SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
ระบบฐานข้อ มูล

 ระบบฐานข้อ มูล คือ ระบบจัดเก็บข้อมูลด้วย
 คอมพิวเตอร์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบำารุงรักษา
ข้อสนเทศ (Maintain information) และสามารถนำา
 ข้อสนเทศเหล่านั้นมาใช้ได้ทุกเมื่อที่ต้องการ
ระบบฐานข้อ มูล ประกอบส่ว น
ประกอบหลัก 4 ส่ว นได้แ ก่

1. ข้อ มูล (Data) ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องมีคุณสมบัติ
 2 ประการ คือ
เบ็ด เสร็จ (Integrate) ฐานข้อมูลเป็นแหล่งรวบรวม
 ข้อมูลจากแฟ้มต่าง ๆ ไว้ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อลดข้อมูล
 ซ้ำ้าซ้้อนระหว่างแฟ้ม
ใช้ร ่ว มกัน ได้ (Share) ข้อมูลแต่ละชิ้นในฐานข้อมูล
 สามารถนำามาแบ่งใช้กันได้ระหว่างผู้ใช้ต่าง ๆ ในระบบ
2. ฮาร์ด แวร์ (Hardware) ประกอบด้วย อุปกรณ์บันทึก
 ข้อมูลเช่น จานแม่เหล็ก , I/O device , Device controller ,
 I/O channels , หน่วยประมวลผล และหน่วยความจำาหลัก
3. ซ้อฟต์แ วร์ (Sorftware) ตัวกลางเชื่อมระหว่างฐาน
 ข้อมูลและผู้ใช้คือ DBMS เป็นซ้อฟต์แวร์ที่สำาคัญที่สุด
 ของระบบฐานข้อมูล นอกจากนี้ยังมี Utility , Application
 Develoment tool , Desisn aids , Report writers , ect.
4. ผู้ใ ช้ (Users) มี 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
Application Programmer เขียนโปรแกรมประยุกต์
End Users ผู้ใช้ที่อยู่กบ Online terminal เข้าถึงข้อมูลโดย
                         ั
 ผ่านโปรแกรมประยุกต์ หรือผ่านภาษาเรียกค้น (Query
 Language)
Data Addministrator & Database Administrator
DA ผู้บ ริห ารอาวุโ ส เป็นผู้ตัดสินใจว่าจะเก็บข้อมูลใด
 ในฐานข้อมูลก่อน และกำาหนดนโยบายการรักษาความ
 ปลอดภัยของข้อมูล
DBA ผู้เ ชีย วชาญระดับ มือ อาชีพ เป็นผู้สร้างฐาน
            ่
 ข้อมูลและนำามาใช้งานจริง โดยควบคุมทางด้านเทคนิค
 ที่จำาเป็นในการดำาเนินนโยบายที่กำาหนดโดย DA
การจัด การฐานข้อ มูล
 การจัดการฐานข้อมูล(Database Management) คือ การบริหาร
  แหล่งข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ที่ศูนย์กลาง เพือตอบสนองต่อ
                                                 ่
  การใช้ของโปรแกรมประยุกต์อย่างมีประสิทธิภาพและลดการ
  ซ้ำ้าซ้้อนของข้อมูล รวมทั้งความขัดแย้งของข้อมูลที่เกิดขึ้น
  ภายในองค์การ ในอดีตการเก็บข้อมูลมักจะเป็นอิสระต่อกัน
  ไม่มีการเชื่อมโยงของข้อมูลเกิดการ สิ้นเปลืองพื้นที่ในการ
  เก็บข้อมูล เช่น องค์การหนึ่งจะมีแฟ้มบุคคล (Personnel) แฟ้ม
  เงินเดือน (Payroll) และแฟ้ม สวัสดิการ (Benefits) อยู่แยกจาก
  กัน เวลาผู้บริหารต้องการข้อมูลของพนักงานท่านใดจำาเป็น
  จะต้องเรียกดูแฟ้มข้อมูลทั้ง 3 แฟ้ม ซ้ึ่งเป็นการไม่สะดวก จง
  ทำาให้เกิดแนวความคิดในการรวมแฟ้มข้อมูลทั้ง 3 เข้าด้วยกัน
  แล้วเก็บไว้ที่ ศูนย์กลางในลักษณะฐานข้อมูล (Database) จึง
  ทำาให้เกิดระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management
  system (DBMS) ซ้ึ่งจะต้องอาศัยโปรแกรมเฉพาะในการสร้าง
  และบำารุงรักษา (Create and Maintenance) ฐาน ข้อมูลและ
  สามารถที่จะให้ผู้ใช้ประยุกต์ใช้กับธุรกิจส่วนตัวได้โดยการ
  ดึงข้อมูล (Retrieve) ขึ้นมาแล้วใช้โปรแกรมสำาเร็จรูปอื่นสร้าง
  งานขึ้นมาโดยใช้ข้อมูลทีมีอยู่ในฐานข้อมูล แสดงการรวม
ระบบการจัดการฐานข้อมูล จะมีสวน
                             ่
ประกอบที่สำาคัญ 3 ส่วนได้แก่

