SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  49
Télécharger pour lire hors ligne
กฎกระทรวง
ว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือนไข การออกใบอนุญาต
่
และการต่ ออายุใบอนุญาต
เกี่ยวกับการขายยาแผนปั จจุบน พ.ศ.2556
ั
ลงราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 130 ตอนที่ 126 ก วันที่ 27 ธันวาคม 2556
สานักยา
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ทีมา หลักการ และเหตุผล
่

 กฎกระทรวงฉบับที่ 15 (พ.ศ.2525) ประกาศใช้มาตั้งแต่ 13
ตุลาคม พ.ศ. 2525 ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบน
ั

 กาหนดเกณฑ์สถานที่ และอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับสภาพการ
ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมในปัจจุบน
ั

 เพื่อยกระดับมาตรฐานการให้บริ การของสถานที่ขายยาแผน
ปัจจุบน และคุมครองความปลอดภัยของผูบริ โภค
ั
้
้
ทีมา หลักการ และเหตุผล
่

 เพิ่มเติมเนื้อหาว่าด้วยเรื่ องหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขในการต่อ
อายุใบอนุญาตตามมาตรา 17 วรรค 2 ใน พระราชบัญญัติยา
เพื่อคัดกรองร้านยาที่ไม่มีคุณภาพบริ การ
 สอดคล้องกับมติที่ประชุม คณะอนุกรรมการพัฒนาร้านยา ครั้ง
ที่ 1/2549 ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2549 ให้ปรับปรุ ง
กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องเพื่อการยกระดับคุณภาพร้านยา
ทีมา หลักการ และเหตุผล
่

 สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงมี
คาสังสานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ 313/2549 ลง
่
วันที่ 23 มิถุนายน 2549 แต่งตั้งคณะทางานยกร่ าง กฎกระทรวง
ว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขการอนุญาตและต่ออายุ
ใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบน
ั
 คณะทางานได้ทาการยกร่ าง และรับฟังความคิดเห็นจากภาค
ส่ วนที่เกี่ยวข้องจานวน 3 ครั้ง ในวันที่ วันที่ 22 กันยายน 2549
วันที่ 1 ตุลาคม 2549 และ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2550
ระยะเวลาที่จะมีผลบังคับ
ข้อ 1
กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บงคับเพื่อพ้น 180 วัน นับแต่วนประกาศ
ั
ั
ในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 ลงราชกิจจานุเบกษา 27 ธันวาคม 2556
 ครบ 180 วัน 24 มิถนายน 2557
ุ
 มีผลบังคับใช้ 25 มิถนายน 2557 เป็ นต้ นไป
ุ
ข้อ 2 ให้ยกเลิก
 กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๒๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐
 กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๑ (พ.ศ. ๒๕๒๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐
นิยาม / แบบคาขอ / แบบใบอนุญาต
ข้อ 3

วิธีปฏิบัตทางเภสั ชกรรมชุมชน หมายความว่า
ิ
ข้อกาหนด มาตรฐาน หรื อวิธีการให้บริ การทาง
เภสัชกรรมด้านยาในสถานที่ขายยาแผนปัจจุบนทุกประเภท
ั
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา
นิยาม / แบบคาขอ / แบบใบอนุญาต
ข้อ 4 , 5 กาหนดแบบคาขอ และ แบบใบอนุญาต
นิยาม
เวลาเปิ ดร้าน = เวลาดาเนินกิจการ
เวลาปฏิบติการของผูมีหน้าที่ปฏิบติการ = เวลาเปิ ดทาการ
ั
้
ั
สถานที่
ข้อ 6
- สถานที่ขายยา ต้องมีพ้ืนที่ขาย ให้คาปรึ กษาและแนะนา

การใช้ยาติดต่อกันไม่นอยกว่า 8 ตารางเมตร
้
- สถานที่มนคง แข็งแรง ถูกสุ ขลักษณะ เหมาะสมต่อ
ั่
การรักษาคุณภาพยา
- มีแสงสว่างเพียงพอ
- มีบริ เวณให้คาปรึ กษา และแนะนาที่เป็ นสัดส่ วน
มีพนทีเพียงพอต่อการให้บริการ และเปนระเบียบ
ื้ ่
็
เรียบร้อย
ั ่
มีการจัดสดสวนในการปฏิบตงาน
ั ิ

ั
จุดบริการโดยเภสชกร

บริเวณให้คาปรึกษาด้านยา

่
สวนบริการตนเอง
อุปกรณ์

ข้อ 7 สถานที่ขายยา ต้องมี
- อุปกรณ์ที่ใช้ในการขายยา
- อุปกรณ์การเก็บ และการควบคุมหรื อรักษาคุณภาพยา
ตามลักษณะและจานวนที่กาหนด
ปายต่ างๆ
้
ข้อ 8 ป้ ายประเภทใบอนุญาต และป้ ายเภสัชกรผูมีหน้าที่ปฏิบติการ
้
ั
สถานที่ขายยาแผนปัจจุบน
ั

สถานที่ขายยาส่ งแผนปั จจุบน
ั

สถานที่ขายยาแผนปัจจุบน
ั
เฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตรายหรื อยาควบคุมพิเศษ

สถานที่ขายยาแผนปัจจุบน
ั
เฉพาะยาบรรจุเสร็จสาหรับสัตว์
นางสาวกิติยา วงษ์ครุ ธ ภ.บ.
ั
ภ.28397 เวลาปฏิบติการ 07.00-21.00น.
การจัดทาบัญชี / รายงาน
ข้อ 8 บัญชี / รายงานต่างๆที่ ต้องทา
1. บัญชีการซื้ อยา
2. บัญชีการขายยาควบคุมพิเศษ
3. บัญชีการขายยาอันตราย เฉพาะรายการที่ อย. กาหนด
4. บัญชีการขายยาตามใบสังยาของผูประกอบวิชาชีพฯ (ทุกรายการ)
้
่
5. รายงานการขายยาตามประเภทที่ อย.กาหนด ส่ งให้ อย.
คารับรอง และหน้ าทีของผู้มีหน้ าทีปฏิบัตการ
่
่
ิ

