SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
กฎกระทรวง
ว่า ด้ว ยหลัก เกณฑ์ วิธ ีก าร และ
เงื่อ นไข การออกใบอนุญ าต และ
การต่อ อายุใ บอนุญ าต
เกียวกับการขายยาแผนปัจจุบน พ.ศ.
่
ั
2556
สำานักยา
สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
24 ธันวาคม 2556
คำา สงวนสิท ธิ์
(Disclaimer)
ข้อความทังหมดทีปรากฏในเอกสารนำาเสนอนี้ เป็นการ
้
่
ตัด ย่อ คัดเอาบางส่วน จากกฎกระทรวงว่าด้วยหลัก
เกณฑ์ วิธีการ และเงือนไข การออกใบอนุญาต และ
่
การต่ออายุใบอนุญาต
เกียวกับการขายยาแผน
่
ปัจจุบัน พ.ศ. .... ฉบับที่สำานักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล้ว เรื่องเสร็จที่ 684/2556
และได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้วใน
การประชุมวันที่ 15 ตุลาคม 2556 เพื่อสรุปให้ง่ายต่อ
การเข้าใจ เท่านัน ก่อนนำาไปใช้อ้างอิงทางกฎหมาย
้
ที่ม า หลัก การ และเหตุผ ล

 กฎกระทรวงฉบับที่ 15 (พ.ศ.2525)

ประกาศใช้มาตั้งแต่ 13 ตุลาคม พ.ศ.
2525 ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
 เพื่อให้คณภาพงานบริการในร้านขายยาดี
ุ
ขึ้น เกิดความปลอดภัยมากขึ้น คุมค่า และ
้
ตอบสนองสิทธิของผู้ใช้ยา
 กำาหนดเกณฑ์สถานที่ และอุปกรณ์ที่
เหมาะสมกับสภาพการประกอบวิชาชีพ
เภสัชกรรมในปัจจุบน
ั
ที่ม า หลัก การ และเหตุผ ล

 เพิ่มเติมเนื้อหาว่าด้วยเรื่องหลักเกณฑ์ วิธี

การ เงือนไขในการต่ออายุใบอนุญาตตาม
่
มาตรา 17 วรรค 2 ใน พระราชบัญญัติ
ยา เพื่อคัดกรองร้านยาที่ไม่มคุณภาพ
ี
บริการ สอดคล้องกับมติที่ประชุม คณะ
อนุกรรมการพัฒนาร้านยา ครั้งที่ 1/2549
ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2549 ให้ปรับปรุง
กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องเพื่อการยกระดับ
คุณภาพร้านยา
ที่ม า หลัก การ และเหตุผ ล

 สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงมี
คำาสังสำานักงานคณะกรรมการอาหารและ
่
ยาที่ 313/2549 ลงวันที่ 23 มิถุนายน
2549 แต่งตั้งคณะทำางานยกร่าง กฎ
กระทรวงว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ
เงือนไขการอนุญาตและต่ออายุใบอนุญาต
่
ขายยาแผนปัจจุบัน
 คณะทำางานได้ทำาการยกร่าง และรับฟัง
ความคิดเห็นจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
จำานวน 3 ครั้ง ในวันที่ วันที่ 22 กันยายน
ระยะเวลาที่จ ะมีผ ลบัง คับ
ข้อ 1
กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บงคับเพื่อพ้น 180
ั
วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
ข้อ 2 ให้ยกเลิก

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๒๕)
ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ.
๒๕๑๐
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๑ (พ.ศ. ๒๕๒๘)
นิย าม / แบบคำา ขอ / แบบใบ
อนุญ าต
ข้อ 3

วิธ ีป ฏิบ ัต ิท างเภสัช กรรมชุม ชน
หมายความว่า

ข้อกำาหนด มาตรฐาน หรือวิธี
การให้บริการทางเภสัชกรรมด้านยาใน
สถานทีขายยาแผนปัจจุบนทุกประเภท
่
ั
เพือให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา
่
สถานที่
ข้อ 6
- สถานทีขายยา ต้องมีพนทีขาย ให้คำา
่
ื้ ่

