SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  47
Télécharger pour lire hors ligne
ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์
1) ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) คอมพิวเตอร์ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นด้วยอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ดังนั้นการประมวลผลจึงมีการทางานแบบอัตโนมัติภายใต้คาสั่งที่ถูกกาหนดไว้
2) ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอร์มีกาารประมวลผลงานด้วยความเร็วสูงจึงมีความจา
เป็นมากต่อการดาเนินงานธุรกรรมในปัจจุบัน
3) ความถูกต้อง แม่นยา (Accuracy) คอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง แม่นยา และมี
ความผิดพลาดน้อยที่สุด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการป้อนข้อมูลเข้าที่ถูกต้อง
4) ความน่าเชื่อถือ (Reluability) ในปัจจุบันนี้มีฮาร์ดแวร์ที่ผลิตขึ้นด้วยอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่ ทาให้เกิดความผิดพลาดน้อยลงและแทบจะไม่เกิดขึ้นเลย จึงทาให้มีความ
น่าเชื่อถือสูง
5) การจัดเก็บข้อมูล (Storage capability) คอมพิวเตอร์มีหน่วยเก็บข้อมูลเฉพาะเป็นของ
ตนเอง ช่วยให้การจัดเก็บและถ่ายเทข้อมูลเป็นไปได้โดยสะดวกมากขึ้น
6) ทางานซ้าๆได้ (Repeatability) คอมพิวเตอร์สามารถคานวนหาผลลัพธ์ได้อย่างรวดเร็ว
โดยเฉพาะงานที่มีลักษณะซา้้ๆแบบเดิม เช่น การบันทึกรายการบัญชีประจาวัน การลงรายการสินค้าเข้า-
ออก เป็นต้น
7) การติดต่อสื่อสาร (Communication) ด้วยเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าไปมาก จึงมีการ
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องเข้าด้วยกันเป็นเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายภายในองค์กรเล็กๆหรือ
ระดับเครือข่ายใหญ่ๆ
วิวัฒนาการก่อนจะมาเป็นคอมพิวเตอร์
1. ยุคก่อนเครื่องจักรกล ( Premechanical)
วิวัฒนาการของเครื่องมือช่วยนับและการคานวณในยุคก่อนเครื่องจักรกล ( Premechanical)
เมื่อวิวัฒนาการทางสังคมของมนุษย์มีความเจริญมากขึ้น การใช้นิ้วมือหรือก้อนหินมาช่วยนับนั้นมีข้อจากัดอยู่เช่นกัน เนื่องจาก
ไม่สามารถนับหรือคานวณหาค่าตัวเลขที่มาก ๆ ได้ มนุษย์จึงได้มีความพยายามคิดค้นเครื่องมือช่วยนับที่ดีกว่าเดิมด้วยการ
สร้างระบบตัวเลขขึ้นมา ซึ่งพอจะยกตัวอย่างเครื่องมือในยุคนี้ได้แก่
- แผ่นหินอ่อนซาลามิส ( Salamis Tablet)
- ไม้บรรทัดคานวณ ( Slide Rule)
- ลูกคิด ( Abacus)
- แท่งคานวณของเนเปียร์ ( Napier’s bone)
แผ่นหินอ่อนซาลามิส ( Salamis Tablet)
เครื่องมือชนิดนี้เรียกว่า แผ่นหินอ่อนซาลามิส ( Salamis
tablet) เป็นแผ่นหินที่เอามาช่วยนับ (Counting board) ของมนุษย์
ในยุคนั้น โดยสร้างขึ้นมาจากหินอ่อนที่มีขนาดความยาวมากถึง 149
เซนติเมตร กว้างประมาณ 75 เซนติเมตรและหนาถึง 4.5 เซนติเมตร
ตัวแผ่นหินจะมีกลุ่มเส้นบรรทัดวางเรียงกันเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มก็จะ
มีเส้นบรรทัดลากตั้งฉากแบ่งออกไป กลุ่มของสัญลักษณ์ตัวเลขจะมี
เขียนอยู่ตรงกลางส่วนของขอบแผ่นหินรอบ ๆ ทั้งด้านซ้าย ขวาและ
ล่าง เพื่อเอาไว้ช่วยทาเครื่องหมายในการนับตัวเลขนั่นเอง
ไม้บรรทัดคานวณ ( Slide Rule)
ไม้บรรทัดคานวณ ( Slide Rule) ปี ค.ศ. 1622 จอห์น วิลเลียม ออด
เทรด ( John William Oughtred) ได้นาเอาหลักการของเนเปียร์มาพัฒนา
เครื่องมือที่เรียกว่า ไม้บรรทัดคานวณ (Slide Rule) ขึ้น โดยนาเอาค่าต่าง ๆ
มาเขียนไว้บนแท่งไม้สองอัน เมื่อใดที่นามาเลื่อนต่อกันก็จะสามารถหา
ผลลัพธ์ต่าง ๆ ที่ต้องการได้ ตัวเลขหรือค่าที่เอามาเขียนนั้นจะกาหนดเป็น
อัตราส่วนระยะทาง (Long scale) ซึ่งสามารถวัดหรือหาค่าได้โดยง่าย นับได้
ว่าไม้บรรทัดคานวณของออดเทรดนี้เป็นต้นแบบของการพัฒนาเครื่อง
คอมพิวเตอร์แบบอนาล็อกที่อาศัยหลักการวัดซึ่งนิยมใช้กันในเวลาต่อมา
นั่นเอง ไม้บรรทัดคานวณยังมีให้เห็นและใช้กันอยู่จนถึงปัจจุบัน ซึ่งได้มีการ
ผลิตให้มีขนาดที่เล็กลงและใช้งานได้ง่าย
ลูกคิด
อุปกรณ์ชนิดแรกของโลกที่เป็นเครื่องมือในการคานวณก็คือลูกคิด
นั่นเอง ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุปกรณ์ใช้ช่วยการคานวณที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและคง
ยังใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2158 นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์
ชื่อ John Napier ได้สร้างอุปกรณ์ใช้ ช่วยการคานวณขึ้นมา เรียกว่า
Napier’s Bones มีรูปร่างคล้ายสูตรคูณในปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2185 นัก
คณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสชื่อ Blaise Pascal คิดว่าน่าจะมีวิธีที่จะคานวณ
ตัวเลขได้ง่ายกว่า เขาได้ออกแบบ เครื่องมือช่วยในการคานวณโดย ใช้
หลักการหมุนของฟันเฟืองหนึ่งอันถูกหมุนครบ 1 รอบ ฟันเฟืองอีกอันหนึ่งซึ่ง
อยู่ ทางด้านซ้ายจะถูกหมุนไปด้วยในเศษ 1 ส่วน 10 รอบ เครื่องมือของ
ปาสคาลนี้ถูกเผยแพร่ออกสู่สาธารณะชน เมื่อ พ.ศ. 2188 แต่ไม่ประสบ
ความสาเร็จเท่าที่ควรเนื่องจากราคาแพง และเมื่อใช้งานจริงจะเกิดฟันเฟือง
ติดขัดบ่อยๆ ทาให้ผลลัพธ์ที่ได้ไม่ค่อยถูกต้องตรงความเป็นจริง
แท่งคานวณของเนเปียร์ ( Napier’s bone)
แท่งคานวณของเนเปียร์ ( Napier’s bone) ประมาณปี ค.ศ.1612 นัก
คณิตศาสตร์ชาวสก็อตชื่อ จอห์น เนเปีย ( John Napier) ได้สร้างอุปกรณ์คานวณ
เรียกว่า แท่งคานวณของเนเปียร์ (Napier’s bone) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ปรกอบด้วยแท่ง
ไม้ตีเส้นเป็นตารางคานวณหลาย ๆ แท่งเอาไว้ใช้สาหรับคานวณ แต่ละแท่งจะมีตัวเลข
เขียนกากับไว้ เมื่อต้องการผลลัพธ์ก็จะหยิบแท่งที่ใช้ระบุตัวเลขแต่ละหลักมาอ่านกับ
แท่นดรรชนี (Index) ที่มีตัวเลข 0-9 ก็จะได้คาตอบ
การทางานของ Napier’s Bone เมื่อต้องการคูณตัวเลขใด ๆ ก็จะเอาตัวเลขนั้น ๆ มาเรียงต่อกัน เช่น ต้องการ
เลข 46732 ก็จะนาเอาแท่งตัวเลข 4 6 7 3 และ 2 มาวางเรียงต่อกัน แล้วใช้แท่งดรรชนี ( Index) ซึ่งเป็นแท่งหลักที่ใช้ใน
การหาผลลัพธ์จากการคานวณมาไว้ด้านหน้า จากนั้นนามาเทียบเคียงให้ตรงกับตัวเลขนั้น ๆ แล้วทาการคูณและหา
ผลลัพธ์ได้เลย เช่น ต้องการคูณตัวเลข 46732 ด้วยเลข 3 ก็สามารถหาผลลัพธ์ได้ดังนี้
2. ยุคเครื่องจักรกล (Mechanical)
เมื่อมนุษย์มีวิวัฒนาการการผลิตเครื่องไม้เครื่องมือต่างๆที่ดีขึ้นจึงก่อให้เกิดแนวคิดการสร้างเครื่องจักรกลโดย
อาศัยการทางานของฟันเฟืองเข้าช่วยอานวยความสะดวกมากขึ้น โดยเฉพาะกับการคานวณที่ยุ่งยากและซับซ้อนมากๆ
ซึ่งขอยกตัวอย่างเครื่องที่อยู่ในยุคเครื่องจักรกลได้ดั้งนี้
1.นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock)
2.เครื่องคานวณของไลบ์นิซ (Leibniz Wheel)
3.เครื่องคานวณของปาสคาล (Pascalline Calculatar)
4.เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด(Jacquard’s loom)
5.เครื่อง Difference Engine
6.เครื่อง Analytical Engine
นาฬิกาคานวณ ( Calculating Clock)
นาฬิกาคานวณ ( Calculating Clock) ในปี ค.ศ.1623
วิลเฮล์ม ชิคการ์ด ( Wilhelm Schickard) แห่งมหาวิทยาลัยเทอร์บิง
เจน ( University of Tubingen) ประเทศเยอรมันนีได้สร้างนาฬิกา
คานวณ (Calculating Clock) ขึ้น โดยใช้แนวคิดของเนเปียร์มา
ประยุกต์ใช้ วิธีการทางานของเครื่องอาศัยตัวเลขต่าง ๆ บรรจุบน
ทรงกระบอกจานวน 6 ชุด แล้วใช้ฟันเฟืองเป็นเครื่องหมุนทดเวลาคูณ
เลข ซึ่งถือได้ว่าเขาเป็นผู้ที่ประดิษฐ์เครื่องกลไกสาหรับคานวณได้เป็น
คนแรก
เครื่องคานวณของไลบ์นิช ( Leibniz Wheel)
เครื่องคานวณของไลบ์นิช ( Leibniz Wheel) ในปี ค.ศ. 1674 กอตต์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ ( Gottfried
Wilhelm Leibniz) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันได้ทาการปรับปรุงเครื่องคานวณของปาสคาลให้มีประสิทธิภาพดี
ขึ้นกว่าเดิม โดยมีการปรับฟันเฟืองเสียใหม่ให้มีความสามารถคูณและหารได้ด้วยโดยตรง (แต่เดิมทาได้เฉพาะ
การบวกและลบเท่านั้น) เครื่องชนิดนี้เรียกว่า เครื่องคานวณของไลบ์นิซ (Leibniz Wheel หรืออีกชื่อหนึ่งคือ
Stepped Reckoner)
เครื่องคานวณของปาสคาล
ในสมัยนั้นยังไม่มีเครื่องจักรใดที่สามารถทาตามคาสั่งหรือทางานเองโดยอัตโนมัติได้แต่ใน พ.ศ. 2344 นัก
ประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศสชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พยายามพัฒนาเครื่องทอผ้าโดยใช้ บัตรเจาะรูในการใส่คาสั่งให้
ควบคุมเครื่องทอผ้าให้ทาตามแบบที่กาหนดไว้ และแบบดังกล่าวสามารถนามา สร้างซ้าๆ ได้อีกหลายครั้ง ความ
พยายามของ Jacquard สาเร็จลงใน พ.ศ. 2348 เครื่องทอผ้านี้ถือว่าเป็น เครื่องทางานตามคาสั่งเป็นเครื่องแรก และ
ตั้งแต่ Jacquard ได้ประดิษฐ์สิ่งนี้ขึ้นมาทาให้มีเครื่องกลเกิดขึ้นมาหลายอย่าง และได้มีเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ได้เปลี่ยน
วงการของเครื่องคอมพิวเตอร์และการคานวณ โดยอุปกรณ์ที่ว่านี้มีชื่อว่าเครื่องหาผลต่าง (Difference Engine) โดยเจ้า
เครื่องนี้มีความคล้ายกับเครื่องคิดเลขในปัจจุบันนั่นเอง โดย Chales Babbage เป็นผู้สร้างเครื่องนี้ขึ้นมา ในปี พ.ศ.
2373 เขาได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลอังกฤษเพื่อสร้างเครื่อง Difference Engine ขึ้นมาจริงๆ แต่ในขณะที่
Babbage ทาการสร้างเครื่อง Difference Engine อยู่นั้น ได้พัฒนาความคิดไปถึงเครื่องมือในการคานวณที่มี
ความสามารถสูงกว่านี้ซึ่งก็คือเครื่องที่เรียกว่าเครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) และได้ยกเลิกโครงการสร้างเครื่อง
Difference Engine ลงแล้วเริ่มต้นงานใหม่ คือ งานสร้างเครื่องวิเคราะห์ ในความคิดของเขา โดยที่เครื่องดังกล่าว
ประกอบไปด้วยชิ้นส่วนที่สาคัญ 4 ส่วน คือ
- ส่วนเก็บข้อมูล เป็นส่วนที่ใช้ในการเก็บข้อมูลนาเข้าและผลลัพธ์ที่ได้
จากการคานวณ
- ส่วนประมวลผล เป็นส่วนที่ใช้ในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์
- ส่วนควบคุม เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างส่วนเก็บ
ข้อมูล และส่วนประมวลผล
- ส่วนรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์ เป็นส่วนที่ใช้รับทราบข้อมูลจาก
ภายนอกเครื่องเข้าสู่ส่วนเก็บ และแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ
ให้ผู้ใช้ได้รับทราบ
เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด ( Jacquard’s loom)
เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด ( Jacquard’s loom) ในปี ค.ศ.1801 นัก
ประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศสชื่อโจเซฟ มารี แจคการ์ด ( Joseph Marie Jacquard)
ได้พยายามพัฒนาเครื่องทอผ้าให้สามารถควบคุมลวดลายหรือแบบต่าง ๆ ที่
ต้องการได้เองอัตโนมัติ เพื่อให้ผู้ที่ไม่มีความชานวญในการทอผ้า (มือใหม่)
สามารถใช้งานได้อย่างง่ายดาย เครื่องชนิดนี้เรียกว่า เครื่องทอผ้าของแจค
การ์ด (Jacquard’s loom) โดยเพียงแต่นาเอาตัวบัตรเจาะรูที่เป็นแม่แบบของ
ลวดลายผ้าที่ใส่เข้าไปในตัวเครื่องนี้การทอหรือยกลายตามแม่แบบชุดคาสั่ง
(รูที่เจาะไว้บนบัตร) ก็จะทาได้เองโดยอัตโนมัติ ซึ่งเป็นแนวความคิดที่
ก่อให้เกิดการสร้างคอมพิวเตอร์ให้ได้ทางานตามชุดคาสั่งในเวลาต่อมา
เครื่อง Difference Engine
เครื่อง Difference Engine ปี ค.ศ. 1822 ชาร์ลส แบบเบจ ( Charles Babbge) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษแห่ง
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ( University of Cambridge) เป็นบุคคลที่ได้พยายามเสนอแนวคิดให้เครื่องจักรกลสามารถทางานได้
ตามคาสั่งและเกิดผลลัพธ์ข้อผิดพลาดน้อยที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการคานวณในงานที่ซับซ้อนมาก ๆ ซึ่งเมื่อคานวณ
ผลลัพธ์ผิดพลาดก็อาจส่งผลให้เกิดความเสียหายอย่างมากได้ อีกทั้งยังเป็นการสร้างความน่าเบื่อหน่ายในการทางานด้วย
เพราะต้องกลับมานั่งคานวณหาค่าผลลัพธ์นั้นใหม่อีกรอบ เขาจึงได้เสนอแนวคิดการสร้างเครื่องคานวณต้นแบบที่เรียกว่า
Difference Engine เพื่อขอรับเงินสนับสนุนไปยังสมาคมดาราศาสตร์ เมื่อเดือนมิถุนายนของปีเดียวกัน ซึ่งทางสมาคมฯ ก็เห็น
ด้วยกับแนวคิดที่เขาเสนอมา จึงอนุมัติโครงการดังกล่าวและได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลอังกฤษเมื่อปี ค.ศ.1823 การพัฒนา
เครื่อง DifferenceEngine ใช่ว่าจะสร้างเสร็จโดยสมบูรณ์ เนื่องจากยังมีข้อผิดพลาดของการทางานภายในตัวเครื่องอยู่อีกมาก
ประกอบกับเทคโนโลยีของอุปกรณ์การผลิตในสมัยนั้นยังไม่ดีพอที่จะผลิตตามแบบที่แบบเบจเสนอไว้ได้ แนวคิดดังกล่าวจึงถูก
พักและถูกยกเลิกไปในที่สุด เนื่องจากไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง เครื่องDifference Engine ที่ผลิตออกมานั้นจึงทางานได้เพียงแค่
บางส่วนเท่านั้น
เครื่อง Analytical Engine
เครื่อง Analytical Engine ปี ค.ศ.1834 แบบเบจได้พยายามเสนอการสร้างเครื่องจักรกลชนิดใหม่เรียกว่า
Analytical Engine เพื่อต้องการให้คานวณได้กับงานแทบทุกชนิดและต้องทางานตามคาสั่งได้ (programmable) โดย
อาศัยแนวคิดของแจคการ์ดที่เอาบัตรเจาะรูมาช่วยควบคุมลวดลายการทอผ้าให้ได้ตามแบบ
ที่ต้องการนั่นเอง แบบร่างของเครื่อง Analytical Engine ที่เขานาเสนอนี้จะอาศัยองค์ประกอบในการทางานแบ่งออกเป็น
ส่วน ๆ ดังนี้
- Input Device อาศัยบัตรเจาะรูในการนาข้อมูลเข้าสู่ตัวเครื่อง
- Arithmetic Processor เป็นส่วนที่ทาหน้าที่คานวณเพื่อหาผลลัพธ์
- Control Unit สาหรับคอยควบคุมและตรวจสอบงาน
- Memory เป็นส่วนสาหรับเก็บตัวเลขเพื่อรอการประมวลผล
แนวคิดดังกล่าวเป็นเสมือนต้นแบบของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบัน ดังนั้นเขาจึง ได้รับสมญา
นามว่าเป็น “ บิดาแห่งคอมพิวเตอร์” นั่นเอง อย่างไรก็ตามการดาเนินงานเพื่อสร้างเครื่องดังกล่าวของแบบ
เบจก็ไม่เป็นไปอย่างที่เขาคาดหวังไว้ วิศวกรและทีมงานช่างที่ทาการผลิตให้เขาไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งว่าจะทา
การสร้างเครื่องดังกล่าวให้สาเร็จลงได้ เนื่องจากเทคโนโลยีสมัยนั้นไม่เอื้ออานวยพอ ประกอบกับแนวคิดของ
เขาก็ถูกคนอื่นต่อต้านมากด้วยเช่นกัน เพราะคิดว่ามันเป็นไปไม่ได้ ดังนั้นการสร้างเครื่องดังกล่าวจึงไม่เกิดขึ้น
จนกระทั่งเขาเสียชีวิตไปในที่สุด (หลังจากนั้นลูกชายของเขาชื่อเฮนรี่จึงได้นาเอาแนวคิดของพ่อมาสร้างต่อจน
เป็นผลสาเร็จในปี ค.ศ.1910)
ถึงแม้คนอื่นจะไม่เห็นด้วยกับแนวคิดของแบบเบจ แต่เลดี้ออกุสตา เอด้า ไบรอน ( Augusta Ada
Byron) ซึ่งได้รู้จักและติดต่อกับแบบเบจมาตลอด มีความเชื่อว่าเครื่องมือชนิดนี้จะสามารถนามาทางาน
คานวณขั้นสูงและพัฒนาให้งานในวงการวิทยาศาสตร์ก้าวหน้าขึ้นได้
ในปี ค.ศ.1842 เธอจึงได้รวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับเครื่อง Analytical Engine เพื่อช่วยเผยแพร่แนวคิด
นี้ให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งได้เขียนขั้นตอนในการตั้งคาสั่งของเครื่องลงในหนังสือ Taylor’s Scientific
Memories ด้วย ซึ่งเป็นแนวคิดที่คล้ายคลึงกับการเขียนโปรแกรมในปัจจุบันมากที่สุด ด้วยเหตุนี้เธอจึงได้รับ
คายกย่องว่าเป็น “ โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก” ซึ่งต่อมาเธอได้เสียชีวิตลงด้วยวัยเพียงแค่ 37 ปี
ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electromechanical)ในยุคนี้ตัวเครื่องจะใช้เครื่องจักรกลปบกับ
ระบบกระแสไฟฟ้าในการทางาน มีการประมวลผลโดย อาศัยวงจรที่ประกอบด้วยหลอดสุญญากาศ ( Vacuum
tube) แต่ก็ทาให้เปลืองต้นทุนในการบารุงรักษามากพอสมควร เพราะหลอดสุญญากาศนี้มีอายุการใช้งานที่สั้นและ
ต้องมีการเปลี่ยนหลอดอยู่บ่อย ๆ คอมพิวเตอร์ในยุคนี้แรก ๆ ได้มีการนาเอาไปใช้ในการทางานของภาครัฐและ
รวมถึงภารกิจทางด้านการทหาร นอกจากนั้นก็จะอยู่ในแวดวงของการศึกษาในระดับสูง ตัวอย่างของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีดังนี้
3.ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ ( Electromechanical)
เครื่อง Tabulating Machine
เครื่อง Tabulating Machine ในเดือนมิถุนายน ปี ค.ศ.1890 ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ ( Herman
Hollerith) นักสถิติซึ่งทางานอยู่ที่สานักงานสถิติแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาระบบเพื่อใช้ประมวลผล
สาหรับการสามะโนประชากรของประเทศสหรัฐขึ้น โดยเก็บข้อมูลลงบนบัตรเจาะรู (punch card) ที่ทางานร่วมกัน
กับเครื่องมือที่เรียกว่า Tabulating Machine ปรากฎว่าระบบนี้สามารถประมวลผลได้เร็วกว่าเดิมมาก อีกทั้งยังช่วย
ประหยัดเวลาและลดค่าใช้จ่ายในการทางานจากเดิมที่ทาด้วยกระดาษและปากกาลงไปได้มากเลยทีเดียว
ต่อมาฮอลเลอริธ จึงได้ผันตัวเองมาเป็นนักธุรกิจอย่างเต็มตัวเพื่อตั้งบริษัทของตนขึ้นเองในปี ค.ศ.1896
และได้นาเอาเครื่องมือนี้ไปใช้ในการสามะโนประชากรอีกหลาย ๆ ประเทศ เช่น รัสเซีย ออสเตรีย แคนาดา ฝรั่งเศส