ข้อ 9 คารับรองของผูมีหน้าที่ปฏิบติการ
้
ั
ข้อ 10 หน้าที่ของเภสัชกร
- ควบคุมการทาบัญชี /รายงาน ให้เป็ นไปโดยถูกต้อง
- ควบคุมการขายยา ให้เป็ นไปโดยถูกต้องตามกฎหมาย
- ให้คาแนะนาเกี่ยวกับการใช้ยาให้ปลอดภัยตามหลักวิชาการ และ
จรรยาบรรณ ตามสมควร
- ดาเนินการขายยาตามรายการที่ อย.กาหนด ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไข ที่ อย.กาหนด
การปฏิบัติตาม GPP

ข้อ 11
ผูรับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบนทุกประเภท และ ผูมี
้
ั
้
หน้าที่ปฏิบติการ ต้องปฏิบติตามวิธีปฏิบติทางเภสัชกรรม
ั
ั
ั
ชุมชนที่รัฐมนตรี กาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
อาจมีหน่ วยงาน หรือ องค์ กรวิชาชีพ เป็ นผู้ตรวจ GPP

ข้อ 12
ผูอนุญาตอาจจัดให้หน่วยงานหรื อองค์กรวิชาชีพทาหน้าที่
้
ตรวจประเมินตามวิธีปฏิบติทางเภสัชกรรมชุมชนของผูรับอนุญาต
ั
้
และผูมีหน้าที่ปฏิบติการตามข้อ 11 เพื่อเป็ นข้อมูลประกอบการ
้
ั
พิจารณาออกใบอนุญาต หรื อต่ออายุใบอนุญาต
หน่วยงาน หรื อ องค์กรวิชาชีพ ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็ นไป
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เลขาธิการคณะกรรมการ
อาหารและยาประกาศกาหนด
ผู้มีหน้ าทีปฏิบัตการใน ข.ย.2
่
ิ

ข้อ 13

ผูมีหน้าที่ปฏิบติการใน ข.ย. 2 ต้องควบคุมการ
้
ั
ทาบัญชีซ้ื อยา เฉพาะยาแผนปั จจุบนซึ่ งเป็ นยาบรรจุเสร็ จ
ั
ที่ไม่ใช่ยาอันตราย หรื อ ยาควบคุมพิเศษ ให้เป็ นไป
โดยถูกต้อง และลงลายมือชื่อรับรองกากับไว้
ผู้มีหน้ าทีปฏิบัตการใน ข.ย.3
่
ิ

ข้อ 14
ผูมีหน้าที่ปฏิบติการใน ข.ย. 3 ต้องควบคุมการ
้
ั
ทารวมถึงบัญชีต่างๆ บัญชีซ้ื อยา เฉพาะยาแผนปั จจุบนซึ่ ง
ั
เป็ นยาบรรจุเสร็ จสาหรับสัตว์ให้เป็ นไปโดยถูกต้อง และ
ลงลายมือชื่อรับรองกากับไว้
ควบคุมการขายยาบรรจุเสร็ จสาหรับสัตว์ที่เป็ นยา
ควบคุมพิเศษให้เป็ นไปโดยถูกต้อง
การต่ ออายุใบอนุญาต
ข้อ 15 แบบคาขอต่ออายุใบอนุญาต
ข้อ 16 เงื่อนไขที่จะไม่ต่ออายุใบอนุญาต
16.1 ผูรับอนุญาตขาดคุณสมบัติ และมีลกษณะต้องห้ามตามมาตรา 14
้
ั
่
16.2 ไม่ผานการตรวจ GPP
16.3- 16.5 ประวัติการฝ่ าฝื นกฎหมายว่าด้วยยา
เงือนไขไม่ ต่ออายุใบอนุญาต (ประวัติการฝ่ าฝื นกฎหมายว่าด้วยยา)
่
ข้อ 16 (ต่อ)
16.3 ผูรับอนุญาต (ข.ย.1 , ข.ย.2 , ข.ย.3) ไม่จดให้มีผมีหน้าที่ปฏิบติการ
้
ั
ู้
ั
่
ประจาอยูตลอดเวลาทาการ(ตามมาตรา 21 , 21ทวิ , 22 และ 23 ) และได้รับโทษ
ปรับตามมาตรา 103 เกินกว่า 3 ครั้ง ในรอบการต่ออายุใบอนุญาต
16.4 ผูรับอนุญาต (ข.ย.1 , ข.ย.3) ขายยาอันตรายหรื อยาควบคุมพิเศษใน
้
่ ั
ระหว่างที่เภสัชกรชั้นหรื อผูประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ไม่อยูปฏิบติหน้าที่
้
และได้รับโทษปรับตามมาตรา 107 เกินกว่า 3 ครั้ง ในรอบการต่ออายุใบอนุญาต
16.5 ผูรับอนุญาตฝ่ าฝื น หรื อไม่ปฏิบติตามกฎหมายว่าด้วยยา และได้รับ
้
ั
โทษปรับหรื อถูกเปรี ยบเทียบปรับ เกินกว่า 5 ครั้ง ในรอบการต่ออายุใบอนุญาต
อืนๆ เกียวกับใบอนุญาต
่
่
ข้อ 17 การขอรับใบแทนใบอนุญาต
ข้อ 18 การขอย้ายสถานที่
ข้อ 19 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการต่างๆในใบอนุญาต
ข้อ 20 สถานที่ยนคาขอ (กรุ งเทพฯ –> อย. / ต่างจังหวัด –> สสจ.)
ื่
สภาพบังคับ
ข้อ 21 ใบอนุญาต (ข.ย.1 / ข.ย.2 / ข.ย.3 ) ที่ออกตามกฎกระทรวงฉบับที่ 15
ให้ใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะสิ้ นอายุ (31 ธ.ค. ของปี ที่กฎหมายบังคับใช้ )

