นตัวอย่ำง I ที่สำมคือ Inquire เป็นกำรโค้ชโดยใช้คำถำมเพื่อให้ Coachee คิดได้ดีมำกขึ้น กำรใช้ คำถำมเพื่อให้คิดแบบนี้เรียกว่ำกำรใช้คำถำมแบบโสครำติส* ผู้ที่ถูกถำมจะสำมำรถค้นหำ คำตอบได้จำกคำถำมที่ดีและเหมำะสม นอกจำกนี้กำรค้นพบคำตอบด้วยตนเองยังเป็น กำรเสริมควำมเชื่อมั่นให้เขำมำกขึ้นด้วย *โสคราติส คือ นักปราชญ์ชาวกรีก ที่ชอบใช้คาถามสอนให้คนคิด หากไปถามเขา เขาจะ ตั้งคาถามตอบให้คนคิด ค้นหาคาตอบด้วยตนเอง หากเรามีประเด็นถกกับเขา เขาจะไม่ เห็นด้วยกับเราง่ายๆ แต่เขาไม่โต้เถียง เขาจะตั้งคาถามให้เราคิดในมุมมองอื่นๆ
  • 17. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 17 Insight Learning หลังจากที่ได้เรียน 4 Is Coaching model จากอาจารย์เกรียงศักดิ์ ผมแอบอุ่นใจขึ้นเล็กน้อย เพราะรู้สึกว่าอย่างน้อยผมก็รู้อะไรบ้างแล้วเกี่ยวกับการ Coaching จากการเป็นผู้บริหารมาหลายปี ผมใช้วิธีการที่หลากหลายในการพัฒนาบุคลากรระดับ หัวหน้าและผู้จัดการของบริษัท โดยคานึงถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคล ให้ความเข้าใจใน ความคิด หน้าที่การงาน และความรู้ความสามารถต่างๆที่พวกเขาเหล่านั้นมี รวมทั้ง ประสบการณ์ที่เคยทางานร่วมกัน เพื่อค้นหาศักยภาพที่ซ่อนอยู่เพิ่มเติมและความพร้อมใน การเปลี่ยนแปลงก่อนที่จะดึงพวกเขาเข้ามาพัฒนาผลักดันให้เติบโตต่อไปเสมอ ขั้นตอนนี้ ใน 4 Is Coaching Model จะเหมือนเป็น I ตัวแรกคือ Individualize ที่ Coach ต้องทาการ ประเมิน Coachee ก่อนที่เข้าสู่ อีก 3 I ที่เหลือเพื่อเลือกวิธีการที่เหมาะสมที่สุดสาหรับคน นั้นๆ 3 I ที่เหลือคือ Instruct บอกให้เขารู้ Inspire เล่าเรื่องให้เขาตัดสินใจ หรือ Inquire ใช้ การถามเพื่อให้เขาหาคาตอบเอง บ่อยครั้งที่ผสมผสานวิธีการทั้ง3นี้เข้าหากัน บอกไปเล่า เรื่องไป บอกไปถามไป แต่ก็ยอมรับว่า มักจะใช้วิธีการ บอก มากกว่า จะถามจนกว่าเขาจะ หาทางคาตอบได้เองเสียเป็นส่วนใหญ่ อาจเป็นเพราะว่า การบอก เป็นวิธีที่ง่ายที่สุดและ รวดเร็วที่สุดด้วย แต่ในวันนี้ หลังจากที่ได้รู้จัก Coaching Model นี้แล้ว ผมก็บอกตัวเองว่า จะพยายามใช้วิธี การถาม ให้มากขึ้นเพื่อให้เขาค้นหาคาตอบได้เอง วิธีนี้จะทาให้เขาเก่งขึ้น และเก่งอย่างยั่งยืนด้วย ในขณะเดียวกัน ก็จะพยายามเลือกใช้วิธี การบอก เป็นทางออก สุดท้ายเมื่อเขาหาคาตอบไม่ได้เท่านั้น ในช่วงบ่ายของการฝึกอบรม ECS ( Executive Coaching Scholarship) อาจารย์เกรียงศักดิ์ ได้แบ่งพวกเรา 9 คนออกเป็น 3 กลุ่มๆละ 3 คน เพื่อทดลอง Role Play ให้พวกเราได้ฝึก “การโค้ชด้วยการถาม” ดู โดยในครั้งแรก ผมเป็นผู้สังเกตการณ์ก่อน แล้วก็หมุนเวียนเป็น คนถูกโค้ช และสุดท้ายเป็น โค้ชเองตามลาดับ ความยากง่ายก็เป็นไปตามลาดับนี้ด้วย การ เป็นผู้สังเกตการณ์ เหมือนกับการดูการแข่งขันกีฬา ที่ไม่ต้องลงแข่งเองนี่ ง่ายที่สุดจริงๆครับ มองเห็นจังหวะ ช่องว่างและสิ่งที่น่าจะทาได้ เต็มไปหมด จนทาให้แอบคิดไปว่า ทาไมคนเล่น
  • 18. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 18 ไม่เห็นก็ไม่รู้ น่าแปลกใจ ผมคิดว่าทุกคนคงเคยมีประสบการณ์แบบเดียวกันนี้แน่นอน พอมา เป็น คนถูกถาม ก็ไม่ยากเลย แค่ตอบในสิ่งที่ถูกถามก็พอ แต่การตอบให้ตรงกับคาถามนั้นก็ ไม่ง่ายเลยสาหรับบางคน แถมยังมีบางคนที่ตอบเป็นแต่ ไม่รู้ ก็คงทาให้คนถามงงงวยได้ไป ตามๆกัน แต่ถ้าต้องเป็นคนถามคาถามเองเมื่อไหร่ จะรู้ทันทีเลยครับว่า มันไม่ง่ายเลย คาสารภาพของโค้ชมือใหม่ของผม เกิดขึ้นตอนที่ผมต้องสวมบทเป็น โค้ช นี่แหละครับ Coachee ของผมตั้งคาถามไว้ว่า “อยากเขียนบทความแต่ไม่ลงมือเขียนสักที ไม่รู้ทาไม” ผม ก็ค่อยๆถามไปเรื่อยๆ จนได้ทราบว่า บทความที่เขาจะเขียนนั้นน่าสนใจมาก มีประโยชน์ต่อ ผู้อ่านแน่นอน และยังไม่มีผู้ใดเขียนมาก่อนด้วย เท่านั้นผมก็เริ่มติดกับดักผู้เชี่ยวชาญทันที เนื่องจากผมเองก็มีบทความที่เขียนลงในนิตยสาร FashionBiz คอลัมน์ We Share มาหลาย ปีแล้ว จึงรู้ปัญ หาดีว่า ขั้นตอนที่ยากที่สุดของการเขียนบทความใดๆคือ ขั้นตอนการยก ปากกาขึ้นเขียน นั่นเอง ผมจึงเริ่มถามแบบชี้นาขึ้น ผม : เรื่องน่าสนใจมากขนาดนี้ น่าจะได้เป็นคนแรกที่นาเสนอเรื่องนี้เลยนะครับ Coachee: ไม่เป็นคนแรกก็ไม่เป็นไรค่ะ ผม : ไม่เสียดายถ้าคนอื่นเอาไปเขียนก่อนเหรอครับ Coachee: ไม่เสียดายค่ะ ผม : แล้วทาไมไม่เขียนเลยล่ะครับ Coachee: นั่นน่ะสิคะ ไม่รู้เหมือนกันค่ะ ผม : (เริ่มไปไม่ถูกแล้ว) คิดแบบนี้ได้ไหมครับ ถ้าบทความที่เราจะเขียนนั้นมีประโยชน์ ทาให้ ผู้อ่านได้ความรู้เพิ่มเติม แล้วถ้าเราเริ่มเขียนเร็วขึ้นหนึ่งวัน คนอ่านก็จะได้ความรู้เร็วขึ้นหนึ่ง วันด้วย เริ่มเขียนเลยดีไหมครับ Coachee: ไม่สนใจค่ะว่าใครจะอ่านแล้วได้ประโยชน์ยังไง ผม : (เงียบ.....สารภาพเลยครับว่าไปไม่ถูกแล้ว .....จนเสียงระฆังช่วย หมดเวลารอบ แรก)........