1. ภาษาคำา นิย ามของข้อ มูล [Data Definition
 Language (DDL)] ในส่วนนี้จะกล่าวถึงส่วนประกอบของ
 ระบบการจัดการฐาน ข้อมูลว่าข้อมูลแต่ละส่วนประกอบ
 ด้วยอะไรบ้าง (Data element) ในฐานข้อมูลซ้ึ่งเป็นภาษา
 ทางการที่นักเขียนโปรแกรมใช้ในการ สร้างเนื้อหา
 ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูลก่อนที่ข้อมูลดังกล่าวจะถูก
 แปลงเป็นแบบฟอร์มที่สต้องการของโปรแกรมประยุกต์
 หรือในส่วนของ DDL จะประกอบด้วยคำาสั่งที่ใช้ในการ
 กำาหนดโครงสร้างข้อมูลว่ามีคอลัมน์อะไร แต่ละคอลัมน์
 เก็บข้อมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่มคอลัมน์ การกำาหนด
 ดัชนี เป็นต้น
2. ภาษาการจัด การฐานข้อ มูล (Data Manipulation
 Language (DML) เป็นภาษาเฉพาะที่ใช้ในการจัดการ
 ระบบฐานข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นการเชือมโปรแกรมภาษา
                                        ่
 ในยุคที่สามและยุคที่สี่เข้าด้วยกันเพื่อจัดการข้อมูลใน
 ฐานข้อมูล ภาษานี้มักจะประกอบด้วยคำา สิ่งที่อนุญาตให้
 ผู้ใช้สามารถสร้างโปรแกรมพิเศษขึ้นมา รวมถึงข้อมูล
 ต่างๆ ในปัจจุบันที่นิยมใช้ ได้แก่ ภาษา SQL(Structure
 Query Language) แต่ถ้าหากเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด
 ใหญ่ DBMS มักจะสร้างด้วยภาษาโคบอล (COBOL
 language) ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) และภาษาอื่นใน
 ยุคที่สาม
3. พจนานุก รมข้อ มูล (Data Dictionary) เป็นเครื่อง
 มือสำาหรับการเก็บและการจัดข้อมูลสำาหรับการบำารุง
 รักษาในฐานข้อมูล โดยพจนานุกรมจะมีการกำาหนดชือ       ่
 ของสิ่งต่างๆ (Entity) และระบุไว้ในโปรแกรมฐานข้อมูล
 เช่น ชื่อของฟิลด์ ชือของโปรแกรมที่ใช้รายละเอียดของ
                      ่
 ข้อมูล ผู้มีสิทธิใช้และผู้ที่รับผิดชอบ แสดงส่วนประกอบ
                  ์
 ของระบบการจัดการฐานข้อมูล
แสดงส่วนประกอบของระบบจัดการ
ฐานข้อมูล
 โปรแกรมประยุกต์ (Application Programs)
 ระบบการจัดการฐานข้อมูล Database Management System(DBMS)
 กายภาพของฐานข้อมูล
    (Physical database)
   รูปที่ 5.8 แสดงส่วนประกอบของระบบฐานข้อมูล
   แสดงส่วนประกอบของระบบจัดการฐานข้อมูล (Elements of a database management systems) ข้อดีและข้อ
    เสียของระบบการจัดการฐานข้อมูล
    ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะมีทั้งข้อดีและข้อเสียในการที่องค์การจะนำาระบบนี้มาใช้กับหน่วยงาของตน
    โดยเฉพาะหน่วยงานที่เคยใช้คอมพิวเตอร์แล้วแต่ได้จัดแฟ้มแบบดั้งเดิม (Convention File) การที่จะแปลง
    ระบบเดิมให้เป็นระบบใหม่จะทำาได้ยากและไม่สมบูรณ์ ไม่คุ้มกับการลงทุน ทั้งนี้เนื่องจากค่าใช้จ่าในการ