ข้อ 22 คาขอต่างๆ ที่ยนไว้ก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้มีผลบังคับใช้ และยังอยู่
ื่
ระหว่างดาเนินการ ให้ถือว่าเป็ นคาขอตามกฎกระทรวงฉบับนี้โดย
อนุโลม และให้ผอนุญาตมีอานาจสังให้แก้ไขเพิ่มเติมได้ตาม
ู้
่
ความจาเป็ น
สภาพบังคับ
ข้อ 23 ผูรับอนุญาต (ข.ย.1 / ข.ย.2 / ข.ย.3 ) ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 15
้
จะต้องจัดให้มีสถานที่(ข้อ 6) อุปกรณ์(ข้อ 7) และการปฏิบติ
ั
ตาม GPP (ข้อ 11) ภายในระยะเวลาที่รัฐมนตรี กาหนด แต่
ต้องไม่เกิน 8 ปี นับแต่วนที่กฎกระทรวงนี้มีผลบังคับ
ั
ข้อ 24 ผูมีหน้าที่ปฏิบติการ (ข.ย.1 / ข.ย.2 / ข.ย.3 ) ตามกฎกระทรวง
้
ั
ฉบับที่ 15 จะต้องมีการปฏิบติตาม GPP (ข้อ 11) ภายใน
ั
ระยะเวลาที่รัฐมนตรี กาหนด แต่ตองไม่เกิน 8 ปี นับแต่วนที่
้
ั
กฎกระทรวงนี้มีผลบังคับ
สรุปสาระสาคัญ
1. กาหนดให้ยกเลิก กฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ.2525) และกฎกระทรวง ฉบับที่
21 (พ.ศ.2528) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510
2. กาหนดหลักเกณฑ์การยืนคาขออนุญาตขายยาแผนปัจจุบน ขายยาแผนปัจจุบน
่
ั
ั
เฉพาะยาบรรจุเสร็ จที่ไม่ใช่ยาอันตรายหรื อยาควบคุมพิเศษ ขายยาแผนปั จจุบน
ั
เฉพาะยาบรรจุเสร็ จสาหรับสัตว์ ขายส่ งยาแผนปั จจุบน และการกาหนดแบบ
ั
ใบอนุญาต
3. กาหนดให้สถานที่ขายยาต้องมีขนาดพื้นที่ตามที่กาหนด และต้องมีความมันคง
่
แข็งแรง ถูกสุ ขลักษณะ เหมาะสมต่อการรักษาคุณภาพยา แสงสว่างที่เพียงพอ
มีบริ เวณให้คาปรึ กษาและแนะนาการใช้ยา และต้องมีอุปกรณ์ที่ใช้ในการขาย
การเก็บและควบคุมหรื อรักษายาตามที่กาหนด ตลอดจนการให้การจัดทาป้ าย
และ บัญชีเกี่ยวกับการขายยาเป็ นไปตามหลักเกณฑ์และแบบที่กาหนด
สรุปสาระสาคัญ
4. กาหนดให้ผมีหน้าที่ปฏิบติการประจาสถานที่ขายยาแผนปัจจุบนทุกประเภท
ู้
ั
ั
เภสัชกรชั้นหนึ่ ง
ผูประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ช้ นหนึ่ ง และผูรับ
้
ั
้
อนุญาตขายยาแผนปั จจุบนทุกประเภทต้องปฏิบติตามหลักเกณฑ์ตามที่กาหนด
ั
ั
5. กาหนดหลักเกณฑ์การตรวจประเมินตามวิธีปฏิบติทางเภสัชกรรมชุมชน และ
ั
การควบคุมการทาบัญชีการซื้ อยา
6. กาหนดหลักเกณฑ์การต่ออายุใบอนุญาต การพิจารณาไม่ต่ออายุใบอนุญาต การ
ขอรับใบแทนใบอนุญาต การย้ายสถานที่ขายยา การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการ
ในใบอนุญาต และสถานที่ยนคาขออนุญาต
ื่
7. กาหนดบทเฉพาะกาลเกี่ยวกับใบอนุญาต และบรรดาคาขอต่าง ๆ ที่ยนไว้ก่อน
ื่
วันที่กฎกระทรวงนี้ ใช้บงคับ และกาหนดให้ผรับอนุญาตและผูมีหน้าที่
ั
ู้
้
ปฏิบติการประจาสถานที่ขายยาต้องปฏิบติตามหลักเกณฑ์ ตามกฎกระทรวงนี้
ั
ั
ภายในระยะเวลาที่กาหนด
กลไกในกฎกระทรวงฯ
2

เป็ นหน้าที่ของ
เภสัชกร ผูรบอนุญาต
้ั
ต้องทาตาม GPP

คะแนน GPP+ประวัตฝ่าฝื นกฎหมายเป็ น
ิ
5 เงื่อนไขในการต่ออายุใบอนุญาต

1
กาหนดเงื่อนไข
สถานที่ อุปกรณ์
เภสัชกร

6
ให้เวลาร้านเก่า
ไม่เกิน 8 ปี
4

หน่วยคัดกรองเบื้องต้น
3 ระบบประเมินให้คะแนน ให้อนุญาต - ต่ออายุ
ด้านคุณภาพบริการ
-ร่ างประกาศกระทรวงสาธารณสุ ขเรื่อง การกาหนดรายละเอียด
เกียวกับหลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติทางเภสั ชกรรม
่
ในร้ านขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ....
หมวดที่ 1 บุคลากร

1. เภสัชกรสวมเสื้ อกาวน์ และมีความแตกต่างจากบุคลากรอื่นในร้าน
2. การแต่งกายของบุคลากรอื่นในร้านต้องไม่ทาให้เข้าใจผิดว่าเป็ นเภสัชกร
3. มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างเภสัชกรและบุคลากรอื่นใน
ร้าน โดยคานึงถึงความถูกต้องตามกฎหมาย และวิชาชีพ
4. เภสัชกรมีการควบคุมกิจกรรมโดยบุคลากรอื่นซึ่งมิใช่บุคลากรในร้านยาที่
เกี่ยวข้องกับผูมารับบริ การ
้
หมวดที่ 2 การบริการทางเภสั ชกรรม

5. เภสัชกรเป็ นผูให้บริ การทางเภสัชกรรม
้
6. เภสัชกรมีการซักถามข้อมูลที่จาเป็ นก่อนจ่ายยา