นอร์เวย์ ฯลฯ เป็นต้น และได้ขยายงานเพื่อจัดตั้งบริษัทใหม่ขึ้นมา เรียกว่า CTR (Computing – Tabulating –
Recording Company) จากนั้นได้หันไปร่วมทุนจัดตั้งบริษัทใหม่ร่วมกับบุคคลอื่นและเปลี่ยนชื่อเป็น IBM
(International Business Machines) เมื่อปี ค.ศ. 1924 ในที่สุดนั่นเอง
เครื่อง ABC (Atanasoff – Berry – Computer)
เครื่อง ABC (Atanasoff – Berry – Computer) ในปี ค.ศ.1942 ดร.จอห์น วี อตานาซอฟฟ์ ( John V. Atanasoff)
อาจารย์สาขาฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา ( Iowa State University) ได้ร่วมมือกับลูกศิษย์ของเขาคือ คลิฟฟอร์ด เบอร์รี่
(Clifford Berry) สร้างเครื่องมือที่อาศัยการทางานของหลอดสุญญากาศเพื่อนามาช่วยในงานประมวลผลทั่วไป โดยเรียก
เครื่องคอมพิวเตอร์นี้ว่า เครื่อง “ABC” (เป็นการตั้งชื่อโดยนาเอาชื่อของทั้งสองมารวมกันคือ Atanasoff และ Berry)
เครื่อง Colossus
เครื่อง Colossus ปี ค.ศ.1943 ซึ่งอยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มีโครงการลับสาหรับการผลิตเครื่องจักรเพื่อใช้ใน
การสงครามขึ้น โดยมีนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษชื่ออลัน ทัวริ่ง (Alan Turing) (ผู้เสนอแนวคิดที่ว่าเราสามารถสร้าง
เครื่องจักรซึ่งทางานตามคาสั่งได้และต้องทางานทีละขั้นตอนคล้าย ๆ กับการคิดเชิงตรรกะของมนุษย์นั่นเอง โดยเรียกวิธีการ
แบบนี้ว่า การคานวณแบบเครื่องจักรลาดับ หรือ Turing Machine ) ได้ร่วมทุนกับทีมงานกลุ่มหนึ่งประกอบด้วย ทอมมี่
ฟลาวเวอร์ (Tommy Flowers) และ เอ็ม เอช เอ นิวแมน (M.H.A. Newman) คิดค้นเครื่องจักรคานวณที่เรียกว่า Colossus
ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อถอดรหัสลับของฝ่ายทหารเยอรมันที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกัน ข้อมูลต่าง ๆ ของฝ่ายตรงข้าม
จะถูกถอดรหัสออกมาและนาไปใช้ประโยชน์เพื่อการวางแผนและทาสงครามนั่นเอง ซึ่งต้นแบบการทางานของเครื่องก็จะ
คล้ายกับเครื่อง Analytical Engine ของแบบเบจ
เครื่อง Mark l หรือ IBM Automatic Sequence Controlled Calculator
ปี ค.ศ.1944 ศาสตราจารย์โฮวาร์ด ไอเคน ( Howard Aiken) แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ( Havard
University) ได้สร้างเครื่องจักรระบบอิเล็กทรอนิกส์ขึ้นตามหลักการของแบบเบจได้เป็นผลสาเร็จ และเรียกเครื่องนี้
ว่า Mark l (บางครั้งก็เรียกว่า Harvard Mark l หรือชื่ออย่างเป็นทางการของเครื่องนี้คือ IBM Automatic
Sequence Controlled Calculator เนื่องจากได้รับเงินอุดหนุนทั้งหมดสาหรับการทาวิจัยเพื่อสร้างเครื่องมือนี้จาก
บริษัท IBM) โดยตัวเครื่องมีขนาดสูง 8 ฟุตและมีความยาวมากถึง 55 ฟุต ประกอบด้วยฟันเฟืองในการทางานและ
ใช้บัตรเจาะรูเป็นสื่อในการนาข้อมูลเข้าสู่เครื่องประมวลผล ซึ่งถือได้ว่าเป็นเครื่องคานวณที่สามารถทางานแบบ
อัตโนมัติได้ดีมากในยุคนั้น แต่อย่างไรก็ตามเมื่อต้องการทางานใหม่ทุกครั้ง ผู้ใช้ก็ยังคงต้องป้อนข้อมูลคาสั่งโดย
ผ่านบัตรเจาะรูอยู่ดี เพราะตัวเครื่องเองไม่สามารถเก็บชุดคาสั่งไว้ในเครื่องได้ จึงทาให้เสียเวลาและยุ่งยาก
พอสมควร
4.ยุคคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Machine)
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้มีการประดิษฐ์ให้สามารถคานวณและหาผลลัพธ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็วมากยิ่ง มีการนาเอาไปใช้ประโยชน์อย่างมากมายทั้งใน
แวดวงการทหารและการศึกษาระดับสูงทั่วไป จากนั้นจึงได้พัฒนาเข้าสู่การใช้งานในเชิงพาณิชย์มากยิ่งขึ้น ตัวอย่างของคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่
- เครื่อง ENIAC (Electronics Numerical Integrator and Computer)
- เครื่อง EDSAC (Electronics Delay Storage Automatic Calculator )
- เครื่อง EDVAC (Electronics Discrete Variable Autometic Conputer)
- เครื่อง UNIVAC (UNIversal Automatic Computer)
เครื่อง ENIAC (Electronics Numerical Integrator and Computer)
เครื่อง ENIAC (Electronics Numerical Integrator and Computer) ดร.จอห์น ดับบลิว มอชลี่ (John
W. Mauchly) และจอห์น เพรสเปอร์ เอ็คเคิร์ท (John Presper Eckert) แห่งวิทยาลัยวิศวกรรมไฟฟ้ามัวร์
(Moore School of Electrical Engineering) มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ( University of Pennsylvania) ได้รับ
การสนับสนุนจากกองทัพสหรัฐอเมริกาให้ออกแบบสร้างคอมพิวเตอร์เอาไว้ใช้สาหรับช่วยคานวณวิถีกระสุน
ของปืนใหญ่ เพราะในขณะนั้นยังหาเครื่องมือที่ทางานคานวณเร็ว ๆ ไม่ได้ บางเครื่องกว่าจะได้ผลลัพธ์ต้องใช้
เวลานานมากถึง 12 ชั่วโมง เครื่องมือดังกล่าวที่ทั้งสองได้ร่วมกันสร้างขึ้นมีชื่อว่าเครื่อง ENIAC (Electronics
Numerical Integrator And Computer) สร้างเสร็จโดยสมบูรณ์เมื่อปี ค.ศ.1946 สามารถเอามาช่วยคานวณ
วิถีกระสุนได้เร็วมากขึ้นกว่าเดิม การทางานของเครื่องจะอาศัยหลอดสุญญากาศมากถึง 18,000 หลอด มี
น้าหนักมากสุดถึง 30 ตัน และใช้เนื้อที่ห้องกว้างมากถึงขนาด 30 X 50 ฟุต สาหรับการตั้งวางเครื่องเพื่อใช้งาน
เลยทีเดียว
ENIAC ได้แนวคิดมาจากเครื่อง ABC นั่นเอง และเมื่อเครื่องทางานจะมีความร้อนสูงมาก เนื่องจากมี
ขนาดใหญ่และใช้กระแสไฟฟ้าในการทางานทั้งหมด ดังนั้นจึงต้องมีการติดตั้งตัวเครื่องไว้ในห้องปรับอากาศ
เพื่อช่วยในเรื่องของการระบายความร้อน นับได้ว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นด้วยระบบไฟฟ้าหรือ
อิเล็กทรอนิกส์ล้วนๆและสามารถใช้งานได้อย่างสมบูรณ์ จึงว่าเป็น “ เครื่องคอมพิวเตอร์แบบดิจิตอลเครื่อง
แรก” ของโลกนั่นเอง อย่างไรก็ตามถึงแม้จะเป็นเครื่องที่สามารถทางานได้ดีแล้วในยุคนั้น แต่เนื่องจากการขาด
ส่วนของชุดคาสั่งที่สามารถเก็บไว้ในเครื่องได้ เวลา
ที่ต้องการประมวลผลหรือใช้งานแต่ละทีก็ยังมีขั้น
ตอนที่ยุ่งยากอยู่เช่นเดิมเพราะต้องคอยป้อนข้อมูล
เข้าไปใหม่เหมือนๆกันกับเครื่องที่เคยผลิตมาก่อน
หน้านี้อย่างเครื่อง MARK I
เครื่อง EDSAC (Electronics Delay Storage Automatic Calculator )
เครื่อง EDSAC (Electronics Delay Storage Automatic Calculator ) ในปี ค.ศ.1949 แนวคิดการ
สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถเก็บบันทึกชุดคาสั่งโปรแกรมไว้ภายในของ ดร.นิวแมนน์ ที่เคยเขียนเป็น
บทความและตีพิมพ์เผยแพร่นั้น ได้ถูกนามาเอาใช้สร้างคอมพิวเตอร์แบบใหม่ขึ้นมาเป็นผลสาเร็จก่อนใน
ประเทศอังกฤษ นาโดย มัวริซ วิลค์ส ( Maurice Wikes ) แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์( University of
Cambridge ) และเรียกเครื่องนี้ว่า EDSAC ((Electronics Delay Storage Automatic Calculator ) ซึ่งเป็น
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเก็บชุดคาสั่งเพื่อทางานภายตัวเอง โดยมีการเขียนชุดคาสั่งการทางานออกเป็น
ส่วนย่อยๆเรียกว่า subroutines เพื่อช่วยในการทางาน
เครื่อง EDVAC (Electronics Discrete Variable Autometic Conputer)
เครื่อง EDVAC (Electronics Discrete Variable Autometic Conputer) เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่อง
ใหม่ที่ดร.นิวแมนน์เสนอแนวคิดเพื่อเข้าร่วมทีมสร้างกับมอชลีและเอ็คเคิร์ทนั้น เรียกว่าเครื่อง EDVAC
(Electronics Discrete Variable Automatic Computer) ซึ่งได้ถูกพัฒนามาเรื่อย ๆ ตั้งแต่ตอนที่มอชลีและเอค
เคิร์ทพัฒนาเครื่อง ENIAC เพื่อเอาไว้ใช้ในการทาสงครามของสหรัฐ จนกระทั่งมาสาเร็จลงอย่างสมบูรณ์ในปี
ค.ศ.1952 โดยมีรูปแบบตรงตามการออกแบบของ ดร.นิวแมนน์ทุกประการ ซึ่งถือได้ว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
สามารถเก็บชุดคาสั่งไว้ภายในเครื่องได้และเป็น “ เครื่องคอมพิวเตอร์ตามแนวสถาปัตยกรรมของนิวแมนน์”
(John Von Neumann architecture) อย่างแท้จริง
เครื่อง UNIVAC (UNIversal Automatic Computer)
เครื่อง UNIVAC (UNIversal Automatic Computer) ในปี ค.ศ.1951 บริษัท Remington Rand ( บริษัทของ
มอชลี่และเอ็คเคิร์ทเดิม) ได้พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า UNIVAC (UNIversal Automatic Computer) เพื่อใช้
งานในเชิงธุรกิจเป็นครั้งแรก โดยนามาใช้สาหรับทานายผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนที่ 34 ของสหรัฐอเมริกา เครื่อง
นี้ใช้หลอดสุญญากาศ 5,000 หลอด แต่มีความเร็วในการทางานสูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผลิตกันมาก่อนหน้านี้มาก
สามารถเก็บตัวเลขหรือตัวอักษรไว้ในหน่วยความจาได้ถึง 12,000 ตัว นับได้ว่าเป็น “ เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่ใช้
ในเชิงธุรกิจ”
คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ ( Transistor )
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ ( Transistor) เนื่องจากหลอดสูญญากาศมีอายุการใช้งานค่อนข้างสั้นและ
มีขนาดใหญ่เกินไป จึงได้มีการพัฒนาอุปกรณ์ที่เรียกว่า “ ทรานซิสเตอร์ (Transistor)” ขึ้นเพื่อใช้งานแทน โดย
นักวิทยาศาสตร์ของห้องปฏิบัติการเบล ( Bell laboratory) แห่งสหรัฐอเมริกา 3 คน ประกอบด้วย วิลเลียม ช็อคเลย์
(William Shockley) จอห์น บาร์ดีน (John Bardeen) และวอลเตอร์ แบรทเทน (Walter Brattain) ซึ่งอุปกรณ์นี้มีขนาด
เล็กกว่าหลอดสุญญากาศมาก นอกจากนั้นยังใช้กระแสไฟฟ้าที่น้อยกว่า จึงทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประดิษฐ์ขึ้นใน
ยุคนี้มีขนาดที่เล็กและมีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้นกว่าเดิม แต่ในช่วงแรก ๆ การใช้งานยังไม่ค่อยแพร่หลายมากนัก
จนกระทั่ง 10 ปีให้หลังจึงได้มีการพัฒนาและเริ่มได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น โดยมีการประดิษฐ์อุปกรณ์ประเภทอื่น ๆ
ตามมาอีก เช่น จานแม่เหล็ก (magnetic disk) สาหรับเก็บและบันทึกข้อมูล คีย์บอร์ดสาหรับการป้อนข้อมูลเข้าเครื่อง
โดยตรงแทนบัตรเจาะรู เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พบเห็นในยุคนี้ได้แก่ IBM 1401, CDC 6600, NCR 315 เป็นต้น
ในยุคนี้เองที่ได้มีการนาเอาเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยภาควิชาสถิติ คณะ
พณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับมอบเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มากในยุคนั้นชื่อว่า
IBM 1620 จากบริษัทผู้ผลิต มูลค่าประมาณ 2 ล้านบาทเศษ เมื่อปี ค.ศ.1964 เพื่อนามาใช้ประโยชน์สาหรับงานด้าน
การศึกษา จึงถือได้ว่า “IBM 1620” เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่นาเข้ามาใช้ในประเทศไทย (ปัจจุบันหมดอายุการใช้
งานไปนานแล้ว)
ต่อจากนั้นจึงได้มีการนาเอาคอมพิวเตอร์เข้า
มาใช้เพื่อช่วยงานประมวลผลด้านต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น
เช่น สานักงานสถิติแห่งชาติได้ติดตั้งเครื่องคอมพิว
เตอร์เพื่อใช้งานอีกเป็นเครื่องที่สอง มีชื่อว่า IBM 1401
ซึ่งมีมูลค่าเกือบ 8 ล้านบาท เพื่อใช้งานด้านสามะโน
ประชากร และก็ได้แพร่ขยายการใช้งานไปยังหน่วย
งานอื่น ๆ ทั้งของรัฐบาลและเอกชนในเวลาต่อมา
คอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวม ( IC )
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวม (IC) เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมาได้รับการพัฒนาให้มีขีด
ความสามารถที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ แต่การผลิตเครื่องโดยใช้ทรานซิสเตอร์แยกเป็นตัว ๆ ทาให้ต้นทุนในการผลิตสูง
มาก ต่อมาจึงได้มีการเปลี่ยนมาใช้แผงวงจรรวมหรือที่เรียกว่า IC (Integrated Curcuit) ที่ประกอบด้วย
ทรานซิสเตอร์นับพันตัวรวมกันขึ้นในปี ค.ศ.1965
IC แต่ละตัวสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากถึงกว่า 1,000 ตัว ทาให้ลดต้นทุนในการผลิตเครื่อง
คอมพิวเตอร์ลงไปได้มาก อีทั้งยังคานวณงานที่ซับซ้อนขึ้นได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้มีการผลิตเครื่องเพื่อจาหน่าย
อย่างแพร่หลาย โดยตัวเครื่องมีขนาดที่เล็กลง หรือที่นิยมเรียกว่า “ มินิคอมพิวเตอร์” (Minicomputer) ซึ่งใช้
กระแสไฟฟ้าน้อยกว่าเดิม ตัวอย่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ IBM 360, PDP1, CDC 3300,
BURROUGH 7500 เป็นต้น
คอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ่ ( LSI , LVSI )
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ่ ( LSI และ LVSI) ในยุคนี้คือปลายศตวรรษ 1970 มี
การนาไมโครโปรเซสเซอร์ ( microprocessor) ซึ่งเป็นวงจรรวมขนาดใหญ่ที่ผลิตโดยอาศัยเทคโนโลยีที่
เรียกว่า LSI (Large Scale Integrated) และ VLSI (Very Large Scale Integrated) เข้ามาแทนแผงวงจร
รวมหรือ IC แบบเดิม เนื่องจากสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่า โดยบรรจุวงจรทรานซิสเตอร์นับหมื่น
แสน หรือล้านตัว ลงในชิ้นสารซิลิกอน (silicon) เล็ก ๆ ไมโครโปรเซสเซอร์นี้คิดค้นขึ้นโดยบริษัท
อินเทล (Intel) ซึ่งยังเป็นผู้ผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ชั้นนา
ในปัจจุบันและทาให้เกิดการผลิตคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
สาหรับการใช้งานทั่วไปที่เรียกว่า “ ไมโครคอมพิวเตอร์
(microcomputer)” ซึ่งได้รับความนิยมแพร่หลายไป
ทั่วโลกในเวลาต่อมา
คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย ( Network )
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย ( Network) การใช้งานไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับความนิยามอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก
รวมถึงประเทศไทยด้วย มีการออกแบบและพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กลงพร้อม ๆ กับประสิทธิภาพในการใช้งานที่มุ่งเน้น
ให้เกิดการเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย (Network) มากยิ่งขึ้น บริษัทหรือองค์กรธุรกิจได้นาเอาไมโครคอมพิวเตอร์หลาย ๆ ตัวมาเชื่อมต่อและ
แลกเปลี่ยนข้อมูลกันในบริเวณใกล้หรือในสานักงานเดียวกัน เรียกว่า “ เครือข่ายเฉพาะที่” หรือ LAN (Local Area Network) จากนั้นก็
ได้พัฒนาให้การเชื่อมต่อเข้าหากันได้มากขึ้นโดยกระจายบริเวณออกไปในระยะที่กว้างกว่าเดิม เรียกว่า “ เครือข่ายระยะไกล” หรือ
WAN (Wide Area Network) และในที่สุดก็พัฒนาไปสู่การเชื่อมต่อกันโดยไม่จากัดระยะทางไปยังผู้ใช้งานทั่วโลกที่เรียกว่า “ เครือข่าย
อินเทอร์เน็ต” (Internet) ในที่สุด
สาหรับประเทศไทยเองโดยเฉพาะในปี พ.ศ.2546 ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลให้คนไทยมีคอมพิวเตอร์ใช้กันแทบทุก
ครัวเรือน หรือที่เรียกว่า “ โครงการคอมพิวเตอร์เอื้ออาทร” ส่งผลให้จานวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปในประเทศสูงขึ้นอย่างมาก ซึ่งแต่
เดิมการใช้งานคอมพิวเตอร์มักจะอยู่ในวงแคบ ๆ และจากัดเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้สูงเพียงเท่านั้น เมื่อได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐ
ประกอบกับราคาของเครื่องคอมพิวเตอร์ในตลาดที่ถูกลงมากอย่างเห็นได้ชัด กลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์จึงได้แผ่ขยายวงกว้างมากยิ่งขึ้นไปสู่
กลุ่มผู้มีรายได้น้อยและปานกลางด้วย นอกจากนี้การใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันยังไม่ได้จากัดการใช้งานอยู่เพียงสถานที่ที่ใด
สถานที่หนึ่งอีกต่อไป เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า เครือข่ายไร้สาย(Wireless LAN และ Wireless network ) ได้เกิดขึ้นแล้วในยุคนี้
และได้ติดตามผลการแข่งขันกีฬา รับชมรายการโทรทัศน์ เป็นต้น โดยอาศัยการทางานผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาที่มีขนาดเล็กลง
นั่นเอง
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
เราได้นาเอาลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวิตประจาวันในสังคมและที่เห็นได้ชัดที่สุด
ก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ เช่น พิมพ์รายงาน จดหมาย เอกสารต่าง ๆ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการนา
คอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ อีกมากมาย เช่น
1. งานธุรกิจ บริษัท ห้างสรรพสินค้า ร้านค้า รวมไปถึงโรงงานต่าง ๆ ซึ่งจะใช้คอมพิวเตอร์ในการทาบัญชี งาน
ประมวลคา และใช้ติดต่อกับหน่วยงานต่าง ๆ นอกจากนี้ในงานอุตสาหกรรม จะนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการควบคุมการ
ผลิต เช่น การใช้หุ่นยนต์หรือ คอมพิวเตอร์มาควบคุมการผลิต สาหรับงานด้านบันเทิง เราได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์
ในการสร้างภาพยนต์ เพลง หนังสือ สิ่งพิมพ์ โฆษณา ผลิตสื่อต่าง ๆ เป็นต้น
2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข เราสามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์เกี่ยวกับการ
คานวณที่ค่อนข้างซับซ้อน งานศึกษาโมเลกุลเคมี หรืองานทะเบียน สถิติ และนอกจากนี้เรายังนาคอมพิวเตอร์ไปเป็น