ปรึกษาและแนะนำา
การใช้ยาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 8
ตารางเมตร
- สถานทีมั่นคง แข็งแรง ถูก
่
สุขลักษณะ เหมาะสมต่อ
การรักษาคุณภาพยา
อุป กรณ์

ข้อ 7 สถานทีขายยา ต้องมี
่
- อุปกรณ์ทใช้ในการขายยา
ี่
- อุปกรณ์การเก็บ และการควบคุม
หรือรักษาคุณภาพยา
ตามลักษณะและจำานวนที่กำาหนด
ป้า ยต่า งๆ
ข้อ 8 ป้ายประเภทใบอนุญาต และป้าย
เภสัชกรผูมีหน้าทีปฏิบัติการ สถานทีขายยาส่ง
้
สถานทีขายยาแผน
่ ่
่
ปัจจุบัน
แผนปัจจุบัน
สถานทีขายยาแผนปัจจุบัน
่

เฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตราย
หรือยาควบคุมพิเศษ

สถานทีขายยาแผน
่
ปัจจุบัน
เฉพาะยาบรรจุเสร็จ
สำาหรับสัตว์

ทรงศักดิ์ วิมลกิตติ

พงศ์ ภบ.
ภ.17054 เวลาปฏิบัติ
การจัด ทำา บัญ ชี / รายงาน
ข้อ 8 บัญชี / รายงานต่างๆที่ ต้องทำา
1. บัญชีการซื้อยา
2. บัญชีการขายยาควบคุมพิเศษ
3. บัญชีการขายยาอันตราย เฉพาะรายการ
ที่ อย. กำาหนด
4. บัญชีการขายยาตามใบสังยาของผู้
่
ประกอบวิชาชีพฯ (ทุกรายการ)
5. รายงานการขายยาตามประเภทที่
อย.กำาหนด ส่งให้ อย.
คำา รับ รอง และหน้า ที่ข องผู้ม ห น้า ที่
ี
ปฏิบ ต ิก าร
ั

ข้อ 9 คำารับรองของผูมีหน้าที่ปฏิบติการ
้
ั
ข้อ 10 หน้าที่ของเภสัชกร

- ควบคุมการทำาบัญชี /รายงาน ให้เป็นไป
โดยถูกต้อง
- ควบคุมการขายยา ให้เป็นไปโดยถูกต้อง
ตามกฎหมาย
- ให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับการใช้ยาให้
ปลอดภัยตามหลักวิชาการ และ
จรรยาบรรณ ตามสมควร
- ดำาเนินการขายยาตามรายการที่
การปฏิบ ัต ิต าม GPP

ข้อ 11

ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบนทุก
ั
ประเภท และ ผู้มีหน้าที่ปฏิบติการ ต้อง
ั
ปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
ที่รัฐมนตรีกำาหนดโดยประกาศในราชกิจ
จานุเบกษา
อาจมีห น่ว ยงาน หรือ องค์ก ร
วิช าชีพ เป็น ผู้ต รวจ GPP

ข้อ 12

ผู้อนุญาตอาจจัดให้หน่วยงานหรือ
องค์กรวิชาชีพทำาหน้าที่ตรวจประเมินตามวิธี
ปฏิบติทางเภสัชกรรมชุมชนของผู้รับ
ั
อนุญาต และผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามข้อ 11
เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาออกใบ
อนุญาต หรือต่ออายุใบอนุญาต
หน่วยงาน หรือ องค์กรวิชาชีพ ตาม
วรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
ผู้ม ห น้า ที่ป ฏิบ ัต ิก ารใน ข.ย.2
ี

ข้อ 13
ผู้มีหน้าทีปฏิบตการใน ข.ย. 2
่
ั ิ
ต้องควบคุมการ
ทำาบัญชีซื้อยา เฉพาะยาแผนปัจจุบัน
ซึ่งเป็นยาบรรจุเสร็จ
ทีไม่ใช่ยาอันตราย หรือ ยาควบคุม
่
พิเศษ
ให้เป็นไป
ผู้ม ห น้า ที่ป ฏิบ ัต ิก ารใน ข.ย.3
ี