  • 19. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 19 อาจารย์ผู้ช่วยบอกว่าให้ลองเปลี่ยนคาถามดู เพราะคาถามผมชี้นาตลอด และผมก็ยอมรับว่า ชี้นาจริงๆเพราะมั่นใจว่า สิ่งที่เขาจะเขียนนั้นมีประโยชน์มาก เพียงแค่เขาเริ่มเขียนเท่านั้น เอง พอรอบสองเริ่มขึ้น ผมก็ถามไปไม่ถึงไหนเลย ไปไม่รอดเลยครับ คิดไปเองว่าที่เขาไม่เริ่ม เขียน เพราะเขาไม่มั่นใจว่าจะเขียนให้ใครอ่าน เขียนแล้วลงสื่อไหน จึงถามวนเวียนไปเพื่อให้ ได้ข้อมูลเพิ่มเติม แล้ว 5 นาทีผ่านไปอย่างรวดเร็ว หมดเวลาแต่ผมลืมถามแม้กระทั่งว่า แรงจูงใจในการเขียนบทความของเขาคืออะไร ทั้งๆที่น้องที่เป็นผู้สังเกตการณ์ได้ฝากถามไว้ แล้วก็ตาม ผมรู้สึกแย่มากว่า ในรอบสองนี้ ผมถามได้แย่กว่าเดิมอีก เหมือนติดกับดักผู้หวัง ดีเข้าไปอีกหนึ่งกับดัก ลืมไปอย่างสิ้นเชิงว่ากาลังเป็นโค้ช ที่ต้องถามเพื่อช่วยเขาหาคาตอบ ไม่ใช่หาคาตอบให้กับเขาเสียเอง ผมอึดอัดกับตัวเองมากในเวลานั้น ผมบอกกับตัวเองว่า วัน แรกของการเป็นโค้ชมือใหม่ของผมนั้น สอบตกอย่างสิ้นเชิง อาจารย์เกรียงศักดิ์ฝากทิ้งท้าย เหมือนเข้าใจความรู้สึกของผมมากว่า “เป็นเรื่องปกติที่จะอึด อัด” “ใครๆก็จะอึดอัดเมื่อกาลังฝึกทักษะใหม่ที่เราไม่คุ้นเคย” ถ้าการเขียนบทความ เริ่มต้นได้แค่หยิบปากกาขึ้นมาเขียน การเป็นโค้ชที่เก่งขึ้นของผมนั้น ก็เริ่มต้นใหม่ได้แค่หยุดติดกับดักทั้งหลายของตัวเอง ไม่เก่งในเรื่องใหม่ไม่ใช่เรื่องแปลกเลย แต่ถ้าไม่พยายามเปลี่ยนแปลงตัวเองนี่สิ ไม่มีวันประสบความสาเร็จในเส้นทางใหม่ที่กาลัง เริ่มต้นอย่างแน่นอน ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม ผมจะทาให้ได้ดีขึ้นในสัปดาห์ต่อๆไป ผมตัดสินแล้วว่า ผมจะเป็นโค้ชที่ เก่งให้ได้ครับ
  • 20. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 20 บทที่ 4 รูปแบบการโค้ช ของ เดอะโค้ช ในห้องเรียน ECS ที่อ.เกรียงศักดิ์สอนวิธีกำร Coaching ได้เปิดโอกำสให้พวกเรำได้ ฝึกซ้อมกันหลำยครั้ง คุณวิบูลย์ สมำชิก 1 ใน 9 ของชำว ECS ได้สังเกต และสังเครำะห์ รูปแบบกำร Coach ของ อ.เกรียงศักดิ์ ออกมำ แล้วนำมำจัดเรียงเพื่อให้เห็นกระบวนกำร และขั้นตอนได้ชัดขึ้น ทำให้ Coach มือใหม่สำมำรถนำไปปฏิบัติได้อย่ำงเต็มรูปแบบง่ำย ขึ้น พื้นฐำนในกำร Coaching ที่อ.เกรียงศักดิ์ได้แนะนำและทำให้ดูเป็นตัวอย่ำงเสมอคือ 1) Coach มีควำมจริงใจที่จะสนับสนุน Coachee ให้มีควำมก้ำวหน้ำตำมต้องกำร ผ่ำน กระบวนกำร Coaching 2) Coach อยู่กับปัจ จุบันอย่ำงมีสติและมีสมำธิในกระบวนกำร Coaching 3) Coach ทบทวนข้อมูลที่ได้รับจำก Coachee เพื่อให้แน่ใจว่ำมีควำมเข้ำใจตรงกัน TheCoach Pattern ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนหลัก และ 20 ขั้นตอนย่อยในกระบวนกำร Coaching ดังนี้
  • 21. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 21 Introduction 1. Coach เริ่มต้นกระบวนกำรโดยแจ้งให้ทรำบว่ำจะใช้เวลำเท่ำไรในกระบวนกำร Coaching ในครั้งนี้ ซึ่งเป็นกำร Coach บนจุดแข็งของ Coachee และจะใช้วิธีตั้งคำถำม เป็นส่วนมำก เพื่อให้ Coachee คิดได้ดีขึ้น Clarify Needs 2. ค้นหำเป้ำหมำยที่ต้องกำรจำกกำร Coaching ในครั้งนี้ โดยใช้คำถำม เช่น  เมี่อจบกำร Coaching ในครั้งนี้ คุณอยำกเห็นผลลัพธ์อะไร  อะไรคือสิ่งที่สำคัญที่สุดที่คุณต้องกำรจะพูดคุยในครั้งนี้  คุณต้องกำรแลกเปลี่ยนมุมมองเรื่องอะไรกับผมในครั้งนี้ อย่ำงไรก็ตำม กำรถำมเพื่อให้คนคิดนั้น โค้ชต้องสร้ำงบรรยำกำศกำรสนทนำที่ดี ไม่ เหมือนกับกำรสอบสวน ให้โค้ชชี่รู้สึกสบำยใจ หำกไม่แน่ใจในประเด็นที่คุยกัน โค้ชอำจใช้ คำถำมว่ำ “ช่วยขยำยควำมในเรื่องนี้หน่อยครับ” หรือ อำจพูดว่ำ “เรำมำช่วยกันระดม ควำมคิด ไม่มีผิดถูกครับ ช่วยกันคิดดังๆ” 3. ค้นหำกรอบหรือขอบเขตที่ต้องกำรในกำร Coaching ครั้งนี้ เพื่อให้กำร Coaching นั้น เฉพำะเจำะจงมำกขึ้น เช่น ด้ำนพฤติกรรม ด้ำนกิจกรรม หรือด้ำนผลลัพธ์ หรือเป็น