อุปกรณ์ในการตรวจรักษาโรค ซึ่งจะให้ผลที่แม่นยาและยังทาให้การรักษาเป็นไปได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
3. งานคมนาคมและสื่อสาร เรานาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ควบคุมระบบการจราจร เช่น สัญญาณไฟจราจร
และการจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสารก็จะใช้ในระบบการสื่อสารแบบเคลื่อนที่ นอกจากนี้ยังใช้ควบคุมวงโคจรของ
ดาวเทียม เพื่อให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งจะช่วยให้การส่งสัญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความชัดเจน
4. งานราชการ การใช้งานในหน่วยงานราชการนั้นมีหลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของ
หน่วยงานนั้น ๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ สาหรับสรรพกร จะนาไปใช้ใน
การจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ในการจัดระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อ
เชื่อมโยงไปยังสถาบันต่าง เป็นต้น
5. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรจะใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือจาลอง
สถานการณ์ต่าง ๆ รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของโครงการ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน
6. การศึกษา เราจะนาคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ทางด้านการเรียนการสอน หรืองานด้านทะเบียน ซึ่งจะทาให้
สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน การเก็บข้อมูลยืมและการส่งคืนหนังสือห้องสมุด เป็นต้น
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ประโยชน์ทางตรง
ช่วยให้มนุษย์ทางานได้โดยตรงคือคอมพิวเตอร์ทางานได้เที่ยงตรง รวดเร็ว ไม่เหน็ดเหนื่อย
ช่วยผ่อนแรงมนุษย์ ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการคานวณ พิมพ์งาน บันทึกข้อมูล ประมวลผล ไม่ว่า
จะเป็นหน่วยงานในแวดวงใน หากนาคอมพิวเตอร์เข้าช่วยงาน จะช่วยแบ่งเบาภาระงานได้เป็น
อย่างดีและมีประสิทธิภาพ
2. ประโยชน์ทางอ้อม
คอมพิวเตอร์ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น ช่วยในการเรียนรู้ให้ความบันเทิงความรู้
ช่วยงานบันเทิงพัฒนางานด้านต่าง ๆ เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีอันส่งผลให้ความเป็นอยู่ของมนุษย์ดี
ขึ้น เป็นต้น
คอมพิวเตอร์กับงานภาครัฐ
หน่วยงานราชการ (Government) ในส่วนของ
ราชการมีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้าไปช่วยใน การ
ทางาน การจัดเก็บข้อมูล การจัดทาสามะโนประชากร และ
บริการประชาชนให้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ดังมีรายละเอียด คือ
เว็บไซต์เรื่อง e-government
- นโยบายการบริหาร (Administering Policies) ลักษณะนี้เป็นนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ
จัดเก็บข้อมูลด้านการตัดสินคดีความต่างๆ ในศาล รวมไปถึงหลักนิติบัญญัติด้วย ในประเทศไทยเราเองก็จะ
เห็นอยู่โดยทั่วไป เช่น การบัญญัติกฎหมาย หรือการร่างกฎหมายรัฐธรรมนูญ ซึ่งต้องผ่านความเห็นชอบ
ของสมาชิกวุฒิสภา การจัดเก็บข้อมูลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นต้น
- การจ้างงาน (Employment) ในปัจจุบัน รูปแบบการรับคนเข้าทางานสะดวกสบายกว่าแต่ก่อนมาก ผู้สมัครงาน
สามารถกรอกใบสมัครงานด้วยตนเองผ่านอินเตอร์เน็ตได้ โดยที่ไม่ต้องเดินทางไปสมัครเอง ซึ่งทาให้ประหยัดทั้งเวลา และ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง พอสิ้นเดือนทางบริษัทก็พิมพ์ใบสมัครออกมาทาการคัดเลือกว่า ผู้สมัครคนใดมีความเหมาะสม
กับตาแหน่งงาน จากนั้นจะเรียกมาสัมภาษณ์ เมื่อได้ผู้สมัครตามต้องการ แล้วก็จะมีการจัดเก็บประวัติเอาไว้เพื่อใช้ในการ
บริหารงานต่อไป บางบริษัทพัฒนาโปรแกรมการทดสอบผู้สมัครงานขึ้นมา เพื่อให้ผู้สมัครเข้าไปทดสอบความรู้
ความสามารถ ความถนัดของตนเอง เช่นเว็บไซต์ www.testMe.com เมื่อเสร็จสิ้นการทดสอบ จะมีผลคะแนนรายงาน
ออกมา และนายจ้างสามารถพิจารณาได้ว่า จะเลือกผู้สมัครคนใดเข้ามาทางานในบริษัท
- จัดเก็บภาษีอากร (Tax) ได้แก่การเอาคอมพิวเตอร์เข้าไปจัดเก็บข้อมูลด้านภาษีอากรของ ประเทศ หรือ
พัฒนาระบบการจัดเก็บภาษีอากรขึ้นมา ตัวอย่างประเทศไทย คือ กรมสรรพากร ได้พัฒนาระบบการจัดเก็บภาษี และ
การชาระภาษีรายได้ผ่านอินเตอร์เน็ต ทาให้ผู้เสียภาษีได้รับเงินคืนภาษีภายใน 1 สัปดาห์ ซึ่งรวดเร็วกว่าแต่ก่อนมาก แม้
ผู้ใช้บางคนอาจบอกว่า มีความยุ่งยากต่อการใช้ หรือผู้เสียภาษีบางคนอาจมีปัญหาเรื่องการขอเอกสารเพิ่มเติม ซึ่ง
กรมสรรพากรแจ้งให้ส่งผ่านโทรสารมาให้ แทนที่จะทาให้เร็ว บางคนบอกยิ่งล่าช้าไปอีก เป็นต้น ซึ่งข้อบกพร่องตรงนี้
กรมสรรพากรต้องรีบเร่งแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วนต่อไป อย่างไรก็ดีกล่าวในเรื่องของคุณประโยชน์คอมพิวเตอร์อานวย
ประโยชน์ให้มากกว่าส่วนที่เป็นข้อเสีย
- ด้านสามะโนประชากร (Registration Census) คือ การนาเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยจัดเก็บข้อ มูล
ของประชากรทั้งประเทศ เช่น สานักงานสถิติแห่งชาติ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา มีความยุ่งยากเหมือนกัน
เพราะว่า ประชากรในประเทศทวีจานวนเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ รัฐบาลจึงมีนโยบายนาเอาข้อมูลของประชากรจัดเก็บลง
ในบัตรอัจฉริยะ (Smart Card) โดยเฉพาะมีการริเริ่มทาใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งกาลังมีปัญหาด้านการก่อ
การร้าย และการก่อความไม่สงบเกิดขึ้นรายวัน สาเหตุเพราะมีประชาชนบางคน ถือ 2 สัญชาติ คือ สัญชาติไทย
และสัญชาติมาเลเซีย เมื่อเกิดปัญหาขึ้น ทาให้การติดตามคนร้ายเกิดความยุ่งยากลาบาก เนื่องจากมีการหลบหนี
ข้ามแดนไปอยู่ฝั่งมาเลเซีย เป็นต้น
เว็บไซต์แสดงฐานข้อมูลหน่วยงานของรัฐ เว็บไซต์กรมสรรพากรบริการการจัดเก็บภาษี
คอมพิวเตอร์กับการใช้งานทางด้านธุรกิจทั่วไป
ในด้านงานธุรกิจ ได้มีการนาคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยสนับสนุนธุรกิจในด้านต่างๆ เช่น
1. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เช่น ลดต้นทุนการบริหารจัดการ ลดต้นทุนในการผลิต ช่วยลดบุคลากรหรือใช้
บุคลากรในองค์กรได้เต็มศักยภาพมากขึ้น
2. ช่วยเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์และตอบสนองความต้องการลูกค้าได้ดีขึ้น
3. ช่วยสร้างสรรค์และพัฒนากลยุทธ์ในการบริหารจัดการให้ได้เปรียบในการแข่งขันมากขึ้น
4. ช่วยให้องค์บรรลุผลสาเร็จในการจัดการเชิงกลยุทธ์ตามแผนที่วางไว้
5. ช่วยให้เกิดการปรับโครงสร้างองค์กรหรือปรับรื้อองค์กรในทิศทางที่ดีได้
6. ช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนสามารถสั่งการ สื่อสารในองค์กรได้ชัดเจน
และเป็นรูปธรรมมากขึ้น
7. ช่วยให้สามารถเข้าถึงข้อมูลที่มีค่าและจาเป็นต่อองค์กรได้ดีขึ้น
8. ช่วยให้เกิดนวัตกรรมใหม่ในตัวสินค้าและการบริการ
9. ช่วยเปลี่ยนมุมมองในการบริหารจากหน้าที่มาเป็นกระบวนการ
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ จึงมีแนวทางที่หลากหลายและประยุกต์ใช้ได้หลายด้าน อาทิ เช่น การ
ประยุกต์ใช้กับงานด้านการผลิต ตั้งแต่การควบคุมการผลิต
การวางแผนการผลิต การจัดการสินค้าคงคลังและช่วยเขียนแบบ ด้านฝ่ายการเงินและบัญชี ส่วนใหญ่ก็เป็นเรื่องงบ
การเงิน การวิเคราะห์งบเพื่อการงบประมาณและการวางแผนการลงทุน ส่วนด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ก็สามารถใช้
งานเพื่อการฝึกอบรมพัฒนาการวางแแผนการเติบโตในหน้าที่การงาน (Career Path) การจัดการเรื่องผลตอบแทนและ
ค่าจ้างต่างๆ
คอมพิวเตอร์ช่วยในงานโลจิสติกส์ หรือ ลอจิสติกส์ (logistics) คือระบบการจัดการการส่งสินค้า ข้อมูล และ
ทรัพยากรอย่างอื่นต่างๆ ทุกอย่างที่มีการขนส่ง หรือเคลื่นย้ายจากจุดต้นทางไปยังจุดบริโภคตามความต้องการของลูกค้า โล
จิสติกส์เกี่ยวข้องกับการผสมผสานของ ข้อมูล การขนส่ง การบริหารวัสดุคงคลัง การจัดการวัตถุดิบ การบรรจุหีบห่อ โลจิ
สติกส์เป็นช่องทางหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานที่เพิ่มมูลค่าของการใช้ประโยชน์ของเวลาและสถานที่
โลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องการขนส่งอย่างเดียว แต่การขนส่ง เป็นเพียงกิจกรรมส่วนหนึ่งของกิจกรรมในระบบโลจิสติกส์
ซึ่งมีขอบเขตของกิจกรรมตั่งแต่การจัดซื้อจัดหา การผลิต การจัดเก็บ สินค้าคงคลัง การขนส่ง รวมไปถึงการกาจัดของเสีย
และเทคโนโลยีสารสนเทศ
"การบริหารโลจิสติกส์ คือ การวางแผน การดาเนินงาน และการประสานงาน การดาเนินงานในกิจกรรมต่างๆ ที่มุ่ง
บรรลุผลในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยการนาเสนอบริการและคุณภาพในระดับที่เหนือกว่าต้วยต้นทุนการ
ดาเนินงานที่สามารถแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ"
ส่วนกระบวนการธุรกิจ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์กับงานด้านการตลาด ซึ่งมีส่วนปลีกย่อย
มากมาย ได้แก่
1. การประมวลผลรายการธุรกรรมการค้ารายวัน (Transaction Processing and Front Store
Management)
2. กระบวนการจัดซื้อจัดหาสินค้า (Electronic Procurement and Purchasing)
3. การวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคและการวิเคราะห์การตลาด (Marketing Research and
Intelligence System)
4. การพยากรณ์ยอดขายและการวางแผนการขาย (Sale Forecasting and Sale
Management)
5. การวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดและการตัดสินใจทางการตลาด (Marketing Strategy
and Marketing Decision Making)
ธุรกิจสายการบินมีความจาเป็นต้องนาคอมพิวเตอร์มาใช้ด้วยเหตุผลหลายประการ
ประการแรก เพื่อให้สามารถให้บริการได้รวดเร็ว ประการที่สอง เพื่อแข่งขันกับสายการบินอื่นๆ และ
ประการที่สาม เพื่อรักษาความปลอดภัยในการบิน โดยช่วยให้สามารถตรวจสอบสภาพเครื่องบิน
และอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องแน่นอน และสม่าเสมอ
ธุรกิจที่มีการนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ อาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ ๓ ประเภท คือ
ประเภทที่หนึ่ง ผู้โดยสาร ประเภทที่สอง สินค้าพัสดุภัณฑ์ และประเภทที่สาม บริการอื่น ๆ เช่น ครัว
การบิน สินค้าปลอดภาษี และบริการรับส่งผู้โดยสารภาคพื้นดิน เป็นต้น
ระบบบริการผู้โดยสารอาจจะเริ่มด้วยระบบบันทึกตารางการบิน ซึ่งบันทึกและเปลี่ยนแปลง
แก้ไขข้อมูลเที่ยวบิน เส้นทางบิน เวลาออก และเวลาถึง จานวนที่นั่ง ซึ่งสามารถขายได้ และอื่นๆ
เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในระบบที่เกี่ยวข้อง เช่น ระบบงานสารวจที่นั่งผู้โดยสาร ระบบงานสารวจจะ
วางบรรทุก และระบบตรวจรับผู้โดยสาร เป็นต้น
คอมพิวเตอร์กับการงานสายการบิน
ระบบบริการ และโดยสาร อาจจะแยกเป็นระบบงานสารวจที่นั่งผู้โดยสาร ระบบควบคุมการสารองที่นั่ง
ระบบพิมพ์ตั๋วอัตโนมัติ ระบบสารองห้องพักโรงแรม ระบบชาระค่าโดยสารที่นั่งกลุ่มท่องเที่ยว และระบบติดตาม
กระเป๋ า และสัมภาระ เป็นต้น
ระบบงานขนส่งสินค้าพัสดุภัณฑ์ อาจจะประกอบด้วยระบบจัดสาร และควบคุมระวางบรรทุก ระบบ
สารอง ระวางบรรทุก ระบบตรวจสินค้า ระบบควบคุมคลังเก็บสินค้า ระบบตระเตรียมขนส่งขนส่งสินค้า
ระบบงานสินค้าขาเข้า และระบบควบคุมและติดตามอุปกรณ์ขนส่ง เป็นต้น
ระบบครัวการบิน เป็นระบบ ซึ่งช่วยให้การดาเนินงานครัวการบินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเก็บ
ข้อมูลของลูกค้าว่า ใครต้องการอาหารอะไรพิเศษหรือไม่ เก็บข้อมูลตารางบินของแต่ละรายการบินที่มาใช้บริการ
รายการอาหาร และเครื่องดื่มบนเครื่องบิน สูตรและวัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงอาหาร ทั้งนี้เพื่อคานวณต้นทุนในการ
ผลิต และตั้งราคาวิเคราะห์คาดการสั่งซื้อวัตถุดิบให้เพียงพอแก่ความต้องการ อานวยความสะดวกในการจัด
และควบคุมวัตถุดิบ อุปกรณ์ และเครื่องมือ ตั้งแต่การจัดซื้อ การเบิกจ่าย และรับของ ไปจนถึงการบรรจุ และขน
ย้ายไปยังเครื่องบิน เป็นต้น
ระบบงานสินค้าปลอดภาษี เป็นระบบ เพื่อช่วยจัดการ และควบคุมการเบิกจ่าย จัดหาสินค้าให้เพียงพอ
กับความต้องการของลูกค้า บันทึกยอดขาย ตัดบัญชี และทาสถิติรายงานต่างๆ เสนอผู้บริหาร
บริการรับส่งผู้โดยสารภาคพื้นดิน เป็นระบบ เพื่อช่วยให้การบริหารการใช้รถโดยสารเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยเก็บประวัติการใช้ และการซ่อมของรถแต่ละคัน ระยะทาง และเชื้อเพลิงที่ใช้ในการรับส่งแต่ละ
เที่ยว ควบคุมการเบิกจ่าย และจัดซื้ออะไหล่สาหรับการซ่อม เป็นต้น
คอมพิวเตอร์ที่จาเป็นต้องนามาใช้ในการศึกษา จึงแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆคือ
1. คอมพิวเตอร์เพื่อการบริหาร (computer Applications into Administration) การ
บริหารการศึกษานับเป็นปัจจัยสาคัญในการกาหนดทิศทาง นโยบาย อันนาไปสู่แนวทางปฏิบัติใน
การจัดการศึกษา ทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น สิ่งสาคัญในการที่จะช่วยให้บริหาร
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพก็คือความพร้อมของข้อมูลในการบริหารจัดการเพื่อการตัดสินใจและ
กาหนดนโยบายการศึกษา คอมพิวเตอร์จึงเข้ามามีบทบาทในการบริหารการศึกษามากขึ้น ซึ่งช่วย
ให้การดาเนินงานตั้งอยู่บนฐานข้อมูลที่ชัดเจนถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สรุปได้ดังนี้
1.1 การบริหารงานทั่วไป เป็นการนาคอมพิวเตอร์ช่วยในการบริหารงานบุคคล งาน
ธุรการ การเงินและบัญชีการประชาสัมพันธ์ รวมถึงการจัดทาระบบฐานข้อมูล
(Management Information System :MIS) เพื่อประโยชน์ในการวางแผนและบริหาร
การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น
1.2 งานบริหารการเรียนการสอน เป็นการนาคอมพิวเตอร์ช่วยในการบริหารของ
ครูผู้สอนนอกเหนือจากงานด้านการสอนปกติ เช่น งานทะเบียน งานด้านเอกสาร การจัด
ตารางสอน ตารางสอบ การตรวจและการเก็บรวบรวมคะแนน การสร้าง-วิเคราะห์ข้อสอบ
การวัดและประเมินผลการเรียน เป็นต้น
คอมพิวเตอร์กับงานทางด้านการศึกษา
2. คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการเรียนการสอน (Computer -Managed Instruction)
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการเรียนการสอน เพื่อช่วยให้ครูผู้สอนไม่ต้องเสียเวลากับการงานบริหาร
ครูผู้สอนจะได้มีเวลาไปปรับปรุงบทเรียนให้ทันสมัยและมีเวลาให้กับนักเรียนมากขึ้น เช่น การจัด
เลือกข้อสอบ การตรวจและให้คะแนนและวิเคราะห์ข้อสอบ การเก็บประวัตินักเรียนเฉพาะวิชาที่สอน
เพื่อดูพัฒนาการด้านการเรียนและการให้คาปรึกษา และช่วยในการจัดทาเอกสารเกี่ยวกับการเรียน
การสอนของวิชาที่สอน รวมถึงการนาคอม
พิวเตอร์มาช่วยในการจัดการเรียนการสอน
จะทาให้ครูผู้สอนสามารถวิเคราะห์ผู้เรียน
เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบการสอนได้
อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงกับวัตถุประสงค์
และความต้องการของผู้เรียน
3. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer -Assisted Instruction : CAI) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็น
กระบวนการเรียนการสอน โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ ในการนาเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียน
โดยตรง และเป็นการเรียน แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือสามารถ โต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้
เช่นเดียวกับการสอนระหว่างครูกับนักเรียนที่อยู่ในห้องตามปกติ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีหลายประเภทตาม
วัตถุประสงค์ที่จะให้นักเรียนได้เรียน กล่าวคือ ประเภทติวเตอร์ ประเภทแบบฝึกหัด ประเภทการจาลอง ประเภทเกม
ประเภทแบบทดสอบซึ่งในแต่ละประเภทก็มีจุดมุ่งหมายในการให้ความรู้แก่ผู้เรียนแต่วิธีการที่แตกต่างกันไป ข้อดีของ
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคือช่วยลดความแตกต่างระหว่างผู้เรียน เช่นผู้ที่มีผลการเรียนต่า ก็สามารถชดเชยโดย
การเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้ และสาหรับผู้มีผลการเรียนสูงก็สามารถเรียนเสริมบทเรียนหรือเรียน
ล่วงหน้าก่อนที่ผู้สอนจะทาการสอนก็ได้สรุปแนวโน้มในการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการศึกษาในปัจจุบันและอนาคต
จะเป็นรูปแบบของการเรียนการสอน โดยนา
เอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มาผสมผสานกับ
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เนื่องจากเทคโนโลยี
อินเทอร์เน็ตมีลักษณะเฉพาะ คือ มีความ
สามารถในการนาเสนอข้อมูลผ่านระบบ
World Wide Web ในการใช้เพื่อการจัด
การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based
Instruction : WBI) หรือ E-learning
ซึ่งวงการศึกษาคงจะหลีกเลี่ยงได้ยากยิ่ง
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15
Work3 15