ข้อ 14
ผู้มีหน้าทีปฏิบตการใน ข.ย. 3
่
ั ิ
ต้องควบคุมการ
ทำารวมถึงบัญชีตางๆ บัญชีซื้อยา
่
เฉพาะยาแผนปัจจุบันซึ่งเป็นยาบรรจุ
เสร็จสำาหรับสัตว์ให้เป็นไปโดยถูกต้อง
และลงลายมือชื่อรับรองกำากับไว้
ควบคุมการขายยาบรรจุเสร็จ
การต่อ อายุใ บอนุญ าต
ข้อ 15 แบบคำาขอต่ออายุใบอนุญาต
ข้อ 16 เงือนไขทีจะไม่ต่ออายุใบอนุญาต
่
่

16.1 ผู้รับอนุญาตขาดคุณสมบัติ และมี
ลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 14
16.2 ไม่ผานการตรวจ GPP
่
16.3- 16.4 ประวัติการฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วย
ยา
เงือ นไขไม่ต ่อ อายุใ บอนุญ าต
่
(ประวัต ิก ารฝ่า ฝืน กฎหมายว่า ด้ว ยยา )
ข้อ 16 (ต่อ)
16.3 (1) ผู้รับอนุญาต (ข.ย.1 , ข.ย.2 , ข.ย.3)
ไม่จัดให้มีผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการประจำาอยู่ตลอดเวลา
ทำาการ(ตามมาตรา 21 , 21ทวิ , 22 และ 23 ) และได้
รับโทษปรับตามมาตรา 103 เกินกว่า 3 ครั้ง ในรอบ
การต่ออายุใบอนุญาต
16.3 (2) ผู้รับอนุญาต (ข.ย.1 , ข.ย.3) ขายยา
อันตรายหรือยาควบคุมพิเศษในระหว่างที่เภสัชกรชัน
้
หรือผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ไม่อยู่ปฏิบัติ
หน้าที่ และได้รับโทษปรับตามมาตรา 107 เกินกว่า 3
ครั้ง ในรอบการต่ออายุใบอนุญาต
อื่น ๆ เกี่ย วกับ ใบอนุญ าต
ข้อ 17 การขอรับใบแทนใบอนุญาต
ข้อ 18 การขอย้ายสถานที่
ข้อ 19 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการต่างๆใน
ใบอนุญาต
ข้อ 20 สถานที่ยื่นคำาขอ (กรุงเทพฯ –> อย. /
สภาพบัง คับ
ข้อ 21 ใบอนุญาต (ข.ย.1 / ข.ย.2 / ข.ย.3 ) ที่
ออกตามกฎกระทรวงฉบับที่ 15
ให้ใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะสินอายุ (31 ธ.ค. ของปี
้
ที่กฎหมายบังคับใช้)

ข้อ 22 คำาขอต่างๆ ที่ยื่นไว้ก่อนวันที่กฎกระทรวง
นี้มีผลบังคับใช้ และยังอยู่
ระหว่างดำาเนินการ ให้ถือว่าเป็นคำาขอตาม
กฎกระทรวงฉบับนี้โดย
อนุโลม และให้ผู้อนุญาตมีอำานาจสังให้
่
สภาพบัง คับ
ข้อ 23 ผูรับอนุญาต (ข.ย.1 / ข.ย.2 / ข.ย.3 )
้
ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 15
จะต้องจัดให้มีสถานที่(ข้อ 6) อุปกรณ์(ข้อ
7) และการปฏิบติ
ั
ตาม GPP (ข้อ 11) ภายในระยะเวลาที่
รัฐมนตรีกำาหนด แต่
ต้องไม่เกิน 8 ปีนับแต่วันที่กฎกระทรวงนี้มีผล
บังคับ
ข้อ 24 ผูมีหน้าที่ปฏิบัติการ (ข.ย.1 / ข.ย.2 /
้
สรุป สาระสำา คัญ
1. กำาหนดให้ยกเลิก กฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ.