  • 22. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 22 กิจกรรมเพื่อผลลัพธ์ที่ต้องกำร เช่น คุณเอก ต้องกำรเลื่อนอันดับผลงำนให้สูงขึ้น และ เลือกที่จะพูดคุยเรื่องกิจกรรมที่จะทำให้คุณเอกสำมำรถเลื่อนอันดับผลงำนได้ 4. ทำกำรยืนยันขอบเขตและเป้ำหมำยที่ต้องกำร โดย Coach ใช้ประโยคคำพูดว่ำ  ผมขอทวนเป้ำหมำยและขอบเขตที่เรำจะพูดคุยกันน่ะครับ  เรื่องที่คุณสนใจจะแลกเปลี่ยนมุมมองในครั้งนี้คือ... 5. Coach กล่ำวถึงควำมคำดหวังจำกผลลัพธ์ของกำร Coaching ครั้งนี้ เช่น  ครั้งนี้เรำมีเวลำเพียง 60 นำที ผมไม่แนใจว่ำเรำจะได้คำตอบในทุกเรื่อง ผมจะ พยำมใช้เวลำที่มีให้คุ้มค่ำที่สุดครับ (ข้อนี้อำจมีหรือไม่ก็ได้) Finding Information 6. เนื้อหำ สถำนกำรณ์ หรือเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้น เป็นข้อเท็จจริงสำหรับกำร Coaching  เกิดเหตุกำรณ์อะไรขึ้น  ควำมยุ่งยำกคืออะไร  คุณได้ทำอะไรไปแล้วบ้ำง  อะไรคืออุปสรรคที่ทำให้คุณไปต่อไม่ได้  อะไรที่คุณทำได้ดี  ทำไมเรื่องนี้ทำให้คุณยุ่งยำก  คุณใช้ Criteria อะไรในกำรเลือกวิธีกำรนี้ 7. สอบถำมถึงผลกระทบที่ได้รับจำกเหตุกำรณ์หรือปัญหำนั้น  ผลที่เกิดจำกเหตุกำรณ์นี้คืออะไร  มีอะไรเป็นสัญญำณว่ำคุณได้รับผลกระทบจำกเรื่องนี้ 8. สอบถำมถึงองค์ประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น บุคคล องค์กร
  • 23. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 23  มีใครช่วยคุณคิดในเรื่องนี้บ้ำง  คุณเคยขอควำมคิดเห็นจำกใครบ้ำงหรือเปล่ำ  ใครเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเรื่องนี้บ้ำง  จริงๆแล้วคุณทำเรื่องนี้เพื่อใคร  เจ้ำนำย / ลูกน้องของคุณ ทรำบเรื่องนี้บ้ำงหรือเปล่ำ เขำคิดอย่ำงไร  เรื่องนี้มีผลกระทบต่อธุรกิจอื่นๆของคุณมำกน้อยเพียงไร  คุณเตรียมแผนสำรองไว้หรือไม่ 9. สอบถำมถึงควำมสำเร็จที่ผ่ำนมำ  คุณได้ลองวิธีไหนไปแล้วบ้ำง  ในอดีตที่ผ่ำนมำ คุณได้ทำอะไรไปบ้ำงที่ทำให้คุณประสบควำมสำเร็จ Asking for Thinking 10. ใช้กรอบเวลำเป็นตัวเชื่อมโยงประสบกำรณ์ และให้ Coachee ได้มองย้อนไปในอดีต หรือมองย้อนกลับมำจำกอนำคต  ที่ผ่ำนมำ คุณได้ทำอะไรไปแล้วบ้ำง  ถ้ำคุณกลับไปในเหตุกำรณ์นั้นได้ คุณจะทำอะไรให้ดีขึ้น  ถ้ำมีโอกำสทำใหม่อีกครั้งหนึ่ง คุณจะทำอะไรให้ต่ำงไปจำกเดิม  เมื่อคุณอำยุ 60 ปี คุณมองย้อนกลับมำตอนนี้ คุณจะแนะนำตัวคุณเองว่ำอย่ำงไร  คุณวำงเป้ำหมำยในอนำคตไว้อย่ำงไร  คุณจะทำอะไรบ้ำง ถ้ำไม่มีอะไรเป็นอุปสรรค 11. สอบถำมแนวคิด หรือทำงเลือก
  • 24. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 24  ถ้ำใช้ควำมรู้สึก คุณจะเลือกแบบไหน  ถ้ำใช้เหตุผล คุณจะเลือกทำงไหน  ถ้ำคุณเนรมิตได้ คุณจะเลือกเนรมิตอะไร 12. เสนอให้คิดจำกมุมมองคนอื่น  ถ้ำคุณเป็นเจ้ำนำย คุณคิดว่ำ เจ้ำนำยของคุณจะทำอย่ำงไรกับเหตุกำรณ์นี้ 13. ยกตัวอย่ำง เพื่อเชื่อมโยงให้ Coachee คิดได้ หรือเพื่อสร้ำงแรงบันดำลใจ  ผมมีเรื่องจะเล่ำให้ฟัง....คุณได้อะไรจำกเรื่องนี้บ้ำง  ถ้ำเปรียบเทียบเรื่องของคุณกับประสบกำรณ์ในอดีต คุณจะทำอย่ำงไรกับเรื่องนี้ 14. ช่วยค้นหำทำงเลือกเพื่อจัดกำรกับปัญหำ  สิ่งที่ทำได้ในขณะนี้คืออะไร  คุณมีทำงเลือกอะไรบ้ำง  ทำงเลือกใดที่เหมำะสมที่สุดขณะนี้ 15. ทบทวนทำงเลือกให้ Coachee ฟังโดยใช้ข้อมูลที่ได้จำกกำร Coaching 16. หำกยังไม่แน่ใจ ให้ช่วยค้นหำต่อด้วยกำรใช้คำถำม  ดูเหมือนว่ำในทำงเลือกที่ 3 นี้มีอะไรที่ Inspire คุณอยู่ ถ้ำจะทำให้เป็นรูปเป็นร่ำง คุณต้องทำอะไรบ้ำง 17. เพื่อให้กำรพูดคุยในกระบวนกำร Coaching นี้เป็นรูปธรรมมำกขึ้น Coach จะให้ Coachee วำงแผนลงมือทำ  จำกแผนที่คิดมำทั้งหมดคุณคิดว่ำคุณเลือกจะทำอะไรบ้ำง  คุณสำมำรถเริ่มได้เมื่อไร  คุณต้องกำรที่จะได้รับกำรสนับสนุนอะไรบ้ำง