ใครเป็ นผูใช้ยา
้
อาการป่ วย/ผลการวินิจฉัยจากแพทย์
โรคประจาตัว
ยาที่ใช้ประจา
ประวัติการแพ้ยา
หมวดที่ 2 การบริการทางเภสั ชกรรม

7. มีการเลือกสรรยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างสมเหตุสมผล
ตามหลักวิชาการและจรรยาบรรณวิชาชีพ
8. ชองบรรจุยา หรื อภาชนะบรรจุยา ต้องมี
1. ชื่อร้าน
2. หมายเลขโทรศัพท์
3. ชื่อยา
4. สรรพคุณ
5. วิธีใช้ยา
6. วันที่จ่าย
7. ข้อควรระวัง(ถ้ามี)
หมวดที่ 2 การบริการทางเภสั ชกรรม

9. มีการให้คาแนะนาตามสมควรเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างปลอดภัย
10.มีการจัดเก็บประวัติและข้อมูลการใช้ยา ของผูป่วยที่ตองใช้ยาอย่าง
้
้
ต่อเนื่อง หรื อจ่ายยาที่มีความเสี่ ยงสู ง
11.จัดให้มีหลักเกณฑ์การคัดกรอง และส่ งต่อผูป่วยที่เหมาะสม
้
12.มีกระบวนการควบคุมยาเสื่ อมคุณภาพที่มีประสิ ทธิภาพ
13.ยาที่ส่งมอบถูกบรรจุใช้ภาชนะบรรจุที่ป้องกันการเสื่ อมคุณภาพของยา
14.การแบ่งบรรจุยาจะต้องดาเนินการโดยถูกสุ ขลักษณะ โดยคานึงถึงการ
ปนเปื้ อนการแพ้ยา และเป็ นไปตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่ 2 การบริการทางเภสั ชกรรม

15.จัดให้มีกระบวนการป้ องกันอาการไม่พึงประสงค์
16.มีการรายงานหากพบอาการไม่พึงประสงค์จากยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
17.มีแหล่งข้อมูลด้านยาที่เหมาะสม เชื่อถือได้ ทันสมัย สาหรับใช้ในการ
ปฏิบติงาน และอ้างอิง
ั
18.สื่ อให้ความรู้ และสื่ อโฆษณาภายในร้านที่จะต้องไม่โอ้อวด ไม่บิดเบือน
ความจริ ง ไม่สร้างความเข้าใจผิด และผ่านการอนุญาตตามกฎหมาย
19.ไม่จาหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบและเครื่ องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์
20.จัดให้มีระบบรักษาความลับของผูมารับบริ การ
้
ทรงศักดิ์ วิมลกิตติพงศ์ ภบ.
ภ.17054 เวลาปฏิบติการ 07.00-21.00น.
ั

เภสั ชกร

เสื้อกาวน์

ผู้ช่วยฯ
แนวทางการควบคุมยาหมดอายุ
 การเข้ า/ออกของสินค้ าตามหลักเข้ าก่อน-ออกก่อน
(FEFO : First Expire First Out)
 มีบญชีควบคุมยาหมดอายุ
ั
 มีระบบการตรวจสอบยาหมดอายุ

ระบบรหัสสี

สมุดบันทึก

คอมพิวเตอร์
ควบคุมอุณหภูมิเก็บรักษายา

- บันทึกในรู ปแบบกราฟ
- บันทึกแบบตัวเลข

อุณหภูมภายในร้ าน
ิ

อาจใช้ การบันทึกในรูปแบบกราฟ โดย
บันทึกในช่ วงเวลาทีมีความเสี่ ยงสู ง ของทุกวัน
่
อุณหภูมยาตู้เย็น
ิ

หรือใช้ การบันทึก
เป็ นตัวเลข
บัตรบันทึกอุณหภูมิ
รายละเอียดบนซองยา

 ชื่อร้าน ที่อยู่
 หมายเลขโทรศัพท์
 วันที่จ่ายยา
 ชื่อผูป่วย
้
 ชื่อยา / สรรพคุณ
 วิธีใช้ยา
 ข้อควรระวัง
การป้ องกันการแพ้ยา
ี
สติ๊ กเกอร์สน้ าตาล

ยาทีตองปองก ันจากแสง
่ ้ ้
 เอกสารให้ความรู้ / เอกสารโฆษณา
 ตารา / แหล่งข้อมูลด้านยา
ห้ ามขายบุหรี่

ร้ านยาเป็ นเขตปลอดบุหรี่ 100% ตาม
ประกาศ สธ. ฉบับที่ 17 (พ.ศ.2549) ข้ อ2(11) ออกตาม
พ.ร.บ.คุ้มครองสุ ขภาพของผู้ไม่ สูบบุหรี่ พ.ศ.2535
ห้ ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในร้ านขายยา
พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดืมแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551
่
ขอขอบคุณ

สานักยา
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Contenu connexe

Tendances

คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...Vorawut Wongumpornpinit
 
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓Utai Sukviwatsirikul
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556Utai Sukviwatsirikul
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...Vorawut Wongumpornpinit
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)Utai Sukviwatsirikul
 

Tendances (9)

คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ (New Drugs) แบบ Asean Harmonization...
 
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
 
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวง การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๖
 
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
คู่มือการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline edit-traditio...
 