2525) และกฎกระทรวง ฉบับที่ 21 (พ.ศ.2528) ออก
ตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510
2. กำาหนดหลักเกณฑ์การยื่นคำาขออนุญาตขายยาแผน
ปัจจุบัน ขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่
ไม่ใช่ยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ ขายยาแผน
ปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จสำาหรับสัตว์ ขายส่งยา
แผนปัจจุบัน และการกำาหนดแบบใบอนุญาต
3. กำาหนดให้สถานทีขายยาต้องมีขนาดพืนทีตามที่
่
้ ่
กำาหนด และต้องมีความมันคงแข็งแรง ถูก
่
สุขลักษณะ เหมาะสมต่อการรักษาคุณภาพยา แสง
สว่างทีเพียงพอ มีบริเวณให้คำาปรึกษาและแนะนำา
่
สรุป สาระสำา คัญ
4. กำาหนดให้ผู้มหน้าทีปฏิบัติการประจำาสถานทีขายยา
ี
่
่

แผนปัจจุบันทุกประเภท เภสัชกรชั้นหนึง
่
ผู้
ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง และผู้รับ
อนุญาตขายยาแผนปัจจุบันทุกประเภทต้องปฏิบัติตาม
หลักเกณฑ์ตามทีกำาหนด
่
5. กำาหนดหลักเกณฑ์การตรวจประเมินตามวิธีปฏิบัติ
ทางเภสัชกรรมชุมชน และการควบคุมการทำาบัญชี
การซื้อยา
6. กำาหนดหลักเกณฑ์การต่ออายุใบอนุญาต การ
พิจารณาไม่ต่ออายุใบอนุญาต การขอรับใบแทนใบ
อนุญาต การย้ายสถานทีขายยา การแก้ไข
่
เปลี่ยนแปลงรายการในใบอนุญาต และสถานที่ยน
ื่
ขอ
ขอบคุณ
สำานักยา
สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Contenu connexe

Tendances

การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
Utai Sukviwatsirikul
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
Tik Msr
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
Surang Judistprasert
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
Rachanont Hiranwong
 

Tendances (20)

คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
 
Self assessment-gpp-drug store
Self assessment-gpp-drug storeSelf assessment-gpp-drug store
Self assessment-gpp-drug store
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์...
แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์...แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์...
แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์...
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาการใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 
การทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gppการทำร้านยาสู่ Gpp
การทำร้านยาสู่ Gpp
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
 

En vedette

Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Utai Sukviwatsirikul
 
Lean 1 หลักการของ lean
Lean 1 หลักการของ lean Lean 1 หลักการของ lean
Lean 1 หลักการของ lean
maruay songtanin
 

En vedette (20)

การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPการเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
 
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย  เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยาเกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย  เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
เกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาของประเทศไทย เพื่อธรรมาภิบาลในระบบยา
 
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรมAecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
Aecภาวะคุกคาม หรือโอกาสของวิชาชีพเภสัชกรรม
 
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
Asem outlook report vol 2 foresight is 20-20
 
Business model canvas
Business model canvasBusiness model canvas
Business model canvas
 
Nice headaches diagnosis and management of headaches in young people and adults
Nice headaches diagnosis and management of headaches in young people and adultsNice headaches diagnosis and management of headaches in young people and adults
Nice headaches diagnosis and management of headaches in young people and adults
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554 : Diabetes clinical practice guid...
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554  : Diabetes clinical practice guid...แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554  : Diabetes clinical practice guid...
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2554 : Diabetes clinical practice guid...
 
UPDATE INFORMATIONS for COMMUNITY PHARMACISTS GPP 29/06/2014
UPDATE INFORMATIONS for COMMUNITY PHARMACISTS GPP 29/06/2014UPDATE INFORMATIONS for COMMUNITY PHARMACISTS GPP 29/06/2014
UPDATE INFORMATIONS for COMMUNITY PHARMACISTS GPP 29/06/2014
 
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
 
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า : กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า :  กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า :  กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
Early Warning System ระบบสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า : กรณศึกษาร้านยา อ.ดร.ภก.ลือ...
 
รายงานผลการประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกัน และควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื...
รายงานผลการประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกัน และควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื...รายงานผลการประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกัน และควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื...
รายงานผลการประเมินความสามารถในการจัดการ ป้องกัน และควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื...
 
Lean 1 หลักการของ lean
Lean 1 หลักการของ lean Lean 1 หลักการของ lean
Lean 1 หลักการของ lean
 
Tsuruha drugstore
Tsuruha drugstoreTsuruha drugstore
Tsuruha drugstore
 
การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน  	 การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
การดูแลรักษาโรคเบาหวานด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
 
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าCustomer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า
 
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AECเส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
เส้นทางกาสร้างธุรกิจต้อนรับ AEC
 
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
ความรู้ทางกฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้อง โดย ภก.ปรุฬห์ รุจนธำรงค์
 
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
 
Business model canvas 161220 smart biz
Business model canvas 161220 smart bizBusiness model canvas 161220 smart biz
Business model canvas 161220 smart biz
 

Similaire à กฎกระทรวง GPP

Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Parun Rutjanathamrong
 
ระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้องระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้อง
teeclub
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
teeclub
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
Utai Sukviwatsirikul
 

Similaire à กฎกระทรวง GPP (14)

Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
Draftgpp-ร่างวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
 
21 23 (1)
21 23 (1)21 23 (1)
21 23 (1)
 
Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014
 
Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014Gpp drugstore2014
Gpp drugstore2014
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
เรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดซื้อจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
เรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดซื้อจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560เรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดซื้อจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
เรื่อง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดซื้อจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
 
Ministerial Regulation
Ministerial RegulationMinisterial Regulation
Ministerial Regulation
 
ระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้องระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบสำนักนายกที่เกี่ยวข้อง
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
 
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
ร่าง กฎหมาย Gpp สถานที่ และอุปกรณ์
 
ข้อบังคับสภาแพทย์แผนไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีที่มีการกล...
ข้อบังคับสภาแพทย์แผนไทย  ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีที่มีการกล...ข้อบังคับสภาแพทย์แผนไทย  ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีที่มีการกล...
ข้อบังคับสภาแพทย์แผนไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวน ในกรณีที่มีการกล...
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