  • 25. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 25  คุณมีควำมมั่นใจในทำงเลือกใดที่สุด  (ถ้ำมีหลำยขั้นตอน) คุณจะเลือกทำขั้นตอนใดก่อน เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยใด 18. ตรวจสอบควำมมั่นใจของ Coachee และตัวชี้วัดควำมก้ำวหน้ำ  คุณจะรู้ได้อย่ำงไรว่ำคุณบรรลุเป้ำหมำยที่วำงไว้ Conclusions 19. สรุป เพื่อทบทวนเนื้อหำในกำร Coaching และ Coach อำจเพิ่มกำรเน้นย้ำได้ด้วย ประโยคคำถำม เช่น  เรำได้ข้อสรุปแล้ว ครำวหน้ำเรำจะเห็นกำรเปลี่ยนแปลงอะไรบ้ำง  หลังจำกวันนี้ จะมีอะไรเกิดขึ้นบ้ำง 20. นัดหมำยเพื่อกำร Coaching ในครั้งต่อไป
  • 26. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 26 บทที่ 5 รูปแบบการโค้ช แบบ โกรว์น รูปแบบที่ได้รับควำมนิยมในกระบวนกำร Coaching คือ GROW Model ซึ่งมำจำก Coaching for Performance ของ Sir John Whitmore เป็นลำดับกำรสนทนำ ตั้งแต่กำหนด เป้ำหมำย ค้นหำควำมจริง ไปจนถึงทำงเลือก และแผนกำรที่จะลงมือทำเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ ต้องกำร GROW ย่อมำจำก GOAL – REALITY – OPTIONS – WILL และเมื่อชำว ECS ได้ทดลอง ใช้ ก็พบว่ำควรเสริมตัว N หรือคำว่ำ NOW เข้ำมำกำกับกระบวนกำร Coaching ด้วย เพื่อให้ได้สำระที่ต้องกำรที่สุด กลำยเป็น GROWN Model หรืออีกนัยหนึ่งคือ กำรเติบโตจำกกระบวนกำร Coaching นั่นเอง
  • 27. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 27 GOAL หมำยถึง เป้ำหมำยในกำรโค้ช ซึ่งคู่สนทนำ คือ Coach และ Coachee ได้ทำกำร ตกลงกันไว้ล่วงหน้ำ ส่วนมำกจะเลือกเพียง 1 ประเด็นเท่ำนั้น หำกจำเป็นอำจมีประเด็น ปลีกย่อยเพิ่มเข้ำมำได้อีก 1 ประเด็นสำหรับกำร Coaching แต่ละครั้ง ตัวอย่ำงคำถำม  คุณต้องกำรจะได้อะไรจำกกำรคุยกันในครั้งนี้  อะไรคือสิ่งสำคัญที่สุดที่เรำควรจะพูดถึงขณะนี้  คุณกำลังกังวลใจเรื่องอะไร  เมื่อจบวันนี้คุณอยำกเห็นผลลัพธ์อะไร ตัวอย่ำงคำตอบ  ฉันอยำกจะฟังควำมเห็นของคุณและแลกเปลี่ยนมุมมองในเรื่อง...  ตอนนี้เป็นเวลำที่เหมำะหรือไม่ที่จะ... กำรจะได้มำซึ่ง Goal อำจจะใช้ SMART Model เข้ำมำมีส่วนร่วมด้วยก็ได้ S - Specific คำถำมเฉพำะเจำะจง ซึ่งอำจถำมโดยใช้ 5W1H คือ Who ใครทำอะไร, What อะไรที่เกิดขึ้น, How เกิดขึ้นได้อย่ำงไร, When เกิดขึ้นเมื่อไร, Where เกิดขึ้นที่ไหน, Why ทำไมถึงทำเช่นนั้น M - Measurable เป็นกำรถำมโดยอ้ำงอิงเชิงปริมำตร หรือ สำมำรถตรวจวัดได้ เช่น จำนวน เท่ำไหร่, รู้ได้อย่ำงไรว่ำสำเร็จ A - Achievable กำรบรรลุวัตถุประสงค์ เช่น สำมำรถปฏิบัติได้จริง, ทำให้เกิดผลสำเร็จได้จริง R - Realistic สิ่งที่จะทำนี้เป็นสำมำรถทำให้บรรลุเป้ำหมำยได้
  • 28. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 28 T – Time Specific มีกำหนดระยะเวลำ ช่วงระยะเวลำใดต้องทำอย่ำงไร ทั้งอดีต ปัจ จุบัน และ อนำคต Reality หมำยถึง สิ่งที่เกิดขึ้นในขณะนี้ เป็นข้อเท็จจริงเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับกำรหำทำง เลือกต่อไป ตัวอย่ำงคำถำม  มันเกิดอะไรขึ้น...  ควำมยุ่งยำกคืออะไร  คุณได้ทำอะไรไปแล้วบ้ำง  คุณได้ลองวิธีไหนไปแล้วบ้ำง  คุณทำอะไรได้ดีบ้ำง  อะไรคืออุปสรรคที่พบ  ควำมเป็นมำของเรื่องนี้คืออะไร ตัวอย่ำงคำตอบ  ตอนนี้ เกิดปัญหำเรื่อง...  เรื่องนี้ทำให้ผมยุ่งยำกใจ เพรำะ.... Option หมำยถึง ทำงเลือกต่ำงๆที่เป็นไปได้ (บำงตำรำเลือกใช้คำว่ำ Obstacles หรือ อุปสรรคแทนคำว่ำทำงเลือก) ตัวอย่ำงคำถำม  ตอนนี้ คุณมีทำงเลือกอะไรบ้ำง
  • 29. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 29  ถ้ำหำกไม่มีข้อจำกัดอะไรเลย คุณจะทำอย่ำงไร  ถ้ำมีโอกำสจะทำให้สถำนกำรณ์ดีขึ้น คุณอยำกจะทำอะไรบ้ำง  ถ้ำมันไม่เป็นอย่ำงที่คุณคิด คุณจะทำอย่ำงไร  คุณยังมีหนทำงอะไรบ้ำงในกำรแก้ปัญหำ  ถ้ำคุณเนรมิตได้ คุณจะเลือกเนรมิตอะไร  ถ้ำคุณเป็นเจ้ำนำย คุณคิดว่ำ เจ้ำนำยของคุณเขำจะทำอย่ำงไร  ถ้ำใช้ควำมรู้สึก คุณจะเลือกแบบไหน  ถ้ำใช้เหตุผล คุณจะเลือกแบบไหน Will หมำยถึง สิ่งที่ตั้งใจจะลงมือทำ (บำงตำรำใช้คำว่ำ Way-Ahead หรือ Way Forward ซึ่งหมำยถึง ทำงที่จะดำเนินต่อไป, Warp-Up สิ่งที่เกิดขึ้นมำอย่ำงทันทีทันใด และ What Next จะดำเนินกำรอะไรต่อไป) ตัวอย่ำงคำถำม  คุณจะลงมือทำอะไรบ้ำง  คุณจะลงมือทำเมื่อไร  คุณต้องกำรสิ่งใดบ้ำงเพื่อสนับสนุนงำนนี้  คุณจะประเมินผลอย่ำงไร  กิจกรรมที่จะทำให้คุณบรรลุเป้ำหมำยมีอะไรบ้ำง  จำกตอนนี้จนถึงครั้งต่อไปที่เรำจะพบกัน มันจะมีอะไรเกิดขึ้นบ้ำง