    พัฒนาฐานข้อมูลจะต้องประกอบด้วย
   1. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรโดยเฉพาะผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล (Database Administrator(DBA) และคณะ
    2. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสร้างฐานข้อมูลโดยแปลงข้อมูลเก่ให้เป็นฐานข้อมูลและจะต้องมีการแก้ไข
    โปรแกรมเก่า
    3. การเพิ่มอุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อทำาให้มีหน่วยจัดเก็บข้อมูลที่ใหญ่ขึ้น มีการเข้าถึง (Access)
    ข้อมูลที่รวดเร็ว อาจต้องมีการเพิ่มโพรเซสเซอร์
    4. ค่าใช้จ่ายทางด้านโปรแกรมประยุกต์
   นอกจากนั้น ยัง อาจจะเกิด อุป สรรคในการพัฒ นาระบบข้อ มูล
   1 ความผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลเข้าย่อมมีผลกระทบกับหน่วยงานอื่นทีนำาข้อมูลนั้นไปใช้เนื่องจาก
    ไม่มี ข้อมูลอื่นที่มาเทียบกับข้อมูลในฐานข้อมูลชุดนั้น
    2. สร้างแฟ้มข้อมูลร่วมเพื่อตอบสนองกับองค์การ ทุกแผนกกระทำาได้ยากเนื่องจากแต่ละแผนกอาจจะ
    ต้องการได้ข้อมูลในความละเอียดที่ไม่เท่ากัน ผู้จัดการระดับล่างต้องการใช้ข้อมูลเพื่อการทำางานวันต่อ
    วัน แต่ผู้บริหารระดับสูงต้องการใช้ข้อมูลเพื่อการวางแผน ดังนั้นการออกแบบฐานข้อมูลจึงทำาได้ยากมาก
    3. ในเรื่องของความปลอดภัยทั้งนี้เนื่องจากทุกแผนกมีการใช้ข้อมูลร่วมกันจึงต้องมีการสร้างระบบ
    ป้องกันความปลอดภัยของข้อมูลเพื่อไม่ให้ข้อมูลรั่วไหล จะต้องมีการกำาหนดรหัสผ่าน (Password) และการ
    จัดลำาดับความสำาคัญของงาน (Priority) รวมถึงการกำาหนดสิทธ์ในการใช้งานของผู้ใช้แต่ละคน ซึ่ง
    เป็นการยุ่งยากสำาหรับการใช้ฐาน ข้อมูลร่วมกัน ไม่เหมือนกับระบบเดิม ทุกแผนกมีสิทธิใช้ เครื่องของ
                                                                                         ์
    ตนเองได้เต็มที่ มีอิสระในการตัดสินใจ
ส่ว นข้อ ดีใ นการจัด การฐานข้อ มูล
1 ลดความยุ่งยากของข้อมูลภายในองค์การโดยรวม
 ข้อมูลไว้ที่จุดหนึ่งและผู้ควบคุมดูแลการใช้ข้อมูล การ
 เข้าถึงข้อมูล การนำาข้อมูลไปใช้ประโยชน์และดูแลความ
 ปลอดภัย
 2. ลดการซ้ำ้าซ้้อนของข้อมูล (Redundancy) ในกรณีที่
 ข้อมูลอยู่เป็นเอกเทศ
 3. ลดความสับสน (Confusion) ของข้อมูลภายในองค์การ
 4. ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโปรแกรมและการบำารุงรักษา
 ภายหลังจากระบบสมบูรณ์แล้วจะลดลงเมื่อเทียบกับแบบ
 เก่า
 5. มีความยืดหยุ่นในการขยายฐานข้อมูล การปรับปรุง
 แก้ไขทำาได้งายกว่า
                ่
 6. การเข้าถึงข้อมูลและความสะดวกในการใช้
 สารสนเทศมีเพิ่มขึ้น