กฎกระทรวง GPP

  • 1. กฎกระทรวง ว่า ด้ว ยหลัก เกณฑ์ วิธ ีก าร และ เงื่อ นไข การออกใบอนุญ าต และ การต่อ อายุใ บอนุญ าต เกียวกับการขายยาแผนปัจจุบน พ.ศ. ่ ั 2556 สำานักยา สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยา 24 ธันวาคม 2556
  • 2. คำา สงวนสิท ธิ์ (Disclaimer) ข้อความทังหมดทีปรากฏในเอกสารนำาเสนอนี้ เป็นการ ้ ่ ตัด ย่อ คัดเอาบางส่วน จากกฎกระทรวงว่าด้วยหลัก เกณฑ์ วิธีการ และเงือนไข การออกใบอนุญาต และ ่ การต่ออายุใบอนุญาต เกียวกับการขายยาแผน ่ ปัจจุบัน พ.ศ. .... ฉบับที่สำานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล้ว เรื่องเสร็จที่ 684/2556 และได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้วใน การประชุมวันที่ 15 ตุลาคม 2556 เพื่อสรุปให้ง่ายต่อ การเข้าใจ เท่านัน ก่อนนำาไปใช้อ้างอิงทางกฎหมาย ้
  • 3. ที่ม า หลัก การ และเหตุผ ล  กฎกระทรวงฉบับที่ 15 (พ.ศ.2525) ประกาศใช้มาตั้งแต่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2525 ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน  เพื่อให้คณภาพงานบริการในร้านขายยาดี ุ ขึ้น เกิดความปลอดภัยมากขึ้น คุมค่า และ ้ ตอบสนองสิทธิของผู้ใช้ยา  กำาหนดเกณฑ์สถานที่ และอุปกรณ์ที่ เหมาะสมกับสภาพการประกอบวิชาชีพ เภสัชกรรมในปัจจุบน ั
  • 4. ที่ม า หลัก การ และเหตุผ ล  เพิ่มเติมเนื้อหาว่าด้วยเรื่องหลักเกณฑ์ วิธี การ เงือนไขในการต่ออายุใบอนุญาตตาม ่ มาตรา 17 วรรค 2 ใน พระราชบัญญัติ ยา เพื่อคัดกรองร้านยาที่ไม่มคุณภาพ ี บริการ สอดคล้องกับมติที่ประชุม คณะ อนุกรรมการพัฒนาร้านยา ครั้งที่ 1/2549 ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2549 ให้ปรับปรุง กฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องเพื่อการยกระดับ คุณภาพร้านยา
  • 5. ที่ม า หลัก การ และเหตุผ ล  สำานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงมี คำาสังสำานักงานคณะกรรมการอาหารและ ่ ยาที่ 313/2549 ลงวันที่ 23 มิถุนายน 2549 แต่งตั้งคณะทำางานยกร่าง กฎ กระทรวงว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ เงือนไขการอนุญาตและต่ออายุใบอนุญาต ่ ขายยาแผนปัจจุบัน  คณะทำางานได้ทำาการยกร่าง และรับฟัง ความคิดเห็นจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง จำานวน 3 ครั้ง ในวันที่ วันที่ 22 กันยายน
  • 6. ระยะเวลาที่จ ะมีผ ลบัง คับ ข้อ 1 กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บงคับเพื่อพ้น 180 ั วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ข้อ 2 ให้ยกเลิก กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๒๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐ กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๑ (พ.ศ. ๒๕๒๘)
  • 7. นิย าม / แบบคำา ขอ / แบบใบ อนุญ าต ข้อ 3 วิธ ีป ฏิบ ัต ิท างเภสัช กรรมชุม ชน หมายความว่า ข้อกำาหนด มาตรฐาน หรือวิธี การให้บริการทางเภสัชกรรมด้านยาใน สถานทีขายยาแผนปัจจุบนทุกประเภท ่ ั เพือให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา ่