  • 30. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 30 Now เป็นคุณลักษณะของตัว Coach เอง ซึ่งต้องมีสติอยู่กับปัจจุบัน ระวังควำมคิดของ ตัวเอง ไม่ไปพะวงกับเรื่องที่คุยไปแล้ว ไม่คิดถึงคำถำมที่ต้องกำรถำมต่อไป ไม่ด่วนตัดสิน เรื่องรำวที่กำลังสนทนำอยู่ ให้มีสติอยู่กับกำรสนทนำขณะนี้ และต้องสำมำรถทำให้ Coachee มีสติอยู่กับปัจ จุบันได้เช่นกัน หำก Coachee พูดถึงเรื่องอื่นๆที่ไม่ใช่ประเด็นหลักในกำร สนทนำ Coach จะพำ Coachee กลับมำ ณ ปัจ จุบันได้ด้วยกำรตั้งคำถำม ตัวอย่ำงคำถำม  ขณะนี้เรำกำลังคุยเรื่องอะไรกันอยู่  คุณกำลังคิดอะไรอยู่ครับ  ดูเหมือนว่ำตอนนี้คุณกำลังคิดเรื่องกำรนำไปปฏิบัติอยู่ (หำกขณะนี้กำลังคุย เรื่องเป้ำหมำยของโครงกำร)  เรื่องที่กำลังเล่ำนี้ มีควำมสัมพันธ์อย่ำงไรกับเป้ำหมำยของกำรคุยกันในวันนี้ ครับ ดูสไลด์ประกอบคำบรรยำยได้ที่ http://www.slideshare.net/coachkrieng/ecs-session-3- 13361355 ดู Youtube ประกอบได้ที่ http://www.youtube.com/playlist?list=PLC7439567972EBB20 เริ่ม ตั้งแต่ ECS S3 01 ถึง ECS S3 24
  • 31. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 31 บทที่ 6 รูปแบบการโค้ช เรื่องความเชื่อที่ไม่สมเหตุผล ในกระบวนกำรพัฒนำตนเองหรือกำรพัฒนำองค์กร หำกบุคคลหรือองค์กรนั้นมีควำมรู้ที่ เพียงพอและทักษะที่เหมำะสมแล้ว แต่ยังไม่สำมำรถทำงำนได้สมกับศักยภำพที่มีอยู่ เรื่อง ที่ Coach จะให้ควำมสนใจคือเรื่องพฤติกรรม รูปต่อไปนี้แสดงให้เห็นว่ำพฤติกรรมของมนุษย์เกิดจำกกำรสะสมประสบกำรณ์ เมื่อเกิดซ้ำ กันนำนเข้ำก็กลำยเป็นควำมเชื่อ นำไปสู่ควำมคิด และสะท้อนออกมำเป็นพฤติกรรมของ บุคคลนั้น เนื่องจำกคนมีประสบกำรณ์ต่ำงกัน พฤติกรรมของเรำจึงแตกต่ำงกัน ในสังคมองค์กรซึ่งมี คนที่มีประสบกำรณ์แตกต่ำงกันมำอยู่ร่วมกัน จึงมีโอกำสเกิดควำมขัดแย้งกันในทำง ควำมคิดและพฤติกรรมขึ้น ตัวอย่ำงเช่น ผู้บริหำรมีควำมเชื่อว่ำกำรเรียนรู้เกิดจำกกำรลงมือทำด้วยตนเอง แต่ พนักงำนมีควำมเชื่อว่ำกำรเรียนรู้เกิดจำกกำรมีคนสอน ทำให้เกิดควำมคำดหวังต่ำงกัน ผู้บริหำรคำดว่ำพนักงำนที่เข้ำมำใหม่ต้องเรียนรู้ด้วยตนเอง แต่พนักงำนใหม่กลับคำดหวัง ให้มีกำรสอนงำน เมื่อควำมคิดไม่ตรงกันแล้วก็นำไปสู่ควำมไม่เข้ำใจกันและอำจนำไปสู่ ควำมเสียหำยขององค์กรโดยรวมได้
  • 32. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 32 Steve Jobs เป็นเด็กกำพร้ำที่มีควำมเชื่อว่ำเขำเป็นเด็กพิเศษจึงทำให้พ่อแม่บุญธรรมของ เขำรับมำเลี้ยง ควำมเชื่อว่ำเขำเป็นเด็กพิเศษเป็นตัวผลักดันให้สร้ำงผลงำนที่พิเศษตลอด มำจนประสบควำมสำเร็จในธุรกิจอย่ำงที่เรำทรำบกัน ดังที่ได้กล่ำวไว้แล้วว่ำ ผลงำนของคนเรำควรเท่ำกับศักยภำพที่มี แต่หำกผลงำนที่เกิดขึ้น นั้นต่ำกว่ำศักยภำพที่มี ให้พิจำรณำว่ำอะไรเป็นตัวบั่นทอนศักยภำพของเรำ ตัวบั่นทอนในที่นี้อำจหมำยถึงควำมเชื่อที่ผิด (Fault Belief) ควำมเชื่อที่ไม่สมเหตุผล (Irrational Belief) อำจหมำยถึง ควำมสงสัยในตัวเอง (Self Doubt) หรือควำมกลัวที่จะ ล้มเหลว (Fear to Fail) ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นตัวบั่นทอนที่สำคัญทั้งสิ้น ในชั้นเรียน ECS ของเรำ อ.เกรียงศักดิ์ ได้ยกตัวอย่ำงของท่ำนเองขึ้นมำเพื่อให้เรำได้เห็น ภำพชัดเจนขึ้น ถึงควำมเชื่อที่บั่นทอนศักยภำพ และวิธีกำรจัดกำรกับตัวบั่นทอนนั้น สมกำร P = p – i นำเสนอได้ 80% = ศักยภำพ 100% - ตัวบั่นทอน 20%