21 23 (1)
21 23 (1)21 23 (1)
21 23 (1)
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการ...
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
 

Similaire à Gpp drugstore2014

ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์Utai Sukviwatsirikul
 
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้านวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้าแผนงาน นสธ.
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementSurang Judistprasert
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556Utai Sukviwatsirikul
 
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน Parun Rutjanathamrong
 
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...Utai Sukviwatsirikul
 
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ Utai Sukviwatsirikul
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57Utai Sukviwatsirikul
 
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrineความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ PseudoephedrineSurang Judistprasert
 
1.ประกาศรับสมัคร นักเทคนิคการแพทย์
1.ประกาศรับสมัคร นักเทคนิคการแพทย์1.ประกาศรับสมัคร นักเทคนิคการแพทย์
1.ประกาศรับสมัคร นักเทคนิคการแพทย์zeroprem
 
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)taem
 
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
เรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดซื้อจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
เรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดซื้อจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560เรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดซื้อจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
เรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดซื้อจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560INTERNAL AUDIT GROUP DEPARTMENT OF MEDICAL SCIENCES
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์Utai Sukviwatsirikul
 

Similaire à Gpp drugstore2014 (19)

ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
 
รวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้ารวมเล่มรายงานเอห้า
รวมเล่มรายงานเอห้า
 
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้านวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
นวลศรี รักอริยะธรรม ระบบเฝ้าระวังอาหารนำเข้า
 
News 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tabletsNews 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tablets
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvement
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
 
License procedure 3
License procedure 3License procedure 3
License procedure 3
 
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
 
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
ประเด็นที่น่าสนใจใน ร่าง พรบ.ยา โดย ภก. กิตติ
 
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์  แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
ร่าง กฎหมาย gpp สถานที่ และอุปกรณ์ แก้ตามมติ คกก.20 มีค57
 
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrineความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
 
Ministerial Regulation
Ministerial RegulationMinisterial Regulation
Ministerial Regulation
 
1.ประกาศรับสมัคร นักเทคนิคการแพทย์
1.ประกาศรับสมัคร นักเทคนิคการแพทย์1.ประกาศรับสมัคร นักเทคนิคการแพทย์
1.ประกาศรับสมัคร นักเทคนิคการแพทย์
 
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
TAEM11; พรบการแแพทย์ฉุกเฉิน(รายงานความคืบหน้า)
 
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
 
เรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดซื้อจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
เรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดซื้อจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560เรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดซื้อจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
เรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดซื้อจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Gpp drugstore2014

