SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  91
Télécharger pour lire hors ligne
คำนำ 
ปัจจุบันสถานการณ์ข้อพิพาทในเรืÉองเกีÉยวกับการรักษาพยาบาลกำลงั 
ทวีความรุนแรงขึÊนเรÉือยๆ ข้อพิพาททÉีสามารถพูดจาทำความเข้าใจกันได้กลายเป็น 
คดีความขึÊนสู่ศาลมากขึÊน ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆตามมามากมาย เช่น ความสัมพันธ์ของ 
แพทย์กับผู้ป่วยเริÉมเป็นไปในทางไม่ดี ระบบบริการเริÉมมีปัญหาเนืÉองจากบุคลากร 
ทางการแพทย ์มีความวิตกกังวลต่อการประกอบอาชีพของตนเองกับตัวบทกฎหมายทัÊง 
ทางแพ่ง ทางอาญา มีการส่งต่อผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น การไม่ทำการผ่าตัดในโรงพยาบาล 
ชุมชน การส่งตรวจอย่างละเอียดเกินความจาํเป็น เป็นตน้ นอกจากนÊีระบบกฎหมายทÉี 
กำหนดให้คดีเกÉียวกับการรักษาพยาบาลอยู่ในข่าย เป็นคดีผูบ้ริโภคตามพระราชบญัญตัิ 
วิธีพิจารณาความผู้บริโภค พ.ศ. 2551 ทำให้การฟ้องคดีทำได้ง่าย จึงเป็นเหตุหนึÉงทำให้ 
ผู้ป่วยหรือญาติมีช่องทางทÉีจะดำเนินคดีกับเจ้าหน้าทÉีหรือหน่วยงานต้นสังกัดมากขึÊน 
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขโดยกลุ่มกฎหมายตระหนักถึงปัญหาความ 
วิตกกังวลดังกล่าว จึงได้จัดทำคู่มือแนวทางการปฏิบัติกรณีเกิดข้อพิพาทหรือเชืÉอว่าจะ 
เกิดข้อพิพาททางการแพทย์ ซึÉงมีเนืÊอหาสาระเป็นการให้ความรู้วิชาการทางกฎหมาย 
เกีÉยวกับการปฏิบัติงานทางการแพทย์ กระบวนการในการดำเนินการเมืÉอเกิดข้อพิพาท 
หรือเชืÉอว่าน่าจะเกิดข้อพิพาท ข้อควรปฏิบัติ บทบาทหน้าทีÉของผู้เกีÉยวข้องในแต่ละ 
ขัÊนตอน โดยมีวัตถุประสงค์เพÉือสร้างความเชÉือมันÉและมันÉใจว่าเมÉือมีข้อพิพาทเกิดขึÊนจะ 
มีผู้ช่วยเหลือแพทย์และเจ้าหน้าทีÉในการดำเนินการตามกฎหมายหรือระเบียบราชการ 
โดยไม่ตอ้งวิตกกังวลว่าควรจะตอ้งปฏิบตัิอย่างไรหรือติดต่อกับใครบ้าง ซึÉงจะทำให้ 
แพทย์หรือเจ้าหน้าทีÉมีกำลังใจในการปฏิบัติงานต่อไปตามปกติและจะส่งผลถึงการ 
ให้บริการทÉีดีต่อประชาชนด้วย กลุ่มกฎหมายหวังเป็นอย่างยิÉงว่า คู่มือฉบับนีÊจะเป็น 
เครÉืองมืออย่างหนึÉงในกระบวนการแก้ไขปัญหาของแพทย์และเจ้าหน้าทÉีในกรณีเกิดขอ้ 
พิพาททางการรักษาพยาบาล 
ในการนีÊ ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนในการทำคู่มือฉบับนีÊและหากท่าน 
ผู้อ่านมีข้อเสนอแนะประการใดโปรดแจ้งให้ทราบด้วยเพืÉอการปรับปรุงคู่มือให้มีความ 
สมบูรณ์ยิÉงขึÊน 
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ 
หน้า 
แนวทางปฏิบัติกรณีมีข้อพิพาทหรือเชืÉอว่าจะมีข้อพิพาทในสถานพยาบาล 
กระบวนการแกไ้ขขอ้พิพาท 2 
กรณีผู้เสียหายแจ้งความร้องทุกข์ 3 
กรณีผู้เสียหายยืÉนฟ้องคดีอาญาเอง 6 
กรณีผู้เสียหายหรือผู้ป่วยฟ้องคดีแพ่งหรือคดีผู้บริโภค 7 
บทบาทหน้าทีÉผู้เกีÉยวข้อง 10 
สถานพยาบาล 10 
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 12 
ผอู้าํนวยการโรงพยาบาล 12 
แพทย์ผู้เชีÉยวชาญ 13 
นิติกร 14 
แพทย์ผู้ถูกกล่าวหา 15 
พยาบาลผู้ถูกกล่าวหา 16 
กลุ่มกฎหมาย 17 
กฎหมายเกีÉยวกับเวชระเบียน 
กฎหมายเกีÉยวกับเวชระเบียน 17 
สิทธิของผู้เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล 21 
การแก้ไขเพิÉมเติมในเวชระเบียน 27 
ความรู้กฎหมายทÉัวไป 
ความรู้เบืÊองต้นเกÉียวกับคดีแพ่ง 30 
ความรับผิดทางละเมิด 32 
ความรู้เบืÊองต้นเกÉียวกับกฎหมายอาญา 36 
การประกนัตวั 39 
คดีผู้บริโภค 45 
บรรณานุกรม 51
(2) 
ภาคผนวก 
- คำสัÉงกรมตำรวจทีÉ 622/2536 
- หนงัสือสาํนกังานอยัการสูงสุดทÉี อส(สคอ). 0019/ว 235 
- หนงัสือกรมตาํรวจทÉี ตช 0031.212/5107 
- ระเบียบกระทรวงการคลงั 
- พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 
- แนวทางการจัดเตรียมเอกสาร พยานหลักฐานและทำคำให้การทีÉจะต้องส่งแก่ 
กระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานอัยการ 
- ตวัอย่างใบแต่งทนายความ
แนวทางปฏิบัติกรณีมีข้อพิพาทหรือเชืÉอว่าจะมีข้อพิพาทในสถานพยาบาล 
เมืÉอมีผู้ป่วยมาใช้บริการ ปกติจะมีระบบบริการหรือกระบวนการขัÊนตอนทÉี 
สถานพยาบาลกำหนดขึÊน ซึÉงการให้บริการเป็นไปตามนัÊน บุคลากรทัÊงหลายจึงต้อง 
ตระหนักและคำนึงถึงคุณภาพบริการ ตัÊงแต่แรกรับผู้ป่วยเข้ามาในระบบบริการ 
จนกระทังÉเสร็จสิÊนการให้บริการ โดยพยายามให้การบริการเป็นไปตามมาตรฐานทÉี 
กำหนดอย่างดีทÉีสุด อย่างไรก็ตามเหตุไม่พึงประสงค์มักจะเกิดขึÊนได้เสมอ จึงต้องมีการ 
เตรียมการและรับทราบแนวทางปฏิบัติทีÉจะช่วยทำให้กระบวนการให้บริการสามารถ 
ดำเนินต่อไปได้ โดยมีหลักการดังนีÊ 
1. ช่วยเหลือทัÊงสองฝ่าย คือ ฝ่ายแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าทÉีสาธารณสุขและฝ่ายผู้ป่วย 
2. พยายามใช้การเจรจาทำความเข้าใจ และไกล่เกลีÉยข้อพิพาทเป็นหลัก เพืÉอให้ 
เกิดความเข้าใจพึงพอใจทุกฝ่าย และข้อพิพาทยุติโดยเร็ว 
กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายทีÉจะแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งทางการแพทย์โดย 
สันติวิธี เพืÉอดำรงความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ให้บริการคือ แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าทีÉกับ 
ผู้ป่วยและชุมชน ในการแก้ปัญหาความไม่เข้าใจกันระหว่างสองฝ่าย จึงจำเป็นต้องใช้ 
แนวทางการประนีประนอม สร้างความเข้าใจทÉีถูกต้องตรงกัน ดังนัÊนในการดาํเนินการ 
ตามแนวทางดังกล่าว จึงต้องจัดให้มีคณะทำงานหรือทีมงานทีÉมีความรู้ ทักษะในด้าน 
ต่างๆทีÉเกีÉยวข้อง เช่น นักกฎหมาย ผู้เชีÉยวชาญด้านการแพทย์ พยาบาล ผู้มีความรู้ด้านการ 
ไกล่เกลีÉยข้อพิพาท เป็นต้น 
นอกจากนีÊอาจรวมถึงผู้นำชุมชนหรือบุคคลทÉีผู้ป่วยเคารพนับถือมาร่วมเป็น 
ทีมงาน เช่น ผู้ใหญ่บ้าน อาจารย์ทีÉเคยสอนหนังสือทีÉผู้ป่วยหรือญาติให้ความเชืÉอถือ 
อย่างไรก็ตามในสภาพสังคมปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นสังคมเมืองทีÉผู้คนไม่ค่อยรู้จักสนิท 
สนมกันเช่นสังคมชนบท บุคคลลักษณะดังกล่าวจึงหาได้ยาก การไกล่เกลีÉย 
ประนีประนอมของทีมงานโรงพยาบาลอาจไม่ได้ผลเพราะบุคคลในทีมงานส่วนหนÉึง 
เป็นเจ้าหน้าทÉีในโรงพยาบาล จึงควรให้มีทีมงานไกล่เกลÉียในระดับจังหวัดอีกชุดหนึÉง 
เพืÉอทำการไกล่เกลีÉยต่อจากทีมจากโรงพยาบาล เพราะจะมีภาพลักษณ์ของความเป็นกลาง 
มากกว่า หากทีมของระดับจังหวัดไม่สามารถไกล่เกลÉียได้ เชÉือว่า ผูป้่วยหรือญาติจะตอ้ง 
ดำเนินการอย่างใดอย่างหนึÉง หรือหลายอย่างดังนีÊ
2 
1. แจ้งความดำเนินคดีอาญาต่อพนักงานสอบสวน ตำรวจ 
2. ร้องเรียนไปยังสภาวิชาชีพของแพทย์ พยาบาล นัÊนๆ 
3. ร้องเรียนไปยังหน่วยงานต้นสังกัด 
4. ยÉืนฟ้องคดีทัÊงทางแพ่งหรืออาญา 
ดังนัÊนในฐานะผู้เกÉียวข้องจึงจำเป็นต้องรับทราบกระบวนการต่างๆตามกฎหมาย 
เพืÉอจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้องเหมาะสม กล่าวคือ 
กรณีมีความเสียหายเกิดขึÊนจากการรักษาพยาบาล ผู้เสียหายหรือผู้ป่วยมีสิทธิทÉีจะ 
เรียกร้องค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทนได้ โดยการยืÉนคำร้องขอให้หน่วยงานต้นสังกัด 
ของบุคคลทÉีทำให้เกิดความเสียหายนัÊนชดใช้ค่าเสียหาย หรือการยÉืนฟ้องต่อศาลเป็นคดีแพ่ง 
หรือคดีผู้บริโภค เพืÉอให้ศาลบังคับให้หน่วยงานต้นสังกัดดังกล่าวชดใช้ค่าเสียหาย 
ส่วนคดีอาญาเป็นการฟ้องเพืÉอให้ศาลลงโทษผู้ทำให้เกิดความเสียหายตาม 
กฎหมายอาญา ซÉึงโทษประกอบดว้ย การกักขงั จาํคุก ปรับ ริบทรัพย์สิน ประหารชีวิต 
และความผิดบางอย่างเป็นความผิดอาญาแผ่นดินซÉึงไม่สามารถตกลงประนีประนอม 
หรือยอมความได้ แม้ว่าได้มีการประนีประนอมยอมความในทางแพ่งแล้วก็ตามก็ไม่ทำ 
ให้คดีอาญาระงับไปแต่อย่างใด เช่น กรณีการทำให้ผู้อืÉนถึงแก่ความตายหรือบาดเจ็บ 
สาหัสโดยประมาทหรือเจตนา ส่วนคดีทีÉสามารถยอมความกันได้เช่น ฉ้อโกง หมิÉน 
ประมาท บุกรุก เป็นต้น 
กระบวนการแก้ไขข้อพิพาท 
เมืÉอมีผู้เสียหายร้องเรียนเกีÉยวกับการรักษาพยาบาลของแพทย์และพยาบาล ก็ให้ 
แพทย์และพยาบาลนำปัญหาไปปรึกษากับทีมทÉีปรึกษา (ประกอบดว้ยแพทยผ์ูเ้ชÉียวชาญ 
และนักกฎหมาย) แล้วทำการไกล่เกลÉียขัÊนต้น หากไกล่เกลÉียสำเร็จเรÉืองก็ยุติ แต่ถ้าไกล่เกลÉีย 
ไม่สำเร็จก็ให้ส่งเรÉืองต่อไปยังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพÉือทำการไกล่เกลÉียข้อพิพาท 
อีกครัÊงหนึÉง หากสำเร็จเรÉืองก็ยุติ แต่ถ้าไม่สำเร็จก็จะเข้าสู่กระบวนการ 3 ประการ คือ 
1. ผู้เสียหายแจ้งความต่อพนักงานสอบสวน 
2. ผู้เสียหายเรียกร้องไปยังกระทรวงสาธารณสุข 
3. ผู้เสียหายฟ้องคดี (โดยแบ่งเป็นฟ้องคดีอาญาและคดีแพ่ง)
3 
สิทธิของผู้เสียหายในคดีแพ่งและคดีอาญา 
1. กรณีผู้เสียหายแจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน 
2. กรณีผเู้สียหายฟ้องคดีอาญาต่อศาลเอง 
3. กรณีผู้เสียหายฟ้องคดีแพ่งเพืÉอเรียกค่าเสียหายต่อศาล 
1. กรณีผ้เูสียหายแจ้งความร้องทุกข์
4 
ในกรณีทีÉท่านถูกผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยแจ้งความดำเนินคดีทางอาญานัÊนจะมี 
ขัÊนตอนทÉีท่านต้องปฏิบัติและขัÊนตอนทางกฎหมายดังต่อไปนีÊ คือ 
1) พนักงานสอบสวนจะมีหมายเรียกมายังท่าน เพÉือให้ท่านไปให้การต่อพนักงาน 
สอบสวน ซึÉงหมายเรียกนัÊนจะทำเป็นหนังสือโดยจะกำหนดวัน เวลาและสถานีตำรวจทÉี 
ท่านจะต้องไปให้การไว้ในหมายเรียกนัÊน 
2) เมÉือท่านได้รับหมายเรียกแล้ว ท่านจะต้องแจ้งมายงั 
กระทรวงสาธารณสุขโดยด่วน เพืÉอกระทรวงสาธารณสุขจะได้ 
จัดส่งทนายความเข้าไปให้ความช่วยเหลือ แนะนำและร่วม 
เดินทางไปกับท่านในวันทีÉท่านเข้าพบพนักงานสอบสวน 
3) ในวันทÉีท่านเข้าพบพนักงานสอบสวนตามหมายเรียกนัÊน ท่านจะต้องเตรียม 
หนงัสือรับรองตาํแหน่งขา้ราชการของนายประกันหรือหลักทรัพย์ เช่น เงินสด บญัชี 
ธนาคารหรือโฉนดทÉีดินไปด้วย เพÉือใช้ประกันตัวในชัÊนพนักงานสอบสวน 
4) เมืÉอท่านและทนายความทีÉกระทรวงสาธารณสุขจัดให้ ได้เดินทางไปพบ 
พนักงานสอบสวนตามวันและเวลา สถานทีÉทีÉกำหนดตามหมายเรียกแล้ว ในการเข้าให้ 
ปากคำต่อพนักงานสอบสวนนÊัน ท่านมีสิทธิหลายประการ โดยพนกังานสอบสวน 
จะต้องแจ้งสิทธิต่างๆนัÊนให้ท่านทราบก่อนด้วย เช่น มีสิทธิให้ทนายความหรือบุคคลทÉี 
ท่านไว้วางใจเข้ารับฟังการสอบปากคำท่านได้ มีสิทธิทีÉจะได้รับการสอบสวนด้วยความ 
รวดเร็วต่อเนÉือง และเป็นธรรม โดยเฉพาะอย่างยิงÉต้องแจ้งให้ท่านทราบก่อนด้วยว่า ท่าน 
มีสิทธิทÉีจะให้การหรือไม่ก็ได้ ถ้าให้การ ถ้อยคำทÉีท่านให้การนัÊน อาจใช้เป็น 
พยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้ 
ในการสอบปากคำ เบืÊองต้นพนักงานสอบสวน จะถามรายละเอียดเกÉียวกับตัว 
ท่านก่อน เช่น ถามชืÉอ นามสกุล สัญชาติ บิดามารดา อายุ อาชีพ ทีÉอยู่ ทีÉเกิดและแจ้งให้ 
ทราบถึงข้อเท็จจริงเกÉียวกับการกระทำทÉีกล่าวหาว่าท่านกระทำผิด จากนัÊนก็จะแจ้งข้อหา 
ให้ท่านทราบซึÉงในระหว่างการสอบปากคำท่าน ทนายความทÉีกระทรวงสาธารณสุข 
จัดส่งไปนัÊน จะเข้าร่วมรับฟังการสอบปากคำกับท่านด้วยทุกครÊัง ทัÊงนีÊ ท่านควรจะให้ 
การแก่พนักงานสอบสวน โดยไม่ใช้สิทธิปฏิเสธเพÉือให้การในชัÊนศาล เพราะหากไม่ให้ 
การ พนักงานสอบสวนจะสัÉงฟ้องคดีสถานเดียว ซึÉงจะเป็นผมเสียต่อท่านเอง แต่ถ้าให้ 
การตามความเป็นจริง พนักงานสอบสวนอาจมีคำสังÉไม่ฟ้องคดีก็ได้
5 
5) เมืÉอพนักงานสอบสวนทำการรวบรวมพยานหลักฐานและสอบสวนเสร็จแล้ว 
พนักงานสอบสวนก็จะทำความเห็นว่า ควรสัÉงฟ้อง หรือควรสัÉงไม่ฟ้อง แล้วจะส่งเรืÉองไป 
ยังพนักงานอัยการต่อไป 
6) เมืÉอพนักงานอัยการรับเรืÉองและพิจารณาพยานหลักฐานแล้ว จะมีคำสัÉง 2 ประการ คือ 
(1) กรณีพนกังานอยัการสังÉไม่ฟ้อง 
(2) กรณีพนกังานอยัการสังÉฟ้อง 
(1) กรณีพนกังานอยัการสังÉไม่ฟ้อง 
ถ้าคำสังÉนัÊนเป็นคำสังÉเด็ดขาดไม่ฟ้องคดีแล้ว ก็จะมีการแจ้งคำสังÉดังกล่าว 
มาให้ท่านทราบและในกรณีดังกล่าวกฎหมายห้ามมิให้มีการสอบสวนตัวท่านในเรืÉอง 
เดียวกันนัÊนอีก เว้นแต่จะได้พยานหลักฐานใหม่อันสำคัญแก่คดี ซึÉงน่าจะทำให้ศาล 
ลงโทษผู้ต้องหานัÊนได้ ดังนัÊนเมÉือกฎหมายห้ามมิให้มีการสอบสวน พนักงานอัยการก็จะ 
