SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  96
Télécharger pour lire hors ligne
การบริหารจัดการ
สินค้าคงคลัง
หัวข้อการอบรม
 ประเภทของ Inventory
 หน้าที่ของ Inventory
 ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง
 ระบบการควบคุมและตรวจนับวัสดุคงคลัง
 การจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลัง
 Inventory Lead time
 ระดับการบริการลูกค้าและสินค้าคงคลังเพื่อความปลอดภัย
 การกาหนดเวลาในการสั่งเติมเต็มวัสดุ และสินค้าคงคลัง
 การกาหนดปริมาณในการสั่งเติมเต็มวัสดุ และสินค้าคงคลัง
 การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ
2
ชนิดของ Inventory
หน้าที่ของ Inventory
 Anticipation Inventory: การมีวัสดุคงคลังเพื่อเก็บไว้ใช้ในกรณีพิเศษ
ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นตามแผนการดาเนินงานทั้งกรณีที่คาดว่าจะมีความ
ต้องการเพิ่มขึ้นจากปกติ เช่น planned sales promotion programs,
seasonal fluctuations และกรณีที่วัสดุหรือสินค้านั้นอาจขากแคลนชั่วคราว
เช่น plant shutdowns
 Fluctuation Inventory: การมีวัสดุคงคลังเพื่อเก็บไว้สารองในกรณีที่ความ
ต้องการของลูกค้าหรือการจัดส่งวัสดุหรือสินค้าจะ Supplier มีความไม่
แน่นอน
 Lot size Inventory: การมีวัสดุคงคลังเนื่องจากกรผลิตหรือสั่งซื้อแบบเต็ม
Lot เพื่อรักษาการผลิตให้มีอัตราคงที่หรือเพื่อให้ ได้ส่วนลดปริมาณจากการ
จัดซื้อจานวนมากต่อครั้ง
 Hedging Inventory: การมีวัสดุคงคลังไว้เพื่อเก็งกาไรในอนาคต
4
ประเภทของ Inventory
 วัสดุหรือสินค้าที่เก็บตามรอบ ( Cycle Stock): วัสดุหรือสินค้าที่เก็บตามรอบ
เป็นวัสดุหรือสินค้าที่มีไว้เพื่อทดแทนวัสดุหรือสินค้าทีขายไปหรือวัสดุหรือสินค้า
ที่ใช้ไปในการผลิต ซึ่งวัสดุหรือสินค้าประเภทนี้จะเก็บไว้เพื่อตอบสนองความ
ต้องการวัสดุหรือสินค้าภายใต้เงื่อนไขที่มีความแน่นอน และอยู่ภายใต้สมมติฐาน
ที่ว่าความต้องการวัสดุหรือสินค้าและเวลานาในการสั่งคงที่และทราบล่วงหน้า
 วัสดุหรือสินค้าปลอดภัยหรือวัสดุหรือสินค้ากันชน ( Safety or Buffer
Stock): เป็นวัสดุหรือสินค้าจานวนหนึ่งที่เก็บไว้เกินจานวนวัสดุหรือสินค้าที่เก็บ
ไว้ตามรอบปกติเนื่องจากความไม่แน่นอนในความต้องการ ซึ่งปริมาณวัสดุคง
คลังโดยเฉลี่ยจะเท่ากับครึ่งหนึ่งของปริมาณ การสั่งซื้อตามปกติบวกกับปริมาณ
วัสดุหรือสินค้าปลอดภัย
5
Cycle Stock and Safety Stock
6
ประเภทของ Inventory
 วัสดุคงคลังระหว่างทาง (In – transit Inventories): เป็นวัสดุหรือสินค้าที่อยู่
ระหว่างการลาเลียงจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง ซึ่งวัสดุหรือสินค้า
เหล่านี้อาจจะถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัสดุหรือสินค้าที่เก็บไว้แม้ว่าวัสดุหรือ
สินค้าเหล่านี้จะยังไม่สามารถขายหรือขนส่งในลาดับต่อไปได้จนกว่าวัสดุหรือ
สินค้านั้นจะไปถึงผู้ที่สั่งวัสดุหรือสินค้านั้นเสียก่อน ดังนั้น ในการคานวณต้นทุน
ในการเก็บรักษาวัสดุหรือสินค้าของต้นทางควรจะรวมต้นทุนของวัสดุหรือสินค้า
คงคลังระหว่างทางไว้ด้วย
 วัสดุหรือสินค้าไม่เคลื่อนไหว (Dead Stock): เป็นวัสดุหรือสินค้าทีกิจการเก็บ
ไว้นานและยังไม่มีความต้องการวัสดุหรือสินค้าชนิดนั้นเกิดขึ้นซึ่งอาจเป็นเพราะ
วัสดุหรือสินค้าล้าสมัย เสื่อมสภาพ ในกรณีที่เป็นวัสดุหรือสินค้าตกค้างควรทา
การพิจารณาว่าเพื่อป้องกันการเสื่อมของวัสดุหรือสินค้า หรือการนามาขายลด
ราคาหน้าโรงงานก็อาจจะช่วยแก้ไขปัญหานี้ลงได้
7
วัตถุประสงค์ของ Inventory
 ตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ประมาณการไว้ในแต่ละช่วงเวลาทั้งใน
และนอกฤดูกาล
 รักษาการผลิตให้มีอัตราคงที่สม่าเสมอ เพื่อรักษาระดับการว่าจ้างแรงงาน การ
เดินเครื่องจักร ฯลฯ ให้สม่าเสมอได้ โดยจะเก็บวัสดุหรือสินค้าที่ขายไม่หมด
ในช่วงขายไม่ดีไว้ขายตอนช่วงขายดีซึ่งช่วงนั้นอาจจะผลิตไม่ทันขาย
 ทาให้ธุรกิจได้ส่วนลดปริมาณจากการจัดซื้อจานวนมากต่อครั้ง ป้ องกันการ
เปลี่ยนแปลงราคาแลผลกระทบจากเงินเฟ้ อเมื่อวัสดุหรือสินค้าในท้องตลาดมี
ราคาสูงขึ้น
 ป้ องกันของขาดมือด้วยวัสดุหรือสินค้าเผื่อขาดมือ เมื่อเวลารอคอยล่าช้าหรือ
บังเอิญได้คาสั่งซื้อเพิ่มขึ้นกะทันหัน
 ทาให้กระบวนการผลิตสามารถดาเนินการต่อเนื่องอย่างราบรื่น ไม่มีการ
หยุดชะงักเพราะของขาดมือจนเกิดความเสียหายแก่กระบวนการผลิต
8
 มีระบบการพยากรณ์ที่เชื่อถือได้ และสามารถบ่งชี้ข้อผิดพลาดในการพยากรณ์ได้
 สามารถประมาณการเกี่ยวกับ ต้นทุนด้านต่างๆ ได้
◦ ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆมา
◦ ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง
◦ ต้นทุนในการสั่งซื้อ
◦ ต้นทุนจากการขาดแคลนวัสดุคงคลัง
 มีระบบในการควบคุมและ ติดตามปริมาณ วัสดุคงคลัง
 มีระบบการจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลังที่ดี
 มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลานา ในการสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนในการผลิตแต่ละประเภท
 มีการกาหนดปริมาณการสั่งซื้อและรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง ที่เหมาะสม
การบริหารจัดการวัสดุคงคลังที่มีประสิทธิภาพ
9
 มีระบบการพยากรณ์ที่เชื่อถือได้ และสามารถบ่งชี้ข้อผิดพลาดในการพยากรณ์ได้
 สามารถประมาณการเกี่ยวกับ ต้นทุนด้านต่างๆ ได้
◦ ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆ
◦ ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง
◦ ต้นทุนในการสั่งซื้อ
◦ ต้นทุนจากการขาดแคลนวัสดุคงคลัง
 มีระบบในการควบคุมและ ติดตามปริมาณ วัสดุคงคลัง
 มีระบบการจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลังที่ดี
 มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลานา ในการสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนในการผลิตแต่ละประเภท
 มีการกาหนดปริมาณการสั่งซื้อและรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง ที่เหมาะสม
การบริหารจัดการวัสดุคงคลังที่มีประสิทธิภาพ
10
ต้นทุนวัสดุคงคลัง
 ค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆมา (Item cost)
ค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ ประกอบด้วย
◦ ราคาวัสดุหรือวัสดุหรือสินค้า
◦ ค่าขนส่ง
◦ ค่าประกัน
◦ ค่าธรรมเนียมต่างๆ
◦ ค่าภาษีศุลกากร
11
ต้นทุนวัสดุคงคลัง
 ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ (Ordering Cost) เป็นค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายเพื่อให้
ได้มาซึ่งวัสดุคงคลังที่ต้องการ ซึ่งจะแปรตามจานวนครั้งของการสั่งซื้อ แต่
ไม่แปรตามปริมาณวัสดุคงคลัง เพราะสั่งซื้อของมากเท่าใดก็ตามในแต่ละ
ครั้ง ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อก็ยังคงที่ แต่ถ้ายิ่งสั่งซื้อบ่อยครั้งค่าใช้จ่ายใน
การสั่งซื้อจะยิ่งสูงขึ้น ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อได้แก่
◦ ค่าเอกสารใบสั่งซื้อ
◦ ค่าจ้างพนักงานจัดซื้อ
◦ ค่าโทรศัพท์
◦ ค่าขนส่งวัสดุหรือสินค้า
◦ ค่าใช้จ่ายในการตรวจรับของและเอกสาร
◦ ค่าธรรมเนียมการนาของออกจากศุลกากร
◦ ค่าใช้จ่ายในการชาระเงิน
12
ต้นทุนวัสดุคงคลัง
 ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา (Carrying Cost) เป็นค่าใช้จ่ายจากการมีวัสดุ
คงคลังและการรักษาสภาพให้วัสดุคงคลังนั้นอยู่ในรูปที่ใช้งานได้ ซึ่งจะ
แปรตามปริมาณวัสดุคงคลังที่ถือไว้และระยะเวลาที่เก็บวัสดุคงคลังนั้นไว้
ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ได้แก่
◦ ต้นทุนเงินทุนที่จมอยู่กับวัสดุคงคลังซึ่งคือค่าดอกเบี้ยจ่ายถ้าเงินทุนนั้นมาจากการกู้ยืมหรือ
เป็นค่าเสียโอกาสถ้าเงินทุนนั้นเป็นส่วนของเจ้าของ
◦ ค่าคลังวัสดุหรือสินค้า
◦ ค่าไฟฟ้าเพื่อการรักษาอุณหภูมิ
◦ ค่าใช้จ่ายของวัสดุหรือวัสดุหรือสินค้าที่ชารุดเสียหายหรือหมดอายุเสื่อมสภาพจากการเก็บ
นานเกินไป
◦ ค่าภาษีและการประกันภัย
◦ ค่าจ้างยามและพนักงานประจาคลังวัสดุหรือสินค้า ฯลฯ
13
ต้นทุนวัสดุคงคลัง: Trade off
14
 ค่าใช้จ่ายเนื่องจากวัสดุหรือสินค้าขาดแคลน (Shortage Cost หรือ Stock
out Cost) เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีวัสดุคงคลังไม่เพียงพอต่อการผลิต
หรือการขาย ทาให้ลูกค้ายกเลิกคาสั่งซื้อ ขาดรายได้ที่ควรได้ กิจการเสียชื่อเสียง
กระบวนการผลิตหยุดชะงักเกิดการว่างงานของเครื่องจักรและคนงาน ฯลฯ
ค่าใช้จ่ายเนื่องจากวัสดุหรือวัสดุหรือสินค้าขาดแคลน ได้แก่ คาสั่งซื้อ
ของล็อตพิเศษทางอากาศเพื่อนามาใช้แบบฉุกเฉิน ค่าปรับเนื่องจากวัสดุหรือ
สินค้าให้ลูกค้าล่าช้า ค่าเสียโอกาสในการขาย ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการเสียค่า
ความนิยม ฯลฯ
ค่าใช้จ่ายนี้จะแปรผกผันกับปริมาณวัสดุคงคลังที่ถือไว้ นั่นคือถ้าถือวัสดุ
หรือสินค้าไว้มากจะไม่เกิดการขาดแคลน แต่ถ้าถือวัสดุคงคลังไว้น้อยก็อาจเกิด
โอกาสที่จะเกิดการขาดแคลนได้มากกว่า
ต้นทุนวัสดุคงคลัง
15
 ค่าใช้จ่ายในการปรับตั้งเครื่องจักรใหม่ (Capacity- Related Cost) เป็น
ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการที่เครื่องจักรจะต้องเปลี่ยนการทางานหนึ่งไปทางาน
อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งจะเกิดการว่างงานชั่วคราว วัสดุคงคลังจะถูกทิ้งให้รอ
กระบวนการผลิตที่จะตั้งใหม่
ค่าใช้จ่ายในการตั้งเครื่องจักรใหม่นี้จะมีลักษณะเป็นต้นทุนคงที่ต่อครั้ง ซึ่ง
จะขึ้นอยู่กับขนาดของล็อตการผลิต ถ้าผลิตเป็นล็อตใหญ่มีการตั้งเครื่องใหม่นาน
ครั้ง ค่าใช้จ่ายในการตั้งเครื่องใหม่ก็จะต่า แต่ยอดสะสมของวัสดุคงคลังจะสูง ถ้า
ผลิตเป็นล็อตเล็กมีการตั้งเครื่องใหม่บ่อยครั้ง ค่าใช้จ่ายในการตั้งเครื่องใหม่ก็จะ
สูง แต่วัสดุคงคลังจะมีระดับต่าลง และสามารถส่งมอบงานให้แก่ลูกค้าได้เร็วขึ้น
ต้นทุนวัสดุคงคลัง
16
ต้นทุนวัสดุคงคลัง : Trade off
17
 มีระบบการพยากรณ์ที่เชื่อถือได้ และสามารถบ่งชี้ข้อผิดพลาดในการพยากรณ์ได้
 สามารถประมาณการเกี่ยวกับ ต้นทุนด้านต่างๆ ได้
◦ ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆมา
◦ ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง
◦ ต้นทุนในการสั่งซื้อ
◦ ต้นทุนจากการขาดแคลนวัสดุคงคลัง
 มีระบบในการควบคุมและ ติดตามปริมาณ วัสดุคงคลัง
 มีระบบการจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลังที่ดี
 มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลานา ในการสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนในการผลิตแต่ละประเภท
 มีการกาหนดปริมาณการสั่งซื้อและรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง ที่เหมาะสม
การบริหารจัดการวัสดุคงคลังที่มีประสิทธิภาพ
18
ระบบการควบคุมและตรวจนับวัสดุคงคลัง
 ระบบวัสดุคงคลังอย่างต่อเนื่อง (Continuous Inventory System Perpetual
System)
◦ เป็นระบบวัสดุคงคลังที่มีการเก็บข้อมูลทุกครั้งที่มีการรับและจ่ายของ ทาให้มี
ข้อมูลที่แสดงยอดคงเหลือที่แท้จริงของวัสดุคงคลังอยู่เสมอ ซึ่งจาเป็นอย่างยิ่งใน
การควบคุมวัสดุคงคลังรายการที่สาคัญที่ปล่อยให้ขาดมือไม่ได้
◦ ปัจจุบันการนาเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้กับงานสานักงานและบัญชี
สามารถช่วยแก้ไขปัญหาในข้อนี้ โดยการใช้รหัสแห่ง (Bar Code) ติดบนวัสดุ
หรือสินค้าแล้วใช้เครื่องอ่านรหัสแห่ง (Laser Scan) ซึ่งวิธีนี้นอกจากจะมี
ความถูกต้อง แม่นยา เที่ยงตรงแล้ว ยังสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลของการบริหาร
วัสดุคงคลังในซัพพลายเชนของวัสดุหรือสินค้าได้อีกด้วย
19
ระบบการควบคุมและตรวจนับวัสดุคงคลัง
 ระบบวัสดุคงคลังเมื่อสิ้นงวด (Periodic Inventory System)
◦ เป็นระบบวัสดุคงคลังที่มีการเก็บข้อมูลเฉพาะในช่วงเวลาที่กาหนดไว้เท่านั้น
เช่นตรวจนับและลงบัญชีทุกปลายสัปดาห์หรือปลายเดือน และจะมีการสั่งซื้อ
เข้ามาเติมให้เต็มระดับที่ตั้งไว้ ระบบนี้จะเหมาะกับวัสดุหรือสินค้าที่มีการ