Contenu connexe

Tendances

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
satapornmiw
 
040103 Slide-01
040103 Slide-01040103 Slide-01
040103 Slide-01
Naret Su
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2
bewhands
 

Tendances (16)

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Computer Era
Computer EraComputer Era
Computer Era
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
Ppp.
Ppp.Ppp.
Ppp.
 
it-01-25
it-01-25it-01-25
it-01-25
 
040103 Slide-01
040103 Slide-01040103 Slide-01
040103 Slide-01
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
ประเภทคอมพิวเตอร์ อ.ประกิจ
ประเภทคอมพิวเตอร์  อ.ประกิจประเภทคอมพิวเตอร์  อ.ประกิจ
ประเภทคอมพิวเตอร์ อ.ประกิจ
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2
 
introduction to computer
introduction to computerintroduction to computer
introduction to computer
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 

En vedette

Tarlan kajian benthic terrain ruggedness
Tarlan kajian benthic terrain ruggednessTarlan kajian benthic terrain ruggedness
Tarlan kajian benthic terrain ruggedness
allan_awani
 
PowerChorrd_Presentation
PowerChorrd_PresentationPowerChorrd_Presentation
PowerChorrd_Presentation
Darshana Agate
 
Analisis dan rancangan basis data terpusat
Analisis dan rancangan basis data terpusatAnalisis dan rancangan basis data terpusat
Analisis dan rancangan basis data terpusat
kykioshita
 
Analisis dan rancangan basis data terpusat
Analisis dan rancangan basis data terpusatAnalisis dan rancangan basis data terpusat
Analisis dan rancangan basis data terpusat
kykioshita
 
Mobi Cash Cyclone - Viral SMS Campaigns
Mobi Cash Cyclone - Viral SMS CampaignsMobi Cash Cyclone - Viral SMS Campaigns
Mobi Cash Cyclone - Viral SMS Campaigns
Squeeze Mobi
 

En vedette (14)

Tarlan kajian benthic terrain ruggedness
Tarlan kajian benthic terrain ruggednessTarlan kajian benthic terrain ruggedness
Tarlan kajian benthic terrain ruggedness
 