ไม่มีอาํนาจฟ้องคดีนÊนัไดอี้ก 
(2) กรณีพนกังานอยัการสังÉฟ้อง 
ถ้าพนักงานอัยการสัÉงฟ้องคดี พนักงานอัยการก็จะนำตัวท่านพร้อมคำ 
ฟ้องไปยังศาลเพÉือยÉืนฟ้อง โดยในวันทÉียÉืนคำฟ้องนัÊน ท่านจะต้องเตรียมหนงัสือรับรอง 
ตำแหน่งข้าราชการของนายประกันหรือหลักทรัพย์ เช่น เงินสด บัญชีธนาคารหรือโฉนด 
ทÉีดินไปด้วย เพÉือใช้ประกันตัวในชัÊนศาล หลังจากนัÊนเจ้าหน้าทÉีศาลจะแจ้งวันนัดพร้อม 
ให้ท่านทราบ เพืÉอให้ท่านมาศาลในวันและเวลาดังกล่าว 
7) ในวันนัดพร้อม ท่านจะต้องไปศาลพร้อมทนายความ และเมืÉออยู่ในห้องพิจารณา 
แล้ว ศาลจะอ่านคาํฟ้องและอธิบายคำฟ้องให้ฟัง และจะถามท่านว่าได้กระทำผิดจริงตาม 
ฟ้องหรือไม่ จะให้การต่อสู้อย่างไร แล้วจะกำหนดวันนัดสืบพยานโจทก์ จำเลย ต่อไป 
8) ในวันนัดพิจารณา ไม่ว่าจะเป็นวันนัดสืบพยานฝ่ายโจทก์หรือวันนัดสืบพยาน 
ฝ่ายจำเลย ท่านในฐานะจำเลยต้องมาศาลทุกนัด โดยศาลจะสืบพยานฝ่ายโจทก์ก่อน แล้วจึง 
สืบพยานฝ่ายจำเลย ซึÉงในวันสืบพยานฝ่ายจำเลย ท่านจะต้องขึÊนเบิกความในฐานะพยาน 
ด้วย เมืÉอสืบพยานฝ่ายโจทก์และฝ่ายจำเลยเสร็จแล้ว ศาลจะนัดวันฟังคำพิพากษาต่อไป 
9) ในวันนัดฟังคำพิพากษา ท่านในฐานะจำเลยจะต้องมาฟังคำพิพากษาด้วย 
อนึÉงในทุกขัÊนตอนทÉีท่านถูกดำเนินคดี จะมีทนายความและนิติกร เข้าไปให้ 
ความช่วยเหลือ ให้คำแนะนำในด้านกฎหมายแก่ท่านทุกครัÊง
6 
2.กรณีผ้เูสียหายยÉืนฟ้องคดีอาญาเอง 
กรณีทÉีแพทย์หรือพยาบาลถูกผ้เูสียหายดำเนินคดีในทางอาญาในกรณีทÉีผ้เูสียหายฟ้องเอง 
ในกรณีเกิดข้อพิพาทเกีÉยวกับความเสียหายในการรักษาพยาบาล 
1. ไม่ว่าผู้เสียหายจะได้แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนไว้หรือไม่ก็ตาม 
1.1 ผู้เสียหายมีสิทธินำคดีอาญามาฟ้องด้วยตนเอง 
1.2. ผู้ถูกฟ้อง ( แพทย-์พยาบาล) จะได้รับหมายไต่สวนมูลฟ้องมาจากศาล 
1.3. รวบรวมข้อเท็จจริง (เอกสารหลักฐานต่างๆทีÉเกีÉยวข้อง เช่น เวชระเบียน ฯลฯ) 
1.4. นำหมายศาลและเอกสารต่างๆ แจ้งกระทรวงสาธารณสุขทราบโดยด่วน 
พร้อมใบแต่งทนายความ 3 ชุด 
1.5. กระทรวงสาธารณสุขทำเรืÉองพร้อมส่งเอกสารต่างๆ 
ใบแต่งทนายความไปยังสำนักงานอัยการ เพÉือต่อสู้คดีแทนผู้ถูกฟ้อง 
1.6. วันทีÉศาลนัดไต่สวนมูลฟ้อง พนักงานอัยการจะเข้าทำ 
การต่อสู้คดีแทนจำเลยตามใบแต่งทนายความและเอกสารต่างๆทีÉได้รับมอบหมายจาก 
กระทรวงสาธารณสุข ตามเอกสารดังกล่าวข้างต้น
7 
1.7. เมืÉอศาลไต่สวนมูลฟ้องแล้ว ศาลจะมีคำสังÉ ดังนีÊ 
- คดีมีมูล 
- คดีไม่มีมูล 
2. ในกรณีคดีมีมูล ศาลจะกำหนดระยะเวลาในการพิจารณาคดี ในระหว่างนีÊให้ปฏิบัติ ดังนีÊ 
2.1 เตรียมหลักประกันไว้ประกันตัวก่อนถึงวันนัดพิจารณาหรือวันนัดพร้อม 
ซึÉงหลักประกันมีดังต่อไปนีÊ 
2.2 ใช้เงินมาวางศาลตามจำนวนทีÉศาลกำหนด 
2.3 ใช้หลักทรัพย์มาวาง โดยนำหลักทรัพย์ดังกล่าวไปให้เจ้าพนักงานทีÉดิน 
ประเมินราคาทรัพยส์ินดงักล่าวเสียก่อน 
2.4 ใช้บุคคลประกันตัวต้องให้หัวหน้าหน่วยงานรับรองตำแหน่งและเงินเดือนด้วย 
2.5 หนังสือยินยอมของคู่สมรส 
3. เตรียมตัวขึÊนเบิกความในวันนัดพิจารณา เพÉือเบิกความเป็นพยานต่อศาล เมÉือ 
เสร็จสิÊนการพิจารณาจะนัดฟังคำพิพากษาในวันดังกล่าว ให้เตรียมหลักทรัพย์เพิÉมมาจาก 
เดิมทÉีมีอยู่ในศาลชัÊนต้น เพÉือเตรียมพร้อมในการต่อสู้คดีในชัÊนอุทธรณ์หรือฏีกาต่อไป 
3. กรณีผ้เูสียหายหรือผ้ปู่วยฟ้องคดีแพ่งหรือคดีผ้บูริโภค
8 
เมืÉอผู้เสียหายยÉืนฟ้องคดีต่อศาล ซึÉงตามพระราชบัญญตัิความรับผิดทางละเมิด 
ของเจ้าหน้าทีÉ พ.ศ.2539 บัญญัติให้ต้องฟ้องหน่วยงานต้นสังกัดของเจ้าหน้าทีÉผู้ถูกกล่าวหา 
ว่า ทาํละเมิด เท่านÊนั ดงันÊนัตามหลกัผูเ้สียหายจะตอ้งฟ้องกระทรวงสาธารณสุขหรือสำนักงาน 
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขหรือกรมฯ เท่านัÊน จะฟ้องแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าทÉีไม่ได้ 
แต่ในทางปฏิบัติบางครัÊงผู้เสียหายจะฟ้องโรงพยาบาล แพทย์ พยาบาลและหน่วยงาน 
ราชการพร้อมกัน ทำให้สามารถฟ้องยังศาลจังหวัดทีÉเกิดเหตุหรือทีÉศาลจังหวัดนนทบุรี 
หรือศาลแขวงนนทบุรีก็ได้ ซึÉงจะแยกกระบวนการได้ดังนีÊ 
กรณีฟ้องทีÉศาลจังหวัดนนทบุรีหรือศาลแขวงนนทบุรี 
1. กรณีฟ้ องส่วนราชการต้นสังกัดคือกระทรวงสาธารณสุข สำ นักงาน 
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข หรือกรมฯ ศาลก็จะมีหมายเรียกพร้อมสำเนาคำฟ้องมายังจำเลย 
และนัดคู่ความไปศาลตามทีÉกำหนด เมืÉอกระทรวงสาธารณสุขหรือสำนักงานปลัดกระทรวง 
สาธารณสุขได้รับหมายเรียก กลุ่มกฎหมายกจ็ะทำหนังสือถึงหน่วยงานทÉีเกÉียวข้องดังนีÊ 
(1) หนังสือถึงอัยการจังหวัดนนทบุรีหรืออัยการจังหวัดคดีศาลแขวงนนทบุรี 
เพืÉอขอความอนุเคราะห์ให้จัดพนักงานอัยการแก้ต่างคดี โดยจัดส่งข้อเท็จจริงต่างๆ (ถ้ามี 
ขณะนÊนั) ใบแต่งทนายความทÉีลงนามโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (กรณี 
ฟ้องกระทรวงฯ) หรือลงนามโดยปลัดกระทรวงสาธารณสุข (กรณีฟ้องสำนักงาน 
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข) 
(2) หนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทีÉเกิดเหตุ เพืÉอขอให้จัดส่งข้อเท็จจริง 
เอกสารหลักฐานต่างๆทีÉเกีÉยวข้อง ไปให้กระทรวงสาธารณสุขหรือสำนักงาน 
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขและพนักงานอัยการ รวมทัÊงแจ้งให้แต่งตัÊงคณะกรรมการสอบ 
ข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดเพÉือสอบสวนให้ได้ความว่า มีเหตุเกิดขึÊนจริงหรือไม่ 
ใครเป็นผู้กระทำ ผู้กระทำจงใจหรือประมาทเลินเล่อหรือไม่ ค่าเสียหายมีเท่าใดและใคร 
ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ 
(3) หนงัสือถึงแพทยสภา เพÉือขอรับการสนับสนุนพยานผู้เชÉียวชาญเพÉือให้ 
ความเห็นทางวิชาการแก่พนกังานอยัการและศาล 
(4) กรณีเร่งด่วนอาจมีหนังสือขอทราบข้อเท็จจริงเบืÊองต้นไปยังโรงพยาบาลทÉีเกิด 
เหตุ เพÉือรายงานผู้บริหารระดับสูงทราบและส่งไปให้พนักงานอัยการพิจารณาในเบืÊองต้นก่อน
9 
2. กรณีฟ้ องหน่วยงานต้นสังกัดและบุคคลทีÉเกีÉยวข้องด้วย เช่น โรงพยาบาล 
แพทย ์พยาบาล ผูเ้สียหายสามารถยÉืนฟ้องได้ 2 แห่งคือ ศาลจงัหวดันนทบุรีหรือศาล 
แขวงนนทบุรี และศาลจังหวัดหรือศาลแขวงทÉีตัÊงของโรงพยาบาลทÉีเกิดเหตุ 
2.1 กรณีฟ้องทีÉศาลจังหวัดนนทบุรีหรือศาลแขวงนนทบุรี กระบวนการก็จะ 
เป็นไปตาม ข้อ1. แต่กรณีนีÊศาลจะมีหมายเรียกพร้อมสำเนาคำฟ้องไปยังบุคคลอÉืนทÉีถูก 
ฟ้องด้วย เมืÉอบุคคลดังกล่าวได้รับหมายเรียก ให้แจ้งผู้อำนวยการโรงพยาบาลและนิติกร 
ทันที เพืÉอดำเนินการลงนามในใบแต่งทนาย (ไม่ต้องกรอกข้อความอืÉน) จำนวน 3 ใบ 
กรณีฟ้ องโรงพยาบาลเป็นจำเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเป็นผู้ลงนามในใบแต่งทนาย 
จากนัÊนให้ส่งหมายเรียก สำเนาคำฟ้อง ใบแต่งทนายความพร้อมเอกสารหลักฐานไปยัง 
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพืÉอทำเรืÉองถึงกระทรวงสาธารณสุขหรือสำนักงาน 
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขโดยด่วน ซึÉงกระทรวงสาธารณสุขจะดำเนินการจดัส่งเอกสาร 
ต่างๆดังกล่าวไปพร้อมกับใบแต่งทนายความของกระทรวงสาธารณสุข หรือ สำนักงาน 
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ไปยังอัยการจังหวัดนนทบุรีหรืออัยการจังหวัดคดีศาลแขวง 
นนทบุรีแล้วแต่กรณี (คดีมีทุนทรัพย์ไม่เกิน 300,000 บาทอยู่ในอำนาจศาลแขวง ) เพืÉอแก้ 
ต่างคดีต่อไป 
อนึÉง พนักงานอัยการจะแก้ต่างคดีให้กับบุคลากรทÉีถูก 
ฟ้องได้ต่อเมืÉอส่วนราชการต้นสังกัดมีหนังสือแจ้งขอให้พนักงาน 
อัยการดำเนินการให้บุคลากรดังกล่าวเท่านัÊน 
2.2 กรณีฟ้องทีÉศาลจังหวัดหรือศาลแขวงทีÉเกิดเหตุ 
ศาลจะส่งหมายเรียกไปยังจำเลยทุกคน เมืÉอแพทย์ พยาบาลหรือโรงพยาบาลได้รับ 
หมายเรียกดังกล่าว ให้บุคคลดังกล่าวแจ้งผู้อำนวยการและนิติกร (ถา้มี) ทราบ จากนัÊนให้ 
โรงพยาบาลส่งข้อเท็จจริง เอกสารทÉีเกÉียวข้อง รวมทัÊงใบแต่งทนายความทÉีลงนามโดย 
จาํเลยรายละ 3 ใบ ส่งไปให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดโดยด่วน จากนัÊนสำนักงาน 
สาธารณสุขจังหวัดจะต้องทำหนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัด เพÉือขอให้อัยการจังหวัดนัÊนๆ 
รับแก้ต่างคดีให้กับแพทย์ พยาบาล หรือโรงพยาบาล โดยจัดส่งข้อมูล เอกสารทีÉเกีÉยวข้อง 
รวมทัÊงใบแต่งทนายความ หมายเรียกของจำเลยทุกคน และต้องแจ้งการดำเนินการ 
ดังกล่าวแก่ปลัดกระทรวงสาธารณสุขโดยด่วน ส่วนกระทรวงสาธารณสุขหรือสำนักงาน 
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เมืÉอได้รับหมายเรียก ก็จะจัดส่งหมายเรียก สำเนาคำฟ้องและ
10 
ใบแต่งทนายความของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขหรือปลัดกระทรวง 
สาธารณสุขไปยังอัยการจังหวัดทีÉรับผิดชอบคดีของศาลทีÉเป็นเจ้าของเรืÉอง (ปกติคือ 
จังหวัดทีÉเกิดเหตุ) 
กรณีฟ้องโรงพยาบาลหลายจังหวัดหรือแพทย์พยาบาลหลายจังหวัด เช่น 
โรงพยาบาลศรีสะเกษ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ แต่ฟ้องทีÉศาลจังหวัดศรีสะเกษ ก็ 
ต้องส่งให้อัยการจังหวัดศรีสะเกษเป็นผู้แก้ต่างคดี โดยส่วนราชการต้นสังกัดทีÉถูกฟ้อง 
จะแจ้งขอให้พนักงานอัยการแก้ต่างคดีให้จำเลยทุกคน 
ส่วนผู้ประสานงานคดี ปกติจะมอบหมายให้นิติกรประจำโรงพยาบาลทีÉ 
เกิดเหตุหรือนิติกรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและนิติกรกลุ่มกฎหมาย สำนักบริหาร 
กลาง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้แทนคดีเพืÉอประสานงานกับผู้เกีÉยวข้อง 
และพนกังานอยัการ 
สำหรับแพทย์ พยาบาลหรือเจ้าหน้าทีÉ ทีÉเป็นจำเลยหรือทีÉเกีÉยวข้องกับเรืÉอง 
ดังกล่าว ต้องจัดทำคำให้การ ให้ข้อเท็จจริงการรักษาพยาบาล 
ตัÊงแต่เริÉมการรักษาจนกระทังÉเสร็จสิÊนการรักษา รวมทัÊงต้อง 
อธิบายประเด็นทีÉถูกฟ้อง หลักวิชาการทีÉใช้ในการรักษาพร้อม 
เอกสารทÉีเกÉียวข้อง (ทัÊงนีÊหากเอกสารมีข้อความทÉีเป็น 
ภาษาต่างประเทศให้แปลเป็นภาษาไทยกำกับไว้ด้วย) เพืÉอเป็นข้อมูลให้แก่พนักงาน 
อัยการและต้องเบิกความเป็นพยานในคดีด้วย 
บทบาทหน้าทÉีผู้เกÉียวข้อง 
1) สถานพยาบาล 
สถานพยาบาลหรือโรงพยาบาลทุกแห่งควรจัดให้มีบุคลากรและการดำเนินการ ดงันÊี 
1.1 จัดให้มีนิติกรหรือฝ่ายกฎหมายประจำในโรงพยาบาล 
1.2 จัดให้มีทีมงานอย่างน้อย 3 ทีมคือ 
- ทีมทีÉปรึกษา ประกอบด้วย นิติกรหรือนักกฎหมาย แพทย์ผู้เชีÉยวชาญ 
หัวหน้าพยาบาลหรือผู้เชÉียวชาญด้านการพยาบาล และบุคลากรอÉืนๆ ทÉีเห็นว่าจำเป็น ซึÉง 
ทีมทีÉปรึกษามีหน้าทีÉ ตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย ในการรักษาพยาบาลของ 
กรณีพิพาท ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะแก่ผู้อำนวยการโรงพยาบาลรวมทัÊงชีÊแนะแนวทาง
11 
ปฏิบัติของแพทย์ พยาบาล หรือผู้เกีÉยวข้อง ก่อนการเจรจาไกล่เกลีÉยและหากไม่สามารถ 
ไกล่เกลีÉยได้ ให้ทีมจัดเตรียมแนวทางการต่อสู้คดีไว้ รวมทัÊงเตรียมพยาน หลักฐานต่างๆ 
ให้ครบถ้วน ซึÉงทีมทÉีปรึกษานีÊอาจทำในระดับจังหวัดก็ได้ 
- ทีมเจรจาไกล่เกลีÉย ประกอบด้วย หัวหน้าทีมทีÉผู้อำนวยการกำหนด นิติ 
กรหรือฝ่ายกฎหมาย เจ้าหน้าทีÉทีÉได้รับการฝึกอบรมการไกล่เกลีÉยข้อพิพาทและ 
ผู้เกีÉยวข้องอืÉนๆ ทีมดังกล่าวมีหน้าทีÉทำการเจรจาต่อรองไกล่เกลีÉยข้อขัดแย้งเพืÉอให้เกิด 
ความเข้าใจและความพึงพอใจของทุกฝ่าย โดยอาจใช้ข้อมูลจากทีมทีÉปรึกษา 
ประกอบการพิจารณาดำเนินการก็ได้ 
- ทีมบริหารความเสÉียง ซึÉงมีหน้าทÉีแก้ไขข้อบกพร่อง ข้อจำกัด หรือจุดทÉี 
เป็นปัญหา เพÉือให้ระบบบริการมีความเหมาะสมยิÉงขึÊน อันเป็นการป้องกันเหตุในอนาคต 
ทัÊงนีÊ ในกรณีโรงพยาบาลไม่มีความพร้อมทÉีจะดำเนินการ 
ดังกล่าวข้างต้น อาจมีการแก้ไขเปลีÉยนแปลง เช่น อาจทำใน 
ลักษณะเครือข่ายกันเอง หรือ กับโรงพยาบาลอืÉนทีÉมีศักยภาพ 
ความพร้อมก็ได้ ตามความเหมาะสม 
1.3 ในกรณีผูเ้สียหายแจ้งข่าวต่อสÉือมวลชนโรงพยาบาลอาจต้องชีÊแจงโดย 
อาศัยข้อมูลจากทีมทีÉปรึกษา เพืÉอให้ประชาชนได้ทราบข้อเท็จจริงแล้วรายงานให้ 
ผู้บังคับบัญชาตามลำดับชัÊนจนถึงกระทรวงสาธารณสุขทันที 