สั่งซื้อและเบิกใช้เป็นช่วงเวลาที่แน่นอน เช่น ร้านขาย CD จะมีการสารวจ
ยอดCDในแต่ละวัน และสรุปยอดตอนสิ้นสัปดาห์ เพื่อดูปริมาณ CD คงค้าง
ในร้านและคลังวัสดุหรือสินค้า เพื่อเตรียมสั่งมาเพิ่มเพราะจะมีการเผื่อสารอง
การขาดมือโดยไม่คาดคิดไว้ก่อนล่วงหน้าบ้าง และระบบนี้จะทาให้มีการปรับ
ปริมาณการสั่งซื้อใหม่ เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลงไปด้วย
20
 ข้อดีของระบบวัสดุคงคลังแบบต่อเนื่อง
◦ มีวัสดุคงคลังเผื่อขาดมือน้อยกว่า โดยจะเผื่อวัสดุหรือสินค้าไว้เฉพาะช่วงเวลา
รอคอยเท่านั้นเนื่องจากสามารถสั่งเพิ่มใหม่ได้ตลอด ในขณะที่การตรวจนับ
วัสดุคงคลังเมื่อสิ้นงวดต้องเผื่อวัสดุหรือสินค้าไว้ทั้งช่วงเวลารอคอย และเวลา
ระหว่างการสั่งซื้อเนื่องจากจะไม่สามารถสั่งซื้อถ้ายังไม่ถึงช่วงเวลาที่กาหนด
 ข้อดีของระบบวัสดุคงคลังเมื่อสิ้นงวด
◦ ใช้เวลาน้อยกว่าและเสียค่าใช้จ่ายในการควบคุมน้อยกว่าระบบต่อเนื่อง
◦ ค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูลวัสดุคงคลังต่ากว่า
ระบบการควบคุมและตรวจนับวัสดุคงคลัง
21
 มีระบบการพยากรณ์ที่เชื่อถือได้ และสามารถบ่งชี้ข้อผิดพลาดในการพยากรณ์ได้
 สามารถประมาณการเกี่ยวกับ ต้นทุนด้านต่างๆ ได้
◦ ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆมา
◦ ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง
◦ ต้นทุนในการสั่งซื้อ
◦ ต้นทุนจากการขาดแคลนวัสดุคงคลัง
 มีระบบในการควบคุมและ ติดตามปริมาณ วัสดุคงคลัง
 มีระบบการจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลังที่ดี
 มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลานา ในการสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนในการผลิตแต่ละประเภท
 มีการกาหนดปริมาณการสั่งซื้อและรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง ที่เหมาะสม
การบริหารจัดการวัสดุคงคลังที่มีประสิทธิภาพ
22
ระบบการจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวดเอบีซี
 ระบบนี้เป็นวิธีการจาแนกวัสดุคงคลังออกเป็นแต่ละประเภทโดยพิจารณาปริมาณและ
มูลค่าของวัสดุคงคลังแต่ละรายการเป็นเกณฑ์ เพื่อลดภาระในการดูแล ตรวจนับ และ
ควบคุมวัสดุคงคลังที่มีอยู่มากมาย ซึ่งถ้าควบคุมทุกรายการอย่างเข้มงวดเท่าเทียมกัน
จะเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากเกินความจาเป็น เพราะในบรรดาวัสดุคงคลังทั้งหลาย
ของแต่ละธุรกิจจะมักเป็นไปตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้
◦ A เป็นวัสดุคงคลังที่มีปริมาณน้อย (5-15% ของวัสดุคงคลังทั้งหมด) แต่มีมูลค่ารวม
ค่อนข้างสูง (70-80% ของมูลค่าทั้งหมด)
◦ B เป็นวัสดุคงคลังที่มีปริมาณปานกลาง (30% ของวัสดุคงคลังทั้งหมด) และมีมูลค่ารวม
ปานกลาง (15% ของมูลค่าทั้งหมด)
◦ C เป็นวัสดุคงคลังที่มีปริมาณมาก (50-60% ของวัสดุคงคลังทั้งหมด) แต่มีมูลค่ารวม
ค่อนข้างต่า (5-10% ของมูลค่าทั้งหมด)
23
ประเภท ปริมาณการใช้ ต้นทุน/หน่วย ($) มูลค่าการใช้ ($) เปอร์เซ็นต์มูลค่าการใช้
1 5,000 1.50 7,500 2.9%
2 1,500 8.00 12,000 4.7%
3 10,000 10.50 105,000 41.2%
4 6,000 2.00 12,000 4.7%
5 7,500 0.50 3,750 1.5%
6 6,000 13.60 81,600 32.0%
7 5,000 0.75 3,750 1.5%
8 4,500 1.25 5,625 2.2%
9 7,000 2.50 17,500 6.9%
10 3,000 2.00 6,000 2.4%
Total $ 254,725 100.0%
ระบบการจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวดเอบีซี
24
มูลค่าการใช้($) เปอร์เซ็นต์มูลค่าการใช้
3 41.2%
6 32.0%
9 6.9%
2 4.7%
4 4.7%
1 2.9%
10 2.4%
8 2.2%
5 1.5%
7 1.5%
ระบบการจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวดเอบีซี
25
0.0%
20.0%
40.0%
60.0%
80.0%
100.0%
120.0%
0.0%
5.0%
10.0%
15.0%
20.0%
25.0%
30.0%
35.0%
40.0%
45.0%
Cumulative%Usage
PercentUsage
Item No.
Percentage of Total Dollar Usage Cumulative Percentage
ระบบการจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวดเอบีซี
26
การจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวด ABC จะทาให้การควบคุมวัสดุคงคลังแตกต่าง
กันดังต่อไปนี้
 A ควบคุมอย่างเข้มงวดมาก ด้วยการลงบัญชีทุกครั้งที่มีการรับจ่าย และมีการตรวจนับ
จานวนจริงเพื่อเปรียบเทียบกับจานวนในบัญชีอยู่บ่อยๆ (เช่น ทุกวันหรือ ทุกสัปดาห์)
การควบคุมจึงควรใช้ระบบวัสดุคงคลังอย่างต่อเนื่องและต้องเก็บของไว้ในที่ปลอดภัย
ในด้านการจัดซื้อก็ควรหาผู้ขายไว้หลายรายเพื่อลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนวัสดุ
หรือสินค้าและสามารถเจรจาต่อรองราคาได้
 B ควบคุมอย่างเข้มงวดปานกลาง ด้วยการลงบัญชีคุมยอดบันทึกเสมอเช่นเดียวกับ A
ควรมีการเบิกจ่ายอย่างเป็นระบบเพื่อป้องกันการสูญหาย การตรวจนับจานวนจริงก็ทา
เช่นเดียวกับ A แต่ความถี่น้อยกว่า (เช่น ทุกสัปดาห์ หรือ ทุกสิ้นเดือน) และการ
ควบคุม B จึงควรใช้ระบบวัสดุคงคลังอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกับ A
ระบบการจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวดเอบีซี
27
 C ไม่มีการจดบันทึกหรือมีก็เพียงเล็กน้อย วัสดุคงคลังประเภทนี้จะวางให้หยิบ
ใช้ได้ตามสะดวกเนื่องจากเป็นของราคาถูกและปริมาณมาก ถ้าทาการควบคุม
อย่างเข้มงวด จะทาให้มีค่าใช้จ่ายมากซึ่งไม่คุ้มค่ากับประโยชน์ที่ได้ป้องกันไม่ให้
สูญหาย การตรวจนับ C จะใช้ระบบวัสดุคงคลังแบบสิ้นงวดคือเว้นสักระยะจะมา
ตรวจนับดูว่าพร่องไปเท่าใดแล้วก็ซื้อมาเติม หรืออาจใช้ระบบสองกล่อง (Two
bin system) ซึ่งมีกล่องวัสดุอยู่ 2 กล่องเป็นการเผื่อไว้ พอใช้ของในกล่องแรก
หมดก็นาเอากล่องสารองมาใช้แล้วรีบซื้อของเติมใส่กล่องสารองแทน ซึ่งจะทาให้
ไม่มีการขาดมือเกิดขึ้น
ระบบการจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวดเอบีซี
28
 มีระบบการพยากรณ์ที่เชื่อถือได้ และสามารถบ่งชี้ข้อผิดพลาดในการพยากรณ์ได้
 สามารถประมาณการเกี่ยวกับ ต้นทุนด้านต่างๆ ได้
◦ ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆมา
◦ ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง
◦ ต้นทุนในการสั่งซื้อ
◦ ต้นทุนจากการขาดแคลนวัสดุคงคลัง
 มีระบบในการควบคุมและ ติดตามปริมาณ วัสดุคงคลัง
 มีระบบการจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลังที่ดี
 มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลานา ในการสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนในการผลิตแต่ละประเภท
 มีการกาหนดปริมาณการสั่งซื้อและรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง ที่เหมาะสม
การบริหารจัดการวัสดุคงคลังที่มีประสิทธิภาพ
29
Lead Time & Its Impact
 เวลานา (Lead Time) คือ ช่วงเวลาตั้งแต่เริ่มมีความต้องการ
วัสดุควงคลัง จนกระทั่งได้รับวัสดุคงคลังหรือสินค้านั้นมา
Lead time can be defined as “the time it takes from when
you first determine a need for a product until it arrives on your
doorstep”. If lead time was zero, inventory could be zero.
30
ระดับการบริการลูกค้า (Service Level)
 ระดับการบริการลูกค้า หมายถึง ความน่าจะเป็นที่ความต้องการของ
ลูกค้าจะไม่เกินกว่าปริมาณวัสดุคงคลังที่มีอยู่คลังที่มีอยู่ในขณะนั้น
 Service level = 95%
 ถ้ามีลูกค้าสั่งวัสดุหรือสินค้า 100 ครั้งจะมีแค่ 5 ครั้งที่เราจะไม่มีวัสดุหรือสินค้าให้
ทันที (วัสดุหรือสินค้าที่มีอยู่ในคลังวัสดุหรือสินค้าไม่เพียงพอ)
 ถ้าระดับ Service Level สูงจะมีในการตัดสินใจว่าจะกาหนดระดับ Service
Level เป็นเท่าไหร่ต้องคานึงถึงต้นทุนที่เกิดเพิ่มซึ่งคือต้นทุนในการเก็บวัสดุหรือ
สินค้าไว้ในคงคลังในรูปแบบของ safety stock
 ถ้าระดับ Service Level สูงจะมีต้นทุนในการเก็บวัสดุหรือสินค้าไว้ในคงคลัง
(The cost of carrying safety stock) มาก และต้นทุนจากการทีวัสดุหรือสินค้า
ขาด (the cost of a stockout) น้อย
31
วัสดุคงคลังที่เก็บสารองเพื่อความปลอดภัย
(Safety Stock)
วัสดุคงคลังเพื่อความปลอดภัย (Safety stock) เป็นวัสดุคงคลังที่ต้องสารองไว้
กันวัสดุหรือสินค้าขาดเมื่อวัสดุหรือสินค้าถูกใช้มากกว่าที่คาดการณ์ไว้
วัสดุคงคลังที่เก็บสารองไว้ โดยปริมาณของ Safety stock จะมากหรือน้อยนั้น
จะขึ้นกับความไม่แน่นอนของปริมาณความต้องการ ถ้าปริมาณความต้องการ
วัสดุหรือสินค้า ในแต่ละช่วงเวลาไม่สามารถคาดการณ์ได้อย่างแน่นอน อาจทา
ต้องเก็บ Safety stock ในปริมาณมากขึ้น
32
วัสดุคงคลังที่เก็บสารองเพื่อความปลอดภัย
(Safety Stock)
33
การกาหนดปริมาณ Safety Stock
 ความถูกต้องในการพยากรณ์ (Forecast Accuracy) ถ้าความถูกต้องในการ
พยากรณ์มากจะช่วยให้ปริมาณ Safety Stock น้อยลง
 เป้าหมายการบริการลูกค้า (Target service Level ) ถ้าเราตั้งเป้าหมายในการบริการ
ลูกค้าไว้สูง เราจะต้องเก็บ Safety Stock ในปริมาณมากขึ้น
 ความถี่ในการเติมเต็ม (Replenishment Frequency) ถ้าเราสามารถเติมเต็มวัสดุคง
คลังได้บ่อยๆ เราจะสามารถลดปริมาณ Safety Stock ลงได้ เนื่องจากเรามีโอกาสถี่
ขึ้นที่จะสั่งวัสดุหรือสินค้ามาเพิ่ม
 เวลานาและความแปรปรวนของเวลานา (Lead time & Its’ variability) ถ้าเวลานาใน
การเติมเต็มวัสดุคงคลังลดลง เราสามารถลดปริมาณ Safety Stock ลงได้ เนื่องจาก
เราสามารถสั่งวัสดุหรือสินค้ามาเพิ่มได้โดยใช้เวลาไม่นาน นอกจากนี้ถ้าเวลานามี
ความแน่นอนหรือมีความแปรปรวนต่า จานวน Safety Stock เราอาจไม่ต้องเก็บ
Safety Stock
34
การกาหนดปริมาณ Safety Stock
 ถ้าต้องการเพิ่มService Level
ปริมาณวัสดุคงคลังที่เราจะต้อง
เก็บจะเพิ่มมากไปด้วย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเรา
ต้องการเพิ่มService Levelให้
ใกล้ 100% เราจะต้องเพิ่ม
ปริมาณวัสดุคงคลังเป็นจานวน
มาก
35
 มีระบบการพยากรณ์ที่เชื่อถือได้ และสามารถบ่งชี้ข้อผิดพลาดในการพยากรณ์ได้
 สามารถประมาณการเกี่ยวกับ ต้นทุนด้านต่างๆ ได้
◦ ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆมา
◦ ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง
◦ ต้นทุนในการสั่งซื้อ
◦ ต้นทุนจากการขาดแคลนวัสดุคงคลัง
 มีระบบในการควบคุมและ ติดตามปริมาณ วัสดุคงคลัง
 มีระบบการจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลังที่ดี
 มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลานา ในการสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนในการผลิตแต่ละประเภท
การบริหารจัดการวัสดุคงคลังที่มีประสิทธิภาพ
36
การตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการวัสดุคงคลัง
 ควรสั่งซื้อวัสดุหรือสินค้าเมือไร บ่อยแค่ไหน (ความถี่ ) และแต่ละครั้งห่างกัน
เท่าไร (Timing)
 ควรสั่งซื้อวัสดุหรือสินค้าครั้งละเท่าไร (Quantity)
 ควรมีวัสดุคงคลังสารองไว้บ้างหรือไม่ ด้วยจานวนเท่าใด (Safety Stock)
37
การกาหนดรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง
38
การกาหนดรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง
 การใช้การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material requirement Planning)
 การสั่งซื้อเมื่อถึงจุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ (Reorder Point)
 การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง (Fixed-Order-Interval)
39
การวางแผนความต้องการวัสดุ
 แนวคิดของระบบ MRP มุ่งเน้นการสั่งวัสดุให้ถูกต้อง เพียงพอกับจานวนที่
ต้องการ และในเวลาที่ต้องการ การจะดาเนินการให้บรรลุตามเป้าหมายดังกล่าวนี้
ได้ จาเป็นต้องมีการประสานงานภายในระบบ เป็นอย่างดี ระหว่าง ความต้องการ
ของลูกค้า (Customers) ผู้ผลิต และผู้ส่งมอบ (Suppliers) โดยมีหน่วยงานกลาง
เช่นฝ่ายวางแผนช่วยในการประสานและรวบรวมข้อมูลของฝ่ายต่างๆมาทาการ
ประมวลผลและจัดทาเป็นแผนความต้องการวัสดุแต่ละรายการ
 ผลจากระบบ MRP จะเป็นรายงานที่บอกให้ทราบว่าจะต้องทาการสั่งซื้อหรือสั่ง
ผลิตวัสดุอะไร จานวนเท่าไร และ เมื่อไร โดยแผนการสั่งวัสดุทั้งหมดจะมี
เป้าหมายที่สอดคล้องกัน คือผลิตภัณฑ์ หรือวัสดุขั้นสุดท้ายที่กาหนดไว้ในตาราง