Contenu connexe

Tendances

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1nunzaza
 
Data processing
Data processingData processing
Data processingchukiat008
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 

Tendances (20)

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ระบบสารสนเทศ
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Data processing
Data processingData processing
Data processing
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
Mi sch3
Mi sch3Mi sch3
Mi sch3
 
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 

En vedette

โครงงานครั้งที่........
โครงงานครั้งที่........โครงงานครั้งที่........
โครงงานครั้งที่........NattAA
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environmentTar Bt
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
Fruits & vegetables processing
Fruits & vegetables processingFruits & vegetables processing
Fruits & vegetables processingSaikat Ray
 
Fruits & Vegetables Processing
Fruits & Vegetables ProcessingFruits & Vegetables Processing
Fruits & Vegetables ProcessingSunil Sadawarte
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารguest5ccbc6
 
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยJareewon Ritthong
 

En vedette (10)

โครงงานครั้งที่........
โครงงานครั้งที่........โครงงานครั้งที่........
โครงงานครั้งที่........
 
Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
เฉลย Pat 4
เฉลย Pat 4เฉลย Pat 4
เฉลย Pat 4
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Fruits & vegetables processing
Fruits & vegetables processingFruits & vegetables processing
Fruits & vegetables processing
 
Fruits & Vegetables Processing
Fruits & Vegetables ProcessingFruits & Vegetables Processing
Fruits & Vegetables Processing
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
 
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
 

Similaire à ระบบฐานข้อมูล

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkitkit1974
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5hattayagif
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณlovelovejung
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comLuckfon Fonew
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพรBen Benben
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic newQoo Kratai
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลสุจิตรา แสงเรือง
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลสุจิตรา แสงเรือง
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 

Similaire à ระบบฐานข้อมูล (20)

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic new
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 