1.4 ในกรณีผู้ป่วยหรือญาติฟ้องคดีต่อศาล โดยฟ้องโรงพยาบาลเป็นจำเลย 
ด้วย ให้ผู้อำนวยการโรงพยาบาลลงนามในใบแต่งทนายความแล้วส่งให้นิติกรดำเนินการ 
รวบรวมข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย เอกสารทÉีเกÉียวข้อง (ตามทÉีระบุไว้ท้ายหนังสือนีÊ) พร้อม 
หมายนัด, สำเนาคำฟ้อง ส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพืÉอแจ้งผู้ว่าราชการจังหวัด 
ให้ส่งพนักงานอัยการแก้ต่างคดีภายในระยะเวลาทีÉกฎหมายกำหนด โดยให้รายงาน 
กระทรวงสาธารณสุขทราบด้วย 
1.5 โรงพยาบาลอาจจัดตัÊงกองทุนหรือจัดหาเงินมาไว้ใช้ในการไกล่เกลÉีย 
ประนีประนอมยอมความในการไกล่เกลÉียชัÊนโรงพยาบาล 
1.6 จัดทำทะเบียนแพทย์ผู้เชีÉยวชาญเพืÉอร่วมในทีมทีÉปรึกษา (โดยอาจใช้ 
ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดก็ได้)
12 
2) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 
2.1 จัดให้มีทีมไกล่เกลีÉยระดับจังหวัด ในกรณีเห็นว่าควรมีทีมไกล่เกลีÉยระดับ 
อำเภอ ก็จะจัดให้มีทีมไกล่เกลÉียระดับอำเภอขึÊนก็ได้ เพÉือดำเนินการ เมÉือทีมไกล่เกลÉียของ 
โรงพยาบาลไม่สามารถยุติปัญหาได้ 
2.2 จัดทำทะเบียนแพทย์ผู้เชีÉยวชาญแต่ละสาขาเพืÉอร่วมในทีมทีÉปรึกษา 
2.3 กรณีถูกฟ้องคดี ต้องแต่งตัÊงคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทาง 
ละเมิด ตามข้อ 35 แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกีÉยวกับ 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าทÉี พ.ศ.2539 แลว้ส่งรายงานให้กระทรวงสาธารณสุข 
และพนักงานอัยการเพืÉอเป็นข้อมูลในการแก้ต่างคดีต่อไป 
2.4 ในกรณีโรงพยาบาลในสังกัดถูกฟ้องคดีให้รีบดำเนินการขอให้ผู้ว่า 
ราชการจังหวัดมอบหมายคดีให้อัยการจังหวัดแต่งตัÊงพนักงานอัยการแก้ต่างคดีโดยด่วน 
2.5 ควรจัดหาเงินกองทุนเพืÉอช่วยเหลือสถานพยาบาลในสังกัด เพืÉอการไกล่เกลีÉยข้อ 
พิพาท กรณีโรงพยาบาลต้องรับผิดชอบ และเพืÉอช่วยเหลือแพทย์ พยาบาล หรือผู้เกีÉยวข้อง 
2.6 กรณีผู้เสียหายหรือผู้ป่วยแจ้งความดำเนินคดีทางอาญา ให้จัดเตรียมการ 
ช่วยเหลือ แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าทีÉสาธารณสุข ในเรืÉองการไปพบพนักงานสอบสวน 
พนักงานอัยการ การประกันตัว รวมทัÊงประสานกลุ่มกฎหมาย กระทรวงสาธารณสุขเพÉือ 
เตรียมทนายความแก้ต่างคดีอาญา 
2.7 รายงานสถานการณ์ให้ผู้บังคับบัญชาของกระทรวงสาธารณสุขทราบ 
โดยเร็ว (ผู้ตรวจราชการกระทรวง, ปลัดกระทรวงสาธารณสุข) 
3) ผอู้าํนวยการโรงพยาบาล 
3.1 ควรให้มีการตัÊงทีมทÉีปรึกษา ทีมไกล่เกลÉียและทีม 
บริหารความเสีÉยงในโรงพยาบาล 
3.2 เมืÉอได้รับทราบปัญหา ควรรีบเข้าไปแก้ปัญหาโดย 
ตรวจสอบข้อเท็จจริง ข้อกฎหมายจากทีมทีÉปรึกษา ในกรณี 
เป็นเรืÉองเร่งด่วน ควรไปพบผู้ป่วยหรือญาติก่อนเพืÉอรับฟัง 
ปัญหาและตัดสินใจใดๆอนัเป็นการลดระดบัความรุนแรงของสถานการณ์ (หากมี) 
3.3 อาจเข้าร่วมในการดำเนินการของทีมทัÊงสามได้ตามความจำเป็น
13 
3.4 ในกรณีจำเป็นอาจให้ความช่วยเหลือเบืÊองต้นแก่ผู้เสียชีวิต เช่น การไป 
ร่วมงานศพ ช่วยค่าใช้จ่ายในการปลงศพ เป็นเจ้าภาพงานสวดศพ เป็นต้น เพืÉอเป็นการ 
เยียวยาความเสียหายอีกทางหนึÉง 
3.5 ควรจัดให้แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าทีÉทีÉเกีÉยวข้อง พบทีมทีÉปรึกษา โดย 
พยายามสร้างขวัญและกำลังใจให้เจ้าหน้าทีÉดังกล่าว เพืÉอสร้างความเข้าใจให้เป็นไปใน 
แนวทางเดียวกันและคลายความวิตกกังวลในการทำงาน 
3.6 กรณีเห็นว่า สถานการณ์ไม่เป็นไปในทางทีÉดี อาจแจ้งไปยังกลุ่มกฎหมาย 
เพÉือขอให้ส่งทนายความหรือนิติกรจากส่วนกลางไปช่วยเหลือก็ได้ 
3.7 หากเห็นว่า ทีมไกล่เกลีÉยของโรงพยาบาลไม่สามารถยุติปัญหาได้ ให้แจ้ง 
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เพÉือดำเนินการแก้ไข้ปัญหาในขัÊนต่อไป 
4) แพทย์ผู้เชีÉยวชาญ 
ซึÉงน่าจะเป็นแพทย์ผู้เชÉียวชาญเฉพาะสาขาทÉีขึÊนทะเบียนไว้ 
สำหรับเป็นพยานผู้เชีÉยวชาญ หรือ เป็นบุคคลในทีมทีÉปรึกษา มีบทบาท 
หน้าทีÉ คือ 
4.1 ตรวจสอบข้อเท็จจริงจากเวชระเบียน เอกสารหลักฐาน 
ต่างๆทีÉเกีÉยวกับการรักษากรณีมีข้อขัดแย้ง 
4.2 ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ ต่อผู้อำนวยการโรงพยาบาล หรือ นายแพทย์สาธารณสุข 
จังหวัด หรือ ทีมไกล่เกลีÉย หรือ ทีมบริหารความเสีÉยง รวมถึงแพทย์ พยาบาลและผู้เกีÉยวข้อง 
4.3 จัดทำความเห็นเป็นเอกสาร เพÉือประกอบคำให้การต่อสู้คดีในชัÊน 
พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาล รวมทัÊงเข้าเบิกความเป็นพยานในศาล 
5) นิติกร 
(ก) นิติกรของโรงพยาบาล มีบทบาทหน้าทÉี ดังนีÊ 
1. เป็นคณะทำงานในทีมทีÉปรึกษาและทีมไกล่เกลีÉยตามทีÉได้รับมอบหมาย 
2. ตรวจสอบข้อเท็จจริง การรักษาพยาบาลทีÉถูกอ้างว่ามีปัญหา 
3. ตรวจสอบข้อกฎหมายทีÉเกีÉยวข้องกับการรักษาพยาบาล และข้อเท็จจริงดังกล่าว 
4. ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ ต่อทีมทีÉปรึกษา ผู้อำนวยการโรงพยาบาล 
แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าทีÉทีÉเกีÉยวข้องกับกรณีพิพาท
14 
5. กรณีโรงพยาบาล หรือแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าทีÉสาธารณสุข ถูก 
แจ้งความดำเนินคดีอาญาต่อพนักงานสอบสวน ให้จัดเตรียมคำให้การผู้เกีÉยวข้อง 
(ขัÊนตอนการรักษา ประเด็นทÉีถูกกล่าวอ้าง) เวชระเบียน เอกสารหลักฐานต่างๆทÉี 
เกÉียวข้อง รวมทัÊงไปพบพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ แพทย์ หรือพยาบาล ผู้ถูก 
กล่าวหา และให้แจ้งไปยังกลุ่มกฎหมาย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทันที 
เพÉือให้จัดส่งทนายความมาช่วยเหลือ ทัÊงนีÊต้องจัดเตรียมเอกสารการประกันตัวให้พร้อม 
(อาจใช้ตำแหน่งของบุคคลผู้เป็นนายประกันก็ได้ เช่น ผู้อำนวยการโรงพยาบาล เป็นต้น) 
กรณีศาลประทับรับฟ้องให้จัดเตรียมใบแต่งทนายความด้วย 
6. กรณีถูกผู้เสียหายฟ้องคดีอาญาให้จัดเตรียมคำให้การผู้เกÉียวข้อง(ขัÊนตอน 
การรักษา ประเด็นทีÉถูกกล่าวอ้าง) เวชระเบียน เอกสารหลักฐานต่างๆทีÉเกีÉยวข้องพร้อมใบ 
แต่งทนายความส่งให้แก่กระทรวงสาธารณสุข เพืÉอส่งให้อัยการแก้ต่างคดีต่อไป 
7. กรณีโรงพยาบาลหรือแพทย์ถูกฟ้องคดีแพ่งต่อศาล ให้จัดเตรียมข้อมูล 
เอกสารหลักฐานต่างๆ ใบแต่งทนายความทีÉลงนามโดยผู้อำนวยการโรงพยาบาล 
ในกรณีฟ้องโรงพยาบาล หรือโดยแพทย์ พยาบาลทÉีถูกฟ้องคดี รวมทัÊง 
หมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง ส่งให้กับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพืÉอส่งให้พนักงาน 
อัยการทันที ในกรณีพนักงานอัยการเป็นผู้ฟ้องคดีอาญา ให้รีบแจ้งกลุ่มกฎหมายทราบ 
โดยทันที เพÉือจัดส่งทนายความมาให้ความช่วยเหลือ ทัÊงนีÊให้รายงานปลัดกระทรวง 
สาธารณสุขทราบโดยด่วน 
8. เป็นผู้ประสานงานคดี 
(ข) นิติกร สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด มีบทบาทหน้าทÉี ดังนีÊ 
1. ปฏิบตัิงานเช่นเดียวกนักบั นิติกรโรงพยาบาล กรณีโรงพยาบาลไม่มี 
นิติกรประจำ 
2. เป็นผู้ดำเนินการรวบรวมข้อมูลต่างๆ เสนอนายแพทย์สาธรณสุข 
จังหวัด ขอให้ผู้ว่าราชการจังหวัด มอบคดีให้อัยการจังหวัด แก้ต่างคดีให้กับโรงพยาบาล 
หรือแพทย์ พยาบาลทÉีถูกฟ้องคดีแพ่ง รวมทัÊงรายงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทราบ 
3. เร่งดำเนินการสอบสวนหาข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ตามข้อ 35 
แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกีÉยวกับความรับผิดทาง 
ละเมิดของเจ้าหน้าทÉี พ.ศ.2539 ซึÉงในกรณีทÉีผู้เสียหายฟ้องคดีต่อศาล ให้ผู้มีอำนาจ
15 
แต่งตัÊงคณะกรรมการโดยไม่ชักช้าและให้ประสานงานกับอัยการสูงสุดเพÉือเตรียมการ 
ต่อสู้คดีต่อไป (ควรจะแจ้งเสร็จภายใน 30-60 วัน) เพราะต้องจัดส่งให้พนักงานอัยการ 
พิจารณาประกอบการแก้ต่างคดี และรายงานให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขทราบ 
4. ประสานคดีกับพนักงานอัยการ นิติกร หรือทนายความจากส่วนกลาง 
นิติกร โรงพยาบาลและผู้เกีÉยวข้องอืÉนๆ 
5. งานอืÉนๆตามทีÉได้รับมอบหมาย 
6) แพทย์ผู้ถูกกล่าวหา ควรมีบทบาทหน้าทÉี ดังนีÊ 
6.1 เมืÉอเกิดมีปัญหาหรือเชืÉอว่าอาจมีปัญหา ให้แจ้ง 
ผบู้งัคบับญัชาทราบโดยเร็ว ไม่ตอ้งตกใจหรือวิตกกังวล และไม่ 
ควรรีบให้ความเห็นต่อเหตุการณ์โดยไม่มีการตรวจสอบก่อน 
โดยเฉพาะต่อผู้ป่วยหรือญาติ ทัÊงนีÊไม่ควรกล่าวหาบุคคลอÉืนว่าเป็น 
ผู้ทำให้เกิดเหตุการณ์เช่นนัÊน 
6.2 ตรวจสอบเวชระเบียน ขัÊนตอนการรักษา เอกสารหลักฐานเกÉียวกับการ 
รักษาพยาบาล ว่าถูกต้องหรือไม่ อย่างไร โดยอาจหารือแพทย์ผู้เชีÉยวชาญ 
6.3 จัดเตรียมทำข้อเท็จจริงโดยอธิบายขัÊนตอนการรักษาพยาบาล อ้างอิงหลกั 
วิชาการและตอบประเด็นปัญหาทีÉถูกกล่าวหา ร้องเรียน หรือถูกฟ้องโดยละเอียด 
เนืÉองจากต้องใช้ประกอบการพิจารณาของทีมทีÉปรึกษา ทีมไกล่เกลีÉย ทีมบริหารความ 
เสÉียง เป็นคำให้การในชัÊนพนักงานสอบสวน ชัÊนพนักงานอัยการและในชัÊนศาล ซึÉงเป็น 
ส่วนทีÉมีความสำคัญมาก 
6.4 หากประสงค์จะได้รับคำแนะนำ คำปรึกษาข้อกฎหมายหรืออืÉนๆ สามารถ 
แจ้งนิติกรโรงพยาบาล นิติกรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือกลุ่มกฎหมายได้ทันที 
6.5 กรณีได้รับแจ้งว่า ผู้ป่วยหรือญาติ แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงาน 
สอบสวน ให้รีบแจ้งผู้อำนวยการโรงพยาบาล และกลุ่มกฎหมาย สำ นักงาน 
ปลัดกระทรวงทันที และดำเนินการตามข้อ 6.1-6.4 
6.6 กรณีได้รับหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง คดีแพ่งหรือคดีอาญา ให้ 
ดาํเนินการตามข้อ 6.5 และลงนามในใบแต่งทนายความทÉีนิติกรจะนำไปให้ เพÉือส่งให้ 
พนักงานอัยการหรือทนายความ ดำเนินการแก้ต่างคดีต่อไป
16 
6.7 ควรปฏิบัติตามคำแนะนำของทีมทีÉปรึกษา ผู้บังคับบัญชาและฝ่าย 
กฎหมาย หากมีข้อสงสัยให้สอบถามทันที 
7) พยาบาลผู้ถูกกล่าวหา มีบทบาทหน้าทÉี ดังนีÊ 
7.1 เมืÉอเกิดมีปัญหาหรือเชืÉอว่าอาจมีปัญหา ให้แจ้ง 
ผู้บังคับบัญชาทราบโดยเร็ว ไม่ต้องตกใจหรือวิตกกังวล และไม่ 
ควรรีบให้ความเห็นต่อเหตุการณ์โดยไม่มีการตรวจสอบก่อน 
โดยเฉพาะต่อผู้ป่วยหรือญาติ ทัÊงนีÊไม่ควรกล่าวหาบุคคลอÉืนว่า 
เป็นผู้ทำให้เกิดเหตุการณ์เช่นนัÊน 
7.2 ตรวจสอบเวชระเบียน บันทึกการพยาบาล ขัÊนตอนการดูแลรักษาในส่วน 
ทÉีตนรับผิดชอบว่าถูกต้องหรือไม่ โดยอาจหารือหัวหน้าฝ่ายการพยาบาลหรือผู้เชÉียวชาญ 
ด้านการพยาบาล 
7.3 รายงานข้อเท็จจริงต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับ 
7.4 จัดทำข้อเท็จจริงรายละเอียดการรักษาพยาบาลในส่วนทีÉเกีÉยวข้องกับ 
ตนเอง รวมทัÊงอธิบายประเด็นทÉีถูกกล่าวหาหรือฟ้องร้องให้ชัดเจน โดยอาจอ้างอิงหลัก 
วิชาการประกอบ เพÉือเป็นเอกสารประกอบการต่อสู้คดีในชัÊนพนักงานสอบสวน ชัÊน 
อยัการ ชÊนัศาล 
7.5 หากประสงค์จะหารือขอความเห็น คำแนะนำในข้อกฎหมาย สามารถ 
หารือนิติกรโรงพยาบาล นิติกรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหรือกลุ่มกฎหมาย 
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 
7.6 กรณีได้รับแจ้งว่า ผู้ป่ วยหรือญาติ แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงาน 
สอบสวน ให้รีบแจ้งผู้อำนวยการโรงพยาบาล และกลุ่มกฎหมาย สำ นักงาน 
ปลัดกระทรวงทันที และดำเนินการตามข้อ 7.1-7.5 
7.7 กรณีได้รับหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง คดีแพ่งหรือคดีอาญา ให้ 
ดาํเนินการตามข้อ 6.5 และลงนามในใบแต่งทนายความทÉีนิติกรจะนำไปให้ เพÉือส่งให้ 
พนกังานอัยการหรือทนายความ ดำเนินการแก้ต่างคดีต่อไป 
7.8 ควรปฏิบัติตามคำแนะนำของทีมทีÉปรึกษา ผู้บังคับบัญชาและฝ่าย 
กฎหมาย หากมีข้อสงสัยให้สอบถามทันที
17 
8) กลุ่มกฎหมาย มีบทบาทหน้าทÉี ดังนีÊ 
8.1 รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง กรณีมีข้อพิพาท 
เกิดขึÊนจริง หรือเชÉือว่าจะเกิดขÊึนในสถานพยาบาล สังกัด 
กระทรวงสาธารณสุข 
8.2 ให้คำปรึกษา แนะนำ การดำเนินคดีตาม 
กฎหมายแก่แพทย์ และบุคลากรสาธารณสุข รวมถึงว่าความคดีอาญาทีÉพนักงานอัยการ 
เป็นโจทก์ฟ้ อง 