การผลิตหลัก (Master Production schedule)
 แผนความต้องการวัสดุนี้จึงเปรียบเสมือนเป็นตัวประสานเป้าหมายของบริษัทกับ
ทุกฝ่าย
40
การวางแผนความต้องการวัสดุ
แผนการผลิตรวม
ตารางการผลิตหลัก
แฟ้มข้อมูลสถานะของคงคลัง
(Inventory Record File)
แฟ้มข้อมูลรายการวัสดุ
(BOM)
พยากรณ์
ความ
ต้องการ
คาสั่งซื้อ
จากลูกค้า
การ
เปลี่ยนแปลง
วัสดุคงคลัง
การ
เปลี่ยนแปลง
ทางวิศวกรรม
ระบบ MRP
รายงานขั้นต้น
รายงานแผนกาหนดการออกใบสั่ง
รายงานการเปลี่ยนแปลงใบสั่งเดิม
สถานะวัสดุคงคลัง
รายงานขั้นที่ 2
รายงานปัญหาพิเศษ
รายงานผลการดาเนินงาน
รายงานกาวางแผน
การวางแผนความต้องการวัสดุ: Input
 ตารางการผลิตหลัก เป็นตารางที่แสดงกาหนดการของรายการวัสดุที่เป็น
ความต้องการอิสระ (Independent Demand) ซึ่งได้แก่ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายของ
บริษัทที่จาหน่ายให้แก่ลูกค้า ซึ่งอาจจะเป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปหรือ ชิ้นส่วนที่
บริษัทผลิตขายออกไปในลักษณะของชิ้นส่วนบริการ โดยตารางการผลิตหลักจะ
บรรจุกาหนดการผลิตที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว และ จะแสดงให้ทราบว่า
ต้องการจะผลิตอะไร จานวนเท่าไร และ เมื่อไร สาหรับตารางการผลิตหลักอาจ
กาหนดขึ้นจากแหล่งข้อมูลแหล่งใดแหล่งหนึ่งหรือหลายแหล่งดังต่อไปนี้ เช่น
จากใบสั่งของลูกค้า ซึ่งสั่งซื้อผลิตภัณฑ์ชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ และมักจะ
กาหนดเวลาส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่แน่นอน หรือ จาก การพยากรณ์ความต้องการ
ซึ่งคานวณตามหลักการทางสถิติจากข้อมูลยอดขายในอดีตและจากการวิจัย
ตลาด
42
การวางแผนความต้องการวัสดุ: Input
 ตารางการผลิตหลัก
Item: Ladder-back chair Order Policy: 150 units
Lead Time: 1 week
1 2 3 4 5 6 7 8
April
Forecast
Customer
orders booked
Projected on-
hand
inventory
MPS quantity
MPS start
Quantity
on Hand:
30
38
30
27
30
24
30
8 0
35
0
35
0 0
3535
55
May
17 137 107 77 42 7 122 87
0 150 0 0 0 0 150 0
150 0 0 0 0 150 0 0
43
การวางแผนความต้องการวัสดุ: Input
 บัญชีรายการวัสดุ (Bill of Material) หรือ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าแฟ้ มโครงสร้าง
ผลิตภัณฑ์(Product Structure Files) จะบรรจุสารสนเทศที่เป็นรายละเอียดของ
ผลิตภัณฑ์แต่ละรายการอย่างสมบูรณ์ โดยแฟ้มบัญชีรายการวัสดุจะบรรจุโครงสร้าง
ของผลิตภัณฑ์ทุกๆรายการของบริษัท รายละเอียดภายในโครงสร้างผลิตภัณฑ์จะ
แสดงให้ทราบถึงรายการวัสดุทุกๆรายการ พร้อมทั้งปริมาณความต้องการวัสดุแต่ละ
รายการที่จาเป็นต่อการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปแต่ละรายการหนึ่งหน่วย
 รายการวัสดุดังกล่าวนี้ยังถูกบรรจุอยู่ในแฟ้มบัญชีรายการวัสดุที่สะท้อนให้เห็นถึง
โครงสร้างของการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ โดยแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของวัสดุแต่ละ
รายการตามลาดับขั้นในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป นับตั้งแต่ วัตถุดิบ (Raw
materials) ชิ้นส่วน (Parts) ประกอบย่อย (Subassemblies) และชิ้นส่วนประกอบ
(Assemblies) ผลิตภัณฑ์แต่ละรายการจะต้องมีหนึ่งโครงสร้างผลิตภัณฑ์ หรือ หนึ่ง
บัญชีรายการวัสดุ
44
J (4)
Seat-frame
boards
Bill of Materials
G (4)
Back slats
F (2)
Back legs
I (1)
Seat cushion
H (1)
Seat frame
C (1)
Seat
subassembly
D (2)
Front
legs
B (1)
Ladder-back
subassembly
E (4)
Leg
supports
A
Ladder-back
chair
BOM for a Ladder-Back Chair
การวางแผนความต้องการวัสดุ: Input
 แฟ้ มข้อมูลสถานะพัสดุคงคลัง (Inventory Record Files) เป็นแฟ้มข้อมูลที่ บันทึก
รายการวัสดุแต่ละรายการที่คงคลังไว้อย่างสมบูรณ์
 ข้อมูลสถานะพัสดุคงคลังที่จาเป็นต่อการประมวลผลในระบบ MRP สามารถแยกได้
เป็น 2 กลุ่ม หลัก คือ กลุ่มที่มีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา และกลุ่มที่ค่อนข้างคงที่ไม่
ค่อยมีการเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลง
 ความถูกต้องและทันสมัยของข้อมูลในแฟ้มข้อมูลสถานะของคงคลังนับว่ามีส่วนสาคัญ
เป็นอย่างยิ่งต่อความมีประสิทธิผลของการดาเนินงานระบบ MRP และปัจจัยสาคัญที่
ทาให้แฟ้มข้อมูลสถานะพัสดุคงคลังมีความถูกต้องและเป็นปัจจุบันแบบเวลาจริง
(Real-time) อยู่ตลอดเวลา ก็คือ การมีระบบการบันทึกการเคลื่อนไหวของของคงคลัง
ที่มีประสิทธิภาพ ทั้งด้านความถูกต้อง รวดเร็ว และ ครบถ้วน
46
แฟ้ มข้อมูลสถานะพัสดุคงคลัง
 ข้อมูลพัสดุคงคลังที่แสดงสถานะจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (Status
Data)จาก การรับเข้าหรือการจ่ายออกพัสดุคงคลัง
◦ แผนการสั่ง (Planed order Releases)
◦ พัสดุคงคลังในมือ (Inventory on hand)
◦ วัสดุระหว่างการสั่ง (Materials on order)
◦ พัสดุคงคลังพร้อมใช้(Available Inventory)
47
 ส่วนอีกกลุ่มหนึ่ง ส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยด้านการ
วางแผนที่ใช้ในระบบ MRP
◦ ขนาดรุ่นการสั่ง (Lot sizes)
◦ ช่วงเวลานา (Lead Times)
◦ ระดับสต๊อกเผื่อความปลอดภัย (Safety Stock Level)
◦ อัตราของเสีย (Scrap Rates)
◦ อัตราผลได้ (Yield)
แฟ้ มข้อมูลสถานะพัสดุคงคลัง
48
การวางแผนความต้องการวัสดุ: Output
 ผลได้จากระบบ MRP จะออกมาในรูปของรายงานต่างๆ ที่เป็นตาราง
กาหนดการในการจัดหาวัสดุแต่ละรายการในอนาคตเพื่อตอบสนองต่อความ
ต้องการของMPSในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งมักจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น
ตลอดเวลา ตารางดังกล่าวนี้จะเป็นสารสนเทศที่ช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจใน
การดาเนินการด้านการจัดการพัสดุคงคลังของบริษัท
◦ แผนการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต
◦ ใบสั่งซื้อหรือสั่งผลิต
◦ การเปลี่ยนแปลงแผนการสั่ง
◦ ข้อมูลสถานะพัสดุคงคลัง
49
จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่
 จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ (Reorder Point) เป็นการบริหารจัดการ
วัสดุและสินค้าคงคลังโดยกาหนดจุดที่จะสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ไว้
ล่วงหน้า
 จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ (Reorder Point)นั้นมีความสัมพันธ์แปร
ตามตัวแปร 2 ตัว คือ อัตราความต้องการใช้วัสดุคงคลังและรอบเวลานาในการ
สั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลัง (Lead Time)
 ระดับวัสดุคงคลังรายการนั้นจะลดต่าลงในช่วงสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลัง
จนถึงระดับต่าสุดที่วางแผนไว้ และเมื่อถึงกาหนดเวลารับวัสดุหรือสินค้า จะทา
การรับสินค้าเข้ามา
◦ การรับสินค้าแต่ละครั้งมีปริมาณที่จะทาให้มีสินค้าคงคลังถึงระดับที่วางแผนไว้ (Min-Max)
◦ การรับสินค้าแต่ละครั้งมีปริมาณคงที่ ตาม lot size ที่กาหนดไว้
50
 จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ในอัตราความต้องการวัสดุคงคลังคงที่
และรอบเวลาคงที่ เป็นสภาวะที่ไม่เสี่ยงที่จะเกิดวัสดุหรือสินค้าขาดมือเลย
เพราะทุกสิ่งทุกอย่างแน่นอน
 จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ R = d x L
d = อัตราความต้องการวัสดุคงคลัง
L = เวลานาในการเติมเต็มวัสดุหรือสินค้า
จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่
51
Reorder
point, R
Q
LT
Time
LT
Inventorylevel
0
จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่
52
Reorder
point, R
Q
LT
Time
LT
Inventorylevel
0
Safety Stock
Safety Stock ขึ้นกับความต้องการในช่วง lead time
จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่
53
 จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ในอัตราความต้องการวัสดุคงคลังที่
แปรผัน เป็นสภาวะที่อาจเกิดของขาดมือได้เพราะว่าอัตราการใช้หรือความ
ต้องการวัสดุคงคลังไม่สม่าเสมอ จึงต้องมีการเก็บวัสดุคงคลังเพื่อความปลอดภัย
ซึ่งช่วยให้อัตราการบริการลูกค้าดีขึ้น
 ในกรณีที่มีข้อมูลความเบี่ยงเบนมาตรฐานของอัตราความต้องการวัสดุหรือสินค้า
ในช่วงเวลานา จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ สามารถหาได้ดังนี้
 จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ = ความต้องการในช่วงเวลานา + วัสดุ
คงคลังเพื่อความปลอดภัย
 Reorder Point = Demand during Lead Time + Safety Stock
จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่
54
การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง
 การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง (Fixed-Order-Interval) ระบบนี้ จะกาหนดช่วง
ห่างของการตรวจสอบระดับและสั่งวัสดุคงคลังแต่ละครั้งเป็นระยะเวลาคงที่
หากระดับวัสดุคงคลังไม่เพียงพอกับความต้องการก่อนถึงกาหนดการตรวจสอบ
ครั้งต่อไป ให้ทาการสั่งวัสดุหรือสินค้ามาก่อนกาหนดการตรวจสอบได้
 ความถี่ในการตรวจสอบและสั่งวัสดุหรือสินค้าจะแตกต่างกันตามประเภทของ
วัสดุหรือสินค้า โดยเป็นการกาหนดจากฝ่ายวางแผน ปริมาณการสั่งวัสดุหรือ
สินค้าแต่ละรายการจะแตกต่างโดยปริมาณการสั่งจะเป็นการประมาณการ
ล่วงหน้าและครอบคลุมความต้องการใช้เป็นระยะเวลาสั้นๆ เช่น สองสัปดาห์,
สี่สัปดาห์ หรือสิบสองสัปดาห์ โดยใช้การตรวจสอบระดับวัสดุหรือสินค้า เช่น
การตรวจนับ การดูข้อมูลจากวัสดุคงคลังการ์ด การใช้ระบบคอมพิวเตอร์
55
การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง
 สิ่งที่เราสนใจสาหรับระบบนี้คือ ระดับวัสดุคงคลังสูงสุดที่วางแผนไว้ (Planned
maximum stock) ซึ่งในการสั่งแต่ละครั้งเราต้องมั่นใจว่าวัสดุคงคลังจะขึ้นไปถึง
ระดับสูงสุดนี้
 ระดับสูงสุดดังกล่าวจะต้องมากพอที่จะใช้ในช่วงรอการตรวจสอบ (Review
Interval) และช่วงเวลานาการสั่ง ดังนั้นระดับวัสดุคงคลังสูงสุดที่วางแผนไว้เรา
จะกาหนดให้เป็น Target Level
56
การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง
Time
Target
level 1 2 3
Orderquantity
Quantity
Lead time
Review Period
การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง
 Target Level ในอัตราความต้องการวัสดุคงคลังคงที่และรอบเวลาคงที่
เป็นสภาวะที่ไม่เสี่ยงที่จะเกิดวัสดุหรือสินค้าขาดมือเลย เพราะทุกสิ่งทุกอย่าง
แน่นอน
Target Level = ความต้องการในช่วงรอการตรวจสอบ (Review Interval) +
ความต้องการช่วงเวลานาการสั่งซื้อ
Target Level = d x (R + L)
โดยที่ d = อัตราความต้องการวัสดุคงคลัง
L = เวลานาในการเติมเต็มวัสดุหรือสินค้า
R = เวลาในช่วงรอการตรวจสอบ (Review Interval)
58
Time
Target
level 1 2 3
OrderQuantity
Quantityการสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง
Review Period
Lead time
การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง
 Target Level ในอัตราความต้องการวัสดุคงคลังที่แปรผัน เป็นสภาวะที่อาจ
เกิดของขาดมือได้เพราะว่าอัตราการใช้หรือความต้องการวัสดุคงคลังไม่
สม่าเสมอ จึงต้องมีการเก็บวัสดุคงคลังเพื่อความปลอดภัย ซึ่งช่วยให้อัตราการ
บริการลูกค้าดีขึ้น
 Target Level = ความต้องการในช่วงรอการตรวจสอบ (Review Interval) +
ความต้องการช่วงเวลานาการสั่งซื้อ + วัสดุหรือสินค้าสารองเพื่อความปลอดภัย
(Safety-Stock, SS)
Target Level = d x (R + L) + SS
60
การกาหนดปริมาณในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง
61
การกาหนดปริมาณเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลัง
 สั่งแบบ Lot for Lot
 สั่งแบบ Fixed Order Quantity
 สั่งแบบ ปริมาณการสั่งที่ประหยัด (Economic Order Quantity)
62
การกาหนดปริมาณเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลัง
Lot-for-Lot
 สั่งเท่าที่ต้องการจะไม่มีการเหลือเก็บเนื่องจากสั่งเท่าที่ต้องการ
 ใช้สาหรับการสั่งซื้อวัตถุดิบหรือสินค้าที่……….