  • 8. สถานที่ ข้อ 6 - สถานทีขายยา ต้องมีพนทีขาย ให้คำา ่ ื้ ่ ปรึกษาและแนะนำา การใช้ยาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 8 ตารางเมตร - สถานทีมั่นคง แข็งแรง ถูก ่ สุขลักษณะ เหมาะสมต่อ การรักษาคุณภาพยา
  • 9. อุป กรณ์ ข้อ 7 สถานทีขายยา ต้องมี ่ - อุปกรณ์ทใช้ในการขายยา ี่ - อุปกรณ์การเก็บ และการควบคุม หรือรักษาคุณภาพยา ตามลักษณะและจำานวนที่กำาหนด
  • 10. ป้า ยต่า งๆ ข้อ 8 ป้ายประเภทใบอนุญาต และป้าย เภสัชกรผูมีหน้าทีปฏิบัติการ สถานทีขายยาส่ง ้ สถานทีขายยาแผน ่ ่ ่ ปัจจุบัน แผนปัจจุบัน สถานทีขายยาแผนปัจจุบัน ่ เฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตราย หรือยาควบคุมพิเศษ สถานทีขายยาแผน ่ ปัจจุบัน เฉพาะยาบรรจุเสร็จ สำาหรับสัตว์ ทรงศักดิ์ วิมลกิตติ พงศ์ ภบ. ภ.17054 เวลาปฏิบัติ
  • 11. การจัด ทำา บัญ ชี / รายงาน ข้อ 8 บัญชี / รายงานต่างๆที่ ต้องทำา 1. บัญชีการซื้อยา 2. บัญชีการขายยาควบคุมพิเศษ 3. บัญชีการขายยาอันตราย เฉพาะรายการ ที่ อย. กำาหนด 4. บัญชีการขายยาตามใบสังยาของผู้ ่ ประกอบวิชาชีพฯ (ทุกรายการ) 5. รายงานการขายยาตามประเภทที่ อย.กำาหนด ส่งให้ อย.
  • 12. คำา รับ รอง และหน้า ที่ข องผู้ม ห น้า ที่ ี ปฏิบ ต ิก าร ั ข้อ 9 คำารับรองของผูมีหน้าที่ปฏิบติการ ้ ั ข้อ 10 หน้าที่ของเภสัชกร - ควบคุมการทำาบัญชี /รายงาน ให้เป็นไป โดยถูกต้อง - ควบคุมการขายยา ให้เป็นไปโดยถูกต้อง ตามกฎหมาย - ให้คำาแนะนำาเกี่ยวกับการใช้ยาให้ ปลอดภัยตามหลักวิชาการ และ จรรยาบรรณ ตามสมควร - ดำาเนินการขายยาตามรายการที่
  • 13. การปฏิบ ัต ิต าม GPP ข้อ 11 ผู้รับอนุญาตขายยาแผนปัจจุบนทุก ั ประเภท และ ผู้มีหน้าที่ปฏิบติการ ต้อง ั ปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน ที่รัฐมนตรีกำาหนดโดยประกาศในราชกิจ จานุเบกษา
  • 14. อาจมีห น่ว ยงาน หรือ องค์ก ร วิช าชีพ เป็น ผู้ต รวจ GPP ข้อ 12 ผู้อนุญาตอาจจัดให้หน่วยงานหรือ องค์กรวิชาชีพทำาหน้าที่ตรวจประเมินตามวิธี ปฏิบติทางเภสัชกรรมชุมชนของผู้รับ ั อนุญาต และผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามข้อ 11 เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาออกใบ อนุญาต หรือต่ออายุใบอนุญาต หน่วยงาน หรือ องค์กรวิชาชีพ ตาม วรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
  • 15. ผู้ม ห น้า ที่ป ฏิบ ัต ิก ารใน ข.ย.2 ี ข้อ 13 ผู้มีหน้าทีปฏิบตการใน ข.ย. 2 ่ ั ิ ต้องควบคุมการ ทำาบัญชีซื้อยา เฉพาะยาแผนปัจจุบัน ซึ่งเป็นยาบรรจุเสร็จ ทีไม่ใช่ยาอันตราย หรือ ยาควบคุม ่ พิเศษ ให้เป็นไป
  • 16. ผู้ม ห น้า ที่ป ฏิบ ัต ิก ารใน ข.ย.3 ี ข้อ 14 ผู้มีหน้าทีปฏิบตการใน ข.ย. 3 ่ ั ิ ต้องควบคุมการ ทำารวมถึงบัญชีตางๆ บัญชีซื้อยา ่ เฉพาะยาแผนปัจจุบันซึ่งเป็นยาบรรจุ เสร็จสำาหรับสัตว์ให้เป็นไปโดยถูกต้อง และลงลายมือชื่อรับรองกำากับไว้ ควบคุมการขายยาบรรจุเสร็จ
  • 17. การต่อ อายุใ บอนุญ าต ข้อ 15 แบบคำาขอต่ออายุใบอนุญาต ข้อ 16 เงือนไขทีจะไม่ต่ออายุใบอนุญาต ่ ่ 16.1 ผู้รับอนุญาตขาดคุณสมบัติ และมี ลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 14 16.2 ไม่ผานการตรวจ GPP ่ 16.3- 16.4 ประวัติการฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วย ยา