8.3 เจรจาต่อรองกับผู้เสียหายทัÊงในรูปแบบคณะทำงาน หรือบุคคลหรือ 
ร่วมกับทีมของสถานพยาบาล 
8.4 ไกล่เกลีÉยข้อพิพาทของสถานพยาบาลกับผู้เสียหาย 
8.5 เตรียมคดีเพืÉอส่งพนักงานอัยการแก้ต่างคดีแพ่ง อาญา (พยานบุคคล 
เอกสารวัตถุทีÉเกีÉยวข้อง) 
8.6 เตรียมคดีและแก้ต่างคดีอาญาทีÉพนักงานอัยการหรือผู้เสียหายฟ้อง 
คดีอาญา 
8.7 ศึกษา วิเคราะห์ ปัญหาต่างๆทัÊงในส่วนคดีและการให้บริการทาง 
การแพทย์และหาแนวทางป้องกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว 
8.8 เผยแพร่ให้ความรู้ด้านกฎหมายแก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข 
กฎหมายเกีÉยวกับเวชระเบียน 
เวชระเบียนคืออะไร 
ตามพจนานุกรมไม่ได้บัญญัติคำว่า “เวชระเบียน” เป็นการเฉพาะ แต่ 
ถา้เรานำความหมายของคาํว่า “เวช” ซÉึงแปลว่า รักษาโรค รวมกับคำว่า “ระเบียน” 
ซึÉงแปลว่า ทะเบียนหรือการจดลักษณะหรือรายการงานต่าง ๆเพÉือเป็นหลักฐาน คำว่า 
“เวชระเบียน” น่าจะหมายถึง บันทึกหรือรายงานการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนันÉเอง 
เวชระเบียนมีความสำคัญอย่างไร 
เวชระเบียนมีความสำคัญต่อบุคคลอย่างน้อย 4 กลุ่ม คือ
18 
ผ้ปู่วย 
1. เป็นหลักฐานในเรืÉองประวัติการเจ็บป่วย ผลการตรวจร่างกาย 
การตรวจทางห้องทดลอง โรค การให้การรักษาพยาบาล 
ตลอดจนปัจจัยต่าง ๆ ทÉีมีผลต่อการเจ็บป่วย สุขภาพอนามยัของผูป้่วย 
ทีÉจะช่วยให้แพทย์รักษาผู้ป่วยอย่างถูกต้อง 
2. เป็นหลักฐานทางกฎหมายทีÉจะใช้ในการเรียกร้องสิทธิของผู้ป่วย 
เช่น ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากการรักษาพยาบาลจากแพทย ์ เป็นหลกัฐานการขอรับเงิน 
ประกนัภยั เป็นตน้ 
แพทย์ 
1. เป็นสืÉอในการติดต่อระหว่างทีมงานทีÉรักษา 
ดูแลผู้ป่วยในการติดตามดูแลผู้ป่วย 
2. เป็นข้อมูลทีÉทำให้แพทย์รักษาพยาบาลได้ 
อย่างถูกต้อง เพราะคนไข้มาก แพทย์อาจจำไม่ได้ว่าใครเป็นอะไร ได้รักษาอะไรไปบ้าง 
โรงพยาบาล 
1. เป็นหลักฐานประเมินประสิทธิภาพในการให้บริการผู้ป่วยว่า มีความ 
ละเอียดถีÉถ้วนและรอบคอบหรือไม่ อย่างไร 
2. เป็นแหล่งข้อมูลในการทำสถิติของโรงพยาบาลและสถิติของประเทศ 
3. ใช้เป็นข้อมูลในการเก็บค่าบริการของโรงพยาบาล 
ผ้สูนใจ 
เวชระเบียนทีÉถูกต้องสมบูรณ์ มีประโยชน์ต่อการศึกษาและวิจัย เช่น 
รายงานผปู้่วยทÉีน่าสนใจ อุบัติการณ์ สาเหตุต่างๆ การวินิจฉัยทางคลินิกอÉืน ๆ รวมทÊงัมี 
ประโยชน์ต่อผู้เขียน นักศึกษาแพทย์ พยาบาล และผู้อยู่ในกระบวนการรักษาผู้ป่วยทุก 
วิชาชีพ 
เวชระเบียนเป็นของใคร 
โดยหลักการต้องดูว่าใครเป็นผู้จัดทำ ซึÉงในความเป็นจริงสถานพยาบาล 
เป็นผู้จัดทำเวชระเบียนเพืÉอประโยชน์ในการดูแลรักษาผู้ป่วย ในส่วนของสถานพยาบาล 
ของราชการ ก็ต้องพิจารณาว่า สภาพของเวชระเบียนเป็นอย่างไร ตามพระราชบัญญตัิ 
ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 ในมาตรา 4 กำหนดไว้ดังนีÊ
19 
“ข้อมูลข่าวสาร” หมายถึง สิÉงทีÉสืÉอความหมายให้รู้เรืÉองราว ข้อเท็จจริง 
ข้อมูลหรือสิÉงใด ๆ ไม่ว่าการสÉือความหมายนัÊนจะทำได้โดยสภาพของสิÉงนัÊนเอง หรือ 
โดยผ่านวิธีการใด ๆ และไมว่าจะได้จัดทำไว้ในรูปเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ 
แผนผัง แผนทีÉ ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดย 
คอมพิวเตอร์ หรือวิธีอÉืนใดทÉีทำให้สิÉงทÉีบันทึกไว้ปรากฎได้ 
“ขอ้มูลข่าวสารของทางราชการ” หมายความว่า ขอ้มูลข่าวสารทÉีอยู่ใน 
ความครอบครองหรือดูแลของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกีÉยวกับการ 
ดำเนินงานของรัฐ หรือข้อมูลเกีÉยวกับเอกชน 
เมืÉอดูจากตัวเวชระเบียน จะเห็นว่า เวชระเบียนถือเป็นข้อมูลข่าวสาร 
และอยู่ในความครอบครองของโรงพยาบาล จึงถือเป็นขอ้มูลข่าวสารของทางราชการ 
แต่เมืÉอพิจารณาดูในรายละเอียดแล้วจะพบว่า เป็นข้อมูลเกีÉยวกับประวัติผู้ป่วยหรือ 
ประวตัิสุขภาพ ซÉึงตามกฎหมายขอ้มูลข่าวสาร ขอ้มูลประวตัิผูป้่วยถือเป็นขอ้มูลส่วน 
บุคคล ดังนัÊน เวชระเบียนจึงเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลทÉีอยู่ในความครอบครองของ 
ทางราชการหรือเป็นข้อมูลของทางราชการนัÉนเอง ดังนัÊนเวชระเบียนจึงเป็นของ 
โรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลเป็นผู้มีสิทธิในเวชระเบียนดังกล่าว ทัÊงนีÊ ย่อมหมายความ 
รวมถึงหน่วยงานต้นสังกัดของโรงพยาบาลด้วย 
การเปิดเผยเวชระเบียน 
ตามมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญติข้อมูล 
ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 บญัญตัิดงันÊี 
“ข้อมูลข่าวสารของราชการทีÉมีลักษณะอย่างใด 
อย่างหนึÉงดังต่อไปนีÊ หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าทÉีของรัฐอาจมี 
คำสังÉมิให้เปิดเผยก็ได้โดยคาํนึงถึงการปฎิบตัิหน้าทÉีตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ 
ประโยชน์สาธารณะ และประโยชน์ของเอกชนทีÉเกีÉยวข้องประกอบกัน 
(1) .................................................................................. 
(2) .................................................................................. 
(3) .................................................................................. 
(4) ..................................................................................
20 
(5) รายงานทางการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ซึÉงการ 
เปิดเผยจะเป็นการรุกลÊำสิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร 
(6) .............................................................................. 
(7) .............................................................................. 
คาํสังÉมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการจะกำหนดเงÉือนไขอย่างใด 
ก็ได้ แต่ต้องระบุไว้ด้วยว่า ทีÉเปิดเผยไม่ได้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใด และ 
เพราะเหตุใด และให้ถือว่า การมีคำสัÉงเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นดุลยพินิจ 
โดยเฉพาะของเจ้าหน้าทÉีของรัฐ ตามลำดับการบังคบับัญชา แต่ผู้ขออาจอุทธรณ์ต่อ 
คณะกรรมการวินิฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้ 
กรณีเวชระเบียนเป็นรายงานทางการแพทย์และเป็น ข้อมูลข่าวสาร 
ส่วนบุคคล ตามมาตรา 15(5) ซึÉงกฎหมายกำหนดให้เป็นดุลยพินิจของเจ้าหน้าทÉีของรัฐ 
ว่าจะเปิดเผยหรือไม่ก็ได้ แต่เนืÉองจากเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลด้วย กฎหมายได้ 
กำหนดการพิจารณาเปิดเผยข้อมูลในมาตรา 24 กล่าวคือ 
1. จะเปิดเผยโดยปราศจากความยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าของข้อมูลทีÉให้ 
ไว้ล่วงหน้าหรือในขณะนัÊนไม่ได้ คือต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลก่อนเท่านัÊน 
2. กรณีทีÉไม่จำเป็นต้องได้รับความยินยอม 
(1) ต่อเจ้าหน้าทีÉของรัฐในหน่วยงานของตน เพืÉอการนำไปใช้ 
ตามอำนาจหน้าทÉีของหน่วยงานของรัฐนัÊน 
(2) เป็นการใช้ข้อมูลตามปกติภายในวัตถุประสงค์ของการจัดให้ 
มีระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลนัÊน 
(3) ต่อหน่วยงานของรัฐทีÉทำงานด้านการวางแผนหรือการสถิติ สำ 
มะโนต่าง ๆ ซึÉงมีหน้าทÉีต้องรักษาข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลไว้ ไม่ให้เปิดเผยต่อไปยังผู้อÉืน 
(4) เป็นการให้เพืÉอประโยชน์ในการศึกษาวิจัยโดยไม่ระบุชีÉอ 
หรือส่วนทีÉทำให้รู้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลทีÉเกีÉยวกับบุคคลใด 
(5) ต่อหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร หรือหน่วยงาน 
อÉืนของรัฐตามมาตรา 26 วรรคหนึÉง เพิÉอตรวจดูคุณค่าในการเก็บรักษา 
(6) ต่อเจ้าหน้าทีÉของรัฐเพืÉอการป้องกันการฝ่าฝืนหริอไม่ปฎิบัติ 
ตามกฎหมาย การสืบสวน การสอบสวนหรือการฟ้องคดี ไม่ว่าคดีประเภทใดก็ตาม
21 
(7) เป็นการให้ซึÉงจำเป็นเพÉือการป้องกันหรือระงับอันตรายต่อ 
ชีวิตหรือสุขภาพของบุคคล 
(8) ต่อศาล และเจ้าหน้าทีÉของรัฐหรือบุคคลทีÉมีอำนาจตาม 
กฎหมายทีÉจะขอข้อเท็จจริงดังกล่าว 
(9) กรณีอืÉนตามทีÉกำหนดในพระราชกฤษฎีกา 
การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลตามวรรคหนึÉง (3) (4) (5) 
(6) (7) (8)และ (9) ให้มีการจัดทำบัญชีแสดงการกำกับไว้กับข้อมูลข่าวสารนัÊน 
สิทธิของผ้เูป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (มาตรา 25) 
1. มีสิทธิทีÉจะได้รู้ถึงข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลทีÉเกีÉยวกับตน โดย 
- ยืÉนคำขอเป็นหนังสือ 
- หน่วยงานของรัฐทÉีควบคุมดูแลข้อมูลนัÊน จะต้องให้บุคคล 
นัÊนหรือผู้กระทำการแทนบุคคลนัÊนตรวจดูหรือรับสำเนาข้อมูลนัÊน 
- ถ้ามีส่วนต้องห้ามตามมาตรา 14 มาตรา 15 ให้ลบหรือตัดทอน 
หรือกระทำโดยประการอÉืนใดทÉีไม่เป็นการเปิดเผยข้อมูลนัÊน 
- หน่วยงานเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการสำเนาเอกสารและรับรองเอกสารได้ 
- การเปิดเผยรายงานการแพทย์ทีÉเกีÉยวกับบุคคลใด กรณีมีเหตุอัน 
ควรจะเปิดเผยต่อเฉพาะแพทย์ทÉีบุคคลนัÊนมอบหมายก็ได้ 
2. มีสิทธิขอแก้ไข เปลีÉยนแปลงหรือลบข้อมูลทีÉเห็นว่า ไม่ถูกต้องได้ 
แต่เจ้าหน้าทÉีจะเป็นผู้พิจารณา หากไม่ยอมทำตาม ผุ้นัÊนมีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ 
วินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้ 
เมÉือเราพิจารณาบทบัญญัติดังกล่าวแลว้ จะพบว่า 
1. เวชระเบียนเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลทีÉอยู่ในความครอบครอง 
ของราชการ 
2. จะเปิดเผยให้กับหน่วยงานของรัฐอืÉนหรือผู้อืÉนโดยมิได้รับความ 
ยินยอมจากเจ้าของข้อมูลไม่ได้ 
3. เจ้าของข้อมูลเวชระเบียนมีสิทธิตรวจดูและรับสำเนาเวชระเบียนได้
22 
4. ผู้กระทำการแทนเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลสามารถขอตรวจดูและ 
รับสำเนาเวชระเบียนได้ แต่ถ้าเป็นกรณีผู้เป็นเจ้าของข้อมูลมอบอำนาจไว้ล่วงหน้า และ 
เสียชีวิตก่อนการใช้ใบมอบอำนาจนัÊน ใบมอบอำนาจดังกล่าวเป็นอันใช้ไม่ได้ 
5. เจ้าหน้าทีÉอาจไม่เปิดเผยข้อมูลเวชระเบียนก็ได้ถ้าเห็นว่า การ 
เปิดเผยจะเป็นการล่วงลÊำสิทธิของเจ้าของข้อมูลโดยไม่สมควร 
6. ถ้าเจ้าของข้อมูลเป็นผู้เยาว์ ผู้ใช้อำนาจปกครอง(บิดา มารดา 
ผูป้กครอง) มีสิทธิดำเนินการได้ กรณีผู้เยาว์อายุไม่ตํÉากว่า 15 ปี ต้องได้รับความ 
ยินยอมจากผู้เยาว์ด้วย 
7. ถา้เป็นบุคคลไร้ความสามารถ ผู้อนุบาลขอแทนได้ (บุคคลไร้ 
ความสามารถ คือ บุคคลวิกลจริตทÉีศาลมีคำสังÉให้เป็นบุคคลไร้ความสามารถ / ผอู้นุบาล 
คือ บุคคลทีÉมีสิทธิทำการแทนบุคคลไร้ความสามารถ) 
8. ถ้าเป็นบุคคลเสมือนไร้ความสามารถ (กายพิการ จิตฟัÉนเฟื อนไม่ 
สมประกอบหรือมีเหตุอย่างเดียวกัน) ผพูิ้ทกัษม์ีสิทธิดาํเนินการได้ 
9. ถ้าเจ้าของข้อมูลถึงแก่กรรมและมิได้ทำพินัยกรรมไว้ บุคคล 
ดังต่อไปนีÊขอแทนได้ตามลำดับ 
- บุตรชอบด้วยกฎหมายหรือบุตรบุญธรรม 
- คู่สมรส 
- บิดามารดา 
- ผู้สืบสันดาน 
- พีÉน้องร่วมบิดามารดา 
- คณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร 
อย่างไรก็ตาม มี พระราชบัญญัติ สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 กำหนดไว้ดังนีÊ 
มาตรา 7 ขอ้มูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลบัส่วนบุคคล ผูใ้ดจะ 
นำไปเปิดเผยในประการทÉีน่าจะทำให้บุคคลนัÊนเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนัÊน 
เป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนัÊนโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้อง 
เปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใดๆผู้ใดจะอาศัยอำนาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูล 
ข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอืÉนเพืÉอขอเอกสารเกีÉยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของ 
บุคคลทÉีไม่ใช่ของตนไม่ได้
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน

Contenu connexe

Tendances

แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุดแบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุดwitchcom
 
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำสื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำsavokclash
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไขบันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไขสภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยPapatchaya Jakchaisin
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค Terapong Piriyapan
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าวบทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าวนางสาวอัมพร แสงมณี
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingVai2eene K
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ252413
 
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมวิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมPrincess Mind
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIMDataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIMPiyanat Nimkhuntod
 

Tendances (20)

แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุดแบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
แบบตรวจสอบระบบไฟฟ้าก่อนวันหยุด
 
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำสื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไขบันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
บันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยตรวจสอบแก้ไข
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทย
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าวบทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา campingการปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น วิชา camping
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
 
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้องคำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
คำร้องขอแก้ไขเพิ่มเติมฟ้อง
 
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมวิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIMDataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
Dataset 16 แฟ้ม ของ ECLAIM
 

En vedette

กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์Utai Sukviwatsirikul
 
คำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตาย
คำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตายคำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตาย
คำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตายWatcharaphat Maneechaeye
 
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุขคำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุขปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 

En vedette (20)

Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
Present 17 2-55 eng ver
Present 17 2-55 eng verPresent 17 2-55 eng ver
Present 17 2-55 eng ver
 
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ทำอย่างไร ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
คู่มือกฎหมายและคดีทางการแพทย์
 
คำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตาย
คำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตายคำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตาย
คำพิพากษาคดีแพทย์ฉีดยาชา คนไข้ตาย
 
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
 
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
คำพิพากษาศาลฎีกา(แพ่ง)คดีร่อนพิบูลย์ 11พ.ค.59
 
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล  ลิ้มสถิตย์
การป้องกันการฟ้องร้อง..อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
10 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
แถลงการณ์คดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์
แถลงการณ์คดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์แถลงการณ์คดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์
แถลงการณ์คดีผ่าไส้ติ่งร่อนพิบูลย์
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหารเกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุขคำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
คำพิพากษาศาลฎีกา คดีดญ.มาริสา ทินนึง-กระทรวงสาธารณสุข
 
คำพิพากษาคดีอาญา ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำพิพากษาคดีอาญา ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์คำพิพากษาคดีอาญา ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
คำพิพากษาคดีอาญา ผ่าไส้ติ่งรพ.ร่อนพิบูลย์
 

Similaire à คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน

คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...larnpho
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2patientrightsth
 
TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERtaem
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์taem
 

Similaire à คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน (7)

คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บร...
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
 
TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ER
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
ตัวอย่างวินัย5 52
ตัวอย่างวินัย5 52ตัวอย่างวินัย5 52
ตัวอย่างวินัย5 52
 
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
การดำเนินคดีอาญาของผู้เยาว์
 
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
ชาวฉุกเฉินสบายใจ...ไม่ถูกฟ้อง อ.ไพศาล ลิ้มสถิตย์
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

คู่มือการปฏิบัติของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในกรณีเกิดข้อพิพาทในการให้บริการด้าน