◦ ความต้องการที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent demand)
◦ ราคาไม่แพง (A items)
◦ ผลิตแบบ Just-in-Time (JIT)
Fixed-Order Quantity
 สั่งซื้อเป็นปริมาณตายตัวทุกครั้งที่มีการสั่ง
◦ เร็วและง่าย
◦ การตัดสินใจสาหรับปริมาณในการสั่งซื้อให้ดูจากความเหมาะสม
◦ อาจไม่ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
63
การสั่งด้วยปริมาณการสั่งที่ประหยัด (EOQ)
 เป็นระบบวัสดุคงคลังที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยจะใช้กับวัสดุคงคลังที่มีลักษณะ
ของความต้องการที่เป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องต่อเนื่องกับความต้องการของวัสดุคง
คลังตัวอื่น (Independent Demand) จึงต้องวางแผนพิจารณาความต้องการและ
พยากรณ์อุปสงค์ของลูกค้าโดยตรง
 ระบบขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดจะพิจารณาต้นทุนรวมของวัสดุคงคลังที่ต่าสุด
เป็นหลักเพื่อกาหนดระดับปริมาณการสั่งซื้อต่อครั้งที่เรียกว่า “ขนาดการสั่งซื้อที่
ประหยัด”
64
การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ
 ลดขนาดการสั่งซื้อและการสั่งผลิตลง
◦ สาหรับสินค้าที่ทาการจัดซื้อ ให้ทาการบริหารต้นทุนการจัดซื้อ (Acquisition transaction
costs) ให้ต่าลง โดยใช้ คอมพิวเตอร์หรือระบบสารสนเทศในการสร้างคาสั่งซื้อ (Purchase
Orders: PO) การใช้ระบบ (Electronic Data Interchange: EDI) ในการส่งผ่านข้อมูลคา
สั่งซื้อ (PO) การใช้ระบบแจ้งการขนส่งสินค้าล่วงหน้า (Advance Shipping Notices:
ASNs) เพื่อทาการลดต้นทุนการจัดซื้อ ซึ่งจะสามารถลดต้นทุนด้านการจัดซื้อและการรับ
สินค้าลดลง และสามารถสั่งได้บ่อยขึ้น หรือสามารถลดปริมาณสินค้าคงคลังโดยเฉลี่ยได้
◦ สาหรับสินค้าที่ทาการผลิตนั้น หากต้นทุนการติดตั้งหรือการเปลี่ยนเครื่องมือ (Equipment
changeover costs) มีค่าสูง การแก้ไขให้กิจกรรมนี้ให้มีเวลาการเปลี่ยนเครื่องมือที่สั้นลง
จะสามารถลดปริมาณ สินค้าคงคลังได้ และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้
65
 ลดต้นทุนการเก็บสินค้าคงคลัง (Lower inventory costs)
◦ เพิ่มการใช้ประโยชน์ของพื้นที่โดยการให้เช่าพื้นที่ที่มีอยู่ หรือ ลดการการขยายพื้นที่
คลังสินค้า โดยใช้ เครื่องมือที่สามารถขนถ่านสินค้าในช่องแคบ การใช้ชั้นลอย หรือ
วิธีการเก็บสินค้าที่เหมาะสมมากขึ้น
 การตั้งระดับปริมาณสินค้าเผื่อขาดให้เหมาะสม
◦ การตั้งระดับปริมาณสินค้าคงคลังเผื่อขาด (Safety stock) ให้มีความ เหมาะสมและ
ชัดเจน
 วางแผนการประกอบเมื่อเกิดความต้องการ(Think postponement)
◦ สาหรับสินค้าที่เป็นชิ้นส่วนที่สามารถนาไปผลิตสินค้าต่อเนื่องได้อีกหลายชนิด
(Parent products) ควร จะทาการเก็บสินค้าคงคลังไว้ในรูปแบบของสินค้ากึ่ง
สาเร็จรูป (Semi-finished product) เพื่อลดปริมาณสินค้า คงคลังทั้งหมด เนื่องจาก
สามารถลดปริมาณสินค้าคงคลังของทุกรายการแต่ละแบบได้
การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ
66
 พยากรณ์ความต้องการของลูกค้าอย่างสม่าเสมอ
◦ การใช้ประสบการณ์แก้ไขสมการพยากรณ์ในการคานวณความต้องการของสินค้า
เพื่อที่ลดความ ผิดพลาดจากการใช้สูตรพยากรณ์เพียงอย่างเดียวจะสามารถลดการ
เก็บสินค้าเกินความจาเป็น สินค้าขาดแคลน ทาให้มีสินค้าเพียงแค่ความต้องการของ
ลูกค้า
◦ เหตุการณ์บางเหตุการณ์ทาให้เกิดความต้องการของสินค้าเพิ่มขึ้นในเวลาอันรวดเร็ว
ทาให้ต้องคานึงถึง เหตุการณ์นั้นในการจัดการสินค้าคงคลัง อาทิ เทศกาลสงกรานต์ที่
ทาให้ความต้องการตั๋วรถยนต์โดยสารประจา ทางหรือตั๋วเครื่องบินเพิ่มสูงขึ้น ทาให้
ต้องมีการวางแผนสินค้าคงคลังรองรับเหตุการณ์ดังกล่าว
การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ
67
 สร้างความร่วมมือระหว่างซัพพลายเออร์ในการสั่งซื้อสินค้า
◦ สร้างความร่วมมือของซัพพลายเออร์หลักในการจัดซื้อสินค้าหลายรายการ (Multiple
SKUs) ซึ่งจะทาให้สามารถการจัดซื้อสินค้าแต่ละประเภทได้ในปริมาณที่น้อยลง และสั่งได้
ถี่ขึ้น ทาให้การเก็บสินค้าคงคลังน้อยลง
◦ สร้างความร่วมมือของซัพพลายเออร์หลักที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน สามารถเพิ่มการ ใช้
ประโยชน์ของรถบรรทุกขนส่งสินค้าให้สามารถขนสินค้าได้เต็มน้าหนักบรรทุกมากขึ้น
 รวมรายการสินค้าระหว่างการขนส่ง (Try merge-in-transit)
◦ กรณีที่ลูกค้ามีความต้องการรับสินค้าหลายรายการในเวลาเดียวกัน ในระหว่างการขนส่ง
อาจจะมีการ รวมบางรายการที่มาจากสถานที่ต่างกันมาขนรวมกันเพื่อความสะดวกในการ
รับสินค้าของลูกค้าภายในครั้งเดียว ทาให้การขนส่งมีประสิทธิภาพมากขึ้นและสามารถเพิ่ม
ประสิทธิภาพการบริหารสินค้าคงคลังได้ดีขึ้น เนื่องจาก สามารถขนส่งสินค้าได้ถี่มากขึ้น
ต้นทุนสินค้าคงคลังจะลดลง
การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ
68
 จัดส่งสินค้าต่อไปให้ลูกค้าเมื่อสินค้ามาถึง (Cross-dock customer
shipments)
◦ การจัดการจัดส่งสินค้าต่อไปให้ลูกค้าเมื่อสินค้ามาถึง (Cross-dock) จะสามารถลดความ
ต้องการในการ เก็บสินค้าคงคลัง เนื่องจากสินค้าสามารถนาส่งต่อไปยังลูกค้าได้ทันที โดย
ไม่ต้องทาการจัดเก็บสินค้า
 การให้ซัพพลายเออร์เป็นผู้บริหารสินค้าคงคลัง (Vendor-Managed
Inventory: VMI)
◦ สร้างแรงจูงใจที่เหมาะสมให้ซัพพลายเออร์เข้ามารับผิดชอบการบริหารสินค้าคงคลัง เนื่อง
จากซัพพลายเออร์สามารถทราบปริมาณสินค้าคงคลังและแผนการผลิตสินค้าของฝ่าย
ตนเอง และสามารถทราบความ ต้องการที่แท้จริงของสินค้าพร้อมกับปริมาณสินค้าคงคลัง
ของลูกค้า ส่งผลให้ต้นทุนสินค้าคงคลังทั้งฝ่ายซัพพลายเออร์และลูกค้าลดลง
การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ
69
 ลดระยะเวลาในการสั่งซื้อ
◦ การลดระยะเวลาในการสั่งซื้อวัตถุดิบหรือชิ้นส่วน ไม่ว่าจะเป็นระยะเวลาในการสั่งซื้อจาก
ซัพพลายเออร์หรือระยะเวลาในการขนส่งสินค้า หรือ ระยะเวลาในการรับสินค้า จะส่งผลให้
ปริมาณความต้องการในการ เก็บสินค้าคงคลังลดลง นอกจากนี้การลดความไม่แน่นอน
ของระยะเวลาในการสั่งซื้อก็สามารถลดความต้องการ ของการเก็บสินค้าได้
 เคลื่อนย้ายสินค้าคงคลัง (Transshipment)
◦ เมื่อสินค้าคงคลังของสินค้าบางรายการ ณ คลังสินค้าแห่งหนึ่งมีมากเกินไป อย่างไรก็ตาม
ได้มีความ ต้องการสินค้าประเภทเดียวกัน ณ คลังสินค้าอีกที่หนึ่ง ดังนั้นระบบในการเกลี่ย
ปริมาณสินค้าคงคลังจากที่หนึ่ง มาที่หนึ่งที่มีประสิทธิภาพ จะส่งผลดีต่อการบริหารสินค้า
คงคลังได้ดี อย่างไรก็ตามต้นทุนในการเคลื่อนย้าย สินค้านี้ต้องอยู่ในระดับที่จูงใจ
การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ
70
 การกาจัดสินค้า Dead Stock (สินค้าที่ไม่เคลื่อนไหวเป็นเวลามากกว่า 6
เดือน) และสินค้า Slow Moving (สินค้าที่ถูกขายออกไปช้า อาจจะเดือนละ
ครั้ง หรือ สองเดือนครั้ง เป็นต้น)
◦ ซึ่งการจัดการลดกลุ่มสินค้าเหล่านี้เป็นการช่วยลดต้นทุนทั้งในคลังสินค้า (Warehousing)
การจัดดาเนินการสินค้าในคลัง (Handling) การขนส่ง (Transportation) เช่น สินค้าที่ไม่
เคลื่อนไหว หรือเคลื่อนไหวช้า ทาให้เปลืองพื้นที่จัดเก็บ และการดูแลสินค้าในคลัง อีกทั้ง
ค่าขนส่งต่อรายการเมื่อมีการสั่งซื้อจากลูกค้า อาจทาให้ไม่คุ้มกับการส่ง เมื่อเทียบสัดส่วน
ปริมาณสั่ง ซื้อต่อค่าจัดส่ง(กรณีใช้ Third Party Logistics ส่วนใหญ่จะคิดค่าบริการตาม
จานวนกล่องที่จัดส่ง โดยจะส่งตามรอบและเส้นทางที่กาหนดไว้ก่อนหน้านี้)
การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ
71
การเชื่อมโยงตัวชี้วัด
ประสิทธิภาพ
กับกิจกรรมโลจิสติกส์
ตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์
 มิติด้านต้นทุน
◦ ต้นทุนถือครองสินค้าคงคลัง (Inventory Carrying Cost)
◦ ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (Warehousing Cost)
◦ ต้นทุนการขนส่งสินค้า (Transportation Cost)
 มิติด้านเวลา
◦ ระยะเวลาเฉลี่ยของการตอบสนองคาสั่งซื้อจากลูกค้า (Average Order Cycle Time)
◦ ระยะเวลาเฉลี่ยของการจัดส่งสินค้า (Average Delivery Cycle Time)
◦ ระยะเวลาเฉลี่ยการเก็บสินค้าสาเร็จรูปอย่างเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า
(Average Inventory Day)
 มิติด้านความน่าเชื่อถือ
◦ อัตราความสามารถในการส่งมอบสินค้า (DIFOT)
◦ อัตราความแม่นยาการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า (Forecast Accuracy)
◦ อัตราการถูกตีกลับของสินค้า (Return Rate)
◦ อัตราความถูกต้องของข้อมูลสินค้าคงคลัง (Inventory Accuracy)
73กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ต้นทุนการถือครองสินค้าคงคลัง
 ตัวชี้วัด: สัดส่วนต้นทุนการถือครองสินค้าต่อยอดขาย (Ratio of Inventory Carrying Cost Per Sales)
ข้อมูลที่ใช้คานวณ
(1) ยอดขายรวมของบริษัท บาท
(2) มูลค่าการถือครองรวมโดยเฉลี่ย บาทต่อปี
วัตถุดิบ บาทต่อปี
สินค้าระหว่างผลิต บาทต่อปี
สินค้าสาเร็จรูป บาทต่อปี
(3) ค่าประกันภัยรวมโดยเฉลี่ย บาทต่อปี
วัตถุดิบ บาทต่อปี
สินค้าระหว่างผลิต บาทต่อปี
สินค้าสาเร็จรูป บาทต่อปี
(4) อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ คิดเป็นร้อยละ ต่อปี
วิธีการคานวณ
((2) x (4)) + (3)
__________________________
(1)
74กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ต้นทุนการถือครองสินค้าคงคลัง (ต่อ)
 ตัวชี้วัด: สัดส่วนต้นทุนการถือครองสินค้าต่อยอดขาย
 กิจกรรมซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ที่เกี่ยวข้อง
◦ การวางแผนการจัดซื้อ : Safety stock, Order size, Lead time
◦ การวางแผนการตลาด : Forecast accuracy, Forecast on promotion
◦ การวางแผนการผลิต : Safety stock, Production size, Lead time
◦ นโยบาย Inventory : Decoupling point, Inventory target
◦ การจัดการ Dead-stock และ Slow moving
◦ การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการสินค้าคงคลัง
 กิจกรรมอื่น
◦ การเก็งราคา
◦ ต้นทุนทางการเงิน เช่น อัตราดอกเบี้ย หรือความคาดหวังผู้ถือหุ้น
◦ ประสิทธิภาพในการผลิต : Yield, Produce to Plan
75กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า
 ตัวชี้วัด: สัดส่วนต้นทุนการบริหารคลังสินค้าต่อยอดขาย (Ratio of Warehousing Cost Per Sales)
ข้อมูลที่ใช้คานวณ
(1) ยอดขายรวมของบริษัท บาท
กรณีคลังสินค้าของบริษัท
(2) มูลค่าก่อสร้างอาคารคลังสินค้า (เป็นการคานวณค่าเสื่อมราคาของ
สิ่งก่อสร้างหรืออาคาร โดยกาหนดให้อายุการใช้งาน 20 ปี)
บาทต่อปี
(3) ค่าประกันภัยอาคารคลังสินค้า บาทต่อปี
(4) รวมเงินเดือนพนักงานประจาของแผนกคลังสินค้า บาทต่อปี
(5) รวมค่าจ้างพนักงานชั่วคราวหรือ Outsource ของแผนกคลังสินค้า บาทต่อปี
(6) ค่าล่วงเวลารวมของแผนกคลังสินค้า บาทต่อปี
(7) มูลค่าอุปกรณ์ขนถ่าย (Material Handling) ทั้งหมดในคลังสินค้าที่
เป็นทรัพย์สินของบริษัท (เป็นการคานวณค่าเสื่อมราคาของ
เครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องจักรกล โดยกาหนดให้อายุการใช้งาน
10 ปี)
บาทต่อปี
76กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (ต่อ)
ข้อมูลที่ใช้คานวณ
(8) ค่าเช่าอุปกรณ์ขนถ่าย (Material Handling) ทั้งหมดในคลังสินค้า บาทต่อปี
(9) ค่าน้ามันเชื้อเพลิง / ค่าไฟฟ้า สาหรับอุปกรณ์ขนถ่ายในคลังสินค้า บาทต่อปี
(10) มูลค่าของระบบสารสนเทศการบริหารคลังสินค้า (Warehouse
Management System) ที่มีการลงทุนในปีที่ผ่านมา
(เป็นการคานวณค่าเสื่อมราคาของครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ โดย
กาหนดให้อายุการใช้งาน 5 ปี)
บาทต่อปี
(11) ค่าเช่าหรือค่าลิขสิทธิ์สาหรับระบบบริหารคลังสินค้า (Warehouse
Management System)
บาทต่อปี
(12) ค่าใช้จ่ายคลังสินค้าอื่นๆ (ระบุ..............) บาทต่อปี
กรณีเช่าคลังภายนอก
(13) พื้นที่ของคลังสินค้าที่เช่าทั้งหมด หน่วยนับ (เช่น ตาราง
เมตร เป็นต้น)
(14) ค่าเช่าพื้นที่คลังสินค้าภายนอก บาทต่อหน่วยนับ
77กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (ต่อ)
วิธีการคานวณ
((2) / 20) + (3) + (4) + (5) + (6) + ((7) / 10) + (8) + (9) + ((10) / 5) + (11) + (12) + [(13) + (14)]
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
(1)
78กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (ต่อ)
 ตัวชี้วัด: สัดส่วนต้นทุนการบริหารคลังสินค้าต่อยอดขาย
 กิจกรรมซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ที่เกี่ยวข้อง
◦ การเลือกสถานที่ ขนาดคลังสาหรับการจัดการสินค้าคงคลัง (Site selection)
◦ การใช้ประโยชน์จากพื้นที่คลังสินค้า (Space utilization)
◦ การจัดการคลังที่เป็นระบบระเบียบ (Warehouse management)
◦ ปฏิบัติการคลังสินค้าที่มีความแม่นยา รวดเร็ว ไม่มีความสูญเสีย
◦ การลงทุนอุปกรณ์และระบบการจัดการที่เหมาะสม
◦ การซ่อมบารุงอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติการคลังสินค้า