  • 33. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 33 ในตัวอย่ำงนี้ กำรนำเสนองำน (Presentation) ควรจะนำเสนอได้อย่ำงดีเยี่ยมไม่มีที่ติเป็น ตัวบั่นทอน เป็นควำมเชื่อที่ไม่สมเหตุผล ทำให้ควำมสมบูรณ์ในกำรนำเสนอทำได้เพียง 80% ทั้งๆที่มีศักยภำพ 100% ในที่นี้ จะเห็นว่ำตัวที่บั่นทอนผลงำนคือควำมเชื่อของตัวเอง เรำจึงต้องทำกำรลดทอน ควำมเชื่อเดิม และปลูกควำมเชื่อใหม่ให้เกิดขึ้นในตัวเรำ โดยให้มีอิทธิพลเหนือควำมเชื่อ เก่ำ และทำให้สำมำรถแสดงศักยภำพออกมำได้ 100% กระบวนกำรลดทอนควำมเชื่อเก่ำและสร้ำงควำมเชื่อใหม่ อ.เกรียงศักดิ์ได้เสนอแนวทำงไว้ 5 ขั้นตอน
  • 34. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 34 1.ระบุความเชื่อที่ไม่สมเหตุผล ในกำรหำควำมเชื่อนี้ Coach สำมำรถใช้คำถำมว่ำ มีใครบอกคุณว่ำ คุณเป็น.....? หรือ คุณมี ควำมเชื่ออะไรจึงทำให้คุณทำอย่ำงนี้? 2.ท้าทายความเชื่อที่ไม่สมเหตุผล คือกำรหักล้ำงควำมเชื่อเดิม เพื่อให้เปลี่ยนควำมคิดและพฤติกรรมใหม่ 3.ทดแทนด้วยความเชื่อใหม่ เพื่อที่จะส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมใหม่ และทำให้ผลงำนเท่ำกับศักยภำพที่มี 4.เตรียมบทพูดความเชื่อใหม่ ในขั้นตอนนี้เป็นกำรสร้ำง Self-Talk หรือกำรพูดกับตนเองเพื่อให้รับรู้ว่ำเรำมีควำมเชื่อใหม่ อะไรบ้ำง 5.จัดทาแผน 21 วัน ให้อ่ำนบทพูดที่เตรียมไว้วันละ 15 นำทีเป็นเวลำ 21 วัน (อ่านเรื่อง 21-Day Habit Theory เพิ่มเติมได้จากหนังสือ Psycho-Cybernetics ของ Dr.Maxwell Maltz)
  • 35. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 35 ตัวอย่าง 1. ระบุ ความเชื่อไม่สมเหตุผล “ทุกครั้งที่เรำนำเสนอ เรำ ‘ต้อง’ นำเสนอได้ถูกต้องทุกขั้นตอนตำมที่เรำสอนใน หนังสือกำรนำเสนอ” 2. ท้าทาย ความเชื่อไม่สมเหตุสมผล  ไม่มีหลักฐำนใดๆที่บอกว่ำมีใครทำได้ทุกขั้นตอน  ผลกำรประเมินไม่เคยมีใครบอกแบบที่เรำเชื่อ  คุณเปำะ มักเอ่ยบ่อยๆว่ำเรำเตรียมตัวมำก  คุณชนะ ยืนยันว่ำเรำทำได้ดี  หำกไม่ดีจริง คุณโจ้ ต้องบอกเรำไปแล้ว ดังนั้น ควำมเชื่อว่ำ “เรำต้องนำเสนอได้ถูกต้องทุกขั้นตอนตำมที่เรำสอนฯ” เป็นควำม เชื่อที่ไม่สมเหตุสมผล โดยที่เรำเป็นคน “เลือก” ที่จะเชื่อแบบนั้นเอง ดังนั้น เรำจึงมี สิทธิ์ที่จะ “เลือก” ที่จะไม่เชื่อแบบนั้นได้เช่นกัน 3. ทดแทนด้วยความเชื่อใหม่  เรำ “ควร” นำเสนอได้ถูกต้องทุกขั้นตอนตำมที่เรำสอน  หำกพลำดบ้ำงก็เป็นปุถุชน มีหลักฐำนสนับสนุนหรือไม่? o มี ขนำด Steve Jobs ยังพลำดเลย แม้จะซ้อมอย่ำงหนัก 4. เตรียมบทพูด ความเชื่อใหม่ 4.1 ตัดกำลังควำมเชื่อที่ไม่สมเหตุผล  ที่ผ่ำนมำยังไม่เห็นใครทำได้เลย  ในหนังสือเรำต้องหำตัวอย่ำงแต่ละบทไม่ซ้ำคน
  • 36. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 36 4.2 เร่งควำมเชื่อใหม่  เน้นที่ประโยชน์คนฟัง  เมื่อพลำดบ้ำงก็ให้อภัยตนเอง  ไม่มีใครคำดหวังให้เรำสมบูรณ์แบบ 4.3 ฝึกตัวเองให้ฝืนควำมเชื่อเดิม  สบำยใจกับควำมอึดอัด  ซ้อมและเตรียมพอสมควร 5. จัดทาแผน 21 วัน  อ่ำนทบทวนข้อ 3/4  อ่ำนทบทวนข้อ 3/4 ลงเทปฟังในรถ  อ่ำนทบทวนข้อ 3/4 กับโจ้ ทุก 3 วัน ดูสไลด์ประกอบคำบรรยำยได้ที่ http://www.slideshare.net/coachkrieng/ecs-4-slideshare ดู Youtube ประกอบได้ที่ http://www.youtube.com/playlist?list=PLC7439567972EBB20 เริ่ม ตั้งแต่ ECS S4 01 ถึง ECS S4 22
  • 37. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 37 Insight Learning พฤติกรรมต่ำงๆที่แสดงออกของมนุษย์ เกิดขึ้นมำจำกความคิดเดิมซ้ำๆ ที่กลั่นกรองมำ จำกความเชื่อ และประสบการณ์ของแต่ละบุคคล มันคงยำกที่จะลบล้ำงควำมคิดที่เป็นลบออกจำกใจ เนื่องจำกเรำมักปล่อยให้ประสบกำรณ์ใน อดีต จูงควำมคิดที่ผิดซึ่งเกิดมำจำกควำมเชื่อ จนทำให้ควำมเชื่อที่ผิดนั้นอำจบั่นทอน สุขภำพจิตและศักยภำพของตนเองโดยไม่รู้ตัว ซึ่งในควำมเป็นจริงแล้วมันสำมำรถลบเลือนออกไปได้ด้วยควำมเชื่อใหม่ ถ้ำเรำมีจินตนำกำร ทำงด้ำนบวก เปิดจิตให้สว่ำง เพื่อรับควำมเชื่อใหม่ ด้วยควำมแน่วแน่ กำรพัฒนำศักยภำพของตนเอง ไม่ว่ำจะเป็นเรื่องสุขภำพกำยและใจ ก่อให้เกิดผลดีแก่ ตนเองและผู้อื่น กำรพัฒนำนั้นทำได้โดยกำร coach ผ่ำน Coach หรือทำด้วยตนเองโดย... 