SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
สื่อการเรียนรู้
นาย อดิศักดิ์ บือทอง รหัสนักศึกษา 563050405-6 
นายพุฒิพงศ์ วันภูงา รหัสนักศึกษา 563050119-7 
sec 03 
จัดทาโดย
1. นักศึกษาจะนาความรู้เรื่องสื่อการสอน ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างไร เพื่อสนับสนุนวิธีการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของนักเรียนแต่ละคนให้มี ประสิทธิภาพโดยสื่อที่นามาใช้นั้นต้องตอบสนองต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยให้นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้เองด้วย
Bruner (1983) กล่าวว่า "ผู้เรียนต้องยกระดับการเรียนที่เพิ่มจาก "การจดจา" ข้อเท็จจริง ไปสู่การเริ่มต้นที่จะคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์" ผู้สอนจึงควรศึกษาเทคนิค วิธีการ และเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่จะนามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่ อย่างไรก็ตาม สิ่งที่สาคัญและเป็นความต้องการของการศึกษาในปัจจุบัน การสอนที่ผู้เรียนควรได้รับคือ ทักษะการคิดในระดับสูง (Higher-order thinking skills) ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจนการแก้ปัญหา และการถ่ายโอน (Transfer)ผู้เรียนจะเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ซึ่งจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งข้อมูลที่มีศักยภาพ ได้แก่ ครู เทคโนโลยีพ่อแม่ ภูมิปัญญา ชาวบ้าน และบุคคลอื่น ๆ ตลอดจน สื่อต่างๆ เพื่อที่จะนามาสู่การหยั่งรู้ในปัญหาและการ แก้ปัญหา หรือการได้มาซึ่งความรู้ที่ตนเองสร้างขึ้น บทบาทของครูได้เปลี่ยนแปลงมาสู่การ แนะแนวทางและเป็นผู้อานวยการ และช่วยเหลือผู้เรียนให้สามารถบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้
ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาทางด้านสื่อการสอนต่างๆ จึงมีการใช้สื่อการสอน ถ่ายทอดเนื้อหาความรู้ต่างๆ ไปยังผู้เรียน เช่น แผ่นภาพโปร่งใส ภาพยนตร์ สไลด์ วิดีทัศน์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อช่วยเปลี่ยนสิ่งที่เป็นนามธรรม ให้เป็นรูปธรรม เพิ่มขึ้น อีกทั้ง ยังแก้ปัญหาเกี่ยวกับจานวนผู้เรียนเพิ่ม ดังนั้นเทคโนโลยีหรือ นวัตกรรมที่นามาเพิ่มประสิทธิภาพก็ต้องสอดรับกับแนวคิดดังกล่าว คือ มุ่งเน้นการ เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ลักษณะของการนาสื่อมาใช้ที่สอดคล้องกับ การปฏิรูปการเรียนรู้เป็น "Media + Methods" หรือ "สื่อ ร่วมกับ วิธีการ"การใช้เว็บ ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเพื่อเปิดโอกาสให้ลงมือกระทาอย่างตื่นตัวใน กระบวนการเรียนรู้ของตนเองและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับเพื่อน รวมทั้งการขยาย มุมมอง แนวคิดให้กว้างขวางขึ้น
2. ในปัจจุบันนี้จะพบคาว่า "สื่อการสอน" กับคาว่า "สื่อการ เรียนรู้" ในฐานะที่นักศึกษาจะก้าวออกไปเป็นครูยุคใหม่ที่มีคุณภาพ ให้อธิบายว่า สองคานี้เหมือนหรือมีความแตกต่างกันอย่างไร
สื่อการสอน 
สื่อการเรียนรู้ 
ครูเป็นผู้ที่ต้องตื่น(active)ตัวต่อการสอนอยู่เสมอ 
นักเรียนเป็นผู้ที่ต้องตื่นตัว(active)ต่อการเรียนรู้ 
เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการจดจาของนักเรียน 
เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้นักเรียนสามารถเข้าใจใน บทเรียน 
ส่วนใหญ่เป็นสื่อรูปภาพที่เป็นเนื้อหาของบทเรียน 
เป็นสื่อที่จับต้องได้และนาไปสู่การเรียนรู้ที่จะทาให้ ผู้เรียนคิดเองทาเอง 
เป็นการแปลงจากประสบการณ์ของครูเพื่อที่จะ ถ่ายทอดให้นักเรียนสามารถจดจาได้ 
เป็นการแปลงจากเนื้อหาสาระของบทเรียนเพื่อที่จะให้ นักเรียนสามารถที่จะเข้าใจได้
3. ออกแบบสื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ของท่าน
จากตัวเลข20จงหาที่มาของตัวเลขนี้โดยใช้กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ 
คาตอบที่ได้คือ10+ 10 
หรือ25-5 
ฯลฯ
จบการนาเสนอครับ ขอบคุณครับ