◦ การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการคลังสินค้า
◦ การตรวจนับสต็อกและการจัดการกรณีมีความคลาดเคลื่อนของข้อมูลสินค้าคงคลัง
 กิจกรรมอื่น
◦ การประกันภัยที่เหมาะสมกับตัวสินค้าและคลังสินค้า
79กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
ต้นทุนการขนส่งสินค้า
 ตัวชี้วัด: สัดส่วนต้นทุนการขนส่งต่อยอดขาย (Ratio of Transportation Cost Per Sales)
ข้อมูลที่ใช้คานวณ
(1) ยอดขายรวมของบริษัท บาท
กรณีบริษัทขนส่งสินค้าด้วยตนเอง
(2) ค่าใช้จ่ายของพนักงานแผนกขนส่ง (เช่น เงินเดือน ค่าแรงชั่วคราว
ค่าล่วงเวลา เป็นต้น)
บาทต่อปี
(3) ค่าน้ามันสาหรับการขนส่งสินค้าทั้งัตถุดิบและสินค้าสาเร็จรูปโดย
เฉลี่ย
บาทต่อปี
(4) มูลค่ารถที่ใช้ขนส่งสินค้า (เป็นการคานวณค่าเสื่อมราคาของรถที่ใช้
ขนส่งสินค้า โดยกาหนดให้อายุการใช้งาน 5 ปี)
บาทต่อปี
(5) ต้นทุนค่าบารุงรักษารถทั้งหมดโดยเฉลี่ย บาทต่อปี
(6) ต้นทุนอื่น ๆ (ระบุ............) บาทต่อปี
80กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newRungnapa Rungnapa
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Thanaphat Tachaphan
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Thanaphat Tachaphan
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryNattakorn Sunkdon
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งRungnapa Rungnapa
 

Tendances (20)

บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
 
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
Ch.01 บทนำของวัสดุบรรจุภัณฑ์
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง

  • 2. หัวข้อการอบรม  ประเภทของ Inventory  หน้าที่ของ Inventory  ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง  ระบบการควบคุมและตรวจนับวัสดุคงคลัง  การจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลัง  Inventory Lead time  ระดับการบริการลูกค้าและสินค้าคงคลังเพื่อความปลอดภัย  การกาหนดเวลาในการสั่งเติมเต็มวัสดุ และสินค้าคงคลัง  การกาหนดปริมาณในการสั่งเติมเต็มวัสดุ และสินค้าคงคลัง  การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ 2
  • 4. หน้าที่ของ Inventory  Anticipation Inventory: การมีวัสดุคงคลังเพื่อเก็บไว้ใช้ในกรณีพิเศษ ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นตามแผนการดาเนินงานทั้งกรณีที่คาดว่าจะมีความ ต้องการเพิ่มขึ้นจากปกติ เช่น planned sales promotion programs, seasonal fluctuations และกรณีที่วัสดุหรือสินค้านั้นอาจขากแคลนชั่วคราว เช่น plant shutdowns  Fluctuation Inventory: การมีวัสดุคงคลังเพื่อเก็บไว้สารองในกรณีที่ความ ต้องการของลูกค้าหรือการจัดส่งวัสดุหรือสินค้าจะ Supplier มีความไม่ แน่นอน  Lot size Inventory: การมีวัสดุคงคลังเนื่องจากกรผลิตหรือสั่งซื้อแบบเต็ม Lot เพื่อรักษาการผลิตให้มีอัตราคงที่หรือเพื่อให้ ได้ส่วนลดปริมาณจากการ จัดซื้อจานวนมากต่อครั้ง  Hedging Inventory: การมีวัสดุคงคลังไว้เพื่อเก็งกาไรในอนาคต 4
  • 5. ประเภทของ Inventory  วัสดุหรือสินค้าที่เก็บตามรอบ ( Cycle Stock): วัสดุหรือสินค้าที่เก็บตามรอบ เป็นวัสดุหรือสินค้าที่มีไว้เพื่อทดแทนวัสดุหรือสินค้าทีขายไปหรือวัสดุหรือสินค้า ที่ใช้ไปในการผลิต ซึ่งวัสดุหรือสินค้าประเภทนี้จะเก็บไว้เพื่อตอบสนองความ ต้องการวัสดุหรือสินค้าภายใต้เงื่อนไขที่มีความแน่นอน และอยู่ภายใต้สมมติฐาน ที่ว่าความต้องการวัสดุหรือสินค้าและเวลานาในการสั่งคงที่และทราบล่วงหน้า  วัสดุหรือสินค้าปลอดภัยหรือวัสดุหรือสินค้ากันชน ( Safety or Buffer Stock): เป็นวัสดุหรือสินค้าจานวนหนึ่งที่เก็บไว้เกินจานวนวัสดุหรือสินค้าที่เก็บ ไว้ตามรอบปกติเนื่องจากความไม่แน่นอนในความต้องการ ซึ่งปริมาณวัสดุคง คลังโดยเฉลี่ยจะเท่ากับครึ่งหนึ่งของปริมาณ การสั่งซื้อตามปกติบวกกับปริมาณ วัสดุหรือสินค้าปลอดภัย 5
  • 6. Cycle Stock and Safety Stock 6
  • 7. ประเภทของ Inventory  วัสดุคงคลังระหว่างทาง (In – transit Inventories): เป็นวัสดุหรือสินค้าที่อยู่ ระหว่างการลาเลียงจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง ซึ่งวัสดุหรือสินค้า เหล่านี้อาจจะถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัสดุหรือสินค้าที่เก็บไว้แม้ว่าวัสดุหรือ สินค้าเหล่านี้จะยังไม่สามารถขายหรือขนส่งในลาดับต่อไปได้จนกว่าวัสดุหรือ สินค้านั้นจะไปถึงผู้ที่สั่งวัสดุหรือสินค้านั้นเสียก่อน ดังนั้น ในการคานวณต้นทุน ในการเก็บรักษาวัสดุหรือสินค้าของต้นทางควรจะรวมต้นทุนของวัสดุหรือสินค้า คงคลังระหว่างทางไว้ด้วย  วัสดุหรือสินค้าไม่เคลื่อนไหว (Dead Stock): เป็นวัสดุหรือสินค้าทีกิจการเก็บ ไว้นานและยังไม่มีความต้องการวัสดุหรือสินค้าชนิดนั้นเกิดขึ้นซึ่งอาจเป็นเพราะ วัสดุหรือสินค้าล้าสมัย เสื่อมสภาพ ในกรณีที่เป็นวัสดุหรือสินค้าตกค้างควรทา การพิจารณาว่าเพื่อป้องกันการเสื่อมของวัสดุหรือสินค้า หรือการนามาขายลด ราคาหน้าโรงงานก็อาจจะช่วยแก้ไขปัญหานี้ลงได้ 7
  • 8. วัตถุประสงค์ของ Inventory  ตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ประมาณการไว้ในแต่ละช่วงเวลาทั้งใน และนอกฤดูกาล  รักษาการผลิตให้มีอัตราคงที่สม่าเสมอ เพื่อรักษาระดับการว่าจ้างแรงงาน การ เดินเครื่องจักร ฯลฯ ให้สม่าเสมอได้ โดยจะเก็บวัสดุหรือสินค้าที่ขายไม่หมด ในช่วงขายไม่ดีไว้ขายตอนช่วงขายดีซึ่งช่วงนั้นอาจจะผลิตไม่ทันขาย  ทาให้ธุรกิจได้ส่วนลดปริมาณจากการจัดซื้อจานวนมากต่อครั้ง ป้ องกันการ เปลี่ยนแปลงราคาแลผลกระทบจากเงินเฟ้ อเมื่อวัสดุหรือสินค้าในท้องตลาดมี ราคาสูงขึ้น  ป้ องกันของขาดมือด้วยวัสดุหรือสินค้าเผื่อขาดมือ เมื่อเวลารอคอยล่าช้าหรือ บังเอิญได้คาสั่งซื้อเพิ่มขึ้นกะทันหัน  ทาให้กระบวนการผลิตสามารถดาเนินการต่อเนื่องอย่างราบรื่น ไม่มีการ หยุดชะงักเพราะของขาดมือจนเกิดความเสียหายแก่กระบวนการผลิต 8
  • 9.  มีระบบการพยากรณ์ที่เชื่อถือได้ และสามารถบ่งชี้ข้อผิดพลาดในการพยากรณ์ได้  สามารถประมาณการเกี่ยวกับ ต้นทุนด้านต่างๆ ได้ ◦ ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆมา ◦ ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง ◦ ต้นทุนในการสั่งซื้อ ◦ ต้นทุนจากการขาดแคลนวัสดุคงคลัง  มีระบบในการควบคุมและ ติดตามปริมาณ วัสดุคงคลัง  มีระบบการจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลังที่ดี  มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลานา ในการสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนในการผลิตแต่ละประเภท  มีการกาหนดปริมาณการสั่งซื้อและรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง ที่เหมาะสม การบริหารจัดการวัสดุคงคลังที่มีประสิทธิภาพ 9
  • 10.  มีระบบการพยากรณ์ที่เชื่อถือได้ และสามารถบ่งชี้ข้อผิดพลาดในการพยากรณ์ได้  สามารถประมาณการเกี่ยวกับ ต้นทุนด้านต่างๆ ได้ ◦ ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆ ◦ ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง ◦ ต้นทุนในการสั่งซื้อ ◦ ต้นทุนจากการขาดแคลนวัสดุคงคลัง  มีระบบในการควบคุมและ ติดตามปริมาณ วัสดุคงคลัง  มีระบบการจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลังที่ดี  มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลานา ในการสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนในการผลิตแต่ละประเภท  มีการกาหนดปริมาณการสั่งซื้อและรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง ที่เหมาะสม การบริหารจัดการวัสดุคงคลังที่มีประสิทธิภาพ 10
  • 11. ต้นทุนวัสดุคงคลัง  ค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆมา (Item cost) ค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ ประกอบด้วย ◦ ราคาวัสดุหรือวัสดุหรือสินค้า ◦ ค่าขนส่ง ◦ ค่าประกัน ◦ ค่าธรรมเนียมต่างๆ ◦ ค่าภาษีศุลกากร 11
  • 12. ต้นทุนวัสดุคงคลัง  ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ (Ordering Cost) เป็นค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายเพื่อให้ ได้มาซึ่งวัสดุคงคลังที่ต้องการ ซึ่งจะแปรตามจานวนครั้งของการสั่งซื้อ แต่ ไม่แปรตามปริมาณวัสดุคงคลัง เพราะสั่งซื้อของมากเท่าใดก็ตามในแต่ละ ครั้ง ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อก็ยังคงที่ แต่ถ้ายิ่งสั่งซื้อบ่อยครั้งค่าใช้จ่ายใน การสั่งซื้อจะยิ่งสูงขึ้น ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อได้แก่ ◦ ค่าเอกสารใบสั่งซื้อ ◦ ค่าจ้างพนักงานจัดซื้อ ◦ ค่าโทรศัพท์ ◦ ค่าขนส่งวัสดุหรือสินค้า ◦ ค่าใช้จ่ายในการตรวจรับของและเอกสาร ◦ ค่าธรรมเนียมการนาของออกจากศุลกากร ◦ ค่าใช้จ่ายในการชาระเงิน 12
  • 13. ต้นทุนวัสดุคงคลัง  ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา (Carrying Cost) เป็นค่าใช้จ่ายจากการมีวัสดุ คงคลังและการรักษาสภาพให้วัสดุคงคลังนั้นอยู่ในรูปที่ใช้งานได้ ซึ่งจะ แปรตามปริมาณวัสดุคงคลังที่ถือไว้และระยะเวลาที่เก็บวัสดุคงคลังนั้นไว้ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ได้แก่ ◦ ต้นทุนเงินทุนที่จมอยู่กับวัสดุคงคลังซึ่งคือค่าดอกเบี้ยจ่ายถ้าเงินทุนนั้นมาจากการกู้ยืมหรือ เป็นค่าเสียโอกาสถ้าเงินทุนนั้นเป็นส่วนของเจ้าของ ◦ ค่าคลังวัสดุหรือสินค้า ◦ ค่าไฟฟ้าเพื่อการรักษาอุณหภูมิ ◦ ค่าใช้จ่ายของวัสดุหรือวัสดุหรือสินค้าที่ชารุดเสียหายหรือหมดอายุเสื่อมสภาพจากการเก็บ นานเกินไป ◦ ค่าภาษีและการประกันภัย ◦ ค่าจ้างยามและพนักงานประจาคลังวัสดุหรือสินค้า ฯลฯ 13
  • 15.  ค่าใช้จ่ายเนื่องจากวัสดุหรือสินค้าขาดแคลน (Shortage Cost หรือ Stock out Cost) เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการมีวัสดุคงคลังไม่เพียงพอต่อการผลิต หรือการขาย ทาให้ลูกค้ายกเลิกคาสั่งซื้อ ขาดรายได้ที่ควรได้ กิจการเสียชื่อเสียง กระบวนการผลิตหยุดชะงักเกิดการว่างงานของเครื่องจักรและคนงาน ฯลฯ ค่าใช้จ่ายเนื่องจากวัสดุหรือวัสดุหรือสินค้าขาดแคลน ได้แก่ คาสั่งซื้อ ของล็อตพิเศษทางอากาศเพื่อนามาใช้แบบฉุกเฉิน ค่าปรับเนื่องจากวัสดุหรือ สินค้าให้ลูกค้าล่าช้า ค่าเสียโอกาสในการขาย ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการเสียค่า ความนิยม ฯลฯ ค่าใช้จ่ายนี้จะแปรผกผันกับปริมาณวัสดุคงคลังที่ถือไว้ นั่นคือถ้าถือวัสดุ หรือสินค้าไว้มากจะไม่เกิดการขาดแคลน แต่ถ้าถือวัสดุคงคลังไว้น้อยก็อาจเกิด โอกาสที่จะเกิดการขาดแคลนได้มากกว่า ต้นทุนวัสดุคงคลัง 15
  • 16.  ค่าใช้จ่ายในการปรับตั้งเครื่องจักรใหม่ (Capacity- Related Cost) เป็น ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการที่เครื่องจักรจะต้องเปลี่ยนการทางานหนึ่งไปทางาน อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งจะเกิดการว่างงานชั่วคราว วัสดุคงคลังจะถูกทิ้งให้รอ กระบวนการผลิตที่จะตั้งใหม่ ค่าใช้จ่ายในการตั้งเครื่องจักรใหม่นี้จะมีลักษณะเป็นต้นทุนคงที่ต่อครั้ง ซึ่ง จะขึ้นอยู่กับขนาดของล็อตการผลิต ถ้าผลิตเป็นล็อตใหญ่มีการตั้งเครื่องใหม่นาน ครั้ง ค่าใช้จ่ายในการตั้งเครื่องใหม่ก็จะต่า แต่ยอดสะสมของวัสดุคงคลังจะสูง ถ้า ผลิตเป็นล็อตเล็กมีการตั้งเครื่องใหม่บ่อยครั้ง ค่าใช้จ่ายในการตั้งเครื่องใหม่ก็จะ สูง แต่วัสดุคงคลังจะมีระดับต่าลง และสามารถส่งมอบงานให้แก่ลูกค้าได้เร็วขึ้น ต้นทุนวัสดุคงคลัง 16
  • 18.  มีระบบการพยากรณ์ที่เชื่อถือได้ และสามารถบ่งชี้ข้อผิดพลาดในการพยากรณ์ได้  สามารถประมาณการเกี่ยวกับ ต้นทุนด้านต่างๆ ได้ ◦ ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆมา ◦ ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง ◦ ต้นทุนในการสั่งซื้อ ◦ ต้นทุนจากการขาดแคลนวัสดุคงคลัง  มีระบบในการควบคุมและ ติดตามปริมาณ วัสดุคงคลัง  มีระบบการจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลังที่ดี  มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลานา ในการสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนในการผลิตแต่ละประเภท  มีการกาหนดปริมาณการสั่งซื้อและรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง ที่เหมาะสม การบริหารจัดการวัสดุคงคลังที่มีประสิทธิภาพ 18
  • 19. ระบบการควบคุมและตรวจนับวัสดุคงคลัง  ระบบวัสดุคงคลังอย่างต่อเนื่อง (Continuous Inventory System Perpetual System) ◦ เป็นระบบวัสดุคงคลังที่มีการเก็บข้อมูลทุกครั้งที่มีการรับและจ่ายของ ทาให้มี ข้อมูลที่แสดงยอดคงเหลือที่แท้จริงของวัสดุคงคลังอยู่เสมอ ซึ่งจาเป็นอย่างยิ่งใน การควบคุมวัสดุคงคลังรายการที่สาคัญที่ปล่อยให้ขาดมือไม่ได้ ◦ ปัจจุบันการนาเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้กับงานสานักงานและบัญชี สามารถช่วยแก้ไขปัญหาในข้อนี้ โดยการใช้รหัสแห่ง (Bar Code) ติดบนวัสดุ หรือสินค้าแล้วใช้เครื่องอ่านรหัสแห่ง (Laser Scan) ซึ่งวิธีนี้นอกจากจะมี ความถูกต้อง แม่นยา เที่ยงตรงแล้ว ยังสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลของการบริหาร วัสดุคงคลังในซัพพลายเชนของวัสดุหรือสินค้าได้อีกด้วย 19