  • 1.
  • 2. คำนำ ปัจจุบันสถานการณ์ข้อพิพาทในเรืÉองเกีÉยวกับการรักษาพยาบาลกำลงั ทวีความรุนแรงขึÊนเรÉือยๆ ข้อพิพาททÉีสามารถพูดจาทำความเข้าใจกันได้กลายเป็น คดีความขึÊนสู่ศาลมากขึÊน ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆตามมามากมาย เช่น ความสัมพันธ์ของ แพทย์กับผู้ป่วยเริÉมเป็นไปในทางไม่ดี ระบบบริการเริÉมมีปัญหาเนืÉองจากบุคลากร ทางการแพทย ์มีความวิตกกังวลต่อการประกอบอาชีพของตนเองกับตัวบทกฎหมายทัÊง ทางแพ่ง ทางอาญา มีการส่งต่อผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น การไม่ทำการผ่าตัดในโรงพยาบาล ชุมชน การส่งตรวจอย่างละเอียดเกินความจาํเป็น เป็นตน้ นอกจากนÊีระบบกฎหมายทÉี กำหนดให้คดีเกÉียวกับการรักษาพยาบาลอยู่ในข่าย เป็นคดีผูบ้ริโภคตามพระราชบญัญตัิ วิธีพิจารณาความผู้บริโภค พ.ศ. 2551 ทำให้การฟ้องคดีทำได้ง่าย จึงเป็นเหตุหนึÉงทำให้ ผู้ป่วยหรือญาติมีช่องทางทÉีจะดำเนินคดีกับเจ้าหน้าทÉีหรือหน่วยงานต้นสังกัดมากขึÊน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขโดยกลุ่มกฎหมายตระหนักถึงปัญหาความ วิตกกังวลดังกล่าว จึงได้จัดทำคู่มือแนวทางการปฏิบัติกรณีเกิดข้อพิพาทหรือเชืÉอว่าจะ เกิดข้อพิพาททางการแพทย์ ซึÉงมีเนืÊอหาสาระเป็นการให้ความรู้วิชาการทางกฎหมาย เกีÉยวกับการปฏิบัติงานทางการแพทย์ กระบวนการในการดำเนินการเมืÉอเกิดข้อพิพาท หรือเชืÉอว่าน่าจะเกิดข้อพิพาท ข้อควรปฏิบัติ บทบาทหน้าทีÉของผู้เกีÉยวข้องในแต่ละ ขัÊนตอน โดยมีวัตถุประสงค์เพÉือสร้างความเชÉือมันÉและมันÉใจว่าเมÉือมีข้อพิพาทเกิดขึÊนจะ มีผู้ช่วยเหลือแพทย์และเจ้าหน้าทีÉในการดำเนินการตามกฎหมายหรือระเบียบราชการ โดยไม่ตอ้งวิตกกังวลว่าควรจะตอ้งปฏิบตัิอย่างไรหรือติดต่อกับใครบ้าง ซึÉงจะทำให้ แพทย์หรือเจ้าหน้าทีÉมีกำลังใจในการปฏิบัติงานต่อไปตามปกติและจะส่งผลถึงการ ให้บริการทÉีดีต่อประชาชนด้วย กลุ่มกฎหมายหวังเป็นอย่างยิÉงว่า คู่มือฉบับนีÊจะเป็น เครÉืองมืออย่างหนึÉงในกระบวนการแก้ไขปัญหาของแพทย์และเจ้าหน้าทÉีในกรณีเกิดขอ้ พิพาททางการรักษาพยาบาล ในการนีÊ ขอขอบพระคุณผู้มีส่วนในการทำคู่มือฉบับนีÊและหากท่าน ผู้อ่านมีข้อเสนอแนะประการใดโปรดแจ้งให้ทราบด้วยเพืÉอการปรับปรุงคู่มือให้มีความ สมบูรณ์ยิÉงขึÊน คณะผู้จัดทำ
  • 3. สารบัญ หน้า แนวทางปฏิบัติกรณีมีข้อพิพาทหรือเชืÉอว่าจะมีข้อพิพาทในสถานพยาบาล กระบวนการแกไ้ขขอ้พิพาท 2 กรณีผู้เสียหายแจ้งความร้องทุกข์ 3 กรณีผู้เสียหายยืÉนฟ้องคดีอาญาเอง 6 กรณีผู้เสียหายหรือผู้ป่วยฟ้องคดีแพ่งหรือคดีผู้บริโภค 7 บทบาทหน้าทีÉผู้เกีÉยวข้อง 10 สถานพยาบาล 10 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 12 ผอู้าํนวยการโรงพยาบาล 12 แพทย์ผู้เชีÉยวชาญ 13 นิติกร 14 แพทย์ผู้ถูกกล่าวหา 15 พยาบาลผู้ถูกกล่าวหา 16 กลุ่มกฎหมาย 17 กฎหมายเกีÉยวกับเวชระเบียน กฎหมายเกีÉยวกับเวชระเบียน 17 สิทธิของผู้เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล 21 การแก้ไขเพิÉมเติมในเวชระเบียน 27 ความรู้กฎหมายทÉัวไป ความรู้เบืÊองต้นเกÉียวกับคดีแพ่ง 30 ความรับผิดทางละเมิด 32 ความรู้เบืÊองต้นเกÉียวกับกฎหมายอาญา 36 การประกนัตวั 39 คดีผู้บริโภค 45 บรรณานุกรม 51
  • 4. (2) ภาคผนวก - คำสัÉงกรมตำรวจทีÉ 622/2536 - หนงัสือสาํนกังานอยัการสูงสุดทÉี อส(สคอ). 0019/ว 235 - หนงัสือกรมตาํรวจทÉี ตช 0031.212/5107 - ระเบียบกระทรวงการคลงั - พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 - แนวทางการจัดเตรียมเอกสาร พยานหลักฐานและทำคำให้การทีÉจะต้องส่งแก่ กระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานอัยการ - ตวัอย่างใบแต่งทนายความ
  • 5. แนวทางปฏิบัติกรณีมีข้อพิพาทหรือเชืÉอว่าจะมีข้อพิพาทในสถานพยาบาล เมืÉอมีผู้ป่วยมาใช้บริการ ปกติจะมีระบบบริการหรือกระบวนการขัÊนตอนทÉี สถานพยาบาลกำหนดขึÊน ซึÉงการให้บริการเป็นไปตามนัÊน บุคลากรทัÊงหลายจึงต้อง ตระหนักและคำนึงถึงคุณภาพบริการ ตัÊงแต่แรกรับผู้ป่วยเข้ามาในระบบบริการ จนกระทังÉเสร็จสิÊนการให้บริการ โดยพยายามให้การบริการเป็นไปตามมาตรฐานทÉี กำหนดอย่างดีทÉีสุด อย่างไรก็ตามเหตุไม่พึงประสงค์มักจะเกิดขึÊนได้เสมอ จึงต้องมีการ เตรียมการและรับทราบแนวทางปฏิบัติทีÉจะช่วยทำให้กระบวนการให้บริการสามารถ ดำเนินต่อไปได้ โดยมีหลักการดังนีÊ 1. ช่วยเหลือทัÊงสองฝ่าย คือ ฝ่ายแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าทÉีสาธารณสุขและฝ่ายผู้ป่วย 2. พยายามใช้การเจรจาทำความเข้าใจ และไกล่เกลีÉยข้อพิพาทเป็นหลัก เพืÉอให้ เกิดความเข้าใจพึงพอใจทุกฝ่าย และข้อพิพาทยุติโดยเร็ว กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายทีÉจะแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งทางการแพทย์โดย สันติวิธี เพืÉอดำรงความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ให้บริการคือ แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าทีÉกับ ผู้ป่วยและชุมชน ในการแก้ปัญหาความไม่เข้าใจกันระหว่างสองฝ่าย จึงจำเป็นต้องใช้ แนวทางการประนีประนอม สร้างความเข้าใจทÉีถูกต้องตรงกัน ดังนัÊนในการดาํเนินการ ตามแนวทางดังกล่าว จึงต้องจัดให้มีคณะทำงานหรือทีมงานทีÉมีความรู้ ทักษะในด้าน ต่างๆทีÉเกีÉยวข้อง เช่น นักกฎหมาย ผู้เชีÉยวชาญด้านการแพทย์ พยาบาล ผู้มีความรู้ด้านการ ไกล่เกลีÉยข้อพิพาท เป็นต้น นอกจากนีÊอาจรวมถึงผู้นำชุมชนหรือบุคคลทÉีผู้ป่วยเคารพนับถือมาร่วมเป็น ทีมงาน เช่น ผู้ใหญ่บ้าน อาจารย์ทีÉเคยสอนหนังสือทีÉผู้ป่วยหรือญาติให้ความเชืÉอถือ อย่างไรก็ตามในสภาพสังคมปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นสังคมเมืองทีÉผู้คนไม่ค่อยรู้จักสนิท สนมกันเช่นสังคมชนบท บุคคลลักษณะดังกล่าวจึงหาได้ยาก การไกล่เกลีÉย ประนีประนอมของทีมงานโรงพยาบาลอาจไม่ได้ผลเพราะบุคคลในทีมงานส่วนหนÉึง เป็นเจ้าหน้าทÉีในโรงพยาบาล จึงควรให้มีทีมงานไกล่เกลÉียในระดับจังหวัดอีกชุดหนึÉง เพืÉอทำการไกล่เกลีÉยต่อจากทีมจากโรงพยาบาล เพราะจะมีภาพลักษณ์ของความเป็นกลาง มากกว่า หากทีมของระดับจังหวัดไม่สามารถไกล่เกลÉียได้ เชÉือว่า ผูป้่วยหรือญาติจะตอ้ง ดำเนินการอย่างใดอย่างหนึÉง หรือหลายอย่างดังนีÊ
  • 6. 2 1. แจ้งความดำเนินคดีอาญาต่อพนักงานสอบสวน ตำรวจ 2. ร้องเรียนไปยังสภาวิชาชีพของแพทย์ พยาบาล นัÊนๆ 3. ร้องเรียนไปยังหน่วยงานต้นสังกัด 4. ยÉืนฟ้องคดีทัÊงทางแพ่งหรืออาญา ดังนัÊนในฐานะผู้เกÉียวข้องจึงจำเป็นต้องรับทราบกระบวนการต่างๆตามกฎหมาย เพืÉอจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้องเหมาะสม กล่าวคือ กรณีมีความเสียหายเกิดขึÊนจากการรักษาพยาบาล ผู้เสียหายหรือผู้ป่วยมีสิทธิทÉีจะ เรียกร้องค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทนได้ โดยการยืÉนคำร้องขอให้หน่วยงานต้นสังกัด ของบุคคลทÉีทำให้เกิดความเสียหายนัÊนชดใช้ค่าเสียหาย หรือการยÉืนฟ้องต่อศาลเป็นคดีแพ่ง หรือคดีผู้บริโภค เพืÉอให้ศาลบังคับให้หน่วยงานต้นสังกัดดังกล่าวชดใช้ค่าเสียหาย ส่วนคดีอาญาเป็นการฟ้องเพืÉอให้ศาลลงโทษผู้ทำให้เกิดความเสียหายตาม กฎหมายอาญา ซÉึงโทษประกอบดว้ย การกักขงั จาํคุก ปรับ ริบทรัพย์สิน ประหารชีวิต และความผิดบางอย่างเป็นความผิดอาญาแผ่นดินซÉึงไม่สามารถตกลงประนีประนอม หรือยอมความได้ แม้ว่าได้มีการประนีประนอมยอมความในทางแพ่งแล้วก็ตามก็ไม่ทำ ให้คดีอาญาระงับไปแต่อย่างใด เช่น กรณีการทำให้ผู้อืÉนถึงแก่ความตายหรือบาดเจ็บ สาหัสโดยประมาทหรือเจตนา ส่วนคดีทีÉสามารถยอมความกันได้เช่น ฉ้อโกง หมิÉน ประมาท บุกรุก เป็นต้น กระบวนการแก้ไขข้อพิพาท เมืÉอมีผู้เสียหายร้องเรียนเกีÉยวกับการรักษาพยาบาลของแพทย์และพยาบาล ก็ให้ แพทย์และพยาบาลนำปัญหาไปปรึกษากับทีมทÉีปรึกษา (ประกอบดว้ยแพทยผ์ูเ้ชÉียวชาญ และนักกฎหมาย) แล้วทำการไกล่เกลÉียขัÊนต้น หากไกล่เกลÉียสำเร็จเรÉืองก็ยุติ แต่ถ้าไกล่เกลÉีย ไม่สำเร็จก็ให้ส่งเรÉืองต่อไปยังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพÉือทำการไกล่เกลÉียข้อพิพาท อีกครัÊงหนึÉง หากสำเร็จเรÉืองก็ยุติ แต่ถ้าไม่สำเร็จก็จะเข้าสู่กระบวนการ 3 ประการ คือ 1. ผู้เสียหายแจ้งความต่อพนักงานสอบสวน 2. ผู้เสียหายเรียกร้องไปยังกระทรวงสาธารณสุข 3. ผู้เสียหายฟ้องคดี (โดยแบ่งเป็นฟ้องคดีอาญาและคดีแพ่ง)
  • 7. 3 สิทธิของผู้เสียหายในคดีแพ่งและคดีอาญา 1. กรณีผู้เสียหายแจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน 2. กรณีผเู้สียหายฟ้องคดีอาญาต่อศาลเอง 3. กรณีผู้เสียหายฟ้องคดีแพ่งเพืÉอเรียกค่าเสียหายต่อศาล 1. กรณีผ้เูสียหายแจ้งความร้องทุกข์
  • 8. 4 ในกรณีทีÉท่านถูกผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยแจ้งความดำเนินคดีทางอาญานัÊนจะมี ขัÊนตอนทÉีท่านต้องปฏิบัติและขัÊนตอนทางกฎหมายดังต่อไปนีÊ คือ 1) พนักงานสอบสวนจะมีหมายเรียกมายังท่าน เพÉือให้ท่านไปให้การต่อพนักงาน สอบสวน ซึÉงหมายเรียกนัÊนจะทำเป็นหนังสือโดยจะกำหนดวัน เวลาและสถานีตำรวจทÉี ท่านจะต้องไปให้การไว้ในหมายเรียกนัÊน 2) เมÉือท่านได้รับหมายเรียกแล้ว ท่านจะต้องแจ้งมายงั กระทรวงสาธารณสุขโดยด่วน เพืÉอกระทรวงสาธารณสุขจะได้ จัดส่งทนายความเข้าไปให้ความช่วยเหลือ แนะนำและร่วม เดินทางไปกับท่านในวันทีÉท่านเข้าพบพนักงานสอบสวน 3) ในวันทÉีท่านเข้าพบพนักงานสอบสวนตามหมายเรียกนัÊน ท่านจะต้องเตรียม หนงัสือรับรองตาํแหน่งขา้ราชการของนายประกันหรือหลักทรัพย์ เช่น เงินสด บญัชี ธนาคารหรือโฉนดทÉีดินไปด้วย เพÉือใช้ประกันตัวในชัÊนพนักงานสอบสวน 4) เมืÉอท่านและทนายความทีÉกระทรวงสาธารณสุขจัดให้ ได้เดินทางไปพบ พนักงานสอบสวนตามวันและเวลา สถานทีÉทีÉกำหนดตามหมายเรียกแล้ว ในการเข้าให้ ปากคำต่อพนักงานสอบสวนนÊัน ท่านมีสิทธิหลายประการ โดยพนกังานสอบสวน จะต้องแจ้งสิทธิต่างๆนัÊนให้ท่านทราบก่อนด้วย เช่น มีสิทธิให้ทนายความหรือบุคคลทÉี ท่านไว้วางใจเข้ารับฟังการสอบปากคำท่านได้ มีสิทธิทีÉจะได้รับการสอบสวนด้วยความ รวดเร็วต่อเนÉือง และเป็นธรรม โดยเฉพาะอย่างยิงÉต้องแจ้งให้ท่านทราบก่อนด้วยว่า ท่าน มีสิทธิทÉีจะให้การหรือไม่ก็ได้ ถ้าให้การ ถ้อยคำทÉีท่านให้การนัÊน อาจใช้เป็น พยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้ ในการสอบปากคำ เบืÊองต้นพนักงานสอบสวน จะถามรายละเอียดเกÉียวกับตัว ท่านก่อน เช่น ถามชืÉอ นามสกุล สัญชาติ บิดามารดา อายุ อาชีพ ทีÉอยู่ ทีÉเกิดและแจ้งให้ ทราบถึงข้อเท็จจริงเกÉียวกับการกระทำทÉีกล่าวหาว่าท่านกระทำผิด จากนัÊนก็จะแจ้งข้อหา ให้ท่านทราบซึÉงในระหว่างการสอบปากคำท่าน ทนายความทÉีกระทรวงสาธารณสุข จัดส่งไปนัÊน จะเข้าร่วมรับฟังการสอบปากคำกับท่านด้วยทุกครÊัง ทัÊงนีÊ ท่านควรจะให้ การแก่พนักงานสอบสวน โดยไม่ใช้สิทธิปฏิเสธเพÉือให้การในชัÊนศาล เพราะหากไม่ให้ การ พนักงานสอบสวนจะสัÉงฟ้องคดีสถานเดียว ซึÉงจะเป็นผมเสียต่อท่านเอง แต่ถ้าให้ การตามความเป็นจริง พนักงานสอบสวนอาจมีคำสังÉไม่ฟ้องคดีก็ได้
  • 9. 5 5) เมืÉอพนักงานสอบสวนทำการรวบรวมพยานหลักฐานและสอบสวนเสร็จแล้ว พนักงานสอบสวนก็จะทำความเห็นว่า ควรสัÉงฟ้อง หรือควรสัÉงไม่ฟ้อง แล้วจะส่งเรืÉองไป ยังพนักงานอัยการต่อไป 6) เมืÉอพนักงานอัยการรับเรืÉองและพิจารณาพยานหลักฐานแล้ว จะมีคำสัÉง 2 ประการ คือ (1) กรณีพนกังานอยัการสังÉไม่ฟ้อง (2) กรณีพนกังานอยัการสังÉฟ้อง (1) กรณีพนกังานอยัการสังÉไม่ฟ้อง ถ้าคำสังÉนัÊนเป็นคำสังÉเด็ดขาดไม่ฟ้องคดีแล้ว ก็จะมีการแจ้งคำสังÉดังกล่าว มาให้ท่านทราบและในกรณีดังกล่าวกฎหมายห้ามมิให้มีการสอบสวนตัวท่านในเรืÉอง เดียวกันนัÊนอีก เว้นแต่จะได้พยานหลักฐานใหม่อันสำคัญแก่คดี ซึÉงน่าจะทำให้ศาล ลงโทษผู้ต้องหานัÊนได้ ดังนัÊนเมÉือกฎหมายห้ามมิให้มีการสอบสวน พนักงานอัยการก็จะ ไม่มีอาํนาจฟ้องคดีนÊนัไดอี้ก (2) กรณีพนกังานอยัการสังÉฟ้อง ถ้าพนักงานอัยการสัÉงฟ้องคดี พนักงานอัยการก็จะนำตัวท่านพร้อมคำ ฟ้องไปยังศาลเพÉือยÉืนฟ้อง โดยในวันทÉียÉืนคำฟ้องนัÊน ท่านจะต้องเตรียมหนงัสือรับรอง ตำแหน่งข้าราชการของนายประกันหรือหลักทรัพย์ เช่น เงินสด บัญชีธนาคารหรือโฉนด ทÉีดินไปด้วย เพÉือใช้ประกันตัวในชัÊนศาล หลังจากนัÊนเจ้าหน้าทÉีศาลจะแจ้งวันนัดพร้อม ให้ท่านทราบ เพืÉอให้ท่านมาศาลในวันและเวลาดังกล่าว 7) ในวันนัดพร้อม ท่านจะต้องไปศาลพร้อมทนายความ และเมืÉออยู่ในห้องพิจารณา แล้ว ศาลจะอ่านคาํฟ้องและอธิบายคำฟ้องให้ฟัง และจะถามท่านว่าได้กระทำผิดจริงตาม ฟ้องหรือไม่ จะให้การต่อสู้อย่างไร แล้วจะกำหนดวันนัดสืบพยานโจทก์ จำเลย ต่อไป 8) ในวันนัดพิจารณา ไม่ว่าจะเป็นวันนัดสืบพยานฝ่ายโจทก์หรือวันนัดสืบพยาน ฝ่ายจำเลย ท่านในฐานะจำเลยต้องมาศาลทุกนัด โดยศาลจะสืบพยานฝ่ายโจทก์ก่อน แล้วจึง สืบพยานฝ่ายจำเลย ซึÉงในวันสืบพยานฝ่ายจำเลย ท่านจะต้องขึÊนเบิกความในฐานะพยาน ด้วย เมืÉอสืบพยานฝ่ายโจทก์และฝ่ายจำเลยเสร็จแล้ว ศาลจะนัดวันฟังคำพิพากษาต่อไป 9) ในวันนัดฟังคำพิพากษา ท่านในฐานะจำเลยจะต้องมาฟังคำพิพากษาด้วย อนึÉงในทุกขัÊนตอนทÉีท่านถูกดำเนินคดี จะมีทนายความและนิติกร เข้าไปให้ ความช่วยเหลือ ให้คำแนะนำในด้านกฎหมายแก่ท่านทุกครัÊง
  • 10. 6 2.กรณีผ้เูสียหายยÉืนฟ้องคดีอาญาเอง กรณีทÉีแพทย์หรือพยาบาลถูกผ้เูสียหายดำเนินคดีในทางอาญาในกรณีทÉีผ้เูสียหายฟ้องเอง ในกรณีเกิดข้อพิพาทเกีÉยวกับความเสียหายในการรักษาพยาบาล 1. ไม่ว่าผู้เสียหายจะได้แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนไว้หรือไม่ก็ตาม 1.1 ผู้เสียหายมีสิทธินำคดีอาญามาฟ้องด้วยตนเอง 1.2. ผู้ถูกฟ้อง ( แพทย-์พยาบาล) จะได้รับหมายไต่สวนมูลฟ้องมาจากศาล 1.3. รวบรวมข้อเท็จจริง (เอกสารหลักฐานต่างๆทีÉเกีÉยวข้อง เช่น เวชระเบียน ฯลฯ) 1.4. นำหมายศาลและเอกสารต่างๆ แจ้งกระทรวงสาธารณสุขทราบโดยด่วน พร้อมใบแต่งทนายความ 3 ชุด 1.5. กระทรวงสาธารณสุขทำเรืÉองพร้อมส่งเอกสารต่างๆ ใบแต่งทนายความไปยังสำนักงานอัยการ เพÉือต่อสู้คดีแทนผู้ถูกฟ้อง 1.6. วันทีÉศาลนัดไต่สวนมูลฟ้อง พนักงานอัยการจะเข้าทำ การต่อสู้คดีแทนจำเลยตามใบแต่งทนายความและเอกสารต่างๆทีÉได้รับมอบหมายจาก กระทรวงสาธารณสุข ตามเอกสารดังกล่าวข้างต้น
  • 11. 7 1.7. เมืÉอศาลไต่สวนมูลฟ้องแล้ว ศาลจะมีคำสังÉ ดังนีÊ - คดีมีมูล - คดีไม่มีมูล 2. ในกรณีคดีมีมูล ศาลจะกำหนดระยะเวลาในการพิจารณาคดี ในระหว่างนีÊให้ปฏิบัติ ดังนีÊ 2.1 เตรียมหลักประกันไว้ประกันตัวก่อนถึงวันนัดพิจารณาหรือวันนัดพร้อม ซึÉงหลักประกันมีดังต่อไปนีÊ 2.2 ใช้เงินมาวางศาลตามจำนวนทีÉศาลกำหนด 2.3 ใช้หลักทรัพย์มาวาง โดยนำหลักทรัพย์ดังกล่าวไปให้เจ้าพนักงานทีÉดิน ประเมินราคาทรัพยส์ินดงักล่าวเสียก่อน 2.4 ใช้บุคคลประกันตัวต้องให้หัวหน้าหน่วยงานรับรองตำแหน่งและเงินเดือนด้วย 2.5 หนังสือยินยอมของคู่สมรส 3. เตรียมตัวขึÊนเบิกความในวันนัดพิจารณา เพÉือเบิกความเป็นพยานต่อศาล เมÉือ เสร็จสิÊนการพิจารณาจะนัดฟังคำพิพากษาในวันดังกล่าว ให้เตรียมหลักทรัพย์เพิÉมมาจาก เดิมทÉีมีอยู่ในศาลชัÊนต้น เพÉือเตรียมพร้อมในการต่อสู้คดีในชัÊนอุทธรณ์หรือฏีกาต่อไป 3. กรณีผ้เูสียหายหรือผ้ปู่วยฟ้องคดีแพ่งหรือคดีผ้บูริโภค