  • 1. กฎกระทรวง ว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือนไข การออกใบอนุญาต ่ และการต่ ออายุใบอนุญาต เกี่ยวกับการขายยาแผนปั จจุบน พ.ศ.2556 ั ลงราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 130 ตอนที่ 126 ก วันที่ 27 ธันวาคม 2556 สานักยา สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
  • 2. ทีมา หลักการ และเหตุผล ่  กฎกระทรวงฉบับที่ 15 (พ.ศ.2525) ประกาศใช้มาตั้งแต่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2525 ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบน ั  กาหนดเกณฑ์สถานที่ และอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับสภาพการ ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมในปัจจุบน ั  เพื่อยกระดับมาตรฐานการให้บริ การของสถานที่ขายยาแผน ปัจจุบน และคุมครองความปลอดภัยของผูบริ โภค ั ้ ้
  • 3. ทีมา หลักการ และเหตุผล ่  เพิ่มเติมเนื้อหาว่าด้วยเรื่ องหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขในการต่อ อายุใบอนุญาตตามมาตรา 17 วรรค 2 ใน พระราชบัญญัติยา เพื่อคัดกรองร้านยาที่ไม่มีคุณภาพบริ การ  สอดคล้องกับมติที่ประชุม คณะอนุกรรมการพัฒนาร้านยา ครั้ง ที่ 1/2549 ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2549 ให้ปรับปรุ ง กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องเพื่อการยกระดับคุณภาพร้านยา
  • 4. ทีมา หลักการ และเหตุผล ่  สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงมี คาสังสานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ 313/2549 ลง ่ วันที่ 23 มิถุนายน 2549 แต่งตั้งคณะทางานยกร่ าง กฎกระทรวง ว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขการอนุญาตและต่ออายุ ใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบน ั  คณะทางานได้ทาการยกร่ าง และรับฟังความคิดเห็นจากภาค ส่ วนที่เกี่ยวข้องจานวน 3 ครั้ง ในวันที่ วันที่ 22 กันยายน 2549 วันที่ 1 ตุลาคม 2549 และ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2550
  • 5.
  • 6. ระยะเวลาที่จะมีผลบังคับ ข้อ 1 กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บงคับเพื่อพ้น 180 วัน นับแต่วนประกาศ ั ั ในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป  ลงราชกิจจานุเบกษา 27 ธันวาคม 2556  ครบ 180 วัน 24 มิถนายน 2557 ุ  มีผลบังคับใช้ 25 มิถนายน 2557 เป็ นต้ นไป ุ ข้อ 2 ให้ยกเลิก  กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๒๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐  กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๑ (พ.ศ. ๒๕๒๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐
  • 7. นิยาม / แบบคาขอ / แบบใบอนุญาต ข้อ 3 วิธีปฏิบัตทางเภสั ชกรรมชุมชน หมายความว่า ิ ข้อกาหนด มาตรฐาน หรื อวิธีการให้บริ การทาง เภสัชกรรมด้านยาในสถานที่ขายยาแผนปัจจุบนทุกประเภท ั เพื่อให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา
  • 8. นิยาม / แบบคาขอ / แบบใบอนุญาต ข้อ 4 , 5 กาหนดแบบคาขอ และ แบบใบอนุญาต นิยาม เวลาเปิ ดร้าน = เวลาดาเนินกิจการ เวลาปฏิบติการของผูมีหน้าที่ปฏิบติการ = เวลาเปิ ดทาการ ั ้ ั
  • 9. สถานที่ ข้อ 6 - สถานที่ขายยา ต้องมีพ้ืนที่ขาย ให้คาปรึ กษาและแนะนา การใช้ยาติดต่อกันไม่นอยกว่า 8 ตารางเมตร ้ - สถานที่มนคง แข็งแรง ถูกสุ ขลักษณะ เหมาะสมต่อ ั่ การรักษาคุณภาพยา - มีแสงสว่างเพียงพอ - มีบริ เวณให้คาปรึ กษา และแนะนาที่เป็ นสัดส่ วน
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17. อุปกรณ์ ข้อ 7 สถานที่ขายยา ต้องมี - อุปกรณ์ที่ใช้ในการขายยา - อุปกรณ์การเก็บ และการควบคุมหรื อรักษาคุณภาพยา ตามลักษณะและจานวนที่กาหนด
  • 18. ปายต่ างๆ ้ ข้อ 8 ป้ ายประเภทใบอนุญาต และป้ ายเภสัชกรผูมีหน้าที่ปฏิบติการ ้ ั สถานที่ขายยาแผนปัจจุบน ั สถานที่ขายยาส่ งแผนปั จจุบน ั สถานที่ขายยาแผนปัจจุบน ั เฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตรายหรื อยาควบคุมพิเศษ สถานที่ขายยาแผนปัจจุบน ั เฉพาะยาบรรจุเสร็จสาหรับสัตว์
  • 19. นางสาวกิติยา วงษ์ครุ ธ ภ.บ. ั ภ.28397 เวลาปฏิบติการ 07.00-21.00น.
  • 20. การจัดทาบัญชี / รายงาน ข้อ 8 บัญชี / รายงานต่างๆที่ ต้องทา 1. บัญชีการซื้ อยา 2. บัญชีการขายยาควบคุมพิเศษ 3. บัญชีการขายยาอันตราย เฉพาะรายการที่ อย. กาหนด 4. บัญชีการขายยาตามใบสังยาของผูประกอบวิชาชีพฯ (ทุกรายการ) ้ ่ 5. รายงานการขายยาตามประเภทที่ อย.กาหนด ส่ งให้ อย.
  • 21. คารับรอง และหน้ าทีของผู้มีหน้ าทีปฏิบัตการ ่ ่ ิ ข้อ 9 คารับรองของผูมีหน้าที่ปฏิบติการ ้ ั ข้อ 10 หน้าที่ของเภสัชกร - ควบคุมการทาบัญชี /รายงาน ให้เป็ นไปโดยถูกต้อง - ควบคุมการขายยา ให้เป็ นไปโดยถูกต้องตามกฎหมาย - ให้คาแนะนาเกี่ยวกับการใช้ยาให้ปลอดภัยตามหลักวิชาการ และ จรรยาบรรณ ตามสมควร - ดาเนินการขายยาตามรายการที่ อย.กาหนด ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่ อย.กาหนด