Work3 14
Work3 14Work3 14
Work3 14
 
I phonographie2
I phonographie2I phonographie2
I phonographie2
 
Les Châteaux de La Loire
Les Châteaux de La LoireLes Châteaux de La Loire
Les Châteaux de La Loire
 
PowerChorrd_Presentation
PowerChorrd_PresentationPowerChorrd_Presentation
PowerChorrd_Presentation
 
Analisis dan rancangan basis data terpusat
Analisis dan rancangan basis data terpusatAnalisis dan rancangan basis data terpusat
Analisis dan rancangan basis data terpusat
 
Analisis dan rancangan basis data terpusat
Analisis dan rancangan basis data terpusatAnalisis dan rancangan basis data terpusat
Analisis dan rancangan basis data terpusat
 
Richa_Kshirsagar
Richa_KshirsagarRicha_Kshirsagar
Richa_Kshirsagar
 
Transmission patrimoine
Transmission patrimoineTransmission patrimoine
Transmission patrimoine
 
Weka tutorial
Weka tutorialWeka tutorial
Weka tutorial
 
Mobi Cash Cyclone - Viral SMS Campaigns
Mobi Cash Cyclone - Viral SMS CampaignsMobi Cash Cyclone - Viral SMS Campaigns
Mobi Cash Cyclone - Viral SMS Campaigns
 
How to Improve Mobile Business (SqueezeMobillionaire)
How to Improve Mobile Business (SqueezeMobillionaire)How to Improve Mobile Business (SqueezeMobillionaire)
How to Improve Mobile Business (SqueezeMobillionaire)
 
Mobile Treasure Island- Selling Mobile Sites
Mobile Treasure Island- Selling Mobile SitesMobile Treasure Island- Selling Mobile Sites
Mobile Treasure Island- Selling Mobile Sites
 
WPLC - Instant Local Celebrity
WPLC - Instant Local Celebrity WPLC - Instant Local Celebrity
WPLC - Instant Local Celebrity
 

Similaire à Work3 15

รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
01 computer technology
01 computer technology01 computer technology
01 computer technology
teaw-sirinapa
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
Mayuree Janpakwaen
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียน
Mayuree Janpakwaen
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
Supaporn Pakdeemee
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 

Similaire à Work3 15 (20)

บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
01 computer technology
01 computer technology01 computer technology
01 computer technology
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียน
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
8v,
8v,8v,
8v,
 