  • 12. 8 เมืÉอผู้เสียหายยÉืนฟ้องคดีต่อศาล ซึÉงตามพระราชบัญญตัิความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าทีÉ พ.ศ.2539 บัญญัติให้ต้องฟ้องหน่วยงานต้นสังกัดของเจ้าหน้าทีÉผู้ถูกกล่าวหา ว่า ทาํละเมิด เท่านÊนั ดงันÊนัตามหลกัผูเ้สียหายจะตอ้งฟ้องกระทรวงสาธารณสุขหรือสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขหรือกรมฯ เท่านัÊน จะฟ้องแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าทÉีไม่ได้ แต่ในทางปฏิบัติบางครัÊงผู้เสียหายจะฟ้องโรงพยาบาล แพทย์ พยาบาลและหน่วยงาน ราชการพร้อมกัน ทำให้สามารถฟ้องยังศาลจังหวัดทีÉเกิดเหตุหรือทีÉศาลจังหวัดนนทบุรี หรือศาลแขวงนนทบุรีก็ได้ ซึÉงจะแยกกระบวนการได้ดังนีÊ กรณีฟ้องทีÉศาลจังหวัดนนทบุรีหรือศาลแขวงนนทบุรี 1. กรณีฟ้ องส่วนราชการต้นสังกัดคือกระทรวงสาธารณสุข สำ นักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข หรือกรมฯ ศาลก็จะมีหมายเรียกพร้อมสำเนาคำฟ้องมายังจำเลย และนัดคู่ความไปศาลตามทีÉกำหนด เมืÉอกระทรวงสาธารณสุขหรือสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุขได้รับหมายเรียก กลุ่มกฎหมายกจ็ะทำหนังสือถึงหน่วยงานทÉีเกÉียวข้องดังนีÊ (1) หนังสือถึงอัยการจังหวัดนนทบุรีหรืออัยการจังหวัดคดีศาลแขวงนนทบุรี เพืÉอขอความอนุเคราะห์ให้จัดพนักงานอัยการแก้ต่างคดี โดยจัดส่งข้อเท็จจริงต่างๆ (ถ้ามี ขณะนÊนั) ใบแต่งทนายความทÉีลงนามโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (กรณี ฟ้องกระทรวงฯ) หรือลงนามโดยปลัดกระทรวงสาธารณสุข (กรณีฟ้องสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข) (2) หนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทีÉเกิดเหตุ เพืÉอขอให้จัดส่งข้อเท็จจริง เอกสารหลักฐานต่างๆทีÉเกีÉยวข้อง ไปให้กระทรวงสาธารณสุขหรือสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขและพนักงานอัยการ รวมทัÊงแจ้งให้แต่งตัÊงคณะกรรมการสอบ ข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดเพÉือสอบสวนให้ได้ความว่า มีเหตุเกิดขึÊนจริงหรือไม่ ใครเป็นผู้กระทำ ผู้กระทำจงใจหรือประมาทเลินเล่อหรือไม่ ค่าเสียหายมีเท่าใดและใคร ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ (3) หนงัสือถึงแพทยสภา เพÉือขอรับการสนับสนุนพยานผู้เชÉียวชาญเพÉือให้ ความเห็นทางวิชาการแก่พนกังานอยัการและศาล (4) กรณีเร่งด่วนอาจมีหนังสือขอทราบข้อเท็จจริงเบืÊองต้นไปยังโรงพยาบาลทÉีเกิด เหตุ เพÉือรายงานผู้บริหารระดับสูงทราบและส่งไปให้พนักงานอัยการพิจารณาในเบืÊองต้นก่อน
  • 13. 9 2. กรณีฟ้ องหน่วยงานต้นสังกัดและบุคคลทีÉเกีÉยวข้องด้วย เช่น โรงพยาบาล แพทย ์พยาบาล ผูเ้สียหายสามารถยÉืนฟ้องได้ 2 แห่งคือ ศาลจงัหวดันนทบุรีหรือศาล แขวงนนทบุรี และศาลจังหวัดหรือศาลแขวงทÉีตัÊงของโรงพยาบาลทÉีเกิดเหตุ 2.1 กรณีฟ้องทีÉศาลจังหวัดนนทบุรีหรือศาลแขวงนนทบุรี กระบวนการก็จะ เป็นไปตาม ข้อ1. แต่กรณีนีÊศาลจะมีหมายเรียกพร้อมสำเนาคำฟ้องไปยังบุคคลอÉืนทÉีถูก ฟ้องด้วย เมืÉอบุคคลดังกล่าวได้รับหมายเรียก ให้แจ้งผู้อำนวยการโรงพยาบาลและนิติกร ทันที เพืÉอดำเนินการลงนามในใบแต่งทนาย (ไม่ต้องกรอกข้อความอืÉน) จำนวน 3 ใบ กรณีฟ้ องโรงพยาบาลเป็นจำเลย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเป็นผู้ลงนามในใบแต่งทนาย จากนัÊนให้ส่งหมายเรียก สำเนาคำฟ้อง ใบแต่งทนายความพร้อมเอกสารหลักฐานไปยัง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพืÉอทำเรืÉองถึงกระทรวงสาธารณสุขหรือสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขโดยด่วน ซึÉงกระทรวงสาธารณสุขจะดำเนินการจดัส่งเอกสาร ต่างๆดังกล่าวไปพร้อมกับใบแต่งทนายความของกระทรวงสาธารณสุข หรือ สำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ไปยังอัยการจังหวัดนนทบุรีหรืออัยการจังหวัดคดีศาลแขวง นนทบุรีแล้วแต่กรณี (คดีมีทุนทรัพย์ไม่เกิน 300,000 บาทอยู่ในอำนาจศาลแขวง ) เพืÉอแก้ ต่างคดีต่อไป อนึÉง พนักงานอัยการจะแก้ต่างคดีให้กับบุคลากรทÉีถูก ฟ้องได้ต่อเมืÉอส่วนราชการต้นสังกัดมีหนังสือแจ้งขอให้พนักงาน อัยการดำเนินการให้บุคลากรดังกล่าวเท่านัÊน 2.2 กรณีฟ้องทีÉศาลจังหวัดหรือศาลแขวงทีÉเกิดเหตุ ศาลจะส่งหมายเรียกไปยังจำเลยทุกคน เมืÉอแพทย์ พยาบาลหรือโรงพยาบาลได้รับ หมายเรียกดังกล่าว ให้บุคคลดังกล่าวแจ้งผู้อำนวยการและนิติกร (ถา้มี) ทราบ จากนัÊนให้ โรงพยาบาลส่งข้อเท็จจริง เอกสารทÉีเกÉียวข้อง รวมทัÊงใบแต่งทนายความทÉีลงนามโดย จาํเลยรายละ 3 ใบ ส่งไปให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดโดยด่วน จากนัÊนสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดจะต้องทำหนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัด เพÉือขอให้อัยการจังหวัดนัÊนๆ รับแก้ต่างคดีให้กับแพทย์ พยาบาล หรือโรงพยาบาล โดยจัดส่งข้อมูล เอกสารทีÉเกีÉยวข้อง รวมทัÊงใบแต่งทนายความ หมายเรียกของจำเลยทุกคน และต้องแจ้งการดำเนินการ ดังกล่าวแก่ปลัดกระทรวงสาธารณสุขโดยด่วน ส่วนกระทรวงสาธารณสุขหรือสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เมืÉอได้รับหมายเรียก ก็จะจัดส่งหมายเรียก สำเนาคำฟ้องและ
  • 14. 10 ใบแต่งทนายความของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขหรือปลัดกระทรวง สาธารณสุขไปยังอัยการจังหวัดทีÉรับผิดชอบคดีของศาลทีÉเป็นเจ้าของเรืÉอง (ปกติคือ จังหวัดทีÉเกิดเหตุ) กรณีฟ้องโรงพยาบาลหลายจังหวัดหรือแพทย์พยาบาลหลายจังหวัด เช่น โรงพยาบาลศรีสะเกษ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ แต่ฟ้องทีÉศาลจังหวัดศรีสะเกษ ก็ ต้องส่งให้อัยการจังหวัดศรีสะเกษเป็นผู้แก้ต่างคดี โดยส่วนราชการต้นสังกัดทีÉถูกฟ้อง จะแจ้งขอให้พนักงานอัยการแก้ต่างคดีให้จำเลยทุกคน ส่วนผู้ประสานงานคดี ปกติจะมอบหมายให้นิติกรประจำโรงพยาบาลทีÉ เกิดเหตุหรือนิติกรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและนิติกรกลุ่มกฎหมาย สำนักบริหาร กลาง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้แทนคดีเพืÉอประสานงานกับผู้เกีÉยวข้อง และพนกังานอยัการ สำหรับแพทย์ พยาบาลหรือเจ้าหน้าทีÉ ทีÉเป็นจำเลยหรือทีÉเกีÉยวข้องกับเรืÉอง ดังกล่าว ต้องจัดทำคำให้การ ให้ข้อเท็จจริงการรักษาพยาบาล ตัÊงแต่เริÉมการรักษาจนกระทังÉเสร็จสิÊนการรักษา รวมทัÊงต้อง อธิบายประเด็นทีÉถูกฟ้อง หลักวิชาการทีÉใช้ในการรักษาพร้อม เอกสารทÉีเกÉียวข้อง (ทัÊงนีÊหากเอกสารมีข้อความทÉีเป็น ภาษาต่างประเทศให้แปลเป็นภาษาไทยกำกับไว้ด้วย) เพืÉอเป็นข้อมูลให้แก่พนักงาน อัยการและต้องเบิกความเป็นพยานในคดีด้วย บทบาทหน้าทÉีผู้เกÉียวข้อง 1) สถานพยาบาล สถานพยาบาลหรือโรงพยาบาลทุกแห่งควรจัดให้มีบุคลากรและการดำเนินการ ดงันÊี 1.1 จัดให้มีนิติกรหรือฝ่ายกฎหมายประจำในโรงพยาบาล 1.2 จัดให้มีทีมงานอย่างน้อย 3 ทีมคือ - ทีมทีÉปรึกษา ประกอบด้วย นิติกรหรือนักกฎหมาย แพทย์ผู้เชีÉยวชาญ หัวหน้าพยาบาลหรือผู้เชÉียวชาญด้านการพยาบาล และบุคลากรอÉืนๆ ทÉีเห็นว่าจำเป็น ซึÉง ทีมทีÉปรึกษามีหน้าทีÉ ตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย ในการรักษาพยาบาลของ กรณีพิพาท ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะแก่ผู้อำนวยการโรงพยาบาลรวมทัÊงชีÊแนะแนวทาง
  • 15. 11 ปฏิบัติของแพทย์ พยาบาล หรือผู้เกีÉยวข้อง ก่อนการเจรจาไกล่เกลีÉยและหากไม่สามารถ ไกล่เกลีÉยได้ ให้ทีมจัดเตรียมแนวทางการต่อสู้คดีไว้ รวมทัÊงเตรียมพยาน หลักฐานต่างๆ ให้ครบถ้วน ซึÉงทีมทÉีปรึกษานีÊอาจทำในระดับจังหวัดก็ได้ - ทีมเจรจาไกล่เกลีÉย ประกอบด้วย หัวหน้าทีมทีÉผู้อำนวยการกำหนด นิติ กรหรือฝ่ายกฎหมาย เจ้าหน้าทีÉทีÉได้รับการฝึกอบรมการไกล่เกลีÉยข้อพิพาทและ ผู้เกีÉยวข้องอืÉนๆ ทีมดังกล่าวมีหน้าทีÉทำการเจรจาต่อรองไกล่เกลีÉยข้อขัดแย้งเพืÉอให้เกิด ความเข้าใจและความพึงพอใจของทุกฝ่าย โดยอาจใช้ข้อมูลจากทีมทีÉปรึกษา ประกอบการพิจารณาดำเนินการก็ได้ - ทีมบริหารความเสÉียง ซึÉงมีหน้าทÉีแก้ไขข้อบกพร่อง ข้อจำกัด หรือจุดทÉี เป็นปัญหา เพÉือให้ระบบบริการมีความเหมาะสมยิÉงขึÊน อันเป็นการป้องกันเหตุในอนาคต ทัÊงนีÊ ในกรณีโรงพยาบาลไม่มีความพร้อมทÉีจะดำเนินการ ดังกล่าวข้างต้น อาจมีการแก้ไขเปลีÉยนแปลง เช่น อาจทำใน ลักษณะเครือข่ายกันเอง หรือ กับโรงพยาบาลอืÉนทีÉมีศักยภาพ ความพร้อมก็ได้ ตามความเหมาะสม 1.3 ในกรณีผูเ้สียหายแจ้งข่าวต่อสÉือมวลชนโรงพยาบาลอาจต้องชีÊแจงโดย อาศัยข้อมูลจากทีมทีÉปรึกษา เพืÉอให้ประชาชนได้ทราบข้อเท็จจริงแล้วรายงานให้ ผู้บังคับบัญชาตามลำดับชัÊนจนถึงกระทรวงสาธารณสุขทันที 1.4 ในกรณีผู้ป่วยหรือญาติฟ้องคดีต่อศาล โดยฟ้องโรงพยาบาลเป็นจำเลย ด้วย ให้ผู้อำนวยการโรงพยาบาลลงนามในใบแต่งทนายความแล้วส่งให้นิติกรดำเนินการ รวบรวมข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย เอกสารทÉีเกÉียวข้อง (ตามทÉีระบุไว้ท้ายหนังสือนีÊ) พร้อม หมายนัด, สำเนาคำฟ้อง ส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพืÉอแจ้งผู้ว่าราชการจังหวัด ให้ส่งพนักงานอัยการแก้ต่างคดีภายในระยะเวลาทีÉกฎหมายกำหนด โดยให้รายงาน กระทรวงสาธารณสุขทราบด้วย 1.5 โรงพยาบาลอาจจัดตัÊงกองทุนหรือจัดหาเงินมาไว้ใช้ในการไกล่เกลÉีย ประนีประนอมยอมความในการไกล่เกลÉียชัÊนโรงพยาบาล 1.6 จัดทำทะเบียนแพทย์ผู้เชีÉยวชาญเพืÉอร่วมในทีมทีÉปรึกษา (โดยอาจใช้ ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดก็ได้)
  • 16. 12 2) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 2.1 จัดให้มีทีมไกล่เกลีÉยระดับจังหวัด ในกรณีเห็นว่าควรมีทีมไกล่เกลีÉยระดับ อำเภอ ก็จะจัดให้มีทีมไกล่เกลÉียระดับอำเภอขึÊนก็ได้ เพÉือดำเนินการ เมÉือทีมไกล่เกลÉียของ โรงพยาบาลไม่สามารถยุติปัญหาได้ 2.2 จัดทำทะเบียนแพทย์ผู้เชีÉยวชาญแต่ละสาขาเพืÉอร่วมในทีมทีÉปรึกษา 2.3 กรณีถูกฟ้องคดี ต้องแต่งตัÊงคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทาง ละเมิด ตามข้อ 35 แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกีÉยวกับ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าทÉี พ.ศ.2539 แลว้ส่งรายงานให้กระทรวงสาธารณสุข และพนักงานอัยการเพืÉอเป็นข้อมูลในการแก้ต่างคดีต่อไป 2.4 ในกรณีโรงพยาบาลในสังกัดถูกฟ้องคดีให้รีบดำเนินการขอให้ผู้ว่า ราชการจังหวัดมอบหมายคดีให้อัยการจังหวัดแต่งตัÊงพนักงานอัยการแก้ต่างคดีโดยด่วน 2.5 ควรจัดหาเงินกองทุนเพืÉอช่วยเหลือสถานพยาบาลในสังกัด เพืÉอการไกล่เกลีÉยข้อ พิพาท กรณีโรงพยาบาลต้องรับผิดชอบ และเพืÉอช่วยเหลือแพทย์ พยาบาล หรือผู้เกีÉยวข้อง 2.6 กรณีผู้เสียหายหรือผู้ป่วยแจ้งความดำเนินคดีทางอาญา ให้จัดเตรียมการ ช่วยเหลือ แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าทีÉสาธารณสุข ในเรืÉองการไปพบพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ การประกันตัว รวมทัÊงประสานกลุ่มกฎหมาย กระทรวงสาธารณสุขเพÉือ เตรียมทนายความแก้ต่างคดีอาญา 2.7 รายงานสถานการณ์ให้ผู้บังคับบัญชาของกระทรวงสาธารณสุขทราบ โดยเร็ว (ผู้ตรวจราชการกระทรวง, ปลัดกระทรวงสาธารณสุข) 3) ผอู้าํนวยการโรงพยาบาล 3.1 ควรให้มีการตัÊงทีมทÉีปรึกษา ทีมไกล่เกลÉียและทีม บริหารความเสีÉยงในโรงพยาบาล 3.2 เมืÉอได้รับทราบปัญหา ควรรีบเข้าไปแก้ปัญหาโดย ตรวจสอบข้อเท็จจริง ข้อกฎหมายจากทีมทีÉปรึกษา ในกรณี เป็นเรืÉองเร่งด่วน ควรไปพบผู้ป่วยหรือญาติก่อนเพืÉอรับฟัง ปัญหาและตัดสินใจใดๆอนัเป็นการลดระดบัความรุนแรงของสถานการณ์ (หากมี) 3.3 อาจเข้าร่วมในการดำเนินการของทีมทัÊงสามได้ตามความจำเป็น
  • 17. 13 3.4 ในกรณีจำเป็นอาจให้ความช่วยเหลือเบืÊองต้นแก่ผู้เสียชีวิต เช่น การไป ร่วมงานศพ ช่วยค่าใช้จ่ายในการปลงศพ เป็นเจ้าภาพงานสวดศพ เป็นต้น เพืÉอเป็นการ เยียวยาความเสียหายอีกทางหนึÉง 3.5 ควรจัดให้แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าทีÉทีÉเกีÉยวข้อง พบทีมทีÉปรึกษา โดย พยายามสร้างขวัญและกำลังใจให้เจ้าหน้าทีÉดังกล่าว เพืÉอสร้างความเข้าใจให้เป็นไปใน แนวทางเดียวกันและคลายความวิตกกังวลในการทำงาน 3.6 กรณีเห็นว่า สถานการณ์ไม่เป็นไปในทางทีÉดี อาจแจ้งไปยังกลุ่มกฎหมาย เพÉือขอให้ส่งทนายความหรือนิติกรจากส่วนกลางไปช่วยเหลือก็ได้ 3.7 หากเห็นว่า ทีมไกล่เกลีÉยของโรงพยาบาลไม่สามารถยุติปัญหาได้ ให้แจ้ง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เพÉือดำเนินการแก้ไข้ปัญหาในขัÊนต่อไป 4) แพทย์ผู้เชีÉยวชาญ ซึÉงน่าจะเป็นแพทย์ผู้เชÉียวชาญเฉพาะสาขาทÉีขึÊนทะเบียนไว้ สำหรับเป็นพยานผู้เชีÉยวชาญ หรือ เป็นบุคคลในทีมทีÉปรึกษา มีบทบาท หน้าทีÉ คือ 4.1 ตรวจสอบข้อเท็จจริงจากเวชระเบียน เอกสารหลักฐาน ต่างๆทีÉเกีÉยวกับการรักษากรณีมีข้อขัดแย้ง 4.2 ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ ต่อผู้อำนวยการโรงพยาบาล หรือ นายแพทย์สาธารณสุข จังหวัด หรือ ทีมไกล่เกลีÉย หรือ ทีมบริหารความเสีÉยง รวมถึงแพทย์ พยาบาลและผู้เกีÉยวข้อง 4.3 จัดทำความเห็นเป็นเอกสาร เพÉือประกอบคำให้การต่อสู้คดีในชัÊน พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาล รวมทัÊงเข้าเบิกความเป็นพยานในศาล 5) นิติกร (ก) นิติกรของโรงพยาบาล มีบทบาทหน้าทÉี ดังนีÊ 1. เป็นคณะทำงานในทีมทีÉปรึกษาและทีมไกล่เกลีÉยตามทีÉได้รับมอบหมาย 2. ตรวจสอบข้อเท็จจริง การรักษาพยาบาลทีÉถูกอ้างว่ามีปัญหา 3. ตรวจสอบข้อกฎหมายทีÉเกีÉยวข้องกับการรักษาพยาบาล และข้อเท็จจริงดังกล่าว 4. ให้ความเห็น ข้อเสนอแนะ ต่อทีมทีÉปรึกษา ผู้อำนวยการโรงพยาบาล แพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าทีÉทีÉเกีÉยวข้องกับกรณีพิพาท
  • 18. 14 5. กรณีโรงพยาบาล หรือแพทย์ พยาบาล หรือเจ้าหน้าทีÉสาธารณสุข ถูก แจ้งความดำเนินคดีอาญาต่อพนักงานสอบสวน ให้จัดเตรียมคำให้การผู้เกีÉยวข้อง (ขัÊนตอนการรักษา ประเด็นทÉีถูกกล่าวอ้าง) เวชระเบียน เอกสารหลักฐานต่างๆทÉี เกÉียวข้อง รวมทัÊงไปพบพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ แพทย์ หรือพยาบาล ผู้ถูก กล่าวหา และให้แจ้งไปยังกลุ่มกฎหมาย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทันที เพÉือให้จัดส่งทนายความมาช่วยเหลือ ทัÊงนีÊต้องจัดเตรียมเอกสารการประกันตัวให้พร้อม (อาจใช้ตำแหน่งของบุคคลผู้เป็นนายประกันก็ได้ เช่น ผู้อำนวยการโรงพยาบาล เป็นต้น) กรณีศาลประทับรับฟ้องให้จัดเตรียมใบแต่งทนายความด้วย 6. กรณีถูกผู้เสียหายฟ้องคดีอาญาให้จัดเตรียมคำให้การผู้เกÉียวข้อง(ขัÊนตอน การรักษา ประเด็นทีÉถูกกล่าวอ้าง) เวชระเบียน เอกสารหลักฐานต่างๆทีÉเกีÉยวข้องพร้อมใบ แต่งทนายความส่งให้แก่กระทรวงสาธารณสุข เพืÉอส่งให้อัยการแก้ต่างคดีต่อไป 7. กรณีโรงพยาบาลหรือแพทย์ถูกฟ้องคดีแพ่งต่อศาล ให้จัดเตรียมข้อมูล เอกสารหลักฐานต่างๆ ใบแต่งทนายความทีÉลงนามโดยผู้อำนวยการโรงพยาบาล ในกรณีฟ้องโรงพยาบาล หรือโดยแพทย์ พยาบาลทÉีถูกฟ้องคดี รวมทัÊง หมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง ส่งให้กับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพืÉอส่งให้พนักงาน อัยการทันที ในกรณีพนักงานอัยการเป็นผู้ฟ้องคดีอาญา ให้รีบแจ้งกลุ่มกฎหมายทราบ โดยทันที เพÉือจัดส่งทนายความมาให้ความช่วยเหลือ ทัÊงนีÊให้รายงานปลัดกระทรวง สาธารณสุขทราบโดยด่วน 8. เป็นผู้ประสานงานคดี (ข) นิติกร สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด มีบทบาทหน้าทÉี ดังนีÊ 1. ปฏิบตัิงานเช่นเดียวกนักบั นิติกรโรงพยาบาล กรณีโรงพยาบาลไม่มี นิติกรประจำ 2. เป็นผู้ดำเนินการรวบรวมข้อมูลต่างๆ เสนอนายแพทย์สาธรณสุข จังหวัด ขอให้ผู้ว่าราชการจังหวัด มอบคดีให้อัยการจังหวัด แก้ต่างคดีให้กับโรงพยาบาล หรือแพทย์ พยาบาลทÉีถูกฟ้องคดีแพ่ง รวมทัÊงรายงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทราบ 3. เร่งดำเนินการสอบสวนหาข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ตามข้อ 35 แห่งระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกีÉยวกับความรับผิดทาง ละเมิดของเจ้าหน้าทÉี พ.ศ.2539 ซึÉงในกรณีทÉีผู้เสียหายฟ้องคดีต่อศาล ให้ผู้มีอำนาจ