  • 18. เงือ นไขไม่ต ่อ อายุใ บอนุญ าต ่ (ประวัต ิก ารฝ่า ฝืน กฎหมายว่า ด้ว ยยา ) ข้อ 16 (ต่อ) 16.3 (1) ผู้รับอนุญาต (ข.ย.1 , ข.ย.2 , ข.ย.3) ไม่จัดให้มีผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการประจำาอยู่ตลอดเวลา ทำาการ(ตามมาตรา 21 , 21ทวิ , 22 และ 23 ) และได้ รับโทษปรับตามมาตรา 103 เกินกว่า 3 ครั้ง ในรอบ การต่ออายุใบอนุญาต 16.3 (2) ผู้รับอนุญาต (ข.ย.1 , ข.ย.3) ขายยา อันตรายหรือยาควบคุมพิเศษในระหว่างที่เภสัชกรชัน ้ หรือผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ไม่อยู่ปฏิบัติ หน้าที่ และได้รับโทษปรับตามมาตรา 107 เกินกว่า 3 ครั้ง ในรอบการต่ออายุใบอนุญาต
  • 19. อื่น ๆ เกี่ย วกับ ใบอนุญ าต ข้อ 17 การขอรับใบแทนใบอนุญาต ข้อ 18 การขอย้ายสถานที่ ข้อ 19 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการต่างๆใน ใบอนุญาต ข้อ 20 สถานที่ยื่นคำาขอ (กรุงเทพฯ –> อย. /
  • 20. สภาพบัง คับ ข้อ 21 ใบอนุญาต (ข.ย.1 / ข.ย.2 / ข.ย.3 ) ที่ ออกตามกฎกระทรวงฉบับที่ 15 ให้ใช้ได้ต่อไปจนกว่าจะสินอายุ (31 ธ.ค. ของปี ้ ที่กฎหมายบังคับใช้) ข้อ 22 คำาขอต่างๆ ที่ยื่นไว้ก่อนวันที่กฎกระทรวง นี้มีผลบังคับใช้ และยังอยู่ ระหว่างดำาเนินการ ให้ถือว่าเป็นคำาขอตาม กฎกระทรวงฉบับนี้โดย อนุโลม และให้ผู้อนุญาตมีอำานาจสังให้ ่
  • 21. สภาพบัง คับ ข้อ 23 ผูรับอนุญาต (ข.ย.1 / ข.ย.2 / ข.ย.3 ) ้ ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 15 จะต้องจัดให้มีสถานที่(ข้อ 6) อุปกรณ์(ข้อ 7) และการปฏิบติ ั ตาม GPP (ข้อ 11) ภายในระยะเวลาที่ รัฐมนตรีกำาหนด แต่ ต้องไม่เกิน 8 ปีนับแต่วันที่กฎกระทรวงนี้มีผล บังคับ ข้อ 24 ผูมีหน้าที่ปฏิบัติการ (ข.ย.1 / ข.ย.2 / ้
  • 22. สรุป สาระสำา คัญ 1. กำาหนดให้ยกเลิก กฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2525) และกฎกระทรวง ฉบับที่ 21 (พ.ศ.2528) ออก ตามความในพระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 2. กำาหนดหลักเกณฑ์การยื่นคำาขออนุญาตขายยาแผน ปัจจุบัน ขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ ไม่ใช่ยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ ขายยาแผน ปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จสำาหรับสัตว์ ขายส่งยา แผนปัจจุบัน และการกำาหนดแบบใบอนุญาต 3. กำาหนดให้สถานทีขายยาต้องมีขนาดพืนทีตามที่ ่ ้ ่ กำาหนด และต้องมีความมันคงแข็งแรง ถูก ่ สุขลักษณะ เหมาะสมต่อการรักษาคุณภาพยา แสง สว่างทีเพียงพอ มีบริเวณให้คำาปรึกษาและแนะนำา ่
  • 23. สรุป สาระสำา คัญ 4. กำาหนดให้ผู้มหน้าทีปฏิบัติการประจำาสถานทีขายยา ี ่ ่ แผนปัจจุบันทุกประเภท เภสัชกรชั้นหนึง ่ ผู้ ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่ง และผู้รับ อนุญาตขายยาแผนปัจจุบันทุกประเภทต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ตามทีกำาหนด ่ 5. กำาหนดหลักเกณฑ์การตรวจประเมินตามวิธีปฏิบัติ ทางเภสัชกรรมชุมชน และการควบคุมการทำาบัญชี การซื้อยา 6. กำาหนดหลักเกณฑ์การต่ออายุใบอนุญาต การ พิจารณาไม่ต่ออายุใบอนุญาต การขอรับใบแทนใบ อนุญาต การย้ายสถานทีขายยา การแก้ไข ่ เปลี่ยนแปลงรายการในใบอนุญาต และสถานที่ยน ื่