  • 22. การปฏิบัติตาม GPP ข้อ 11 ผูรับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบนทุกประเภท และ ผูมี ้ ั ้ หน้าที่ปฏิบติการ ต้องปฏิบติตามวิธีปฏิบติทางเภสัชกรรม ั ั ั ชุมชนที่รัฐมนตรี กาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
  • 23. อาจมีหน่ วยงาน หรือ องค์ กรวิชาชีพ เป็ นผู้ตรวจ GPP ข้อ 12 ผูอนุญาตอาจจัดให้หน่วยงานหรื อองค์กรวิชาชีพทาหน้าที่ ้ ตรวจประเมินตามวิธีปฏิบติทางเภสัชกรรมชุมชนของผูรับอนุญาต ั ้ และผูมีหน้าที่ปฏิบติการตามข้อ 11 เพื่อเป็ นข้อมูลประกอบการ ้ ั พิจารณาออกใบอนุญาต หรื อต่ออายุใบอนุญาต หน่วยงาน หรื อ องค์กรวิชาชีพ ตามวรรคหนึ่ง ให้เป็ นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เลขาธิการคณะกรรมการ อาหารและยาประกาศกาหนด
  • 24. ผู้มีหน้ าทีปฏิบัตการใน ข.ย.2 ่ ิ ข้อ 13 ผูมีหน้าที่ปฏิบติการใน ข.ย. 2 ต้องควบคุมการ ้ ั ทาบัญชีซ้ื อยา เฉพาะยาแผนปั จจุบนซึ่ งเป็ นยาบรรจุเสร็ จ ั ที่ไม่ใช่ยาอันตราย หรื อ ยาควบคุมพิเศษ ให้เป็ นไป โดยถูกต้อง และลงลายมือชื่อรับรองกากับไว้
  • 25. ผู้มีหน้ าทีปฏิบัตการใน ข.ย.3 ่ ิ ข้อ 14 ผูมีหน้าที่ปฏิบติการใน ข.ย. 3 ต้องควบคุมการ ้ ั ทารวมถึงบัญชีต่างๆ บัญชีซ้ื อยา เฉพาะยาแผนปั จจุบนซึ่ ง ั เป็ นยาบรรจุเสร็ จสาหรับสัตว์ให้เป็ นไปโดยถูกต้อง และ ลงลายมือชื่อรับรองกากับไว้ ควบคุมการขายยาบรรจุเสร็ จสาหรับสัตว์ที่เป็ นยา ควบคุมพิเศษให้เป็ นไปโดยถูกต้อง
  • 26. การต่ ออายุใบอนุญาต ข้อ 15 แบบคาขอต่ออายุใบอนุญาต ข้อ 16 เงื่อนไขที่จะไม่ต่ออายุใบอนุญาต 16.1 ผูรับอนุญาตขาดคุณสมบัติ และมีลกษณะต้องห้ามตามมาตรา 14 ้ ั ่ 16.2 ไม่ผานการตรวจ GPP 16.3- 16.5 ประวัติการฝ่ าฝื นกฎหมายว่าด้วยยา
  • 27. เงือนไขไม่ ต่ออายุใบอนุญาต (ประวัติการฝ่ าฝื นกฎหมายว่าด้วยยา) ่ ข้อ 16 (ต่อ) 16.3 ผูรับอนุญาต (ข.ย.1 , ข.ย.2 , ข.ย.3) ไม่จดให้มีผมีหน้าที่ปฏิบติการ ้ ั ู้ ั ่ ประจาอยูตลอดเวลาทาการ(ตามมาตรา 21 , 21ทวิ , 22 และ 23 ) และได้รับโทษ ปรับตามมาตรา 103 เกินกว่า 3 ครั้ง ในรอบการต่ออายุใบอนุญาต 16.4 ผูรับอนุญาต (ข.ย.1 , ข.ย.3) ขายยาอันตรายหรื อยาควบคุมพิเศษใน ้ ่ ั ระหว่างที่เภสัชกรชั้นหรื อผูประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ไม่อยูปฏิบติหน้าที่ ้ และได้รับโทษปรับตามมาตรา 107 เกินกว่า 3 ครั้ง ในรอบการต่ออายุใบอนุญาต 16.5 ผูรับอนุญาตฝ่ าฝื น หรื อไม่ปฏิบติตามกฎหมายว่าด้วยยา และได้รับ ้ ั โทษปรับหรื อถูกเปรี ยบเทียบปรับ เกินกว่า 5 ครั้ง ในรอบการต่ออายุใบอนุญาต
  • 28. อืนๆ เกียวกับใบอนุญาต ่ ่ ข้อ 17 การขอรับใบแทนใบอนุญาต ข้อ 18 การขอย้ายสถานที่ ข้อ 19 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการต่างๆในใบอนุญาต ข้อ 20 สถานที่ยนคาขอ (กรุ งเทพฯ –> อย. / ต่างจังหวัด –> สสจ.) ื่
  • 29. สภาพบังคับ ข้อ 21 ใบอนุญาต (ข.ย.1 / ข.ย.2 / ข.ย.3 ) ที่ออกตามกฎกระทรวงฉบับที่ 15 ให้ใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะสิ้ นอายุ (31 ธ.ค. ของปี ที่กฎหมายบังคับใช้ ) ข้อ 22 คาขอต่างๆ ที่ยนไว้ก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้มีผลบังคับใช้ และยังอยู่ ื่ ระหว่างดาเนินการ ให้ถือว่าเป็ นคาขอตามกฎกระทรวงฉบับนี้โดย อนุโลม และให้ผอนุญาตมีอานาจสังให้แก้ไขเพิ่มเติมได้ตาม ู้ ่ ความจาเป็ น
  • 30. สภาพบังคับ ข้อ 23 ผูรับอนุญาต (ข.ย.1 / ข.ย.2 / ข.ย.3 ) ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 15 ้ จะต้องจัดให้มีสถานที่(ข้อ 6) อุปกรณ์(ข้อ 7) และการปฏิบติ ั ตาม GPP (ข้อ 11) ภายในระยะเวลาที่รัฐมนตรี กาหนด แต่ ต้องไม่เกิน 8 ปี นับแต่วนที่กฎกระทรวงนี้มีผลบังคับ ั ข้อ 24 ผูมีหน้าที่ปฏิบติการ (ข.ย.1 / ข.ย.2 / ข.ย.3 ) ตามกฎกระทรวง ้ ั ฉบับที่ 15 จะต้องมีการปฏิบติตาม GPP (ข้อ 11) ภายใน ั ระยะเวลาที่รัฐมนตรี กาหนด แต่ตองไม่เกิน 8 ปี นับแต่วนที่ ้ ั กฎกระทรวงนี้มีผลบังคับ
  • 31. สรุปสาระสาคัญ 1. กาหนดให้ยกเลิก กฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ.2525) และกฎกระทรวง ฉบับที่ 21 (พ.ศ.2528) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 2. กาหนดหลักเกณฑ์การยืนคาขออนุญาตขายยาแผนปัจจุบน ขายยาแผนปัจจุบน ่ ั ั เฉพาะยาบรรจุเสร็ จที่ไม่ใช่ยาอันตรายหรื อยาควบคุมพิเศษ ขายยาแผนปั จจุบน ั เฉพาะยาบรรจุเสร็ จสาหรับสัตว์ ขายส่ งยาแผนปั จจุบน และการกาหนดแบบ ั ใบอนุญาต 3. กาหนดให้สถานที่ขายยาต้องมีขนาดพื้นที่ตามที่กาหนด และต้องมีความมันคง ่ แข็งแรง ถูกสุ ขลักษณะ เหมาะสมต่อการรักษาคุณภาพยา แสงสว่างที่เพียงพอ มีบริ เวณให้คาปรึ กษาและแนะนาการใช้ยา และต้องมีอุปกรณ์ที่ใช้ในการขาย การเก็บและควบคุมหรื อรักษายาตามที่กาหนด ตลอดจนการให้การจัดทาป้ าย และ บัญชีเกี่ยวกับการขายยาเป็ นไปตามหลักเกณฑ์และแบบที่กาหนด