  • 19. 15 แต่งตัÊงคณะกรรมการโดยไม่ชักช้าและให้ประสานงานกับอัยการสูงสุดเพÉือเตรียมการ ต่อสู้คดีต่อไป (ควรจะแจ้งเสร็จภายใน 30-60 วัน) เพราะต้องจัดส่งให้พนักงานอัยการ พิจารณาประกอบการแก้ต่างคดี และรายงานให้ปลัดกระทรวงสาธารณสุขทราบ 4. ประสานคดีกับพนักงานอัยการ นิติกร หรือทนายความจากส่วนกลาง นิติกร โรงพยาบาลและผู้เกีÉยวข้องอืÉนๆ 5. งานอืÉนๆตามทีÉได้รับมอบหมาย 6) แพทย์ผู้ถูกกล่าวหา ควรมีบทบาทหน้าทÉี ดังนีÊ 6.1 เมืÉอเกิดมีปัญหาหรือเชืÉอว่าอาจมีปัญหา ให้แจ้ง ผบู้งัคบับญัชาทราบโดยเร็ว ไม่ตอ้งตกใจหรือวิตกกังวล และไม่ ควรรีบให้ความเห็นต่อเหตุการณ์โดยไม่มีการตรวจสอบก่อน โดยเฉพาะต่อผู้ป่วยหรือญาติ ทัÊงนีÊไม่ควรกล่าวหาบุคคลอÉืนว่าเป็น ผู้ทำให้เกิดเหตุการณ์เช่นนัÊน 6.2 ตรวจสอบเวชระเบียน ขัÊนตอนการรักษา เอกสารหลักฐานเกÉียวกับการ รักษาพยาบาล ว่าถูกต้องหรือไม่ อย่างไร โดยอาจหารือแพทย์ผู้เชีÉยวชาญ 6.3 จัดเตรียมทำข้อเท็จจริงโดยอธิบายขัÊนตอนการรักษาพยาบาล อ้างอิงหลกั วิชาการและตอบประเด็นปัญหาทีÉถูกกล่าวหา ร้องเรียน หรือถูกฟ้องโดยละเอียด เนืÉองจากต้องใช้ประกอบการพิจารณาของทีมทีÉปรึกษา ทีมไกล่เกลีÉย ทีมบริหารความ เสÉียง เป็นคำให้การในชัÊนพนักงานสอบสวน ชัÊนพนักงานอัยการและในชัÊนศาล ซึÉงเป็น ส่วนทีÉมีความสำคัญมาก 6.4 หากประสงค์จะได้รับคำแนะนำ คำปรึกษาข้อกฎหมายหรืออืÉนๆ สามารถ แจ้งนิติกรโรงพยาบาล นิติกรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือกลุ่มกฎหมายได้ทันที 6.5 กรณีได้รับแจ้งว่า ผู้ป่วยหรือญาติ แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงาน สอบสวน ให้รีบแจ้งผู้อำนวยการโรงพยาบาล และกลุ่มกฎหมาย สำ นักงาน ปลัดกระทรวงทันที และดำเนินการตามข้อ 6.1-6.4 6.6 กรณีได้รับหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง คดีแพ่งหรือคดีอาญา ให้ ดาํเนินการตามข้อ 6.5 และลงนามในใบแต่งทนายความทÉีนิติกรจะนำไปให้ เพÉือส่งให้ พนักงานอัยการหรือทนายความ ดำเนินการแก้ต่างคดีต่อไป
  • 20. 16 6.7 ควรปฏิบัติตามคำแนะนำของทีมทีÉปรึกษา ผู้บังคับบัญชาและฝ่าย กฎหมาย หากมีข้อสงสัยให้สอบถามทันที 7) พยาบาลผู้ถูกกล่าวหา มีบทบาทหน้าทÉี ดังนีÊ 7.1 เมืÉอเกิดมีปัญหาหรือเชืÉอว่าอาจมีปัญหา ให้แจ้ง ผู้บังคับบัญชาทราบโดยเร็ว ไม่ต้องตกใจหรือวิตกกังวล และไม่ ควรรีบให้ความเห็นต่อเหตุการณ์โดยไม่มีการตรวจสอบก่อน โดยเฉพาะต่อผู้ป่วยหรือญาติ ทัÊงนีÊไม่ควรกล่าวหาบุคคลอÉืนว่า เป็นผู้ทำให้เกิดเหตุการณ์เช่นนัÊน 7.2 ตรวจสอบเวชระเบียน บันทึกการพยาบาล ขัÊนตอนการดูแลรักษาในส่วน ทÉีตนรับผิดชอบว่าถูกต้องหรือไม่ โดยอาจหารือหัวหน้าฝ่ายการพยาบาลหรือผู้เชÉียวชาญ ด้านการพยาบาล 7.3 รายงานข้อเท็จจริงต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับ 7.4 จัดทำข้อเท็จจริงรายละเอียดการรักษาพยาบาลในส่วนทีÉเกีÉยวข้องกับ ตนเอง รวมทัÊงอธิบายประเด็นทÉีถูกกล่าวหาหรือฟ้องร้องให้ชัดเจน โดยอาจอ้างอิงหลัก วิชาการประกอบ เพÉือเป็นเอกสารประกอบการต่อสู้คดีในชัÊนพนักงานสอบสวน ชัÊน อยัการ ชÊนัศาล 7.5 หากประสงค์จะหารือขอความเห็น คำแนะนำในข้อกฎหมาย สามารถ หารือนิติกรโรงพยาบาล นิติกรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหรือกลุ่มกฎหมาย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 7.6 กรณีได้รับแจ้งว่า ผู้ป่ วยหรือญาติ แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงาน สอบสวน ให้รีบแจ้งผู้อำนวยการโรงพยาบาล และกลุ่มกฎหมาย สำ นักงาน ปลัดกระทรวงทันที และดำเนินการตามข้อ 7.1-7.5 7.7 กรณีได้รับหมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง คดีแพ่งหรือคดีอาญา ให้ ดาํเนินการตามข้อ 6.5 และลงนามในใบแต่งทนายความทÉีนิติกรจะนำไปให้ เพÉือส่งให้ พนกังานอัยการหรือทนายความ ดำเนินการแก้ต่างคดีต่อไป 7.8 ควรปฏิบัติตามคำแนะนำของทีมทีÉปรึกษา ผู้บังคับบัญชาและฝ่าย กฎหมาย หากมีข้อสงสัยให้สอบถามทันที
  • 21. 17 8) กลุ่มกฎหมาย มีบทบาทหน้าทÉี ดังนีÊ 8.1 รวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง กรณีมีข้อพิพาท เกิดขึÊนจริง หรือเชÉือว่าจะเกิดขÊึนในสถานพยาบาล สังกัด กระทรวงสาธารณสุข 8.2 ให้คำปรึกษา แนะนำ การดำเนินคดีตาม กฎหมายแก่แพทย์ และบุคลากรสาธารณสุข รวมถึงว่าความคดีอาญาทีÉพนักงานอัยการ เป็นโจทก์ฟ้ อง 8.3 เจรจาต่อรองกับผู้เสียหายทัÊงในรูปแบบคณะทำงาน หรือบุคคลหรือ ร่วมกับทีมของสถานพยาบาล 8.4 ไกล่เกลีÉยข้อพิพาทของสถานพยาบาลกับผู้เสียหาย 8.5 เตรียมคดีเพืÉอส่งพนักงานอัยการแก้ต่างคดีแพ่ง อาญา (พยานบุคคล เอกสารวัตถุทีÉเกีÉยวข้อง) 8.6 เตรียมคดีและแก้ต่างคดีอาญาทีÉพนักงานอัยการหรือผู้เสียหายฟ้อง คดีอาญา 8.7 ศึกษา วิเคราะห์ ปัญหาต่างๆทัÊงในส่วนคดีและการให้บริการทาง การแพทย์และหาแนวทางป้องกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว 8.8 เผยแพร่ให้ความรู้ด้านกฎหมายแก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข กฎหมายเกีÉยวกับเวชระเบียน เวชระเบียนคืออะไร ตามพจนานุกรมไม่ได้บัญญัติคำว่า “เวชระเบียน” เป็นการเฉพาะ แต่ ถา้เรานำความหมายของคาํว่า “เวช” ซÉึงแปลว่า รักษาโรค รวมกับคำว่า “ระเบียน” ซึÉงแปลว่า ทะเบียนหรือการจดลักษณะหรือรายการงานต่าง ๆเพÉือเป็นหลักฐาน คำว่า “เวชระเบียน” น่าจะหมายถึง บันทึกหรือรายงานการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนันÉเอง เวชระเบียนมีความสำคัญอย่างไร เวชระเบียนมีความสำคัญต่อบุคคลอย่างน้อย 4 กลุ่ม คือ
  • 22. 18 ผ้ปู่วย 1. เป็นหลักฐานในเรืÉองประวัติการเจ็บป่วย ผลการตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องทดลอง โรค การให้การรักษาพยาบาล ตลอดจนปัจจัยต่าง ๆ ทÉีมีผลต่อการเจ็บป่วย สุขภาพอนามยัของผูป้่วย ทีÉจะช่วยให้แพทย์รักษาผู้ป่วยอย่างถูกต้อง 2. เป็นหลักฐานทางกฎหมายทีÉจะใช้ในการเรียกร้องสิทธิของผู้ป่วย เช่น ฟ้องเรียกค่าเสียหายจากการรักษาพยาบาลจากแพทย ์ เป็นหลกัฐานการขอรับเงิน ประกนัภยั เป็นตน้ แพทย์ 1. เป็นสืÉอในการติดต่อระหว่างทีมงานทีÉรักษา ดูแลผู้ป่วยในการติดตามดูแลผู้ป่วย 2. เป็นข้อมูลทีÉทำให้แพทย์รักษาพยาบาลได้ อย่างถูกต้อง เพราะคนไข้มาก แพทย์อาจจำไม่ได้ว่าใครเป็นอะไร ได้รักษาอะไรไปบ้าง โรงพยาบาล 1. เป็นหลักฐานประเมินประสิทธิภาพในการให้บริการผู้ป่วยว่า มีความ ละเอียดถีÉถ้วนและรอบคอบหรือไม่ อย่างไร 2. เป็นแหล่งข้อมูลในการทำสถิติของโรงพยาบาลและสถิติของประเทศ 3. ใช้เป็นข้อมูลในการเก็บค่าบริการของโรงพยาบาล ผ้สูนใจ เวชระเบียนทีÉถูกต้องสมบูรณ์ มีประโยชน์ต่อการศึกษาและวิจัย เช่น รายงานผปู้่วยทÉีน่าสนใจ อุบัติการณ์ สาเหตุต่างๆ การวินิจฉัยทางคลินิกอÉืน ๆ รวมทÊงัมี ประโยชน์ต่อผู้เขียน นักศึกษาแพทย์ พยาบาล และผู้อยู่ในกระบวนการรักษาผู้ป่วยทุก วิชาชีพ เวชระเบียนเป็นของใคร โดยหลักการต้องดูว่าใครเป็นผู้จัดทำ ซึÉงในความเป็นจริงสถานพยาบาล เป็นผู้จัดทำเวชระเบียนเพืÉอประโยชน์ในการดูแลรักษาผู้ป่วย ในส่วนของสถานพยาบาล ของราชการ ก็ต้องพิจารณาว่า สภาพของเวชระเบียนเป็นอย่างไร ตามพระราชบัญญตัิ ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 ในมาตรา 4 กำหนดไว้ดังนีÊ
  • 23. 19 “ข้อมูลข่าวสาร” หมายถึง สิÉงทีÉสืÉอความหมายให้รู้เรืÉองราว ข้อเท็จจริง ข้อมูลหรือสิÉงใด ๆ ไม่ว่าการสÉือความหมายนัÊนจะทำได้โดยสภาพของสิÉงนัÊนเอง หรือ โดยผ่านวิธีการใด ๆ และไมว่าจะได้จัดทำไว้ในรูปเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนทีÉ ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดย คอมพิวเตอร์ หรือวิธีอÉืนใดทÉีทำให้สิÉงทÉีบันทึกไว้ปรากฎได้ “ขอ้มูลข่าวสารของทางราชการ” หมายความว่า ขอ้มูลข่าวสารทÉีอยู่ใน ความครอบครองหรือดูแลของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกีÉยวกับการ ดำเนินงานของรัฐ หรือข้อมูลเกีÉยวกับเอกชน เมืÉอดูจากตัวเวชระเบียน จะเห็นว่า เวชระเบียนถือเป็นข้อมูลข่าวสาร และอยู่ในความครอบครองของโรงพยาบาล จึงถือเป็นขอ้มูลข่าวสารของทางราชการ แต่เมืÉอพิจารณาดูในรายละเอียดแล้วจะพบว่า เป็นข้อมูลเกีÉยวกับประวัติผู้ป่วยหรือ ประวตัิสุขภาพ ซÉึงตามกฎหมายขอ้มูลข่าวสาร ขอ้มูลประวตัิผูป้่วยถือเป็นขอ้มูลส่วน บุคคล ดังนัÊน เวชระเบียนจึงเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลทÉีอยู่ในความครอบครองของ ทางราชการหรือเป็นข้อมูลของทางราชการนัÉนเอง ดังนัÊนเวชระเบียนจึงเป็นของ โรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลเป็นผู้มีสิทธิในเวชระเบียนดังกล่าว ทัÊงนีÊ ย่อมหมายความ รวมถึงหน่วยงานต้นสังกัดของโรงพยาบาลด้วย การเปิดเผยเวชระเบียน ตามมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 บญัญตัิดงันÊี “ข้อมูลข่าวสารของราชการทีÉมีลักษณะอย่างใด อย่างหนึÉงดังต่อไปนีÊ หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าทÉีของรัฐอาจมี คำสังÉมิให้เปิดเผยก็ได้โดยคาํนึงถึงการปฎิบตัิหน้าทÉีตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ ประโยชน์สาธารณะ และประโยชน์ของเอกชนทีÉเกีÉยวข้องประกอบกัน (1) .................................................................................. (2) .................................................................................. (3) .................................................................................. (4) ..................................................................................
  • 24. 20 (5) รายงานทางการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล ซึÉงการ เปิดเผยจะเป็นการรุกลÊำสิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร (6) .............................................................................. (7) .............................................................................. คาํสังÉมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการจะกำหนดเงÉือนไขอย่างใด ก็ได้ แต่ต้องระบุไว้ด้วยว่า ทีÉเปิดเผยไม่ได้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใด และ เพราะเหตุใด และให้ถือว่า การมีคำสัÉงเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นดุลยพินิจ โดยเฉพาะของเจ้าหน้าทÉีของรัฐ ตามลำดับการบังคบับัญชา แต่ผู้ขออาจอุทธรณ์ต่อ คณะกรรมการวินิฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้ กรณีเวชระเบียนเป็นรายงานทางการแพทย์และเป็น ข้อมูลข่าวสาร ส่วนบุคคล ตามมาตรา 15(5) ซึÉงกฎหมายกำหนดให้เป็นดุลยพินิจของเจ้าหน้าทÉีของรัฐ ว่าจะเปิดเผยหรือไม่ก็ได้ แต่เนืÉองจากเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลด้วย กฎหมายได้ กำหนดการพิจารณาเปิดเผยข้อมูลในมาตรา 24 กล่าวคือ 1. จะเปิดเผยโดยปราศจากความยินยอมเป็นหนังสือของเจ้าของข้อมูลทีÉให้ ไว้ล่วงหน้าหรือในขณะนัÊนไม่ได้ คือต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลก่อนเท่านัÊน 2. กรณีทีÉไม่จำเป็นต้องได้รับความยินยอม (1) ต่อเจ้าหน้าทีÉของรัฐในหน่วยงานของตน เพืÉอการนำไปใช้ ตามอำนาจหน้าทÉีของหน่วยงานของรัฐนัÊน (2) เป็นการใช้ข้อมูลตามปกติภายในวัตถุประสงค์ของการจัดให้ มีระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลนัÊน (3) ต่อหน่วยงานของรัฐทีÉทำงานด้านการวางแผนหรือการสถิติ สำ มะโนต่าง ๆ ซึÉงมีหน้าทÉีต้องรักษาข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลไว้ ไม่ให้เปิดเผยต่อไปยังผู้อÉืน (4) เป็นการให้เพืÉอประโยชน์ในการศึกษาวิจัยโดยไม่ระบุชีÉอ หรือส่วนทีÉทำให้รู้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลทีÉเกีÉยวกับบุคคลใด (5) ต่อหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร หรือหน่วยงาน อÉืนของรัฐตามมาตรา 26 วรรคหนึÉง เพิÉอตรวจดูคุณค่าในการเก็บรักษา (6) ต่อเจ้าหน้าทีÉของรัฐเพืÉอการป้องกันการฝ่าฝืนหริอไม่ปฎิบัติ ตามกฎหมาย การสืบสวน การสอบสวนหรือการฟ้องคดี ไม่ว่าคดีประเภทใดก็ตาม
  • 25. 21 (7) เป็นการให้ซึÉงจำเป็นเพÉือการป้องกันหรือระงับอันตรายต่อ ชีวิตหรือสุขภาพของบุคคล (8) ต่อศาล และเจ้าหน้าทีÉของรัฐหรือบุคคลทีÉมีอำนาจตาม กฎหมายทีÉจะขอข้อเท็จจริงดังกล่าว (9) กรณีอืÉนตามทีÉกำหนดในพระราชกฤษฎีกา การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลตามวรรคหนึÉง (3) (4) (5) (6) (7) (8)และ (9) ให้มีการจัดทำบัญชีแสดงการกำกับไว้กับข้อมูลข่าวสารนัÊน สิทธิของผ้เูป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (มาตรา 25) 1. มีสิทธิทีÉจะได้รู้ถึงข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลทีÉเกีÉยวกับตน โดย - ยืÉนคำขอเป็นหนังสือ - หน่วยงานของรัฐทÉีควบคุมดูแลข้อมูลนัÊน จะต้องให้บุคคล นัÊนหรือผู้กระทำการแทนบุคคลนัÊนตรวจดูหรือรับสำเนาข้อมูลนัÊน - ถ้ามีส่วนต้องห้ามตามมาตรา 14 มาตรา 15 ให้ลบหรือตัดทอน หรือกระทำโดยประการอÉืนใดทÉีไม่เป็นการเปิดเผยข้อมูลนัÊน - หน่วยงานเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการสำเนาเอกสารและรับรองเอกสารได้ - การเปิดเผยรายงานการแพทย์ทีÉเกีÉยวกับบุคคลใด กรณีมีเหตุอัน ควรจะเปิดเผยต่อเฉพาะแพทย์ทÉีบุคคลนัÊนมอบหมายก็ได้ 2. มีสิทธิขอแก้ไข เปลีÉยนแปลงหรือลบข้อมูลทีÉเห็นว่า ไม่ถูกต้องได้ แต่เจ้าหน้าทÉีจะเป็นผู้พิจารณา หากไม่ยอมทำตาม ผุ้นัÊนมีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ วินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารได้ เมÉือเราพิจารณาบทบัญญัติดังกล่าวแลว้ จะพบว่า 1. เวชระเบียนเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลทีÉอยู่ในความครอบครอง ของราชการ 2. จะเปิดเผยให้กับหน่วยงานของรัฐอืÉนหรือผู้อืÉนโดยมิได้รับความ ยินยอมจากเจ้าของข้อมูลไม่ได้ 3. เจ้าของข้อมูลเวชระเบียนมีสิทธิตรวจดูและรับสำเนาเวชระเบียนได้
  • 26. 22 4. ผู้กระทำการแทนเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลสามารถขอตรวจดูและ รับสำเนาเวชระเบียนได้ แต่ถ้าเป็นกรณีผู้เป็นเจ้าของข้อมูลมอบอำนาจไว้ล่วงหน้า และ เสียชีวิตก่อนการใช้ใบมอบอำนาจนัÊน ใบมอบอำนาจดังกล่าวเป็นอันใช้ไม่ได้ 5. เจ้าหน้าทีÉอาจไม่เปิดเผยข้อมูลเวชระเบียนก็ได้ถ้าเห็นว่า การ เปิดเผยจะเป็นการล่วงลÊำสิทธิของเจ้าของข้อมูลโดยไม่สมควร 6. ถ้าเจ้าของข้อมูลเป็นผู้เยาว์ ผู้ใช้อำนาจปกครอง(บิดา มารดา ผูป้กครอง) มีสิทธิดำเนินการได้ กรณีผู้เยาว์อายุไม่ตํÉากว่า 15 ปี ต้องได้รับความ ยินยอมจากผู้เยาว์ด้วย 7. ถา้เป็นบุคคลไร้ความสามารถ ผู้อนุบาลขอแทนได้ (บุคคลไร้ ความสามารถ คือ บุคคลวิกลจริตทÉีศาลมีคำสังÉให้เป็นบุคคลไร้ความสามารถ / ผอู้นุบาล คือ บุคคลทีÉมีสิทธิทำการแทนบุคคลไร้ความสามารถ) 8. ถ้าเป็นบุคคลเสมือนไร้ความสามารถ (กายพิการ จิตฟัÉนเฟื อนไม่ สมประกอบหรือมีเหตุอย่างเดียวกัน) ผพูิ้ทกัษม์ีสิทธิดาํเนินการได้ 9. ถ้าเจ้าของข้อมูลถึงแก่กรรมและมิได้ทำพินัยกรรมไว้ บุคคล ดังต่อไปนีÊขอแทนได้ตามลำดับ - บุตรชอบด้วยกฎหมายหรือบุตรบุญธรรม - คู่สมรส - บิดามารดา - ผู้สืบสันดาน - พีÉน้องร่วมบิดามารดา - คณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร อย่างไรก็ตาม มี พระราชบัญญัติ สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 กำหนดไว้ดังนีÊ มาตรา 7 ขอ้มูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลบัส่วนบุคคล ผูใ้ดจะ นำไปเปิดเผยในประการทÉีน่าจะทำให้บุคคลนัÊนเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนัÊน เป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนัÊนโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้อง เปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใดๆผู้ใดจะอาศัยอำนาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูล ข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอืÉนเพืÉอขอเอกสารเกีÉยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของ บุคคลทÉีไม่ใช่ของตนไม่ได้