  • 20. ระบบการควบคุมและตรวจนับวัสดุคงคลัง  ระบบวัสดุคงคลังเมื่อสิ้นงวด (Periodic Inventory System) ◦ เป็นระบบวัสดุคงคลังที่มีการเก็บข้อมูลเฉพาะในช่วงเวลาที่กาหนดไว้เท่านั้น เช่นตรวจนับและลงบัญชีทุกปลายสัปดาห์หรือปลายเดือน และจะมีการสั่งซื้อ เข้ามาเติมให้เต็มระดับที่ตั้งไว้ ระบบนี้จะเหมาะกับวัสดุหรือสินค้าที่มีการ สั่งซื้อและเบิกใช้เป็นช่วงเวลาที่แน่นอน เช่น ร้านขาย CD จะมีการสารวจ ยอดCDในแต่ละวัน และสรุปยอดตอนสิ้นสัปดาห์ เพื่อดูปริมาณ CD คงค้าง ในร้านและคลังวัสดุหรือสินค้า เพื่อเตรียมสั่งมาเพิ่มเพราะจะมีการเผื่อสารอง การขาดมือโดยไม่คาดคิดไว้ก่อนล่วงหน้าบ้าง และระบบนี้จะทาให้มีการปรับ ปริมาณการสั่งซื้อใหม่ เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลงไปด้วย 20
  • 21.  ข้อดีของระบบวัสดุคงคลังแบบต่อเนื่อง ◦ มีวัสดุคงคลังเผื่อขาดมือน้อยกว่า โดยจะเผื่อวัสดุหรือสินค้าไว้เฉพาะช่วงเวลา รอคอยเท่านั้นเนื่องจากสามารถสั่งเพิ่มใหม่ได้ตลอด ในขณะที่การตรวจนับ วัสดุคงคลังเมื่อสิ้นงวดต้องเผื่อวัสดุหรือสินค้าไว้ทั้งช่วงเวลารอคอย และเวลา ระหว่างการสั่งซื้อเนื่องจากจะไม่สามารถสั่งซื้อถ้ายังไม่ถึงช่วงเวลาที่กาหนด  ข้อดีของระบบวัสดุคงคลังเมื่อสิ้นงวด ◦ ใช้เวลาน้อยกว่าและเสียค่าใช้จ่ายในการควบคุมน้อยกว่าระบบต่อเนื่อง ◦ ค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูลวัสดุคงคลังต่ากว่า ระบบการควบคุมและตรวจนับวัสดุคงคลัง 21
  • 22.  มีระบบการพยากรณ์ที่เชื่อถือได้ และสามารถบ่งชี้ข้อผิดพลาดในการพยากรณ์ได้  สามารถประมาณการเกี่ยวกับ ต้นทุนด้านต่างๆ ได้ ◦ ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆมา ◦ ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง ◦ ต้นทุนในการสั่งซื้อ ◦ ต้นทุนจากการขาดแคลนวัสดุคงคลัง  มีระบบในการควบคุมและ ติดตามปริมาณ วัสดุคงคลัง  มีระบบการจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลังที่ดี  มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลานา ในการสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนในการผลิตแต่ละประเภท  มีการกาหนดปริมาณการสั่งซื้อและรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง ที่เหมาะสม การบริหารจัดการวัสดุคงคลังที่มีประสิทธิภาพ 22
  • 23. ระบบการจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวดเอบีซี  ระบบนี้เป็นวิธีการจาแนกวัสดุคงคลังออกเป็นแต่ละประเภทโดยพิจารณาปริมาณและ มูลค่าของวัสดุคงคลังแต่ละรายการเป็นเกณฑ์ เพื่อลดภาระในการดูแล ตรวจนับ และ ควบคุมวัสดุคงคลังที่มีอยู่มากมาย ซึ่งถ้าควบคุมทุกรายการอย่างเข้มงวดเท่าเทียมกัน จะเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากเกินความจาเป็น เพราะในบรรดาวัสดุคงคลังทั้งหลาย ของแต่ละธุรกิจจะมักเป็นไปตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ◦ A เป็นวัสดุคงคลังที่มีปริมาณน้อย (5-15% ของวัสดุคงคลังทั้งหมด) แต่มีมูลค่ารวม ค่อนข้างสูง (70-80% ของมูลค่าทั้งหมด) ◦ B เป็นวัสดุคงคลังที่มีปริมาณปานกลาง (30% ของวัสดุคงคลังทั้งหมด) และมีมูลค่ารวม ปานกลาง (15% ของมูลค่าทั้งหมด) ◦ C เป็นวัสดุคงคลังที่มีปริมาณมาก (50-60% ของวัสดุคงคลังทั้งหมด) แต่มีมูลค่ารวม ค่อนข้างต่า (5-10% ของมูลค่าทั้งหมด) 23
  • 24. ประเภท ปริมาณการใช้ ต้นทุน/หน่วย ($) มูลค่าการใช้ ($) เปอร์เซ็นต์มูลค่าการใช้ 1 5,000 1.50 7,500 2.9% 2 1,500 8.00 12,000 4.7% 3 10,000 10.50 105,000 41.2% 4 6,000 2.00 12,000 4.7% 5 7,500 0.50 3,750 1.5% 6 6,000 13.60 81,600 32.0% 7 5,000 0.75 3,750 1.5% 8 4,500 1.25 5,625 2.2% 9 7,000 2.50 17,500 6.9% 10 3,000 2.00 6,000 2.4% Total $ 254,725 100.0% ระบบการจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวดเอบีซี 24
  • 25. มูลค่าการใช้($) เปอร์เซ็นต์มูลค่าการใช้ 3 41.2% 6 32.0% 9 6.9% 2 4.7% 4 4.7% 1 2.9% 10 2.4% 8 2.2% 5 1.5% 7 1.5% ระบบการจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวดเอบีซี 25
  • 26. 0.0% 20.0% 40.0% 60.0% 80.0% 100.0% 120.0% 0.0% 5.0% 10.0% 15.0% 20.0% 25.0% 30.0% 35.0% 40.0% 45.0% Cumulative%Usage PercentUsage Item No. Percentage of Total Dollar Usage Cumulative Percentage ระบบการจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวดเอบีซี 26
  • 27. การจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวด ABC จะทาให้การควบคุมวัสดุคงคลังแตกต่าง กันดังต่อไปนี้  A ควบคุมอย่างเข้มงวดมาก ด้วยการลงบัญชีทุกครั้งที่มีการรับจ่าย และมีการตรวจนับ จานวนจริงเพื่อเปรียบเทียบกับจานวนในบัญชีอยู่บ่อยๆ (เช่น ทุกวันหรือ ทุกสัปดาห์) การควบคุมจึงควรใช้ระบบวัสดุคงคลังอย่างต่อเนื่องและต้องเก็บของไว้ในที่ปลอดภัย ในด้านการจัดซื้อก็ควรหาผู้ขายไว้หลายรายเพื่อลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนวัสดุ หรือสินค้าและสามารถเจรจาต่อรองราคาได้  B ควบคุมอย่างเข้มงวดปานกลาง ด้วยการลงบัญชีคุมยอดบันทึกเสมอเช่นเดียวกับ A ควรมีการเบิกจ่ายอย่างเป็นระบบเพื่อป้องกันการสูญหาย การตรวจนับจานวนจริงก็ทา เช่นเดียวกับ A แต่ความถี่น้อยกว่า (เช่น ทุกสัปดาห์ หรือ ทุกสิ้นเดือน) และการ ควบคุม B จึงควรใช้ระบบวัสดุคงคลังอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกับ A ระบบการจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวดเอบีซี 27
  • 28.  C ไม่มีการจดบันทึกหรือมีก็เพียงเล็กน้อย วัสดุคงคลังประเภทนี้จะวางให้หยิบ ใช้ได้ตามสะดวกเนื่องจากเป็นของราคาถูกและปริมาณมาก ถ้าทาการควบคุม อย่างเข้มงวด จะทาให้มีค่าใช้จ่ายมากซึ่งไม่คุ้มค่ากับประโยชน์ที่ได้ป้องกันไม่ให้ สูญหาย การตรวจนับ C จะใช้ระบบวัสดุคงคลังแบบสิ้นงวดคือเว้นสักระยะจะมา ตรวจนับดูว่าพร่องไปเท่าใดแล้วก็ซื้อมาเติม หรืออาจใช้ระบบสองกล่อง (Two bin system) ซึ่งมีกล่องวัสดุอยู่ 2 กล่องเป็นการเผื่อไว้ พอใช้ของในกล่องแรก หมดก็นาเอากล่องสารองมาใช้แล้วรีบซื้อของเติมใส่กล่องสารองแทน ซึ่งจะทาให้ ไม่มีการขาดมือเกิดขึ้น ระบบการจาแนกวัสดุคงคลังเป็นหมวดเอบีซี 28
  • 29.  มีระบบการพยากรณ์ที่เชื่อถือได้ และสามารถบ่งชี้ข้อผิดพลาดในการพยากรณ์ได้  สามารถประมาณการเกี่ยวกับ ต้นทุนด้านต่างๆ ได้ ◦ ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆมา ◦ ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง ◦ ต้นทุนในการสั่งซื้อ ◦ ต้นทุนจากการขาดแคลนวัสดุคงคลัง  มีระบบในการควบคุมและ ติดตามปริมาณ วัสดุคงคลัง  มีระบบการจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลังที่ดี  มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลานา ในการสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนในการผลิตแต่ละประเภท  มีการกาหนดปริมาณการสั่งซื้อและรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง ที่เหมาะสม การบริหารจัดการวัสดุคงคลังที่มีประสิทธิภาพ 29
  • 30. Lead Time & Its Impact  เวลานา (Lead Time) คือ ช่วงเวลาตั้งแต่เริ่มมีความต้องการ วัสดุควงคลัง จนกระทั่งได้รับวัสดุคงคลังหรือสินค้านั้นมา Lead time can be defined as “the time it takes from when you first determine a need for a product until it arrives on your doorstep”. If lead time was zero, inventory could be zero. 30
  • 31. ระดับการบริการลูกค้า (Service Level)  ระดับการบริการลูกค้า หมายถึง ความน่าจะเป็นที่ความต้องการของ ลูกค้าจะไม่เกินกว่าปริมาณวัสดุคงคลังที่มีอยู่คลังที่มีอยู่ในขณะนั้น  Service level = 95%  ถ้ามีลูกค้าสั่งวัสดุหรือสินค้า 100 ครั้งจะมีแค่ 5 ครั้งที่เราจะไม่มีวัสดุหรือสินค้าให้ ทันที (วัสดุหรือสินค้าที่มีอยู่ในคลังวัสดุหรือสินค้าไม่เพียงพอ)  ถ้าระดับ Service Level สูงจะมีในการตัดสินใจว่าจะกาหนดระดับ Service Level เป็นเท่าไหร่ต้องคานึงถึงต้นทุนที่เกิดเพิ่มซึ่งคือต้นทุนในการเก็บวัสดุหรือ สินค้าไว้ในคงคลังในรูปแบบของ safety stock  ถ้าระดับ Service Level สูงจะมีต้นทุนในการเก็บวัสดุหรือสินค้าไว้ในคงคลัง (The cost of carrying safety stock) มาก และต้นทุนจากการทีวัสดุหรือสินค้า ขาด (the cost of a stockout) น้อย 31
  • 32. วัสดุคงคลังที่เก็บสารองเพื่อความปลอดภัย (Safety Stock) วัสดุคงคลังเพื่อความปลอดภัย (Safety stock) เป็นวัสดุคงคลังที่ต้องสารองไว้ กันวัสดุหรือสินค้าขาดเมื่อวัสดุหรือสินค้าถูกใช้มากกว่าที่คาดการณ์ไว้ วัสดุคงคลังที่เก็บสารองไว้ โดยปริมาณของ Safety stock จะมากหรือน้อยนั้น จะขึ้นกับความไม่แน่นอนของปริมาณความต้องการ ถ้าปริมาณความต้องการ วัสดุหรือสินค้า ในแต่ละช่วงเวลาไม่สามารถคาดการณ์ได้อย่างแน่นอน อาจทา ต้องเก็บ Safety stock ในปริมาณมากขึ้น 32
  • 34. การกาหนดปริมาณ Safety Stock  ความถูกต้องในการพยากรณ์ (Forecast Accuracy) ถ้าความถูกต้องในการ พยากรณ์มากจะช่วยให้ปริมาณ Safety Stock น้อยลง  เป้าหมายการบริการลูกค้า (Target service Level ) ถ้าเราตั้งเป้าหมายในการบริการ ลูกค้าไว้สูง เราจะต้องเก็บ Safety Stock ในปริมาณมากขึ้น  ความถี่ในการเติมเต็ม (Replenishment Frequency) ถ้าเราสามารถเติมเต็มวัสดุคง คลังได้บ่อยๆ เราจะสามารถลดปริมาณ Safety Stock ลงได้ เนื่องจากเรามีโอกาสถี่ ขึ้นที่จะสั่งวัสดุหรือสินค้ามาเพิ่ม  เวลานาและความแปรปรวนของเวลานา (Lead time & Its’ variability) ถ้าเวลานาใน การเติมเต็มวัสดุคงคลังลดลง เราสามารถลดปริมาณ Safety Stock ลงได้ เนื่องจาก เราสามารถสั่งวัสดุหรือสินค้ามาเพิ่มได้โดยใช้เวลาไม่นาน นอกจากนี้ถ้าเวลานามี ความแน่นอนหรือมีความแปรปรวนต่า จานวน Safety Stock เราอาจไม่ต้องเก็บ Safety Stock 34
  • 35. การกาหนดปริมาณ Safety Stock  ถ้าต้องการเพิ่มService Level ปริมาณวัสดุคงคลังที่เราจะต้อง เก็บจะเพิ่มมากไปด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเรา ต้องการเพิ่มService Levelให้ ใกล้ 100% เราจะต้องเพิ่ม ปริมาณวัสดุคงคลังเป็นจานวน มาก 35
  • 36.  มีระบบการพยากรณ์ที่เชื่อถือได้ และสามารถบ่งชี้ข้อผิดพลาดในการพยากรณ์ได้  สามารถประมาณการเกี่ยวกับ ต้นทุนด้านต่างๆ ได้ ◦ ต้นทุนจากค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปเพื่อให้ได้วัสดุหรือวัสดุหรือสินค้านั้นๆมา ◦ ต้นทุนการเก็บวัสดุคงคลัง ◦ ต้นทุนในการสั่งซื้อ ◦ ต้นทุนจากการขาดแคลนวัสดุคงคลัง  มีระบบในการควบคุมและ ติดตามปริมาณ วัสดุคงคลัง  มีระบบการจัดหมวดหมู่วัสดุคงคลังที่ดี  มีข้อมูลเกี่ยวกับเวลานา ในการสั่งซื้อวัตถุดิบ หรือชิ้นส่วนในการผลิตแต่ละประเภท การบริหารจัดการวัสดุคงคลังที่มีประสิทธิภาพ 36
  • 37. การตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการวัสดุคงคลัง  ควรสั่งซื้อวัสดุหรือสินค้าเมือไร บ่อยแค่ไหน (ความถี่ ) และแต่ละครั้งห่างกัน เท่าไร (Timing)  ควรสั่งซื้อวัสดุหรือสินค้าครั้งละเท่าไร (Quantity)  ควรมีวัสดุคงคลังสารองไว้บ้างหรือไม่ ด้วยจานวนเท่าใด (Safety Stock) 37
  • 39. การกาหนดรอบเวลาในการเติมเต็มวัสดุคงคลัง  การใช้การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material requirement Planning)  การสั่งซื้อเมื่อถึงจุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ (Reorder Point)  การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง (Fixed-Order-Interval) 39
  • 40. การวางแผนความต้องการวัสดุ  แนวคิดของระบบ MRP มุ่งเน้นการสั่งวัสดุให้ถูกต้อง เพียงพอกับจานวนที่ ต้องการ และในเวลาที่ต้องการ การจะดาเนินการให้บรรลุตามเป้าหมายดังกล่าวนี้ ได้ จาเป็นต้องมีการประสานงานภายในระบบ เป็นอย่างดี ระหว่าง ความต้องการ ของลูกค้า (Customers) ผู้ผลิต และผู้ส่งมอบ (Suppliers) โดยมีหน่วยงานกลาง เช่นฝ่ายวางแผนช่วยในการประสานและรวบรวมข้อมูลของฝ่ายต่างๆมาทาการ ประมวลผลและจัดทาเป็นแผนความต้องการวัสดุแต่ละรายการ  ผลจากระบบ MRP จะเป็นรายงานที่บอกให้ทราบว่าจะต้องทาการสั่งซื้อหรือสั่ง ผลิตวัสดุอะไร จานวนเท่าไร และ เมื่อไร โดยแผนการสั่งวัสดุทั้งหมดจะมี เป้าหมายที่สอดคล้องกัน คือผลิตภัณฑ์ หรือวัสดุขั้นสุดท้ายที่กาหนดไว้ในตาราง การผลิตหลัก (Master Production schedule)  แผนความต้องการวัสดุนี้จึงเปรียบเสมือนเป็นตัวประสานเป้าหมายของบริษัทกับ ทุกฝ่าย 40