1. ระบุควำมเชื่อที่ไม่สมเหตุผลของพฤติกรรม โดยกำรสำรวจระดับจิตใต้สำนึกในอดีตที่ อยู่ภำยใต้ภูเขำน้ำแข็ง 2. ท้าทายควำมเชื่อที่บั่นทอนจิตใจ ว่ำมีควำมเชื่ออะไรที่บั่นทอนจิตใจเรำ 3. หำทำงทดแทนควำมเชื่อใหม่ ด้วยพลังของควำมคิด สร้ำงสะพำนแห่งควำมคิด ระหว่ำงข้อมูลกับสมอง ปลดกรอบควำมฝังใจที่อยู่ในจิตใจ คลี่คลำยสิ่งที่ขีดขวำงศักยภำพ นั้น 4. เตรียมสร้ำงพลังด้วยศรัทธำ จงสังเกตว่ำเรำเรียนรู้ รับรู้เรื่องที่ดีกว่ำได้ด้วยสื่อใด เช่น กำรอ่ำน กำรฟัง กำรพูด กำรบันทึก หรือกำรสร้ำงภำพในใจ ดังนั้นเรำอำจเตรียมบทพูดกับ ตนเอง ฟังเทปที่ให้พลังใจ หรือกำร coach เพื่อล้ำงและถ่ำยเทควำมคิดที่เป็นลบออกจำก จิตใจ แล้วนำควำมเชื่อใหม่เข้ำมำป้อนข้อมูลใหม่ในสมองที่สดใส 5. จำกนั้นวางแผนให้ตนเองอย่ำงมีเป้ำหมำยว่ำเรำจะทำอะไรบ้ำง เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ภำยใน 21 วัน หรือตำมเวลำที่เรำสำมำรถกำหนดได้ ตรำบใดที่เรำไม่สำมำรถคิดได้ทันท่วงที่ เรำก็อำจจะเสียเวลำกับสิ่งที่บั่นทอนศักยภำพของ ตนเองไปอย่ำงนั้น จนกระทั่งมันอำจจะสำยไป ถ้ำเรำปิดใจอย่ำงถำวร
  • 38. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 38 จำกประสบกำรณ์ของกำร Coach เรื่องของควำมเชื่อที่ว่ำ “ควำมเร่งรีบคือควำมสำเร็จ” เป็นกำร Coach ที่ดีมำกสำหรับดิฉัน พฤติกรรมของ Coachee ที่มีควำมรีบเร่งในกำรดำรง ชีพอยู่หลำยอย่ำง เช่น กำรขับรถ กำรรับประทำนอำหำร กำรทำงำน รวมไปถึงเรื่องของ ควำมสัมพันธ์ ซึ่งเธอสงสัยว่ำทำไมเธอจึงเป็นอย่ำงนั้น ในช่วงเวลำของกำร Coach ภำยใน 15 ยังไม่สำมำรถทำให้ Coachee มองเห็นแนวทำงของ ควำมเชื่อใหม่ได้ในขณะนั้น เพรำะเธอยังตอบคำถำมว่ำ “สิ่งที่เธอทำไปหรือควำมรีบเร่งของ เธอ ไม่เสียหำยอะไร”และกำรค้นหำประสบกำรณ์เหล่ำนั้นจำกเธอ ไม่ใช่เรื่องง่ำยๆที่จะใช้ เวลำเพียงไม่กี่นำที ควำมเชื่อเป็นสิ่งที่ไม่สามารถเปลี่ยนกันง่ายๆ โดยเฉพาะ Coachee มี Self-Assurance สูง เรายิ่งต้องใช้เวลาและพยายามตั้งคาถาม เพื่อหาเหตุผลมาหักล้างความเชื่อเดิม จนทาให้ เกิดการ Coach แบบ “ถาม แถ เถียง” ดิฉันควรตั้งตาถามหาเพื่อหาความคิดจากเขาว่า  “ทาไมจึงคิดว่าการรีบเร่งเป็นความสาเร็จ”  “อะไรทาให้เธอเชื่อว่าความรีบเร่งคือความสาเร็จ”  “ในประสบการณ์ที่มีมาในอดีตอะไรทาให้เธอต้องรีบเร่งมากมายถึงขนาดนั้น”  “อะไรที่ทาให้เธอได้รับรางวัลจากกการเร่งรีบ แล้วเธอประสบความสาเร็จ”  “อะไรคือผลเสียที่เธอได้รับจากความเร่งรีบในอดีต และปัจ จุบัน”  “ใครได้รับผลเสียทางร่างกายหรือจิตใจจากพฤติกรรมที่เร่งรีบของเรา” จากคาตอบเหล่านั้นของเธอ อาจจะช่วยเธอเปลี่ยนความคิดใหม่ได้ในเวลานั้น หรือเวลาถัด มา แต่การที่เธอจะเปลี่ยนความเชื่อหรือไม่จะต้องอยู่ที่ตัวของเธอเอง เราต้องเคารพการ ตัดสินใจของ Coachee เสมอ ข้อควรสังเกตในการ coach “เรื่องของความเชื่อที่ไม่ถูกต้อง” คือ  เราควรทาให้บรรยากาศผ่อนคลายมากกว่าที่จะรีบเร่ง เพื่อให้ Coachee ได้คลี่คลาย สิ่งกีดขวางและบั่นทอนศักยภาพของตนเองให้หลุดพ้นจากความรีบเร่ง
  • 39. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 39  ยิ่ง Coachee มี Self-Assurance สูง การใช้ภาษาในการตั้งคาถามควรจะต้องระวัด ระวังมาก  การที่เรามีความจริงใจช่วยอย่างเดียว ไม่สามารถทาให้การ coach สาเร็จลงได้ เรา ต้องฝึกเป็น coach ฝึกตั้งคาถาม ฝึกการใช้ภาษาให้ดี  จงพูดในภาษาของ coachee  จงฟังอย่างตั้งใจว่า coachee พูดประโยคใด และย้าประโยคใดบ่อย เพราะนั่นคือสิ่งที่ เธอติดอยู่ในใจ เหมือนเครื่องยนต์ที่ start ไม่ติด Coach มีหน้าที่ที่จะค้นหาปัญหาภายในใจ และดึงเขาออกมาจากปัญหาหรือความเชื่อที่ไม่ถูกต้องนั้นๆ ดิฉันพบว่า จิตของเราจะรับสิ่งใหม่ได้ดี เมื่อเรามีการผ่อนคลายทั้งกายและใจ ความคิด สร้างสรรค์เหล่านั้นจะเกิดขึ้นมาและยับยั้งความคิดทางลบของเราได้ เราสามารถ เปลี่ยน หรือค้นคิดหาความจริง ความเชื่อที่ถูกต้องได้ด้วยตัวของเราเอง การตั้งคาถามและหาตอบคาถามให้ตนเองนั้น จะเป็นวลีที่ทรงพลัง สามารถลบความคิดที่ บั่นทอนศักยภาพ เพื่อประโยชน์สูงสุดของการพัฒนาตนเองไปสู่สิ่งที่ดีกว่า เช่น “ถ้าวันนั้น ฉันไม่...ฉันคงไม่ต้องประสบกับ...” “ถ้าฉันย้อนกลับไปในอดีตได้ ฉันจะไม่...” “แต่ในเมื่อฉันผิดพลาดไปแล้ว ฉันก็พร้อมที่จะต่อสู้กับปัญหา” “ฉันพร้อมที่จะเดินไปด้วยความมั่นใจ” “ไม่มีอะไรที่ฉันทาไม่ได้” จากนั้น หายใจลึกๆ ร้องเพลงที่ให้กาลังใจตนเอง ร้องไห้ออกมาดังๆ “ไม่มีอะไรที่ฉันทาไม่ได้ เวลาที่เหลืออยู่ของฉัน อยู่ในกามือฉันเอง”