Contenu connexe

Tendances

งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7
hadesza
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
ทศพล พรหมภักดี
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
Decode Ac
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
ananphar
 

Tendances (18)

งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Assure
AssureAssure
Assure
 
Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรม
 

En vedette (8)

гр 8 14 15 уч г-отчет о лете
гр 8 14 15 уч г-отчет о летегр 8 14 15 уч г-отчет о лете
гр 8 14 15 уч г-отчет о лете
 
Onet06 52
Onet06 52Onet06 52
Onet06 52
 
ใบงาน9 16
ใบงาน9 16ใบงาน9 16
ใบงาน9 16
 
โครงงานคอม 2557 608
โครงงานคอม  2557 608 โครงงานคอม  2557 608
โครงงานคอม 2557 608
 
เรียนรู้การเขียน Mind mapping
เรียนรู้การเขียน Mind mappingเรียนรู้การเขียน Mind mapping
เรียนรู้การเขียน Mind mapping
 
mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้mind mapสื่อการเรียนรู้
mind mapสื่อการเรียนรู้
 
ใบงานทที่ 9-16
ใบงานทที่ 9-16ใบงานทที่ 9-16
ใบงานทที่ 9-16
 
Buddhist Economics
Buddhist EconomicsBuddhist Economics
Buddhist Economics
 

Similaire à บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้

สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
rainacid
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
Sujitra ComEdu
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
Phuntita
 
สรุป บทที่7
สรุป บทที่7สรุป บทที่7
สรุป บทที่7
Phuntita
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)
nwichunee
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่
panisaae
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่
panisaae
 
บทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆบทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆ
panisaae
 
บทที่7new
บทที่7newบทที่7new
บทที่7new
panisaae
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
panisaae
 
บทที่7 ใหม่ๆ
บทที่7 ใหม่ๆบทที่7 ใหม่ๆ
บทที่7 ใหม่ๆ
panisaae
 

Similaire à บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้ (20)

สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
Learning media 3 10-57v2
Learning media 3 10-57v2Learning media 3 10-57v2
Learning media 3 10-57v2
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
สรุป บทที่7
สรุป บทที่7สรุป บทที่7
สรุป บทที่7
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่
 
บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่บทที่7ใหม่
บทที่7ใหม่
 
บทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆบทที่7ใหม่ๆ
บทที่7ใหม่ๆ
 
บทที่7new
บทที่7newบทที่7new
บทที่7new
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่7 ใหม่ๆ
บทที่7 ใหม่ๆบทที่7 ใหม่ๆ
บทที่7 ใหม่ๆ
 

บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้

  • 2. นาย อดิศักดิ์ บือทอง รหัสนักศึกษา 563050405-6 นายพุฒิพงศ์ วันภูงา รหัสนักศึกษา 563050119-7 sec 03 จัดทาโดย
  • 3. 1. นักศึกษาจะนาความรู้เรื่องสื่อการสอน ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างไร เพื่อสนับสนุนวิธีการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของนักเรียนแต่ละคนให้มี ประสิทธิภาพโดยสื่อที่นามาใช้นั้นต้องตอบสนองต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยให้นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้เองด้วย
  • 4. Bruner (1983) กล่าวว่า "ผู้เรียนต้องยกระดับการเรียนที่เพิ่มจาก "การจดจา" ข้อเท็จจริง ไปสู่การเริ่มต้นที่จะคิดอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์" ผู้สอนจึงควรศึกษาเทคนิค วิธีการ และเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่จะนามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่ อย่างไรก็ตาม สิ่งที่สาคัญและเป็นความต้องการของการศึกษาในปัจจุบัน การสอนที่ผู้เรียนควรได้รับคือ ทักษะการคิดในระดับสูง (Higher-order thinking skills) ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจนการแก้ปัญหา และการถ่ายโอน (Transfer)ผู้เรียนจะเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ซึ่งจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งข้อมูลที่มีศักยภาพ ได้แก่ ครู เทคโนโลยีพ่อแม่ ภูมิปัญญา ชาวบ้าน และบุคคลอื่น ๆ ตลอดจน สื่อต่างๆ เพื่อที่จะนามาสู่การหยั่งรู้ในปัญหาและการ แก้ปัญหา หรือการได้มาซึ่งความรู้ที่ตนเองสร้างขึ้น บทบาทของครูได้เปลี่ยนแปลงมาสู่การ แนะแนวทางและเป็นผู้อานวยการ และช่วยเหลือผู้เรียนให้สามารถบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้
  • 5. ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาทางด้านสื่อการสอนต่างๆ จึงมีการใช้สื่อการสอน ถ่ายทอดเนื้อหาความรู้ต่างๆ ไปยังผู้เรียน เช่น แผ่นภาพโปร่งใส ภาพยนตร์ สไลด์ วิดีทัศน์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อช่วยเปลี่ยนสิ่งที่เป็นนามธรรม ให้เป็นรูปธรรม เพิ่มขึ้น อีกทั้ง ยังแก้ปัญหาเกี่ยวกับจานวนผู้เรียนเพิ่ม ดังนั้นเทคโนโลยีหรือ นวัตกรรมที่นามาเพิ่มประสิทธิภาพก็ต้องสอดรับกับแนวคิดดังกล่าว คือ มุ่งเน้นการ เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ลักษณะของการนาสื่อมาใช้ที่สอดคล้องกับ การปฏิรูปการเรียนรู้เป็น "Media + Methods" หรือ "สื่อ ร่วมกับ วิธีการ"การใช้เว็บ ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือเพื่อเปิดโอกาสให้ลงมือกระทาอย่างตื่นตัวใน กระบวนการเรียนรู้ของตนเองและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับเพื่อน รวมทั้งการขยาย มุมมอง แนวคิดให้กว้างขวางขึ้น
  • 6. 2. ในปัจจุบันนี้จะพบคาว่า "สื่อการสอน" กับคาว่า "สื่อการ เรียนรู้" ในฐานะที่นักศึกษาจะก้าวออกไปเป็นครูยุคใหม่ที่มีคุณภาพ ให้อธิบายว่า สองคานี้เหมือนหรือมีความแตกต่างกันอย่างไร
  • 7. สื่อการสอน สื่อการเรียนรู้ ครูเป็นผู้ที่ต้องตื่น(active)ตัวต่อการสอนอยู่เสมอ นักเรียนเป็นผู้ที่ต้องตื่นตัว(active)ต่อการเรียนรู้ เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการจดจาของนักเรียน เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้นักเรียนสามารถเข้าใจใน บทเรียน ส่วนใหญ่เป็นสื่อรูปภาพที่เป็นเนื้อหาของบทเรียน เป็นสื่อที่จับต้องได้และนาไปสู่การเรียนรู้ที่จะทาให้ ผู้เรียนคิดเองทาเอง เป็นการแปลงจากประสบการณ์ของครูเพื่อที่จะ ถ่ายทอดให้นักเรียนสามารถจดจาได้ เป็นการแปลงจากเนื้อหาสาระของบทเรียนเพื่อที่จะให้ นักเรียนสามารถที่จะเข้าใจได้