Work3 15

  • 1. ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ 1) ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) คอมพิวเตอร์ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นด้วยอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ดังนั้นการประมวลผลจึงมีการทางานแบบอัตโนมัติภายใต้คาสั่งที่ถูกกาหนดไว้ 2) ความเร็ว (Speed) คอมพิวเตอร์มีกาารประมวลผลงานด้วยความเร็วสูงจึงมีความจา เป็นมากต่อการดาเนินงานธุรกรรมในปัจจุบัน 3) ความถูกต้อง แม่นยา (Accuracy) คอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง แม่นยา และมี ความผิดพลาดน้อยที่สุด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการป้อนข้อมูลเข้าที่ถูกต้อง 4) ความน่าเชื่อถือ (Reluability) ในปัจจุบันนี้มีฮาร์ดแวร์ที่ผลิตขึ้นด้วยอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่ ทาให้เกิดความผิดพลาดน้อยลงและแทบจะไม่เกิดขึ้นเลย จึงทาให้มีความ น่าเชื่อถือสูง 5) การจัดเก็บข้อมูล (Storage capability) คอมพิวเตอร์มีหน่วยเก็บข้อมูลเฉพาะเป็นของ ตนเอง ช่วยให้การจัดเก็บและถ่ายเทข้อมูลเป็นไปได้โดยสะดวกมากขึ้น 6) ทางานซ้าๆได้ (Repeatability) คอมพิวเตอร์สามารถคานวนหาผลลัพธ์ได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะงานที่มีลักษณะซา้้ๆแบบเดิม เช่น การบันทึกรายการบัญชีประจาวัน การลงรายการสินค้าเข้า- ออก เป็นต้น 7) การติดต่อสื่อสาร (Communication) ด้วยเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าไปมาก จึงมีการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องเข้าด้วยกันเป็นเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายภายในองค์กรเล็กๆหรือ ระดับเครือข่ายใหญ่ๆ
  • 2. วิวัฒนาการก่อนจะมาเป็นคอมพิวเตอร์ 1. ยุคก่อนเครื่องจักรกล ( Premechanical) วิวัฒนาการของเครื่องมือช่วยนับและการคานวณในยุคก่อนเครื่องจักรกล ( Premechanical) เมื่อวิวัฒนาการทางสังคมของมนุษย์มีความเจริญมากขึ้น การใช้นิ้วมือหรือก้อนหินมาช่วยนับนั้นมีข้อจากัดอยู่เช่นกัน เนื่องจาก ไม่สามารถนับหรือคานวณหาค่าตัวเลขที่มาก ๆ ได้ มนุษย์จึงได้มีความพยายามคิดค้นเครื่องมือช่วยนับที่ดีกว่าเดิมด้วยการ สร้างระบบตัวเลขขึ้นมา ซึ่งพอจะยกตัวอย่างเครื่องมือในยุคนี้ได้แก่ - แผ่นหินอ่อนซาลามิส ( Salamis Tablet) - ไม้บรรทัดคานวณ ( Slide Rule) - ลูกคิด ( Abacus) - แท่งคานวณของเนเปียร์ ( Napier’s bone) แผ่นหินอ่อนซาลามิส ( Salamis Tablet) เครื่องมือชนิดนี้เรียกว่า แผ่นหินอ่อนซาลามิส ( Salamis tablet) เป็นแผ่นหินที่เอามาช่วยนับ (Counting board) ของมนุษย์ ในยุคนั้น โดยสร้างขึ้นมาจากหินอ่อนที่มีขนาดความยาวมากถึง 149 เซนติเมตร กว้างประมาณ 75 เซนติเมตรและหนาถึง 4.5 เซนติเมตร ตัวแผ่นหินจะมีกลุ่มเส้นบรรทัดวางเรียงกันเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มก็จะ มีเส้นบรรทัดลากตั้งฉากแบ่งออกไป กลุ่มของสัญลักษณ์ตัวเลขจะมี เขียนอยู่ตรงกลางส่วนของขอบแผ่นหินรอบ ๆ ทั้งด้านซ้าย ขวาและ ล่าง เพื่อเอาไว้ช่วยทาเครื่องหมายในการนับตัวเลขนั่นเอง ไม้บรรทัดคานวณ ( Slide Rule) ไม้บรรทัดคานวณ ( Slide Rule) ปี ค.ศ. 1622 จอห์น วิลเลียม ออด เทรด ( John William Oughtred) ได้นาเอาหลักการของเนเปียร์มาพัฒนา เครื่องมือที่เรียกว่า ไม้บรรทัดคานวณ (Slide Rule) ขึ้น โดยนาเอาค่าต่าง ๆ มาเขียนไว้บนแท่งไม้สองอัน เมื่อใดที่นามาเลื่อนต่อกันก็จะสามารถหา ผลลัพธ์ต่าง ๆ ที่ต้องการได้ ตัวเลขหรือค่าที่เอามาเขียนนั้นจะกาหนดเป็น อัตราส่วนระยะทาง (Long scale) ซึ่งสามารถวัดหรือหาค่าได้โดยง่าย นับได้ ว่าไม้บรรทัดคานวณของออดเทรดนี้เป็นต้นแบบของการพัฒนาเครื่อง คอมพิวเตอร์แบบอนาล็อกที่อาศัยหลักการวัดซึ่งนิยมใช้กันในเวลาต่อมา นั่นเอง ไม้บรรทัดคานวณยังมีให้เห็นและใช้กันอยู่จนถึงปัจจุบัน ซึ่งได้มีการ ผลิตให้มีขนาดที่เล็กลงและใช้งานได้ง่าย
  • 3. ลูกคิด อุปกรณ์ชนิดแรกของโลกที่เป็นเครื่องมือในการคานวณก็คือลูกคิด นั่นเอง ซึ่งถือได้ว่า เป็นอุปกรณ์ใช้ช่วยการคานวณที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและคง ยังใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2158 นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ ชื่อ John Napier ได้สร้างอุปกรณ์ใช้ ช่วยการคานวณขึ้นมา เรียกว่า Napier’s Bones มีรูปร่างคล้ายสูตรคูณในปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2185 นัก คณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสชื่อ Blaise Pascal คิดว่าน่าจะมีวิธีที่จะคานวณ ตัวเลขได้ง่ายกว่า เขาได้ออกแบบ เครื่องมือช่วยในการคานวณโดย ใช้ หลักการหมุนของฟันเฟืองหนึ่งอันถูกหมุนครบ 1 รอบ ฟันเฟืองอีกอันหนึ่งซึ่ง อยู่ ทางด้านซ้ายจะถูกหมุนไปด้วยในเศษ 1 ส่วน 10 รอบ เครื่องมือของ ปาสคาลนี้ถูกเผยแพร่ออกสู่สาธารณะชน เมื่อ พ.ศ. 2188 แต่ไม่ประสบ ความสาเร็จเท่าที่ควรเนื่องจากราคาแพง และเมื่อใช้งานจริงจะเกิดฟันเฟือง ติดขัดบ่อยๆ ทาให้ผลลัพธ์ที่ได้ไม่ค่อยถูกต้องตรงความเป็นจริง แท่งคานวณของเนเปียร์ ( Napier’s bone) แท่งคานวณของเนเปียร์ ( Napier’s bone) ประมาณปี ค.ศ.1612 นัก คณิตศาสตร์ชาวสก็อตชื่อ จอห์น เนเปีย ( John Napier) ได้สร้างอุปกรณ์คานวณ เรียกว่า แท่งคานวณของเนเปียร์ (Napier’s bone) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ปรกอบด้วยแท่ง ไม้ตีเส้นเป็นตารางคานวณหลาย ๆ แท่งเอาไว้ใช้สาหรับคานวณ แต่ละแท่งจะมีตัวเลข เขียนกากับไว้ เมื่อต้องการผลลัพธ์ก็จะหยิบแท่งที่ใช้ระบุตัวเลขแต่ละหลักมาอ่านกับ แท่นดรรชนี (Index) ที่มีตัวเลข 0-9 ก็จะได้คาตอบ การทางานของ Napier’s Bone เมื่อต้องการคูณตัวเลขใด ๆ ก็จะเอาตัวเลขนั้น ๆ มาเรียงต่อกัน เช่น ต้องการ เลข 46732 ก็จะนาเอาแท่งตัวเลข 4 6 7 3 และ 2 มาวางเรียงต่อกัน แล้วใช้แท่งดรรชนี ( Index) ซึ่งเป็นแท่งหลักที่ใช้ใน การหาผลลัพธ์จากการคานวณมาไว้ด้านหน้า จากนั้นนามาเทียบเคียงให้ตรงกับตัวเลขนั้น ๆ แล้วทาการคูณและหา ผลลัพธ์ได้เลย เช่น ต้องการคูณตัวเลข 46732 ด้วยเลข 3 ก็สามารถหาผลลัพธ์ได้ดังนี้
  • 4. 2. ยุคเครื่องจักรกล (Mechanical) เมื่อมนุษย์มีวิวัฒนาการการผลิตเครื่องไม้เครื่องมือต่างๆที่ดีขึ้นจึงก่อให้เกิดแนวคิดการสร้างเครื่องจักรกลโดย อาศัยการทางานของฟันเฟืองเข้าช่วยอานวยความสะดวกมากขึ้น โดยเฉพาะกับการคานวณที่ยุ่งยากและซับซ้อนมากๆ ซึ่งขอยกตัวอย่างเครื่องที่อยู่ในยุคเครื่องจักรกลได้ดั้งนี้ 1.นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock) 2.เครื่องคานวณของไลบ์นิซ (Leibniz Wheel) 3.เครื่องคานวณของปาสคาล (Pascalline Calculatar) 4.เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด(Jacquard’s loom) 5.เครื่อง Difference Engine 6.เครื่อง Analytical Engine นาฬิกาคานวณ ( Calculating Clock) นาฬิกาคานวณ ( Calculating Clock) ในปี ค.ศ.1623 วิลเฮล์ม ชิคการ์ด ( Wilhelm Schickard) แห่งมหาวิทยาลัยเทอร์บิง เจน ( University of Tubingen) ประเทศเยอรมันนีได้สร้างนาฬิกา คานวณ (Calculating Clock) ขึ้น โดยใช้แนวคิดของเนเปียร์มา ประยุกต์ใช้ วิธีการทางานของเครื่องอาศัยตัวเลขต่าง ๆ บรรจุบน ทรงกระบอกจานวน 6 ชุด แล้วใช้ฟันเฟืองเป็นเครื่องหมุนทดเวลาคูณ เลข ซึ่งถือได้ว่าเขาเป็นผู้ที่ประดิษฐ์เครื่องกลไกสาหรับคานวณได้เป็น คนแรก เครื่องคานวณของไลบ์นิช ( Leibniz Wheel) เครื่องคานวณของไลบ์นิช ( Leibniz Wheel) ในปี ค.ศ. 1674 กอตต์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ ( Gottfried Wilhelm Leibniz) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันได้ทาการปรับปรุงเครื่องคานวณของปาสคาลให้มีประสิทธิภาพดี ขึ้นกว่าเดิม โดยมีการปรับฟันเฟืองเสียใหม่ให้มีความสามารถคูณและหารได้ด้วยโดยตรง (แต่เดิมทาได้เฉพาะ การบวกและลบเท่านั้น) เครื่องชนิดนี้เรียกว่า เครื่องคานวณของไลบ์นิซ (Leibniz Wheel หรืออีกชื่อหนึ่งคือ Stepped Reckoner)
  • 5. เครื่องคานวณของปาสคาล ในสมัยนั้นยังไม่มีเครื่องจักรใดที่สามารถทาตามคาสั่งหรือทางานเองโดยอัตโนมัติได้แต่ใน พ.ศ. 2344 นัก ประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศสชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พยายามพัฒนาเครื่องทอผ้าโดยใช้ บัตรเจาะรูในการใส่คาสั่งให้ ควบคุมเครื่องทอผ้าให้ทาตามแบบที่กาหนดไว้ และแบบดังกล่าวสามารถนามา สร้างซ้าๆ ได้อีกหลายครั้ง ความ พยายามของ Jacquard สาเร็จลงใน พ.ศ. 2348 เครื่องทอผ้านี้ถือว่าเป็น เครื่องทางานตามคาสั่งเป็นเครื่องแรก และ ตั้งแต่ Jacquard ได้ประดิษฐ์สิ่งนี้ขึ้นมาทาให้มีเครื่องกลเกิดขึ้นมาหลายอย่าง และได้มีเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ได้เปลี่ยน วงการของเครื่องคอมพิวเตอร์และการคานวณ โดยอุปกรณ์ที่ว่านี้มีชื่อว่าเครื่องหาผลต่าง (Difference Engine) โดยเจ้า เครื่องนี้มีความคล้ายกับเครื่องคิดเลขในปัจจุบันนั่นเอง โดย Chales Babbage เป็นผู้สร้างเครื่องนี้ขึ้นมา ในปี พ.ศ. 2373 เขาได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาลอังกฤษเพื่อสร้างเครื่อง Difference Engine ขึ้นมาจริงๆ แต่ในขณะที่ Babbage ทาการสร้างเครื่อง Difference Engine อยู่นั้น ได้พัฒนาความคิดไปถึงเครื่องมือในการคานวณที่มี ความสามารถสูงกว่านี้ซึ่งก็คือเครื่องที่เรียกว่าเครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) และได้ยกเลิกโครงการสร้างเครื่อง Difference Engine ลงแล้วเริ่มต้นงานใหม่ คือ งานสร้างเครื่องวิเคราะห์ ในความคิดของเขา โดยที่เครื่องดังกล่าว ประกอบไปด้วยชิ้นส่วนที่สาคัญ 4 ส่วน คือ - ส่วนเก็บข้อมูล เป็นส่วนที่ใช้ในการเก็บข้อมูลนาเข้าและผลลัพธ์ที่ได้ จากการคานวณ - ส่วนประมวลผล เป็นส่วนที่ใช้ในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ - ส่วนควบคุม เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างส่วนเก็บ ข้อมูล และส่วนประมวลผล - ส่วนรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์ เป็นส่วนที่ใช้รับทราบข้อมูลจาก ภายนอกเครื่องเข้าสู่ส่วนเก็บ และแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ ให้ผู้ใช้ได้รับทราบ เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด ( Jacquard’s loom) เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด ( Jacquard’s loom) ในปี ค.ศ.1801 นัก ประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศสชื่อโจเซฟ มารี แจคการ์ด ( Joseph Marie Jacquard) ได้พยายามพัฒนาเครื่องทอผ้าให้สามารถควบคุมลวดลายหรือแบบต่าง ๆ ที่ ต้องการได้เองอัตโนมัติ เพื่อให้ผู้ที่ไม่มีความชานวญในการทอผ้า (มือใหม่) สามารถใช้งานได้อย่างง่ายดาย เครื่องชนิดนี้เรียกว่า เครื่องทอผ้าของแจค การ์ด (Jacquard’s loom) โดยเพียงแต่นาเอาตัวบัตรเจาะรูที่เป็นแม่แบบของ ลวดลายผ้าที่ใส่เข้าไปในตัวเครื่องนี้การทอหรือยกลายตามแม่แบบชุดคาสั่ง (รูที่เจาะไว้บนบัตร) ก็จะทาได้เองโดยอัตโนมัติ ซึ่งเป็นแนวความคิดที่ ก่อให้เกิดการสร้างคอมพิวเตอร์ให้ได้ทางานตามชุดคาสั่งในเวลาต่อมา
  • 6. เครื่อง Difference Engine เครื่อง Difference Engine ปี ค.ศ. 1822 ชาร์ลส แบบเบจ ( Charles Babbge) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษแห่ง มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ( University of Cambridge) เป็นบุคคลที่ได้พยายามเสนอแนวคิดให้เครื่องจักรกลสามารถทางานได้ ตามคาสั่งและเกิดผลลัพธ์ข้อผิดพลาดน้อยที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการคานวณในงานที่ซับซ้อนมาก ๆ ซึ่งเมื่อคานวณ ผลลัพธ์ผิดพลาดก็อาจส่งผลให้เกิดความเสียหายอย่างมากได้ อีกทั้งยังเป็นการสร้างความน่าเบื่อหน่ายในการทางานด้วย เพราะต้องกลับมานั่งคานวณหาค่าผลลัพธ์นั้นใหม่อีกรอบ เขาจึงได้เสนอแนวคิดการสร้างเครื่องคานวณต้นแบบที่เรียกว่า Difference Engine เพื่อขอรับเงินสนับสนุนไปยังสมาคมดาราศาสตร์ เมื่อเดือนมิถุนายนของปีเดียวกัน ซึ่งทางสมาคมฯ ก็เห็น ด้วยกับแนวคิดที่เขาเสนอมา จึงอนุมัติโครงการดังกล่าวและได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลอังกฤษเมื่อปี ค.ศ.1823 การพัฒนา เครื่อง DifferenceEngine ใช่ว่าจะสร้างเสร็จโดยสมบูรณ์ เนื่องจากยังมีข้อผิดพลาดของการทางานภายในตัวเครื่องอยู่อีกมาก ประกอบกับเทคโนโลยีของอุปกรณ์การผลิตในสมัยนั้นยังไม่ดีพอที่จะผลิตตามแบบที่แบบเบจเสนอไว้ได้ แนวคิดดังกล่าวจึงถูก พักและถูกยกเลิกไปในที่สุด เนื่องจากไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง เครื่องDifference Engine ที่ผลิตออกมานั้นจึงทางานได้เพียงแค่ บางส่วนเท่านั้น เครื่อง Analytical Engine เครื่อง Analytical Engine ปี ค.ศ.1834 แบบเบจได้พยายามเสนอการสร้างเครื่องจักรกลชนิดใหม่เรียกว่า Analytical Engine เพื่อต้องการให้คานวณได้กับงานแทบทุกชนิดและต้องทางานตามคาสั่งได้ (programmable) โดย อาศัยแนวคิดของแจคการ์ดที่เอาบัตรเจาะรูมาช่วยควบคุมลวดลายการทอผ้าให้ได้ตามแบบ ที่ต้องการนั่นเอง แบบร่างของเครื่อง Analytical Engine ที่เขานาเสนอนี้จะอาศัยองค์ประกอบในการทางานแบ่งออกเป็น ส่วน ๆ ดังนี้ - Input Device อาศัยบัตรเจาะรูในการนาข้อมูลเข้าสู่ตัวเครื่อง - Arithmetic Processor เป็นส่วนที่ทาหน้าที่คานวณเพื่อหาผลลัพธ์ - Control Unit สาหรับคอยควบคุมและตรวจสอบงาน - Memory เป็นส่วนสาหรับเก็บตัวเลขเพื่อรอการประมวลผล
  • 7. แนวคิดดังกล่าวเป็นเสมือนต้นแบบของเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบัน ดังนั้นเขาจึง ได้รับสมญา นามว่าเป็น “ บิดาแห่งคอมพิวเตอร์” นั่นเอง อย่างไรก็ตามการดาเนินงานเพื่อสร้างเครื่องดังกล่าวของแบบ เบจก็ไม่เป็นไปอย่างที่เขาคาดหวังไว้ วิศวกรและทีมงานช่างที่ทาการผลิตให้เขาไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งว่าจะทา การสร้างเครื่องดังกล่าวให้สาเร็จลงได้ เนื่องจากเทคโนโลยีสมัยนั้นไม่เอื้ออานวยพอ ประกอบกับแนวคิดของ เขาก็ถูกคนอื่นต่อต้านมากด้วยเช่นกัน เพราะคิดว่ามันเป็นไปไม่ได้ ดังนั้นการสร้างเครื่องดังกล่าวจึงไม่เกิดขึ้น จนกระทั่งเขาเสียชีวิตไปในที่สุด (หลังจากนั้นลูกชายของเขาชื่อเฮนรี่จึงได้นาเอาแนวคิดของพ่อมาสร้างต่อจน เป็นผลสาเร็จในปี ค.ศ.1910) ถึงแม้คนอื่นจะไม่เห็นด้วยกับแนวคิดของแบบเบจ แต่เลดี้ออกุสตา เอด้า ไบรอน ( Augusta Ada Byron) ซึ่งได้รู้จักและติดต่อกับแบบเบจมาตลอด มีความเชื่อว่าเครื่องมือชนิดนี้จะสามารถนามาทางาน คานวณขั้นสูงและพัฒนาให้งานในวงการวิทยาศาสตร์ก้าวหน้าขึ้นได้ ในปี ค.ศ.1842 เธอจึงได้รวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับเครื่อง Analytical Engine เพื่อช่วยเผยแพร่แนวคิด นี้ให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งได้เขียนขั้นตอนในการตั้งคาสั่งของเครื่องลงในหนังสือ Taylor’s Scientific Memories ด้วย ซึ่งเป็นแนวคิดที่คล้ายคลึงกับการเขียนโปรแกรมในปัจจุบันมากที่สุด ด้วยเหตุนี้เธอจึงได้รับ คายกย่องว่าเป็น “ โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก” ซึ่งต่อมาเธอได้เสียชีวิตลงด้วยวัยเพียงแค่ 37 ปี
  • 8. ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electromechanical)ในยุคนี้ตัวเครื่องจะใช้เครื่องจักรกลปบกับ ระบบกระแสไฟฟ้าในการทางาน มีการประมวลผลโดย อาศัยวงจรที่ประกอบด้วยหลอดสุญญากาศ ( Vacuum tube) แต่ก็ทาให้เปลืองต้นทุนในการบารุงรักษามากพอสมควร เพราะหลอดสุญญากาศนี้มีอายุการใช้งานที่สั้นและ ต้องมีการเปลี่ยนหลอดอยู่บ่อย ๆ คอมพิวเตอร์ในยุคนี้แรก ๆ ได้มีการนาเอาไปใช้ในการทางานของภาครัฐและ รวมถึงภารกิจทางด้านการทหาร นอกจากนั้นก็จะอยู่ในแวดวงของการศึกษาในระดับสูง ตัวอย่างของเครื่อง คอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีดังนี้ 3.ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ ( Electromechanical) เครื่อง Tabulating Machine เครื่อง Tabulating Machine ในเดือนมิถุนายน ปี ค.ศ.1890 ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ ( Herman Hollerith) นักสถิติซึ่งทางานอยู่ที่สานักงานสถิติแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาระบบเพื่อใช้ประมวลผล สาหรับการสามะโนประชากรของประเทศสหรัฐขึ้น โดยเก็บข้อมูลลงบนบัตรเจาะรู (punch card) ที่ทางานร่วมกัน กับเครื่องมือที่เรียกว่า Tabulating Machine ปรากฎว่าระบบนี้สามารถประมวลผลได้เร็วกว่าเดิมมาก อีกทั้งยังช่วย ประหยัดเวลาและลดค่าใช้จ่ายในการทางานจากเดิมที่ทาด้วยกระดาษและปากกาลงไปได้มากเลยทีเดียว ต่อมาฮอลเลอริธ จึงได้ผันตัวเองมาเป็นนักธุรกิจอย่างเต็มตัวเพื่อตั้งบริษัทของตนขึ้นเองในปี ค.ศ.1896 และได้นาเอาเครื่องมือนี้ไปใช้ในการสามะโนประชากรอีกหลาย ๆ ประเทศ เช่น รัสเซีย ออสเตรีย แคนาดา ฝรั่งเศส นอร์เวย์ ฯลฯ เป็นต้น และได้ขยายงานเพื่อจัดตั้งบริษัทใหม่ขึ้นมา เรียกว่า CTR (Computing – Tabulating – Recording Company) จากนั้นได้หันไปร่วมทุนจัดตั้งบริษัทใหม่ร่วมกับบุคคลอื่นและเปลี่ยนชื่อเป็น IBM (International Business Machines) เมื่อปี ค.ศ. 1924 ในที่สุดนั่นเอง