ระบบฐานข้อมูล

  • 1. ระบบฐานข้อ มูล ระบบฐานข้อ มูล คือ ระบบจัดเก็บข้อมูลด้วย คอมพิวเตอร์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบำารุงรักษา ข้อสนเทศ (Maintain information) และสามารถนำา ข้อสนเทศเหล่านั้นมาใช้ได้ทุกเมื่อที่ต้องการ
  • 2. ระบบฐานข้อ มูล ประกอบส่ว น ประกอบหลัก 4 ส่ว นได้แ ก่ 1. ข้อ มูล (Data) ข้อมูลในฐานข้อมูลจะต้องมีคุณสมบัติ 2 ประการ คือ เบ็ด เสร็จ (Integrate) ฐานข้อมูลเป็นแหล่งรวบรวม ข้อมูลจากแฟ้มต่าง ๆ ไว้ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อลดข้อมูล ซ้ำ้าซ้้อนระหว่างแฟ้ม ใช้ร ่ว มกัน ได้ (Share) ข้อมูลแต่ละชิ้นในฐานข้อมูล สามารถนำามาแบ่งใช้กันได้ระหว่างผู้ใช้ต่าง ๆ ในระบบ
  • 3. 2. ฮาร์ด แวร์ (Hardware) ประกอบด้วย อุปกรณ์บันทึก ข้อมูลเช่น จานแม่เหล็ก , I/O device , Device controller , I/O channels , หน่วยประมวลผล และหน่วยความจำาหลัก
  • 4. 3. ซ้อฟต์แ วร์ (Sorftware) ตัวกลางเชื่อมระหว่างฐาน ข้อมูลและผู้ใช้คือ DBMS เป็นซ้อฟต์แวร์ที่สำาคัญที่สุด ของระบบฐานข้อมูล นอกจากนี้ยังมี Utility , Application Develoment tool , Desisn aids , Report writers , ect.
  • 5. 4. ผู้ใ ช้ (Users) มี 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ Application Programmer เขียนโปรแกรมประยุกต์ End Users ผู้ใช้ที่อยู่กบ Online terminal เข้าถึงข้อมูลโดย ั ผ่านโปรแกรมประยุกต์ หรือผ่านภาษาเรียกค้น (Query Language) Data Addministrator & Database Administrator DA ผู้บ ริห ารอาวุโ ส เป็นผู้ตัดสินใจว่าจะเก็บข้อมูลใด ในฐานข้อมูลก่อน และกำาหนดนโยบายการรักษาความ ปลอดภัยของข้อมูล DBA ผู้เ ชีย วชาญระดับ มือ อาชีพ เป็นผู้สร้างฐาน ่ ข้อมูลและนำามาใช้งานจริง โดยควบคุมทางด้านเทคนิค ที่จำาเป็นในการดำาเนินนโยบายที่กำาหนดโดย DA
  • 6. การจัด การฐานข้อ มูล  การจัดการฐานข้อมูล(Database Management) คือ การบริหาร แหล่งข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ที่ศูนย์กลาง เพือตอบสนองต่อ ่ การใช้ของโปรแกรมประยุกต์อย่างมีประสิทธิภาพและลดการ ซ้ำ้าซ้้อนของข้อมูล รวมทั้งความขัดแย้งของข้อมูลที่เกิดขึ้น ภายในองค์การ ในอดีตการเก็บข้อมูลมักจะเป็นอิสระต่อกัน ไม่มีการเชื่อมโยงของข้อมูลเกิดการ สิ้นเปลืองพื้นที่ในการ เก็บข้อมูล เช่น องค์การหนึ่งจะมีแฟ้มบุคคล (Personnel) แฟ้ม เงินเดือน (Payroll) และแฟ้ม สวัสดิการ (Benefits) อยู่แยกจาก กัน เวลาผู้บริหารต้องการข้อมูลของพนักงานท่านใดจำาเป็น จะต้องเรียกดูแฟ้มข้อมูลทั้ง 3 แฟ้ม ซ้ึ่งเป็นการไม่สะดวก จง ทำาให้เกิดแนวความคิดในการรวมแฟ้มข้อมูลทั้ง 3 เข้าด้วยกัน แล้วเก็บไว้ที่ ศูนย์กลางในลักษณะฐานข้อมูล (Database) จึง