  • 41. การวางแผนความต้องการวัสดุ แผนการผลิตรวม ตารางการผลิตหลัก แฟ้มข้อมูลสถานะของคงคลัง (Inventory Record File) แฟ้มข้อมูลรายการวัสดุ (BOM) พยากรณ์ ความ ต้องการ คาสั่งซื้อ จากลูกค้า การ เปลี่ยนแปลง วัสดุคงคลัง การ เปลี่ยนแปลง ทางวิศวกรรม ระบบ MRP รายงานขั้นต้น รายงานแผนกาหนดการออกใบสั่ง รายงานการเปลี่ยนแปลงใบสั่งเดิม สถานะวัสดุคงคลัง รายงานขั้นที่ 2 รายงานปัญหาพิเศษ รายงานผลการดาเนินงาน รายงานกาวางแผน
  • 42. การวางแผนความต้องการวัสดุ: Input  ตารางการผลิตหลัก เป็นตารางที่แสดงกาหนดการของรายการวัสดุที่เป็น ความต้องการอิสระ (Independent Demand) ซึ่งได้แก่ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ายของ บริษัทที่จาหน่ายให้แก่ลูกค้า ซึ่งอาจจะเป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปหรือ ชิ้นส่วนที่ บริษัทผลิตขายออกไปในลักษณะของชิ้นส่วนบริการ โดยตารางการผลิตหลักจะ บรรจุกาหนดการผลิตที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว และ จะแสดงให้ทราบว่า ต้องการจะผลิตอะไร จานวนเท่าไร และ เมื่อไร สาหรับตารางการผลิตหลักอาจ กาหนดขึ้นจากแหล่งข้อมูลแหล่งใดแหล่งหนึ่งหรือหลายแหล่งดังต่อไปนี้ เช่น จากใบสั่งของลูกค้า ซึ่งสั่งซื้อผลิตภัณฑ์ชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ และมักจะ กาหนดเวลาส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่แน่นอน หรือ จาก การพยากรณ์ความต้องการ ซึ่งคานวณตามหลักการทางสถิติจากข้อมูลยอดขายในอดีตและจากการวิจัย ตลาด 42
  • 43. การวางแผนความต้องการวัสดุ: Input  ตารางการผลิตหลัก Item: Ladder-back chair Order Policy: 150 units Lead Time: 1 week 1 2 3 4 5 6 7 8 April Forecast Customer orders booked Projected on- hand inventory MPS quantity MPS start Quantity on Hand: 30 38 30 27 30 24 30 8 0 35 0 35 0 0 3535 55 May 17 137 107 77 42 7 122 87 0 150 0 0 0 0 150 0 150 0 0 0 0 150 0 0 43
  • 44. การวางแผนความต้องการวัสดุ: Input  บัญชีรายการวัสดุ (Bill of Material) หรือ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าแฟ้ มโครงสร้าง ผลิตภัณฑ์(Product Structure Files) จะบรรจุสารสนเทศที่เป็นรายละเอียดของ ผลิตภัณฑ์แต่ละรายการอย่างสมบูรณ์ โดยแฟ้มบัญชีรายการวัสดุจะบรรจุโครงสร้าง ของผลิตภัณฑ์ทุกๆรายการของบริษัท รายละเอียดภายในโครงสร้างผลิตภัณฑ์จะ แสดงให้ทราบถึงรายการวัสดุทุกๆรายการ พร้อมทั้งปริมาณความต้องการวัสดุแต่ละ รายการที่จาเป็นต่อการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปแต่ละรายการหนึ่งหน่วย  รายการวัสดุดังกล่าวนี้ยังถูกบรรจุอยู่ในแฟ้มบัญชีรายการวัสดุที่สะท้อนให้เห็นถึง โครงสร้างของการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ โดยแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของวัสดุแต่ละ รายการตามลาดับขั้นในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป นับตั้งแต่ วัตถุดิบ (Raw materials) ชิ้นส่วน (Parts) ประกอบย่อย (Subassemblies) และชิ้นส่วนประกอบ (Assemblies) ผลิตภัณฑ์แต่ละรายการจะต้องมีหนึ่งโครงสร้างผลิตภัณฑ์ หรือ หนึ่ง บัญชีรายการวัสดุ 44
  • 45. J (4) Seat-frame boards Bill of Materials G (4) Back slats F (2) Back legs I (1) Seat cushion H (1) Seat frame C (1) Seat subassembly D (2) Front legs B (1) Ladder-back subassembly E (4) Leg supports A Ladder-back chair BOM for a Ladder-Back Chair
  • 46. การวางแผนความต้องการวัสดุ: Input  แฟ้ มข้อมูลสถานะพัสดุคงคลัง (Inventory Record Files) เป็นแฟ้มข้อมูลที่ บันทึก รายการวัสดุแต่ละรายการที่คงคลังไว้อย่างสมบูรณ์  ข้อมูลสถานะพัสดุคงคลังที่จาเป็นต่อการประมวลผลในระบบ MRP สามารถแยกได้ เป็น 2 กลุ่ม หลัก คือ กลุ่มที่มีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา และกลุ่มที่ค่อนข้างคงที่ไม่ ค่อยมีการเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลง  ความถูกต้องและทันสมัยของข้อมูลในแฟ้มข้อมูลสถานะของคงคลังนับว่ามีส่วนสาคัญ เป็นอย่างยิ่งต่อความมีประสิทธิผลของการดาเนินงานระบบ MRP และปัจจัยสาคัญที่ ทาให้แฟ้มข้อมูลสถานะพัสดุคงคลังมีความถูกต้องและเป็นปัจจุบันแบบเวลาจริง (Real-time) อยู่ตลอดเวลา ก็คือ การมีระบบการบันทึกการเคลื่อนไหวของของคงคลัง ที่มีประสิทธิภาพ ทั้งด้านความถูกต้อง รวดเร็ว และ ครบถ้วน 46
  • 47. แฟ้ มข้อมูลสถานะพัสดุคงคลัง  ข้อมูลพัสดุคงคลังที่แสดงสถานะจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (Status Data)จาก การรับเข้าหรือการจ่ายออกพัสดุคงคลัง ◦ แผนการสั่ง (Planed order Releases) ◦ พัสดุคงคลังในมือ (Inventory on hand) ◦ วัสดุระหว่างการสั่ง (Materials on order) ◦ พัสดุคงคลังพร้อมใช้(Available Inventory) 47
  • 48.  ส่วนอีกกลุ่มหนึ่ง ส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยด้านการ วางแผนที่ใช้ในระบบ MRP ◦ ขนาดรุ่นการสั่ง (Lot sizes) ◦ ช่วงเวลานา (Lead Times) ◦ ระดับสต๊อกเผื่อความปลอดภัย (Safety Stock Level) ◦ อัตราของเสีย (Scrap Rates) ◦ อัตราผลได้ (Yield) แฟ้ มข้อมูลสถานะพัสดุคงคลัง 48
  • 49. การวางแผนความต้องการวัสดุ: Output  ผลได้จากระบบ MRP จะออกมาในรูปของรายงานต่างๆ ที่เป็นตาราง กาหนดการในการจัดหาวัสดุแต่ละรายการในอนาคตเพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการของMPSในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งมักจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ตลอดเวลา ตารางดังกล่าวนี้จะเป็นสารสนเทศที่ช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจใน การดาเนินการด้านการจัดการพัสดุคงคลังของบริษัท ◦ แผนการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต ◦ ใบสั่งซื้อหรือสั่งผลิต ◦ การเปลี่ยนแปลงแผนการสั่ง ◦ ข้อมูลสถานะพัสดุคงคลัง 49
  • 50. จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่  จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ (Reorder Point) เป็นการบริหารจัดการ วัสดุและสินค้าคงคลังโดยกาหนดจุดที่จะสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ไว้ ล่วงหน้า  จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ (Reorder Point)นั้นมีความสัมพันธ์แปร ตามตัวแปร 2 ตัว คือ อัตราความต้องการใช้วัสดุคงคลังและรอบเวลานาในการ สั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลัง (Lead Time)  ระดับวัสดุคงคลังรายการนั้นจะลดต่าลงในช่วงสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลัง จนถึงระดับต่าสุดที่วางแผนไว้ และเมื่อถึงกาหนดเวลารับวัสดุหรือสินค้า จะทา การรับสินค้าเข้ามา ◦ การรับสินค้าแต่ละครั้งมีปริมาณที่จะทาให้มีสินค้าคงคลังถึงระดับที่วางแผนไว้ (Min-Max) ◦ การรับสินค้าแต่ละครั้งมีปริมาณคงที่ ตาม lot size ที่กาหนดไว้ 50
  • 51.  จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ในอัตราความต้องการวัสดุคงคลังคงที่ และรอบเวลาคงที่ เป็นสภาวะที่ไม่เสี่ยงที่จะเกิดวัสดุหรือสินค้าขาดมือเลย เพราะทุกสิ่งทุกอย่างแน่นอน  จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ R = d x L d = อัตราความต้องการวัสดุคงคลัง L = เวลานาในการเติมเต็มวัสดุหรือสินค้า จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ 51
  • 53. Reorder point, R Q LT Time LT Inventorylevel 0 Safety Stock Safety Stock ขึ้นกับความต้องการในช่วง lead time จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ 53
  • 54.  จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ในอัตราความต้องการวัสดุคงคลังที่ แปรผัน เป็นสภาวะที่อาจเกิดของขาดมือได้เพราะว่าอัตราการใช้หรือความ ต้องการวัสดุคงคลังไม่สม่าเสมอ จึงต้องมีการเก็บวัสดุคงคลังเพื่อความปลอดภัย ซึ่งช่วยให้อัตราการบริการลูกค้าดีขึ้น  ในกรณีที่มีข้อมูลความเบี่ยงเบนมาตรฐานของอัตราความต้องการวัสดุหรือสินค้า ในช่วงเวลานา จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ สามารถหาได้ดังนี้  จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ = ความต้องการในช่วงเวลานา + วัสดุ คงคลังเพื่อความปลอดภัย  Reorder Point = Demand during Lead Time + Safety Stock จุดสั่งเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลังใหม่ 54
  • 55. การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง  การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง (Fixed-Order-Interval) ระบบนี้ จะกาหนดช่วง ห่างของการตรวจสอบระดับและสั่งวัสดุคงคลังแต่ละครั้งเป็นระยะเวลาคงที่ หากระดับวัสดุคงคลังไม่เพียงพอกับความต้องการก่อนถึงกาหนดการตรวจสอบ ครั้งต่อไป ให้ทาการสั่งวัสดุหรือสินค้ามาก่อนกาหนดการตรวจสอบได้  ความถี่ในการตรวจสอบและสั่งวัสดุหรือสินค้าจะแตกต่างกันตามประเภทของ วัสดุหรือสินค้า โดยเป็นการกาหนดจากฝ่ายวางแผน ปริมาณการสั่งวัสดุหรือ สินค้าแต่ละรายการจะแตกต่างโดยปริมาณการสั่งจะเป็นการประมาณการ ล่วงหน้าและครอบคลุมความต้องการใช้เป็นระยะเวลาสั้นๆ เช่น สองสัปดาห์, สี่สัปดาห์ หรือสิบสองสัปดาห์ โดยใช้การตรวจสอบระดับวัสดุหรือสินค้า เช่น การตรวจนับ การดูข้อมูลจากวัสดุคงคลังการ์ด การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ 55
  • 56. การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง  สิ่งที่เราสนใจสาหรับระบบนี้คือ ระดับวัสดุคงคลังสูงสุดที่วางแผนไว้ (Planned maximum stock) ซึ่งในการสั่งแต่ละครั้งเราต้องมั่นใจว่าวัสดุคงคลังจะขึ้นไปถึง ระดับสูงสุดนี้  ระดับสูงสุดดังกล่าวจะต้องมากพอที่จะใช้ในช่วงรอการตรวจสอบ (Review Interval) และช่วงเวลานาการสั่ง ดังนั้นระดับวัสดุคงคลังสูงสุดที่วางแผนไว้เรา จะกาหนดให้เป็น Target Level 56
  • 58. การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง  Target Level ในอัตราความต้องการวัสดุคงคลังคงที่และรอบเวลาคงที่ เป็นสภาวะที่ไม่เสี่ยงที่จะเกิดวัสดุหรือสินค้าขาดมือเลย เพราะทุกสิ่งทุกอย่าง แน่นอน Target Level = ความต้องการในช่วงรอการตรวจสอบ (Review Interval) + ความต้องการช่วงเวลานาการสั่งซื้อ Target Level = d x (R + L) โดยที่ d = อัตราความต้องการวัสดุคงคลัง L = เวลานาในการเติมเต็มวัสดุหรือสินค้า R = เวลาในช่วงรอการตรวจสอบ (Review Interval) 58
  • 59. Time Target level 1 2 3 OrderQuantity Quantityการสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง Review Period Lead time
  • 60. การสั่งเมื่อครบรอบเวลาในการสั่ง  Target Level ในอัตราความต้องการวัสดุคงคลังที่แปรผัน เป็นสภาวะที่อาจ เกิดของขาดมือได้เพราะว่าอัตราการใช้หรือความต้องการวัสดุคงคลังไม่ สม่าเสมอ จึงต้องมีการเก็บวัสดุคงคลังเพื่อความปลอดภัย ซึ่งช่วยให้อัตราการ บริการลูกค้าดีขึ้น  Target Level = ความต้องการในช่วงรอการตรวจสอบ (Review Interval) + ความต้องการช่วงเวลานาการสั่งซื้อ + วัสดุหรือสินค้าสารองเพื่อความปลอดภัย (Safety-Stock, SS) Target Level = d x (R + L) + SS 60
  • 62. การกาหนดปริมาณเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลัง  สั่งแบบ Lot for Lot  สั่งแบบ Fixed Order Quantity  สั่งแบบ ปริมาณการสั่งที่ประหยัด (Economic Order Quantity) 62
  • 63. การกาหนดปริมาณเติมเต็มวัสดุหรือสินค้าคงคลัง Lot-for-Lot  สั่งเท่าที่ต้องการจะไม่มีการเหลือเก็บเนื่องจากสั่งเท่าที่ต้องการ  ใช้สาหรับการสั่งซื้อวัตถุดิบหรือสินค้าที่………. ◦ ความต้องการที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent demand) ◦ ราคาไม่แพง (A items) ◦ ผลิตแบบ Just-in-Time (JIT) Fixed-Order Quantity  สั่งซื้อเป็นปริมาณตายตัวทุกครั้งที่มีการสั่ง ◦ เร็วและง่าย ◦ การตัดสินใจสาหรับปริมาณในการสั่งซื้อให้ดูจากความเหมาะสม ◦ อาจไม่ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด 63
  • 64. การสั่งด้วยปริมาณการสั่งที่ประหยัด (EOQ)  เป็นระบบวัสดุคงคลังที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยจะใช้กับวัสดุคงคลังที่มีลักษณะ ของความต้องการที่เป็นอิสระไม่เกี่ยวข้องต่อเนื่องกับความต้องการของวัสดุคง คลังตัวอื่น (Independent Demand) จึงต้องวางแผนพิจารณาความต้องการและ พยากรณ์อุปสงค์ของลูกค้าโดยตรง  ระบบขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดจะพิจารณาต้นทุนรวมของวัสดุคงคลังที่ต่าสุด เป็นหลักเพื่อกาหนดระดับปริมาณการสั่งซื้อต่อครั้งที่เรียกว่า “ขนาดการสั่งซื้อที่ ประหยัด” 64