  • 32. สรุปสาระสาคัญ 4. กาหนดให้ผมีหน้าที่ปฏิบติการประจาสถานที่ขายยาแผนปัจจุบนทุกประเภท ู้ ั ั เภสัชกรชั้นหนึ่ ง ผูประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ช้ นหนึ่ ง และผูรับ ้ ั ้ อนุญาตขายยาแผนปั จจุบนทุกประเภทต้องปฏิบติตามหลักเกณฑ์ตามที่กาหนด ั ั 5. กาหนดหลักเกณฑ์การตรวจประเมินตามวิธีปฏิบติทางเภสัชกรรมชุมชน และ ั การควบคุมการทาบัญชีการซื้ อยา 6. กาหนดหลักเกณฑ์การต่ออายุใบอนุญาต การพิจารณาไม่ต่ออายุใบอนุญาต การ ขอรับใบแทนใบอนุญาต การย้ายสถานที่ขายยา การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการ ในใบอนุญาต และสถานที่ยนคาขออนุญาต ื่ 7. กาหนดบทเฉพาะกาลเกี่ยวกับใบอนุญาต และบรรดาคาขอต่าง ๆ ที่ยนไว้ก่อน ื่ วันที่กฎกระทรวงนี้ ใช้บงคับ และกาหนดให้ผรับอนุญาตและผูมีหน้าที่ ั ู้ ้ ปฏิบติการประจาสถานที่ขายยาต้องปฏิบติตามหลักเกณฑ์ ตามกฎกระทรวงนี้ ั ั ภายในระยะเวลาที่กาหนด
  • 33. กลไกในกฎกระทรวงฯ 2 เป็ นหน้าที่ของ เภสัชกร ผูรบอนุญาต ้ั ต้องทาตาม GPP คะแนน GPP+ประวัตฝ่าฝื นกฎหมายเป็ น ิ 5 เงื่อนไขในการต่ออายุใบอนุญาต 1 กาหนดเงื่อนไข สถานที่ อุปกรณ์ เภสัชกร 6 ให้เวลาร้านเก่า ไม่เกิน 8 ปี 4 หน่วยคัดกรองเบื้องต้น 3 ระบบประเมินให้คะแนน ให้อนุญาต - ต่ออายุ ด้านคุณภาพบริการ
  • 34. -ร่ างประกาศกระทรวงสาธารณสุ ขเรื่อง การกาหนดรายละเอียด เกียวกับหลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติทางเภสั ชกรรม ่ ในร้ านขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. ....
  • 35. หมวดที่ 1 บุคลากร 1. เภสัชกรสวมเสื้ อกาวน์ และมีความแตกต่างจากบุคลากรอื่นในร้าน 2. การแต่งกายของบุคลากรอื่นในร้านต้องไม่ทาให้เข้าใจผิดว่าเป็ นเภสัชกร 3. มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างเภสัชกรและบุคลากรอื่นใน ร้าน โดยคานึงถึงความถูกต้องตามกฎหมาย และวิชาชีพ 4. เภสัชกรมีการควบคุมกิจกรรมโดยบุคลากรอื่นซึ่งมิใช่บุคลากรในร้านยาที่ เกี่ยวข้องกับผูมารับบริ การ ้
  • 36. หมวดที่ 2 การบริการทางเภสั ชกรรม 5. เภสัชกรเป็ นผูให้บริ การทางเภสัชกรรม ้ 6. เภสัชกรมีการซักถามข้อมูลที่จาเป็ นก่อนจ่ายยา      ใครเป็ นผูใช้ยา ้ อาการป่ วย/ผลการวินิจฉัยจากแพทย์ โรคประจาตัว ยาที่ใช้ประจา ประวัติการแพ้ยา
  • 37. หมวดที่ 2 การบริการทางเภสั ชกรรม 7. มีการเลือกสรรยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างสมเหตุสมผล ตามหลักวิชาการและจรรยาบรรณวิชาชีพ 8. ชองบรรจุยา หรื อภาชนะบรรจุยา ต้องมี 1. ชื่อร้าน 2. หมายเลขโทรศัพท์ 3. ชื่อยา 4. สรรพคุณ 5. วิธีใช้ยา 6. วันที่จ่าย 7. ข้อควรระวัง(ถ้ามี)
  • 38. หมวดที่ 2 การบริการทางเภสั ชกรรม 9. มีการให้คาแนะนาตามสมควรเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างปลอดภัย 10.มีการจัดเก็บประวัติและข้อมูลการใช้ยา ของผูป่วยที่ตองใช้ยาอย่าง ้ ้ ต่อเนื่อง หรื อจ่ายยาที่มีความเสี่ ยงสู ง 11.จัดให้มีหลักเกณฑ์การคัดกรอง และส่ งต่อผูป่วยที่เหมาะสม ้ 12.มีกระบวนการควบคุมยาเสื่ อมคุณภาพที่มีประสิ ทธิภาพ 13.ยาที่ส่งมอบถูกบรรจุใช้ภาชนะบรรจุที่ป้องกันการเสื่ อมคุณภาพของยา 14.การแบ่งบรรจุยาจะต้องดาเนินการโดยถูกสุ ขลักษณะ โดยคานึงถึงการ ปนเปื้ อนการแพ้ยา และเป็ นไปตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
  • 39. หมวดที่ 2 การบริการทางเภสั ชกรรม 15.จัดให้มีกระบวนการป้ องกันอาการไม่พึงประสงค์ 16.มีการรายงานหากพบอาการไม่พึงประสงค์จากยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 17.มีแหล่งข้อมูลด้านยาที่เหมาะสม เชื่อถือได้ ทันสมัย สาหรับใช้ในการ ปฏิบติงาน และอ้างอิง ั 18.สื่ อให้ความรู้ และสื่ อโฆษณาภายในร้านที่จะต้องไม่โอ้อวด ไม่บิดเบือน ความจริ ง ไม่สร้างความเข้าใจผิด และผ่านการอนุญาตตามกฎหมาย 19.ไม่จาหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบและเครื่ องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ 20.จัดให้มีระบบรักษาความลับของผูมารับบริ การ ้
  • 40. ทรงศักดิ์ วิมลกิตติพงศ์ ภบ. ภ.17054 เวลาปฏิบติการ 07.00-21.00น. ั เภสั ชกร เสื้อกาวน์ ผู้ช่วยฯ
  • 41. แนวทางการควบคุมยาหมดอายุ  การเข้ า/ออกของสินค้ าตามหลักเข้ าก่อน-ออกก่อน (FEFO : First Expire First Out)  มีบญชีควบคุมยาหมดอายุ ั  มีระบบการตรวจสอบยาหมดอายุ ระบบรหัสสี สมุดบันทึก คอมพิวเตอร์
  • 42. ควบคุมอุณหภูมิเก็บรักษายา - บันทึกในรู ปแบบกราฟ - บันทึกแบบตัวเลข อุณหภูมภายในร้ าน ิ อาจใช้ การบันทึกในรูปแบบกราฟ โดย บันทึกในช่ วงเวลาทีมีความเสี่ ยงสู ง ของทุกวัน ่ อุณหภูมยาตู้เย็น ิ หรือใช้ การบันทึก เป็ นตัวเลข บัตรบันทึกอุณหภูมิ
  • 43. รายละเอียดบนซองยา  ชื่อร้าน ที่อยู่  หมายเลขโทรศัพท์  วันที่จ่ายยา  ชื่อผูป่วย ้  ชื่อยา / สรรพคุณ  วิธีใช้ยา  ข้อควรระวัง
  • 46.  เอกสารให้ความรู้ / เอกสารโฆษณา  ตารา / แหล่งข้อมูลด้านยา
  • 47. ห้ ามขายบุหรี่ ร้ านยาเป็ นเขตปลอดบุหรี่ 100% ตาม ประกาศ สธ. ฉบับที่ 17 (พ.ศ.2549) ข้ อ2(11) ออกตาม พ.ร.บ.คุ้มครองสุ ขภาพของผู้ไม่ สูบบุหรี่ พ.ศ.2535