ทำาให้เกิดระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management system (DBMS) ซ้ึ่งจะต้องอาศัยโปรแกรมเฉพาะในการสร้าง และบำารุงรักษา (Create and Maintenance) ฐาน ข้อมูลและ สามารถที่จะให้ผู้ใช้ประยุกต์ใช้กับธุรกิจส่วนตัวได้โดยการ ดึงข้อมูล (Retrieve) ขึ้นมาแล้วใช้โปรแกรมสำาเร็จรูปอื่นสร้าง งานขึ้นมาโดยใช้ข้อมูลทีมีอยู่ในฐานข้อมูล แสดงการรวม
  • 7.
  • 8. ระบบการจัดการฐานข้อมูล จะมีสวน ่ ประกอบที่สำาคัญ 3 ส่วนได้แก่ 1. ภาษาคำา นิย ามของข้อ มูล [Data Definition Language (DDL)] ในส่วนนี้จะกล่าวถึงส่วนประกอบของ ระบบการจัดการฐาน ข้อมูลว่าข้อมูลแต่ละส่วนประกอบ ด้วยอะไรบ้าง (Data element) ในฐานข้อมูลซ้ึ่งเป็นภาษา ทางการที่นักเขียนโปรแกรมใช้ในการ สร้างเนื้อหา ข้อมูลและโครงสร้างข้อมูลก่อนที่ข้อมูลดังกล่าวจะถูก แปลงเป็นแบบฟอร์มที่สต้องการของโปรแกรมประยุกต์ หรือในส่วนของ DDL จะประกอบด้วยคำาสั่งที่ใช้ในการ กำาหนดโครงสร้างข้อมูลว่ามีคอลัมน์อะไร แต่ละคอลัมน์ เก็บข้อมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่มคอลัมน์ การกำาหนด ดัชนี เป็นต้น
  • 9. 2. ภาษาการจัด การฐานข้อ มูล (Data Manipulation Language (DML) เป็นภาษาเฉพาะที่ใช้ในการจัดการ ระบบฐานข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นการเชือมโปรแกรมภาษา ่ ในยุคที่สามและยุคที่สี่เข้าด้วยกันเพื่อจัดการข้อมูลใน ฐานข้อมูล ภาษานี้มักจะประกอบด้วยคำา สิ่งที่อนุญาตให้ ผู้ใช้สามารถสร้างโปรแกรมพิเศษขึ้นมา รวมถึงข้อมูล ต่างๆ ในปัจจุบันที่นิยมใช้ ได้แก่ ภาษา SQL(Structure Query Language) แต่ถ้าหากเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด ใหญ่ DBMS มักจะสร้างด้วยภาษาโคบอล (COBOL language) ภาษาฟอร์แทน (FORTRAN) และภาษาอื่นใน ยุคที่สาม
  • 10. 3. พจนานุก รมข้อ มูล (Data Dictionary) เป็นเครื่อง มือสำาหรับการเก็บและการจัดข้อมูลสำาหรับการบำารุง รักษาในฐานข้อมูล โดยพจนานุกรมจะมีการกำาหนดชือ ่ ของสิ่งต่างๆ (Entity) และระบุไว้ในโปรแกรมฐานข้อมูล เช่น ชื่อของฟิลด์ ชือของโปรแกรมที่ใช้รายละเอียดของ ่ ข้อมูล ผู้มีสิทธิใช้และผู้ที่รับผิดชอบ แสดงส่วนประกอบ ์ ของระบบการจัดการฐานข้อมูล
  • 11.
  • 12. แสดงส่วนประกอบของระบบจัดการ ฐานข้อมูล  โปรแกรมประยุกต์ (Application Programs)  ระบบการจัดการฐานข้อมูล Database Management System(DBMS)  กายภาพของฐานข้อมูล (Physical database)  รูปที่ 5.8 แสดงส่วนประกอบของระบบฐานข้อมูล  แสดงส่วนประกอบของระบบจัดการฐานข้อมูล (Elements of a database management systems) ข้อดีและข้อ เสียของระบบการจัดการฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูลจะมีทั้งข้อดีและข้อเสียในการที่องค์การจะนำาระบบนี้มาใช้กับหน่วยงาของตน โดยเฉพาะหน่วยงานที่เคยใช้คอมพิวเตอร์แล้วแต่ได้จัดแฟ้มแบบดั้งเดิม (Convention File) การที่จะแปลง ระบบเดิมให้เป็นระบบใหม่จะทำาได้ยากและไม่สมบูรณ์ ไม่คุ้มกับการลงทุน ทั้งนี้เนื่องจากค่าใช้จ่าในการ พัฒนาฐานข้อมูลจะต้องประกอบด้วย  1. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรโดยเฉพาะผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล (Database Administrator(DBA) และคณะ 2. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสร้างฐานข้อมูลโดยแปลงข้อมูลเก่ให้เป็นฐานข้อมูลและจะต้องมีการแก้ไข โปรแกรมเก่า 3. การเพิ่มอุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อทำาให้มีหน่วยจัดเก็บข้อมูลที่ใหญ่ขึ้น มีการเข้าถึง (Access) ข้อมูลที่รวดเร็ว อาจต้องมีการเพิ่มโพรเซสเซอร์ 4. ค่าใช้จ่ายทางด้านโปรแกรมประยุกต์  นอกจากนั้น ยัง อาจจะเกิด อุป สรรคในการพัฒ นาระบบข้อ มูล  1 ความผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลเข้าย่อมมีผลกระทบกับหน่วยงานอื่นทีนำาข้อมูลนั้นไปใช้เนื่องจาก ไม่มี ข้อมูลอื่นที่มาเทียบกับข้อมูลในฐานข้อมูลชุดนั้น 2. สร้างแฟ้มข้อมูลร่วมเพื่อตอบสนองกับองค์การ ทุกแผนกกระทำาได้ยากเนื่องจากแต่ละแผนกอาจจะ ต้องการได้ข้อมูลในความละเอียดที่ไม่เท่ากัน ผู้จัดการระดับล่างต้องการใช้ข้อมูลเพื่อการทำางานวันต่อ วัน แต่ผู้บริหารระดับสูงต้องการใช้ข้อมูลเพื่อการวางแผน ดังนั้นการออกแบบฐานข้อมูลจึงทำาได้ยากมาก 3. ในเรื่องของความปลอดภัยทั้งนี้เนื่องจากทุกแผนกมีการใช้ข้อมูลร่วมกันจึงต้องมีการสร้างระบบ ป้องกันความปลอดภัยของข้อมูลเพื่อไม่ให้ข้อมูลรั่วไหล จะต้องมีการกำาหนดรหัสผ่าน (Password) และการ จัดลำาดับความสำาคัญของงาน (Priority) รวมถึงการกำาหนดสิทธ์ในการใช้งานของผู้ใช้แต่ละคน ซึ่ง เป็นการยุ่งยากสำาหรับการใช้ฐาน ข้อมูลร่วมกัน ไม่เหมือนกับระบบเดิม ทุกแผนกมีสิทธิใช้ เครื่องของ ์ ตนเองได้เต็มที่ มีอิสระในการตัดสินใจ
  • 13. ส่ว นข้อ ดีใ นการจัด การฐานข้อ มูล 1 ลดความยุ่งยากของข้อมูลภายในองค์การโดยรวม ข้อมูลไว้ที่จุดหนึ่งและผู้ควบคุมดูแลการใช้ข้อมูล การ เข้าถึงข้อมูล การนำาข้อมูลไปใช้ประโยชน์และดูแลความ ปลอดภัย 2. ลดการซ้ำ้าซ้้อนของข้อมูล (Redundancy) ในกรณีที่ ข้อมูลอยู่เป็นเอกเทศ 3. ลดความสับสน (Confusion) ของข้อมูลภายในองค์การ 4. ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโปรแกรมและการบำารุงรักษา ภายหลังจากระบบสมบูรณ์แล้วจะลดลงเมื่อเทียบกับแบบ เก่า 5. มีความยืดหยุ่นในการขยายฐานข้อมูล การปรับปรุง แก้ไขทำาได้งายกว่า ่ 6. การเข้าถึงข้อมูลและความสะดวกในการใช้ สารสนเทศมีเพิ่มขึ้น