  • 9. เครื่อง ABC (Atanasoff – Berry – Computer) เครื่อง ABC (Atanasoff – Berry – Computer) ในปี ค.ศ.1942 ดร.จอห์น วี อตานาซอฟฟ์ ( John V. Atanasoff) อาจารย์สาขาฟิสิกส์แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา ( Iowa State University) ได้ร่วมมือกับลูกศิษย์ของเขาคือ คลิฟฟอร์ด เบอร์รี่ (Clifford Berry) สร้างเครื่องมือที่อาศัยการทางานของหลอดสุญญากาศเพื่อนามาช่วยในงานประมวลผลทั่วไป โดยเรียก เครื่องคอมพิวเตอร์นี้ว่า เครื่อง “ABC” (เป็นการตั้งชื่อโดยนาเอาชื่อของทั้งสองมารวมกันคือ Atanasoff และ Berry) เครื่อง Colossus เครื่อง Colossus ปี ค.ศ.1943 ซึ่งอยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มีโครงการลับสาหรับการผลิตเครื่องจักรเพื่อใช้ใน การสงครามขึ้น โดยมีนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษชื่ออลัน ทัวริ่ง (Alan Turing) (ผู้เสนอแนวคิดที่ว่าเราสามารถสร้าง เครื่องจักรซึ่งทางานตามคาสั่งได้และต้องทางานทีละขั้นตอนคล้าย ๆ กับการคิดเชิงตรรกะของมนุษย์นั่นเอง โดยเรียกวิธีการ แบบนี้ว่า การคานวณแบบเครื่องจักรลาดับ หรือ Turing Machine ) ได้ร่วมทุนกับทีมงานกลุ่มหนึ่งประกอบด้วย ทอมมี่ ฟลาวเวอร์ (Tommy Flowers) และ เอ็ม เอช เอ นิวแมน (M.H.A. Newman) คิดค้นเครื่องจักรคานวณที่เรียกว่า Colossus ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อถอดรหัสลับของฝ่ายทหารเยอรมันที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกัน ข้อมูลต่าง ๆ ของฝ่ายตรงข้าม จะถูกถอดรหัสออกมาและนาไปใช้ประโยชน์เพื่อการวางแผนและทาสงครามนั่นเอง ซึ่งต้นแบบการทางานของเครื่องก็จะ คล้ายกับเครื่อง Analytical Engine ของแบบเบจ
  • 10. เครื่อง Mark l หรือ IBM Automatic Sequence Controlled Calculator ปี ค.ศ.1944 ศาสตราจารย์โฮวาร์ด ไอเคน ( Howard Aiken) แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ( Havard University) ได้สร้างเครื่องจักรระบบอิเล็กทรอนิกส์ขึ้นตามหลักการของแบบเบจได้เป็นผลสาเร็จ และเรียกเครื่องนี้ ว่า Mark l (บางครั้งก็เรียกว่า Harvard Mark l หรือชื่ออย่างเป็นทางการของเครื่องนี้คือ IBM Automatic Sequence Controlled Calculator เนื่องจากได้รับเงินอุดหนุนทั้งหมดสาหรับการทาวิจัยเพื่อสร้างเครื่องมือนี้จาก บริษัท IBM) โดยตัวเครื่องมีขนาดสูง 8 ฟุตและมีความยาวมากถึง 55 ฟุต ประกอบด้วยฟันเฟืองในการทางานและ ใช้บัตรเจาะรูเป็นสื่อในการนาข้อมูลเข้าสู่เครื่องประมวลผล ซึ่งถือได้ว่าเป็นเครื่องคานวณที่สามารถทางานแบบ อัตโนมัติได้ดีมากในยุคนั้น แต่อย่างไรก็ตามเมื่อต้องการทางานใหม่ทุกครั้ง ผู้ใช้ก็ยังคงต้องป้อนข้อมูลคาสั่งโดย ผ่านบัตรเจาะรูอยู่ดี เพราะตัวเครื่องเองไม่สามารถเก็บชุดคาสั่งไว้ในเครื่องได้ จึงทาให้เสียเวลาและยุ่งยาก พอสมควร
  • 11. 4.ยุคคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Machine) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้มีการประดิษฐ์ให้สามารถคานวณและหาผลลัพธ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็วมากยิ่ง มีการนาเอาไปใช้ประโยชน์อย่างมากมายทั้งใน แวดวงการทหารและการศึกษาระดับสูงทั่วไป จากนั้นจึงได้พัฒนาเข้าสู่การใช้งานในเชิงพาณิชย์มากยิ่งขึ้น ตัวอย่างของคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ - เครื่อง ENIAC (Electronics Numerical Integrator and Computer) - เครื่อง EDSAC (Electronics Delay Storage Automatic Calculator ) - เครื่อง EDVAC (Electronics Discrete Variable Autometic Conputer) - เครื่อง UNIVAC (UNIversal Automatic Computer) เครื่อง ENIAC (Electronics Numerical Integrator and Computer) เครื่อง ENIAC (Electronics Numerical Integrator and Computer) ดร.จอห์น ดับบลิว มอชลี่ (John W. Mauchly) และจอห์น เพรสเปอร์ เอ็คเคิร์ท (John Presper Eckert) แห่งวิทยาลัยวิศวกรรมไฟฟ้ามัวร์ (Moore School of Electrical Engineering) มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ( University of Pennsylvania) ได้รับ การสนับสนุนจากกองทัพสหรัฐอเมริกาให้ออกแบบสร้างคอมพิวเตอร์เอาไว้ใช้สาหรับช่วยคานวณวิถีกระสุน ของปืนใหญ่ เพราะในขณะนั้นยังหาเครื่องมือที่ทางานคานวณเร็ว ๆ ไม่ได้ บางเครื่องกว่าจะได้ผลลัพธ์ต้องใช้ เวลานานมากถึง 12 ชั่วโมง เครื่องมือดังกล่าวที่ทั้งสองได้ร่วมกันสร้างขึ้นมีชื่อว่าเครื่อง ENIAC (Electronics Numerical Integrator And Computer) สร้างเสร็จโดยสมบูรณ์เมื่อปี ค.ศ.1946 สามารถเอามาช่วยคานวณ วิถีกระสุนได้เร็วมากขึ้นกว่าเดิม การทางานของเครื่องจะอาศัยหลอดสุญญากาศมากถึง 18,000 หลอด มี น้าหนักมากสุดถึง 30 ตัน และใช้เนื้อที่ห้องกว้างมากถึงขนาด 30 X 50 ฟุต สาหรับการตั้งวางเครื่องเพื่อใช้งาน เลยทีเดียว ENIAC ได้แนวคิดมาจากเครื่อง ABC นั่นเอง และเมื่อเครื่องทางานจะมีความร้อนสูงมาก เนื่องจากมี ขนาดใหญ่และใช้กระแสไฟฟ้าในการทางานทั้งหมด ดังนั้นจึงต้องมีการติดตั้งตัวเครื่องไว้ในห้องปรับอากาศ เพื่อช่วยในเรื่องของการระบายความร้อน นับได้ว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นด้วยระบบไฟฟ้าหรือ อิเล็กทรอนิกส์ล้วนๆและสามารถใช้งานได้อย่างสมบูรณ์ จึงว่าเป็น “ เครื่องคอมพิวเตอร์แบบดิจิตอลเครื่อง แรก” ของโลกนั่นเอง อย่างไรก็ตามถึงแม้จะเป็นเครื่องที่สามารถทางานได้ดีแล้วในยุคนั้น แต่เนื่องจากการขาด ส่วนของชุดคาสั่งที่สามารถเก็บไว้ในเครื่องได้ เวลา ที่ต้องการประมวลผลหรือใช้งานแต่ละทีก็ยังมีขั้น ตอนที่ยุ่งยากอยู่เช่นเดิมเพราะต้องคอยป้อนข้อมูล เข้าไปใหม่เหมือนๆกันกับเครื่องที่เคยผลิตมาก่อน หน้านี้อย่างเครื่อง MARK I
  • 12. เครื่อง EDSAC (Electronics Delay Storage Automatic Calculator ) เครื่อง EDSAC (Electronics Delay Storage Automatic Calculator ) ในปี ค.ศ.1949 แนวคิดการ สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถเก็บบันทึกชุดคาสั่งโปรแกรมไว้ภายในของ ดร.นิวแมนน์ ที่เคยเขียนเป็น บทความและตีพิมพ์เผยแพร่นั้น ได้ถูกนามาเอาใช้สร้างคอมพิวเตอร์แบบใหม่ขึ้นมาเป็นผลสาเร็จก่อนใน ประเทศอังกฤษ นาโดย มัวริซ วิลค์ส ( Maurice Wikes ) แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์( University of Cambridge ) และเรียกเครื่องนี้ว่า EDSAC ((Electronics Delay Storage Automatic Calculator ) ซึ่งเป็น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเก็บชุดคาสั่งเพื่อทางานภายตัวเอง โดยมีการเขียนชุดคาสั่งการทางานออกเป็น ส่วนย่อยๆเรียกว่า subroutines เพื่อช่วยในการทางาน เครื่อง EDVAC (Electronics Discrete Variable Autometic Conputer) เครื่อง EDVAC (Electronics Discrete Variable Autometic Conputer) เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่อง ใหม่ที่ดร.นิวแมนน์เสนอแนวคิดเพื่อเข้าร่วมทีมสร้างกับมอชลีและเอ็คเคิร์ทนั้น เรียกว่าเครื่อง EDVAC (Electronics Discrete Variable Automatic Computer) ซึ่งได้ถูกพัฒนามาเรื่อย ๆ ตั้งแต่ตอนที่มอชลีและเอค เคิร์ทพัฒนาเครื่อง ENIAC เพื่อเอาไว้ใช้ในการทาสงครามของสหรัฐ จนกระทั่งมาสาเร็จลงอย่างสมบูรณ์ในปี ค.ศ.1952 โดยมีรูปแบบตรงตามการออกแบบของ ดร.นิวแมนน์ทุกประการ ซึ่งถือได้ว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ สามารถเก็บชุดคาสั่งไว้ภายในเครื่องได้และเป็น “ เครื่องคอมพิวเตอร์ตามแนวสถาปัตยกรรมของนิวแมนน์” (John Von Neumann architecture) อย่างแท้จริง
  • 13. เครื่อง UNIVAC (UNIversal Automatic Computer) เครื่อง UNIVAC (UNIversal Automatic Computer) ในปี ค.ศ.1951 บริษัท Remington Rand ( บริษัทของ มอชลี่และเอ็คเคิร์ทเดิม) ได้พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า UNIVAC (UNIversal Automatic Computer) เพื่อใช้ งานในเชิงธุรกิจเป็นครั้งแรก โดยนามาใช้สาหรับทานายผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนที่ 34 ของสหรัฐอเมริกา เครื่อง นี้ใช้หลอดสุญญากาศ 5,000 หลอด แต่มีความเร็วในการทางานสูงกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผลิตกันมาก่อนหน้านี้มาก สามารถเก็บตัวเลขหรือตัวอักษรไว้ในหน่วยความจาได้ถึง 12,000 ตัว นับได้ว่าเป็น “ เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่ใช้ ในเชิงธุรกิจ”
  • 14. คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ ( Transistor ) เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ ( Transistor) เนื่องจากหลอดสูญญากาศมีอายุการใช้งานค่อนข้างสั้นและ มีขนาดใหญ่เกินไป จึงได้มีการพัฒนาอุปกรณ์ที่เรียกว่า “ ทรานซิสเตอร์ (Transistor)” ขึ้นเพื่อใช้งานแทน โดย นักวิทยาศาสตร์ของห้องปฏิบัติการเบล ( Bell laboratory) แห่งสหรัฐอเมริกา 3 คน ประกอบด้วย วิลเลียม ช็อคเลย์ (William Shockley) จอห์น บาร์ดีน (John Bardeen) และวอลเตอร์ แบรทเทน (Walter Brattain) ซึ่งอุปกรณ์นี้มีขนาด เล็กกว่าหลอดสุญญากาศมาก นอกจากนั้นยังใช้กระแสไฟฟ้าที่น้อยกว่า จึงทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประดิษฐ์ขึ้นใน ยุคนี้มีขนาดที่เล็กและมีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้นกว่าเดิม แต่ในช่วงแรก ๆ การใช้งานยังไม่ค่อยแพร่หลายมากนัก จนกระทั่ง 10 ปีให้หลังจึงได้มีการพัฒนาและเริ่มได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น โดยมีการประดิษฐ์อุปกรณ์ประเภทอื่น ๆ ตามมาอีก เช่น จานแม่เหล็ก (magnetic disk) สาหรับเก็บและบันทึกข้อมูล คีย์บอร์ดสาหรับการป้อนข้อมูลเข้าเครื่อง โดยตรงแทนบัตรเจาะรู เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พบเห็นในยุคนี้ได้แก่ IBM 1401, CDC 6600, NCR 315 เป็นต้น ในยุคนี้เองที่ได้มีการนาเอาเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยภาควิชาสถิติ คณะ พณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับมอบเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มากในยุคนั้นชื่อว่า IBM 1620 จากบริษัทผู้ผลิต มูลค่าประมาณ 2 ล้านบาทเศษ เมื่อปี ค.ศ.1964 เพื่อนามาใช้ประโยชน์สาหรับงานด้าน การศึกษา จึงถือได้ว่า “IBM 1620” เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่นาเข้ามาใช้ในประเทศไทย (ปัจจุบันหมดอายุการใช้ งานไปนานแล้ว) ต่อจากนั้นจึงได้มีการนาเอาคอมพิวเตอร์เข้า มาใช้เพื่อช่วยงานประมวลผลด้านต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น เช่น สานักงานสถิติแห่งชาติได้ติดตั้งเครื่องคอมพิว เตอร์เพื่อใช้งานอีกเป็นเครื่องที่สอง มีชื่อว่า IBM 1401 ซึ่งมีมูลค่าเกือบ 8 ล้านบาท เพื่อใช้งานด้านสามะโน ประชากร และก็ได้แพร่ขยายการใช้งานไปยังหน่วย งานอื่น ๆ ทั้งของรัฐบาลและเอกชนในเวลาต่อมา
  • 15. คอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวม ( IC ) เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวม (IC) เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมาได้รับการพัฒนาให้มีขีด ความสามารถที่ดีขึ้นเรื่อย ๆ แต่การผลิตเครื่องโดยใช้ทรานซิสเตอร์แยกเป็นตัว ๆ ทาให้ต้นทุนในการผลิตสูง มาก ต่อมาจึงได้มีการเปลี่ยนมาใช้แผงวงจรรวมหรือที่เรียกว่า IC (Integrated Curcuit) ที่ประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์นับพันตัวรวมกันขึ้นในปี ค.ศ.1965 IC แต่ละตัวสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากถึงกว่า 1,000 ตัว ทาให้ลดต้นทุนในการผลิตเครื่อง คอมพิวเตอร์ลงไปได้มาก อีทั้งยังคานวณงานที่ซับซ้อนขึ้นได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้มีการผลิตเครื่องเพื่อจาหน่าย อย่างแพร่หลาย โดยตัวเครื่องมีขนาดที่เล็กลง หรือที่นิยมเรียกว่า “ มินิคอมพิวเตอร์” (Minicomputer) ซึ่งใช้ กระแสไฟฟ้าน้อยกว่าเดิม ตัวอย่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ IBM 360, PDP1, CDC 3300, BURROUGH 7500 เป็นต้น
  • 16. คอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ่ ( LSI , LVSI ) เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ่ ( LSI และ LVSI) ในยุคนี้คือปลายศตวรรษ 1970 มี การนาไมโครโปรเซสเซอร์ ( microprocessor) ซึ่งเป็นวงจรรวมขนาดใหญ่ที่ผลิตโดยอาศัยเทคโนโลยีที่ เรียกว่า LSI (Large Scale Integrated) และ VLSI (Very Large Scale Integrated) เข้ามาแทนแผงวงจร รวมหรือ IC แบบเดิม เนื่องจากสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้มากกว่า โดยบรรจุวงจรทรานซิสเตอร์นับหมื่น แสน หรือล้านตัว ลงในชิ้นสารซิลิกอน (silicon) เล็ก ๆ ไมโครโปรเซสเซอร์นี้คิดค้นขึ้นโดยบริษัท อินเทล (Intel) ซึ่งยังเป็นผู้ผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ชั้นนา ในปัจจุบันและทาให้เกิดการผลิตคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก สาหรับการใช้งานทั่วไปที่เรียกว่า “ ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer)” ซึ่งได้รับความนิยมแพร่หลายไป ทั่วโลกในเวลาต่อมา
  • 17. คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย ( Network ) เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย ( Network) การใช้งานไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับความนิยามอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยด้วย มีการออกแบบและพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กลงพร้อม ๆ กับประสิทธิภาพในการใช้งานที่มุ่งเน้น ให้เกิดการเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย (Network) มากยิ่งขึ้น บริษัทหรือองค์กรธุรกิจได้นาเอาไมโครคอมพิวเตอร์หลาย ๆ ตัวมาเชื่อมต่อและ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันในบริเวณใกล้หรือในสานักงานเดียวกัน เรียกว่า “ เครือข่ายเฉพาะที่” หรือ LAN (Local Area Network) จากนั้นก็ ได้พัฒนาให้การเชื่อมต่อเข้าหากันได้มากขึ้นโดยกระจายบริเวณออกไปในระยะที่กว้างกว่าเดิม เรียกว่า “ เครือข่ายระยะไกล” หรือ WAN (Wide Area Network) และในที่สุดก็พัฒนาไปสู่การเชื่อมต่อกันโดยไม่จากัดระยะทางไปยังผู้ใช้งานทั่วโลกที่เรียกว่า “ เครือข่าย อินเทอร์เน็ต” (Internet) ในที่สุด สาหรับประเทศไทยเองโดยเฉพาะในปี พ.ศ.2546 ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลให้คนไทยมีคอมพิวเตอร์ใช้กันแทบทุก ครัวเรือน หรือที่เรียกว่า “ โครงการคอมพิวเตอร์เอื้ออาทร” ส่งผลให้จานวนผู้ใช้คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปในประเทศสูงขึ้นอย่างมาก ซึ่งแต่ เดิมการใช้งานคอมพิวเตอร์มักจะอยู่ในวงแคบ ๆ และจากัดเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้สูงเพียงเท่านั้น เมื่อได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐ ประกอบกับราคาของเครื่องคอมพิวเตอร์ในตลาดที่ถูกลงมากอย่างเห็นได้ชัด กลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์จึงได้แผ่ขยายวงกว้างมากยิ่งขึ้นไปสู่ กลุ่มผู้มีรายได้น้อยและปานกลางด้วย นอกจากนี้การใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันยังไม่ได้จากัดการใช้งานอยู่เพียงสถานที่ที่ใด สถานที่หนึ่งอีกต่อไป เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า เครือข่ายไร้สาย(Wireless LAN และ Wireless network ) ได้เกิดขึ้นแล้วในยุคนี้ และได้ติดตามผลการแข่งขันกีฬา รับชมรายการโทรทัศน์ เป็นต้น โดยอาศัยการทางานผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาที่มีขนาดเล็กลง นั่นเอง