  • 65. การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ  ลดขนาดการสั่งซื้อและการสั่งผลิตลง ◦ สาหรับสินค้าที่ทาการจัดซื้อ ให้ทาการบริหารต้นทุนการจัดซื้อ (Acquisition transaction costs) ให้ต่าลง โดยใช้ คอมพิวเตอร์หรือระบบสารสนเทศในการสร้างคาสั่งซื้อ (Purchase Orders: PO) การใช้ระบบ (Electronic Data Interchange: EDI) ในการส่งผ่านข้อมูลคา สั่งซื้อ (PO) การใช้ระบบแจ้งการขนส่งสินค้าล่วงหน้า (Advance Shipping Notices: ASNs) เพื่อทาการลดต้นทุนการจัดซื้อ ซึ่งจะสามารถลดต้นทุนด้านการจัดซื้อและการรับ สินค้าลดลง และสามารถสั่งได้บ่อยขึ้น หรือสามารถลดปริมาณสินค้าคงคลังโดยเฉลี่ยได้ ◦ สาหรับสินค้าที่ทาการผลิตนั้น หากต้นทุนการติดตั้งหรือการเปลี่ยนเครื่องมือ (Equipment changeover costs) มีค่าสูง การแก้ไขให้กิจกรรมนี้ให้มีเวลาการเปลี่ยนเครื่องมือที่สั้นลง จะสามารถลดปริมาณ สินค้าคงคลังได้ และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้ 65
  • 66.  ลดต้นทุนการเก็บสินค้าคงคลัง (Lower inventory costs) ◦ เพิ่มการใช้ประโยชน์ของพื้นที่โดยการให้เช่าพื้นที่ที่มีอยู่ หรือ ลดการการขยายพื้นที่ คลังสินค้า โดยใช้ เครื่องมือที่สามารถขนถ่านสินค้าในช่องแคบ การใช้ชั้นลอย หรือ วิธีการเก็บสินค้าที่เหมาะสมมากขึ้น  การตั้งระดับปริมาณสินค้าเผื่อขาดให้เหมาะสม ◦ การตั้งระดับปริมาณสินค้าคงคลังเผื่อขาด (Safety stock) ให้มีความ เหมาะสมและ ชัดเจน  วางแผนการประกอบเมื่อเกิดความต้องการ(Think postponement) ◦ สาหรับสินค้าที่เป็นชิ้นส่วนที่สามารถนาไปผลิตสินค้าต่อเนื่องได้อีกหลายชนิด (Parent products) ควร จะทาการเก็บสินค้าคงคลังไว้ในรูปแบบของสินค้ากึ่ง สาเร็จรูป (Semi-finished product) เพื่อลดปริมาณสินค้า คงคลังทั้งหมด เนื่องจาก สามารถลดปริมาณสินค้าคงคลังของทุกรายการแต่ละแบบได้ การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ 66
  • 67.  พยากรณ์ความต้องการของลูกค้าอย่างสม่าเสมอ ◦ การใช้ประสบการณ์แก้ไขสมการพยากรณ์ในการคานวณความต้องการของสินค้า เพื่อที่ลดความ ผิดพลาดจากการใช้สูตรพยากรณ์เพียงอย่างเดียวจะสามารถลดการ เก็บสินค้าเกินความจาเป็น สินค้าขาดแคลน ทาให้มีสินค้าเพียงแค่ความต้องการของ ลูกค้า ◦ เหตุการณ์บางเหตุการณ์ทาให้เกิดความต้องการของสินค้าเพิ่มขึ้นในเวลาอันรวดเร็ว ทาให้ต้องคานึงถึง เหตุการณ์นั้นในการจัดการสินค้าคงคลัง อาทิ เทศกาลสงกรานต์ที่ ทาให้ความต้องการตั๋วรถยนต์โดยสารประจา ทางหรือตั๋วเครื่องบินเพิ่มสูงขึ้น ทาให้ ต้องมีการวางแผนสินค้าคงคลังรองรับเหตุการณ์ดังกล่าว การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ 67
  • 68.  สร้างความร่วมมือระหว่างซัพพลายเออร์ในการสั่งซื้อสินค้า ◦ สร้างความร่วมมือของซัพพลายเออร์หลักในการจัดซื้อสินค้าหลายรายการ (Multiple SKUs) ซึ่งจะทาให้สามารถการจัดซื้อสินค้าแต่ละประเภทได้ในปริมาณที่น้อยลง และสั่งได้ ถี่ขึ้น ทาให้การเก็บสินค้าคงคลังน้อยลง ◦ สร้างความร่วมมือของซัพพลายเออร์หลักที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน สามารถเพิ่มการ ใช้ ประโยชน์ของรถบรรทุกขนส่งสินค้าให้สามารถขนสินค้าได้เต็มน้าหนักบรรทุกมากขึ้น  รวมรายการสินค้าระหว่างการขนส่ง (Try merge-in-transit) ◦ กรณีที่ลูกค้ามีความต้องการรับสินค้าหลายรายการในเวลาเดียวกัน ในระหว่างการขนส่ง อาจจะมีการ รวมบางรายการที่มาจากสถานที่ต่างกันมาขนรวมกันเพื่อความสะดวกในการ รับสินค้าของลูกค้าภายในครั้งเดียว ทาให้การขนส่งมีประสิทธิภาพมากขึ้นและสามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารสินค้าคงคลังได้ดีขึ้น เนื่องจาก สามารถขนส่งสินค้าได้ถี่มากขึ้น ต้นทุนสินค้าคงคลังจะลดลง การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ 68
  • 69.  จัดส่งสินค้าต่อไปให้ลูกค้าเมื่อสินค้ามาถึง (Cross-dock customer shipments) ◦ การจัดการจัดส่งสินค้าต่อไปให้ลูกค้าเมื่อสินค้ามาถึง (Cross-dock) จะสามารถลดความ ต้องการในการ เก็บสินค้าคงคลัง เนื่องจากสินค้าสามารถนาส่งต่อไปยังลูกค้าได้ทันที โดย ไม่ต้องทาการจัดเก็บสินค้า  การให้ซัพพลายเออร์เป็นผู้บริหารสินค้าคงคลัง (Vendor-Managed Inventory: VMI) ◦ สร้างแรงจูงใจที่เหมาะสมให้ซัพพลายเออร์เข้ามารับผิดชอบการบริหารสินค้าคงคลัง เนื่อง จากซัพพลายเออร์สามารถทราบปริมาณสินค้าคงคลังและแผนการผลิตสินค้าของฝ่าย ตนเอง และสามารถทราบความ ต้องการที่แท้จริงของสินค้าพร้อมกับปริมาณสินค้าคงคลัง ของลูกค้า ส่งผลให้ต้นทุนสินค้าคงคลังทั้งฝ่ายซัพพลายเออร์และลูกค้าลดลง การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ 69
  • 70.  ลดระยะเวลาในการสั่งซื้อ ◦ การลดระยะเวลาในการสั่งซื้อวัตถุดิบหรือชิ้นส่วน ไม่ว่าจะเป็นระยะเวลาในการสั่งซื้อจาก ซัพพลายเออร์หรือระยะเวลาในการขนส่งสินค้า หรือ ระยะเวลาในการรับสินค้า จะส่งผลให้ ปริมาณความต้องการในการ เก็บสินค้าคงคลังลดลง นอกจากนี้การลดความไม่แน่นอน ของระยะเวลาในการสั่งซื้อก็สามารถลดความต้องการ ของการเก็บสินค้าได้  เคลื่อนย้ายสินค้าคงคลัง (Transshipment) ◦ เมื่อสินค้าคงคลังของสินค้าบางรายการ ณ คลังสินค้าแห่งหนึ่งมีมากเกินไป อย่างไรก็ตาม ได้มีความ ต้องการสินค้าประเภทเดียวกัน ณ คลังสินค้าอีกที่หนึ่ง ดังนั้นระบบในการเกลี่ย ปริมาณสินค้าคงคลังจากที่หนึ่ง มาที่หนึ่งที่มีประสิทธิภาพ จะส่งผลดีต่อการบริหารสินค้า คงคลังได้ดี อย่างไรก็ตามต้นทุนในการเคลื่อนย้าย สินค้านี้ต้องอยู่ในระดับที่จูงใจ การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ 70
  • 71.  การกาจัดสินค้า Dead Stock (สินค้าที่ไม่เคลื่อนไหวเป็นเวลามากกว่า 6 เดือน) และสินค้า Slow Moving (สินค้าที่ถูกขายออกไปช้า อาจจะเดือนละ ครั้ง หรือ สองเดือนครั้ง เป็นต้น) ◦ ซึ่งการจัดการลดกลุ่มสินค้าเหล่านี้เป็นการช่วยลดต้นทุนทั้งในคลังสินค้า (Warehousing) การจัดดาเนินการสินค้าในคลัง (Handling) การขนส่ง (Transportation) เช่น สินค้าที่ไม่ เคลื่อนไหว หรือเคลื่อนไหวช้า ทาให้เปลืองพื้นที่จัดเก็บ และการดูแลสินค้าในคลัง อีกทั้ง ค่าขนส่งต่อรายการเมื่อมีการสั่งซื้อจากลูกค้า อาจทาให้ไม่คุ้มกับการส่ง เมื่อเทียบสัดส่วน ปริมาณสั่ง ซื้อต่อค่าจัดส่ง(กรณีใช้ Third Party Logistics ส่วนใหญ่จะคิดค่าบริการตาม จานวนกล่องที่จัดส่ง โดยจะส่งตามรอบและเส้นทางที่กาหนดไว้ก่อนหน้านี้) การบริหารจัดการ Inventory อย่างมีประสิทธิภาพ 71
  • 73. ตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์  มิติด้านต้นทุน ◦ ต้นทุนถือครองสินค้าคงคลัง (Inventory Carrying Cost) ◦ ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (Warehousing Cost) ◦ ต้นทุนการขนส่งสินค้า (Transportation Cost)  มิติด้านเวลา ◦ ระยะเวลาเฉลี่ยของการตอบสนองคาสั่งซื้อจากลูกค้า (Average Order Cycle Time) ◦ ระยะเวลาเฉลี่ยของการจัดส่งสินค้า (Average Delivery Cycle Time) ◦ ระยะเวลาเฉลี่ยการเก็บสินค้าสาเร็จรูปอย่างเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า (Average Inventory Day)  มิติด้านความน่าเชื่อถือ ◦ อัตราความสามารถในการส่งมอบสินค้า (DIFOT) ◦ อัตราความแม่นยาการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า (Forecast Accuracy) ◦ อัตราการถูกตีกลับของสินค้า (Return Rate) ◦ อัตราความถูกต้องของข้อมูลสินค้าคงคลัง (Inventory Accuracy) 73กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
  • 74. ต้นทุนการถือครองสินค้าคงคลัง  ตัวชี้วัด: สัดส่วนต้นทุนการถือครองสินค้าต่อยอดขาย (Ratio of Inventory Carrying Cost Per Sales) ข้อมูลที่ใช้คานวณ (1) ยอดขายรวมของบริษัท บาท (2) มูลค่าการถือครองรวมโดยเฉลี่ย บาทต่อปี วัตถุดิบ บาทต่อปี สินค้าระหว่างผลิต บาทต่อปี สินค้าสาเร็จรูป บาทต่อปี (3) ค่าประกันภัยรวมโดยเฉลี่ย บาทต่อปี วัตถุดิบ บาทต่อปี สินค้าระหว่างผลิต บาทต่อปี สินค้าสาเร็จรูป บาทต่อปี (4) อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ คิดเป็นร้อยละ ต่อปี วิธีการคานวณ ((2) x (4)) + (3) __________________________ (1) 74กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
  • 75. ต้นทุนการถือครองสินค้าคงคลัง (ต่อ)  ตัวชี้วัด: สัดส่วนต้นทุนการถือครองสินค้าต่อยอดขาย  กิจกรรมซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ที่เกี่ยวข้อง ◦ การวางแผนการจัดซื้อ : Safety stock, Order size, Lead time ◦ การวางแผนการตลาด : Forecast accuracy, Forecast on promotion ◦ การวางแผนการผลิต : Safety stock, Production size, Lead time ◦ นโยบาย Inventory : Decoupling point, Inventory target ◦ การจัดการ Dead-stock และ Slow moving ◦ การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการสินค้าคงคลัง  กิจกรรมอื่น ◦ การเก็งราคา ◦ ต้นทุนทางการเงิน เช่น อัตราดอกเบี้ย หรือความคาดหวังผู้ถือหุ้น ◦ ประสิทธิภาพในการผลิต : Yield, Produce to Plan 75กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
  • 76. ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า  ตัวชี้วัด: สัดส่วนต้นทุนการบริหารคลังสินค้าต่อยอดขาย (Ratio of Warehousing Cost Per Sales) ข้อมูลที่ใช้คานวณ (1) ยอดขายรวมของบริษัท บาท กรณีคลังสินค้าของบริษัท (2) มูลค่าก่อสร้างอาคารคลังสินค้า (เป็นการคานวณค่าเสื่อมราคาของ สิ่งก่อสร้างหรืออาคาร โดยกาหนดให้อายุการใช้งาน 20 ปี) บาทต่อปี (3) ค่าประกันภัยอาคารคลังสินค้า บาทต่อปี (4) รวมเงินเดือนพนักงานประจาของแผนกคลังสินค้า บาทต่อปี (5) รวมค่าจ้างพนักงานชั่วคราวหรือ Outsource ของแผนกคลังสินค้า บาทต่อปี (6) ค่าล่วงเวลารวมของแผนกคลังสินค้า บาทต่อปี (7) มูลค่าอุปกรณ์ขนถ่าย (Material Handling) ทั้งหมดในคลังสินค้าที่ เป็นทรัพย์สินของบริษัท (เป็นการคานวณค่าเสื่อมราคาของ เครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องจักรกล โดยกาหนดให้อายุการใช้งาน 10 ปี) บาทต่อปี 76กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
  • 77. ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (ต่อ) ข้อมูลที่ใช้คานวณ (8) ค่าเช่าอุปกรณ์ขนถ่าย (Material Handling) ทั้งหมดในคลังสินค้า บาทต่อปี (9) ค่าน้ามันเชื้อเพลิง / ค่าไฟฟ้า สาหรับอุปกรณ์ขนถ่ายในคลังสินค้า บาทต่อปี (10) มูลค่าของระบบสารสนเทศการบริหารคลังสินค้า (Warehouse Management System) ที่มีการลงทุนในปีที่ผ่านมา (เป็นการคานวณค่าเสื่อมราคาของครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ โดย กาหนดให้อายุการใช้งาน 5 ปี) บาทต่อปี (11) ค่าเช่าหรือค่าลิขสิทธิ์สาหรับระบบบริหารคลังสินค้า (Warehouse Management System) บาทต่อปี (12) ค่าใช้จ่ายคลังสินค้าอื่นๆ (ระบุ..............) บาทต่อปี กรณีเช่าคลังภายนอก (13) พื้นที่ของคลังสินค้าที่เช่าทั้งหมด หน่วยนับ (เช่น ตาราง เมตร เป็นต้น) (14) ค่าเช่าพื้นที่คลังสินค้าภายนอก บาทต่อหน่วยนับ 77กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
  • 78. ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (ต่อ) วิธีการคานวณ ((2) / 20) + (3) + (4) + (5) + (6) + ((7) / 10) + (8) + (9) + ((10) / 5) + (11) + (12) + [(13) + (14)] ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- (1) 78กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
  • 79. ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า (ต่อ)  ตัวชี้วัด: สัดส่วนต้นทุนการบริหารคลังสินค้าต่อยอดขาย  กิจกรรมซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ที่เกี่ยวข้อง ◦ การเลือกสถานที่ ขนาดคลังสาหรับการจัดการสินค้าคงคลัง (Site selection) ◦ การใช้ประโยชน์จากพื้นที่คลังสินค้า (Space utilization) ◦ การจัดการคลังที่เป็นระบบระเบียบ (Warehouse management) ◦ ปฏิบัติการคลังสินค้าที่มีความแม่นยา รวดเร็ว ไม่มีความสูญเสีย ◦ การลงทุนอุปกรณ์และระบบการจัดการที่เหมาะสม ◦ การซ่อมบารุงอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติการคลังสินค้า ◦ การพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการคลังสินค้า ◦ การตรวจนับสต็อกและการจัดการกรณีมีความคลาดเคลื่อนของข้อมูลสินค้าคงคลัง  กิจกรรมอื่น ◦ การประกันภัยที่เหมาะสมกับตัวสินค้าและคลังสินค้า 79กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
  • 80. ต้นทุนการขนส่งสินค้า  ตัวชี้วัด: สัดส่วนต้นทุนการขนส่งต่อยอดขาย (Ratio of Transportation Cost Per Sales) ข้อมูลที่ใช้คานวณ (1) ยอดขายรวมของบริษัท บาท กรณีบริษัทขนส่งสินค้าด้วยตนเอง (2) ค่าใช้จ่ายของพนักงานแผนกขนส่ง (เช่น เงินเดือน ค่าแรงชั่วคราว ค่าล่วงเวลา เป็นต้น) บาทต่อปี (3) ค่าน้ามันสาหรับการขนส่งสินค้าทั้งัตถุดิบและสินค้าสาเร็จรูปโดย เฉลี่ย บาทต่อปี (4) มูลค่ารถที่ใช้ขนส่งสินค้า (เป็นการคานวณค่าเสื่อมราคาของรถที่ใช้ ขนส่งสินค้า โดยกาหนดให้อายุการใช้งาน 5 ปี) บาทต่อปี (5) ต้นทุนค่าบารุงรักษารถทั้งหมดโดยเฉลี่ย บาทต่อปี (6) ต้นทุนอื่น ๆ (ระบุ............) บาทต่อปี 80กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่