  • 40. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 40 บทที่ 7 รูปแบบการโค้ชบนจุดแข็ง จุดแข็ง คือ กำรทำกิจกรรมอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งได้แทบสมบูรณ์แบบอย่ำงสม่ำเสมอ (Consistent near perfect performance in an activity) หลักกำรสำคัญในกำรใช้จุดแข็งให้เป็นประโยชน์ต่อชีวิตคือ 1. จะถือกิจกรรมใดๆเป็นจุดแข็งได้ก็ต่อเมื่อสำมำรถคำดหวังผลลัพธ์ได้อย่ำงสม่ำเสมอ 2. บุคคลไม่จำเป็นต้องมีจุดแข็งที่เกี่ยวกับบทบำทของตนในทุกด้ำนจึงจะเป็นเลิศได้ ควำมคิดที่ว่ำผู้ปฏิบัติได้ดีเลิศต้องเก่งรอบด้ำนนั้นเป็นเรื่องที่เป็นไปแทบไม่ได้ ในทำงตรง ข้ำมเมื่อศึกษำผู้ปฏิบัติได้เป็นเลิศนั้น พวกเขำแหลมคมกันเฉพำะด้ำน 3. บุคคลจะเป็นเลิศได้ด้วยกำรเพิ่มพูนจุดแข็งของตนให้มำกที่สุด มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ปรับตัวได้สูง สำมำรถปรับตัวและเรียนรู้ได้แทบทุกเรื่องถ้ำจำเป็น โดยอำจจะทำได้ดีขึ้นเพียงเล็กน้อย แต่ไม่สำมำรถพัฒนำจนกระทั่งแทบสมบูรณ์แบบ อย่ำงสม่ำเสมอได้โดยเพียงกำรฝึกหัด กำรพัฒนำจุดแข็งในกิจกรรมใดๆก็ตำม จำต้องใช้ พรสวรรค์ตำมธรรมชำติบำงประกำรเข้ำมำประกอบ ดังนั้นจึงควรมีเครื่องมือที่สำมำรถ แยกพรสวรรค์ที่มีตำมธรรมชำติออกจำกสิ่งที่สำมำรถเรียนรู้ได้
  • 41. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 41 พรสวรรค์ (Talents) คือแบบแผนของควำมคิด ควำมรู้สึก หรือพฤติกรรมของบุคคลที่ เกิดขึ้นซ้ำๆอย่ำงเป็นธรรมชำติ สิ่งที่แบบประเมิน Strengths Finder (SF) วัดได้ก็คือ ลักษณะของพรสวรรค์ต่ำงๆ ทักษะ (Skills) คือขั้นตอนในกำรฝึกฝน กำรทำกิจกรรม ความรู้ (Knowledge) ประกอบด้วยข้อมูลและบทเรียนที่ได้เรียนรู้ พรสวรรค์ ควำมรู้ และทักษะ ร่วมกันสร้ำงจุดแข็ง (Strengths) ให้กับบุคคล พรสวรรค์มีมำแต่กำเนิด ในขณะที่ทักษะและควำมรู้นั้นสำมำรถหำมำได้ด้วยกำรเรียนรู้และ ฝึกฝน เช่น ตัวอย่ำงของพนักงำนขำย เรียนวิธีกำรบรรยำยสรรพคุณผลิตภัณฑ์ (ควำมรู้) เรียนวิธีตั้งคำถำมเปิดเพื่อค้นหำควำมต้องกำรของลูกค้ำ (ทักษะ) แต่จะไม่มีวันเรียนวิธี ผลักดันให้ผู้มุ่งหวังตกลง ณ ขณะเวลำที่เหมำะสมด้วยรูปแบบที่ถูกจังหวะพอดี เพรำะนั่น เป็นพรสวรรค์ หัวใจในกำรสร้ำงจุดแข็งที่แท้จริงก็คือ กำรจำแนกพรสวรรค์ที่สำคัญที่สุดของตนแล้วนำไป ขัดเกลำด้วยควำมรู้และทักษะ
  • 42. Executive Coaching : ECS by TheCoach Page | 42 ทาไมต้องพัฒนาจุดแข็ง ในกำรศึกษำเรื่องกำรพัฒนำจุดแข็งด้ำนกำรอ่ำนหนังสือเร็วสำหรับนักเรียน (Speed Reading) เริ่มจำกวัดควำมสำมำรถในกำรอ่ำนของนักเรียน กลุ่มแรก อ่ำนได้ 90 คำต่อนำที กลุ่มที่สอง อ่ำนได้ 350 คำต่อนำที จำกนั้นฝึกฝนกำรอ่ำนเร็วให้แก่นักเรียนทั้งสองกลุ่มด้วย วิธีกำรเดียวกัน เมื่อวัดผลอีกครั้งปรำกฏว่ำ กลุ่มแรกสำมำรถพัฒนำกำรอ่ำนจำก 90 คำเป็น 150 คำต่อนำที หรือเพิ่มขึ้น 67% ในกลุ่มที่สองพัฒนำจำกอ่ำน 350 คำเป็น 2500 คำต่อ นำที หรือคิดเป็น 729% กำรพัฒนำพรสวรรค์ให้กลำยเป็นจุดแข็งเป็นเรื่องที่น่ำสนใจ แต่ไม่ได้หมำยควำมว่ำให้ เพิกเฉยต่อจุดอ่อน เพียงแต่ให้ควำมใส่ใจให้มำกในพรสวรรค์นั้นๆ ดูสไลด์ประกอบคำบรรยำย ได้ที่ http://www.slideshare.net/coachkrieng/ecs-session-2- slides ดู Youtube ประกอบได้ที่ http://www.youtube.com/playlist?list=PLC7439567972EBB20 เริ่ม ตั้งแต่ ECS S2 01 ถึง ECS S2 25