  • 18. ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ เราได้นาเอาลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวิตประจาวันในสังคมและที่เห็นได้ชัดที่สุด ก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ เช่น พิมพ์รายงาน จดหมาย เอกสารต่าง ๆ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการนา คอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ อีกมากมาย เช่น 1. งานธุรกิจ บริษัท ห้างสรรพสินค้า ร้านค้า รวมไปถึงโรงงานต่าง ๆ ซึ่งจะใช้คอมพิวเตอร์ในการทาบัญชี งาน ประมวลคา และใช้ติดต่อกับหน่วยงานต่าง ๆ นอกจากนี้ในงานอุตสาหกรรม จะนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการควบคุมการ ผลิต เช่น การใช้หุ่นยนต์หรือ คอมพิวเตอร์มาควบคุมการผลิต สาหรับงานด้านบันเทิง เราได้นาคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ ในการสร้างภาพยนต์ เพลง หนังสือ สิ่งพิมพ์ โฆษณา ผลิตสื่อต่าง ๆ เป็นต้น 2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข เราสามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์เกี่ยวกับการ คานวณที่ค่อนข้างซับซ้อน งานศึกษาโมเลกุลเคมี หรืองานทะเบียน สถิติ และนอกจากนี้เรายังนาคอมพิวเตอร์ไปเป็น อุปกรณ์ในการตรวจรักษาโรค ซึ่งจะให้ผลที่แม่นยาและยังทาให้การรักษาเป็นไปได้รวดเร็วยิ่งขึ้น 3. งานคมนาคมและสื่อสาร เรานาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ควบคุมระบบการจราจร เช่น สัญญาณไฟจราจร และการจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสารก็จะใช้ในระบบการสื่อสารแบบเคลื่อนที่ นอกจากนี้ยังใช้ควบคุมวงโคจรของ ดาวเทียม เพื่อให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งจะช่วยให้การส่งสัญญาณให้ระบบการสื่อสารมีความชัดเจน 4. งานราชการ การใช้งานในหน่วยงานราชการนั้นมีหลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของ หน่วยงานนั้น ๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ สาหรับสรรพกร จะนาไปใช้ใน การจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ในการจัดระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อ เชื่อมโยงไปยังสถาบันต่าง เป็นต้น 5. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรจะใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือจาลอง สถานการณ์ต่าง ๆ รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของโครงการ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทางาน 6. การศึกษา เราจะนาคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์ทางด้านการเรียนการสอน หรืองานด้านทะเบียน ซึ่งจะทาให้ สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน การเก็บข้อมูลยืมและการส่งคืนหนังสือห้องสมุด เป็นต้น
  • 19. ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ประโยชน์ทางตรง ช่วยให้มนุษย์ทางานได้โดยตรงคือคอมพิวเตอร์ทางานได้เที่ยงตรง รวดเร็ว ไม่เหน็ดเหนื่อย ช่วยผ่อนแรงมนุษย์ ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการคานวณ พิมพ์งาน บันทึกข้อมูล ประมวลผล ไม่ว่า จะเป็นหน่วยงานในแวดวงใน หากนาคอมพิวเตอร์เข้าช่วยงาน จะช่วยแบ่งเบาภาระงานได้เป็น อย่างดีและมีประสิทธิภาพ 2. ประโยชน์ทางอ้อม คอมพิวเตอร์ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น ช่วยในการเรียนรู้ให้ความบันเทิงความรู้ ช่วยงานบันเทิงพัฒนางานด้านต่าง ๆ เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีอันส่งผลให้ความเป็นอยู่ของมนุษย์ดี ขึ้น เป็นต้น
  • 20. คอมพิวเตอร์กับงานภาครัฐ หน่วยงานราชการ (Government) ในส่วนของ ราชการมีการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้าไปช่วยใน การ ทางาน การจัดเก็บข้อมูล การจัดทาสามะโนประชากร และ บริการประชาชนให้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ดังมีรายละเอียด คือ เว็บไซต์เรื่อง e-government - นโยบายการบริหาร (Administering Policies) ลักษณะนี้เป็นนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ จัดเก็บข้อมูลด้านการตัดสินคดีความต่างๆ ในศาล รวมไปถึงหลักนิติบัญญัติด้วย ในประเทศไทยเราเองก็จะ เห็นอยู่โดยทั่วไป เช่น การบัญญัติกฎหมาย หรือการร่างกฎหมายรัฐธรรมนูญ ซึ่งต้องผ่านความเห็นชอบ ของสมาชิกวุฒิสภา การจัดเก็บข้อมูลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นต้น - การจ้างงาน (Employment) ในปัจจุบัน รูปแบบการรับคนเข้าทางานสะดวกสบายกว่าแต่ก่อนมาก ผู้สมัครงาน สามารถกรอกใบสมัครงานด้วยตนเองผ่านอินเตอร์เน็ตได้ โดยที่ไม่ต้องเดินทางไปสมัครเอง ซึ่งทาให้ประหยัดทั้งเวลา และ ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง พอสิ้นเดือนทางบริษัทก็พิมพ์ใบสมัครออกมาทาการคัดเลือกว่า ผู้สมัครคนใดมีความเหมาะสม กับตาแหน่งงาน จากนั้นจะเรียกมาสัมภาษณ์ เมื่อได้ผู้สมัครตามต้องการ แล้วก็จะมีการจัดเก็บประวัติเอาไว้เพื่อใช้ในการ บริหารงานต่อไป บางบริษัทพัฒนาโปรแกรมการทดสอบผู้สมัครงานขึ้นมา เพื่อให้ผู้สมัครเข้าไปทดสอบความรู้ ความสามารถ ความถนัดของตนเอง เช่นเว็บไซต์ www.testMe.com เมื่อเสร็จสิ้นการทดสอบ จะมีผลคะแนนรายงาน ออกมา และนายจ้างสามารถพิจารณาได้ว่า จะเลือกผู้สมัครคนใดเข้ามาทางานในบริษัท - จัดเก็บภาษีอากร (Tax) ได้แก่การเอาคอมพิวเตอร์เข้าไปจัดเก็บข้อมูลด้านภาษีอากรของ ประเทศ หรือ พัฒนาระบบการจัดเก็บภาษีอากรขึ้นมา ตัวอย่างประเทศไทย คือ กรมสรรพากร ได้พัฒนาระบบการจัดเก็บภาษี และ การชาระภาษีรายได้ผ่านอินเตอร์เน็ต ทาให้ผู้เสียภาษีได้รับเงินคืนภาษีภายใน 1 สัปดาห์ ซึ่งรวดเร็วกว่าแต่ก่อนมาก แม้ ผู้ใช้บางคนอาจบอกว่า มีความยุ่งยากต่อการใช้ หรือผู้เสียภาษีบางคนอาจมีปัญหาเรื่องการขอเอกสารเพิ่มเติม ซึ่ง กรมสรรพากรแจ้งให้ส่งผ่านโทรสารมาให้ แทนที่จะทาให้เร็ว บางคนบอกยิ่งล่าช้าไปอีก เป็นต้น ซึ่งข้อบกพร่องตรงนี้ กรมสรรพากรต้องรีบเร่งแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วนต่อไป อย่างไรก็ดีกล่าวในเรื่องของคุณประโยชน์คอมพิวเตอร์อานวย ประโยชน์ให้มากกว่าส่วนที่เป็นข้อเสีย
  • 21. - ด้านสามะโนประชากร (Registration Census) คือ การนาเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยจัดเก็บข้อ มูล ของประชากรทั้งประเทศ เช่น สานักงานสถิติแห่งชาติ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา มีความยุ่งยากเหมือนกัน เพราะว่า ประชากรในประเทศทวีจานวนเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ รัฐบาลจึงมีนโยบายนาเอาข้อมูลของประชากรจัดเก็บลง ในบัตรอัจฉริยะ (Smart Card) โดยเฉพาะมีการริเริ่มทาใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งกาลังมีปัญหาด้านการก่อ การร้าย และการก่อความไม่สงบเกิดขึ้นรายวัน สาเหตุเพราะมีประชาชนบางคน ถือ 2 สัญชาติ คือ สัญชาติไทย และสัญชาติมาเลเซีย เมื่อเกิดปัญหาขึ้น ทาให้การติดตามคนร้ายเกิดความยุ่งยากลาบาก เนื่องจากมีการหลบหนี ข้ามแดนไปอยู่ฝั่งมาเลเซีย เป็นต้น เว็บไซต์แสดงฐานข้อมูลหน่วยงานของรัฐ เว็บไซต์กรมสรรพากรบริการการจัดเก็บภาษี
  • 22. คอมพิวเตอร์กับการใช้งานทางด้านธุรกิจทั่วไป ในด้านงานธุรกิจ ได้มีการนาคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยสนับสนุนธุรกิจในด้านต่างๆ เช่น 1. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต เช่น ลดต้นทุนการบริหารจัดการ ลดต้นทุนในการผลิต ช่วยลดบุคลากรหรือใช้ บุคลากรในองค์กรได้เต็มศักยภาพมากขึ้น 2. ช่วยเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์และตอบสนองความต้องการลูกค้าได้ดีขึ้น 3. ช่วยสร้างสรรค์และพัฒนากลยุทธ์ในการบริหารจัดการให้ได้เปรียบในการแข่งขันมากขึ้น 4. ช่วยให้องค์บรรลุผลสาเร็จในการจัดการเชิงกลยุทธ์ตามแผนที่วางไว้ 5. ช่วยให้เกิดการปรับโครงสร้างองค์กรหรือปรับรื้อองค์กรในทิศทางที่ดีได้ 6. ช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจได้เร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนสามารถสั่งการ สื่อสารในองค์กรได้ชัดเจน และเป็นรูปธรรมมากขึ้น 7. ช่วยให้สามารถเข้าถึงข้อมูลที่มีค่าและจาเป็นต่อองค์กรได้ดีขึ้น 8. ช่วยให้เกิดนวัตกรรมใหม่ในตัวสินค้าและการบริการ 9. ช่วยเปลี่ยนมุมมองในการบริหารจากหน้าที่มาเป็นกระบวนการ
  • 23. การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ จึงมีแนวทางที่หลากหลายและประยุกต์ใช้ได้หลายด้าน อาทิ เช่น การ ประยุกต์ใช้กับงานด้านการผลิต ตั้งแต่การควบคุมการผลิต การวางแผนการผลิต การจัดการสินค้าคงคลังและช่วยเขียนแบบ ด้านฝ่ายการเงินและบัญชี ส่วนใหญ่ก็เป็นเรื่องงบ การเงิน การวิเคราะห์งบเพื่อการงบประมาณและการวางแผนการลงทุน ส่วนด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ก็สามารถใช้ งานเพื่อการฝึกอบรมพัฒนาการวางแแผนการเติบโตในหน้าที่การงาน (Career Path) การจัดการเรื่องผลตอบแทนและ ค่าจ้างต่างๆ คอมพิวเตอร์ช่วยในงานโลจิสติกส์ หรือ ลอจิสติกส์ (logistics) คือระบบการจัดการการส่งสินค้า ข้อมูล และ ทรัพยากรอย่างอื่นต่างๆ ทุกอย่างที่มีการขนส่ง หรือเคลื่นย้ายจากจุดต้นทางไปยังจุดบริโภคตามความต้องการของลูกค้า โล จิสติกส์เกี่ยวข้องกับการผสมผสานของ ข้อมูล การขนส่ง การบริหารวัสดุคงคลัง การจัดการวัตถุดิบ การบรรจุหีบห่อ โลจิ สติกส์เป็นช่องทางหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานที่เพิ่มมูลค่าของการใช้ประโยชน์ของเวลาและสถานที่ โลจิสติกส์ไม่ใช่เรื่องการขนส่งอย่างเดียว แต่การขนส่ง เป็นเพียงกิจกรรมส่วนหนึ่งของกิจกรรมในระบบโลจิสติกส์ ซึ่งมีขอบเขตของกิจกรรมตั่งแต่การจัดซื้อจัดหา การผลิต การจัดเก็บ สินค้าคงคลัง การขนส่ง รวมไปถึงการกาจัดของเสีย และเทคโนโลยีสารสนเทศ "การบริหารโลจิสติกส์ คือ การวางแผน การดาเนินงาน และการประสานงาน การดาเนินงานในกิจกรรมต่างๆ ที่มุ่ง บรรลุผลในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า โดยการนาเสนอบริการและคุณภาพในระดับที่เหนือกว่าต้วยต้นทุนการ ดาเนินงานที่สามารถแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ"
  • 24. ส่วนกระบวนการธุรกิจ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์กับงานด้านการตลาด ซึ่งมีส่วนปลีกย่อย มากมาย ได้แก่ 1. การประมวลผลรายการธุรกรรมการค้ารายวัน (Transaction Processing and Front Store Management) 2. กระบวนการจัดซื้อจัดหาสินค้า (Electronic Procurement and Purchasing) 3. การวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคและการวิเคราะห์การตลาด (Marketing Research and Intelligence System) 4. การพยากรณ์ยอดขายและการวางแผนการขาย (Sale Forecasting and Sale Management) 5. การวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดและการตัดสินใจทางการตลาด (Marketing Strategy and Marketing Decision Making)
  • 25. ธุรกิจสายการบินมีความจาเป็นต้องนาคอมพิวเตอร์มาใช้ด้วยเหตุผลหลายประการ ประการแรก เพื่อให้สามารถให้บริการได้รวดเร็ว ประการที่สอง เพื่อแข่งขันกับสายการบินอื่นๆ และ ประการที่สาม เพื่อรักษาความปลอดภัยในการบิน โดยช่วยให้สามารถตรวจสอบสภาพเครื่องบิน และอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องแน่นอน และสม่าเสมอ ธุรกิจที่มีการนาเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ อาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ ๓ ประเภท คือ ประเภทที่หนึ่ง ผู้โดยสาร ประเภทที่สอง สินค้าพัสดุภัณฑ์ และประเภทที่สาม บริการอื่น ๆ เช่น ครัว การบิน สินค้าปลอดภาษี และบริการรับส่งผู้โดยสารภาคพื้นดิน เป็นต้น ระบบบริการผู้โดยสารอาจจะเริ่มด้วยระบบบันทึกตารางการบิน ซึ่งบันทึกและเปลี่ยนแปลง แก้ไขข้อมูลเที่ยวบิน เส้นทางบิน เวลาออก และเวลาถึง จานวนที่นั่ง ซึ่งสามารถขายได้ และอื่นๆ เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในระบบที่เกี่ยวข้อง เช่น ระบบงานสารวจที่นั่งผู้โดยสาร ระบบงานสารวจจะ วางบรรทุก และระบบตรวจรับผู้โดยสาร เป็นต้น คอมพิวเตอร์กับการงานสายการบิน
  • 26. ระบบบริการ และโดยสาร อาจจะแยกเป็นระบบงานสารวจที่นั่งผู้โดยสาร ระบบควบคุมการสารองที่นั่ง ระบบพิมพ์ตั๋วอัตโนมัติ ระบบสารองห้องพักโรงแรม ระบบชาระค่าโดยสารที่นั่งกลุ่มท่องเที่ยว และระบบติดตาม กระเป๋ า และสัมภาระ เป็นต้น ระบบงานขนส่งสินค้าพัสดุภัณฑ์ อาจจะประกอบด้วยระบบจัดสาร และควบคุมระวางบรรทุก ระบบ สารอง ระวางบรรทุก ระบบตรวจสินค้า ระบบควบคุมคลังเก็บสินค้า ระบบตระเตรียมขนส่งขนส่งสินค้า ระบบงานสินค้าขาเข้า และระบบควบคุมและติดตามอุปกรณ์ขนส่ง เป็นต้น ระบบครัวการบิน เป็นระบบ ซึ่งช่วยให้การดาเนินงานครัวการบินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเก็บ ข้อมูลของลูกค้าว่า ใครต้องการอาหารอะไรพิเศษหรือไม่ เก็บข้อมูลตารางบินของแต่ละรายการบินที่มาใช้บริการ รายการอาหาร และเครื่องดื่มบนเครื่องบิน สูตรและวัตถุดิบที่ใช้ในการปรุงอาหาร ทั้งนี้เพื่อคานวณต้นทุนในการ ผลิต และตั้งราคาวิเคราะห์คาดการสั่งซื้อวัตถุดิบให้เพียงพอแก่ความต้องการ อานวยความสะดวกในการจัด และควบคุมวัตถุดิบ อุปกรณ์ และเครื่องมือ ตั้งแต่การจัดซื้อ การเบิกจ่าย และรับของ ไปจนถึงการบรรจุ และขน ย้ายไปยังเครื่องบิน เป็นต้น ระบบงานสินค้าปลอดภาษี เป็นระบบ เพื่อช่วยจัดการ และควบคุมการเบิกจ่าย จัดหาสินค้าให้เพียงพอ กับความต้องการของลูกค้า บันทึกยอดขาย ตัดบัญชี และทาสถิติรายงานต่างๆ เสนอผู้บริหาร บริการรับส่งผู้โดยสารภาคพื้นดิน เป็นระบบ เพื่อช่วยให้การบริหารการใช้รถโดยสารเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยเก็บประวัติการใช้ และการซ่อมของรถแต่ละคัน ระยะทาง และเชื้อเพลิงที่ใช้ในการรับส่งแต่ละ เที่ยว ควบคุมการเบิกจ่าย และจัดซื้ออะไหล่สาหรับการซ่อม เป็นต้น
  • 27. คอมพิวเตอร์ที่จาเป็นต้องนามาใช้ในการศึกษา จึงแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆคือ 1. คอมพิวเตอร์เพื่อการบริหาร (computer Applications into Administration) การ บริหารการศึกษานับเป็นปัจจัยสาคัญในการกาหนดทิศทาง นโยบาย อันนาไปสู่แนวทางปฏิบัติใน การจัดการศึกษา ทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น สิ่งสาคัญในการที่จะช่วยให้บริหาร เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพก็คือความพร้อมของข้อมูลในการบริหารจัดการเพื่อการตัดสินใจและ กาหนดนโยบายการศึกษา คอมพิวเตอร์จึงเข้ามามีบทบาทในการบริหารการศึกษามากขึ้น ซึ่งช่วย ให้การดาเนินงานตั้งอยู่บนฐานข้อมูลที่ชัดเจนถูกต้องและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สรุปได้ดังนี้ 1.1 การบริหารงานทั่วไป เป็นการนาคอมพิวเตอร์ช่วยในการบริหารงานบุคคล งาน ธุรการ การเงินและบัญชีการประชาสัมพันธ์ รวมถึงการจัดทาระบบฐานข้อมูล (Management Information System :MIS) เพื่อประโยชน์ในการวางแผนและบริหาร การศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น 1.2 งานบริหารการเรียนการสอน เป็นการนาคอมพิวเตอร์ช่วยในการบริหารของ ครูผู้สอนนอกเหนือจากงานด้านการสอนปกติ เช่น งานทะเบียน งานด้านเอกสาร การจัด ตารางสอน ตารางสอบ การตรวจและการเก็บรวบรวมคะแนน การสร้าง-วิเคราะห์ข้อสอบ การวัดและประเมินผลการเรียน เป็นต้น คอมพิวเตอร์กับงานทางด้านการศึกษา
  • 28. 2. คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการเรียนการสอน (Computer -Managed Instruction) การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการเรียนการสอน เพื่อช่วยให้ครูผู้สอนไม่ต้องเสียเวลากับการงานบริหาร ครูผู้สอนจะได้มีเวลาไปปรับปรุงบทเรียนให้ทันสมัยและมีเวลาให้กับนักเรียนมากขึ้น เช่น การจัด เลือกข้อสอบ การตรวจและให้คะแนนและวิเคราะห์ข้อสอบ การเก็บประวัตินักเรียนเฉพาะวิชาที่สอน เพื่อดูพัฒนาการด้านการเรียนและการให้คาปรึกษา และช่วยในการจัดทาเอกสารเกี่ยวกับการเรียน การสอนของวิชาที่สอน รวมถึงการนาคอม พิวเตอร์มาช่วยในการจัดการเรียนการสอน จะทาให้ครูผู้สอนสามารถวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบการสอนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงกับวัตถุประสงค์ และความต้องการของผู้เรียน 3. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer -Assisted Instruction : CAI) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็น กระบวนการเรียนการสอน โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ ในการนาเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียน โดยตรง และเป็นการเรียน แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือสามารถ โต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้ เช่นเดียวกับการสอนระหว่างครูกับนักเรียนที่อยู่ในห้องตามปกติ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีหลายประเภทตาม วัตถุประสงค์ที่จะให้นักเรียนได้เรียน กล่าวคือ ประเภทติวเตอร์ ประเภทแบบฝึกหัด ประเภทการจาลอง ประเภทเกม ประเภทแบบทดสอบซึ่งในแต่ละประเภทก็มีจุดมุ่งหมายในการให้ความรู้แก่ผู้เรียนแต่วิธีการที่แตกต่างกันไป ข้อดีของ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคือช่วยลดความแตกต่างระหว่างผู้เรียน เช่นผู้ที่มีผลการเรียนต่า ก็สามารถชดเชยโดย การเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้ และสาหรับผู้มีผลการเรียนสูงก็สามารถเรียนเสริมบทเรียนหรือเรียน ล่วงหน้าก่อนที่ผู้สอนจะทาการสอนก็ได้สรุปแนวโน้มในการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการศึกษาในปัจจุบันและอนาคต จะเป็นรูปแบบของการเรียนการสอน โดยนา เอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มาผสมผสานกับ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เนื่องจากเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตมีลักษณะเฉพาะ คือ มีความ สามารถในการนาเสนอข้อมูลผ่านระบบ World Wide Web ในการใช้เพื่อการจัด การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction : WBI) หรือ E-learning ซึ่งวงการศึกษาคงจะหลีกเลี่ยงได้ยากยิ่ง