SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  53
Télécharger pour lire hors ligne
TOPICS
1. Obtaining and digesting of food
   (Digestive system)
2. Gas exchange: breathing system
    (Respiratory system)
3. Internal transport
    (Circulatory system)
4. Immune system
5. The control of internal environment
6. Chemical control
    (Endocrine system)
7. Nervous system and the sense
8. Animal locomotion
7. NERVOUS SYSTEM AND THE SENSE




-เซลล์ ประสาท (neuron or nerve cell) เป็ นเซลล์ ท่ ีมีคุณสมบัตในการเปลี่ยนแปลง
                                                                   ิ
 พลังงานจากรู ปแบบหนึ่งไปเป็ นอีกรู ปแบบหนึ่ง (transducer) เช่ นเปลี่ยนจาก
 สารเคมี ความร้ อน และความดันที่มากระตุ้น (stimulus) ให้ เป็ นสัญญาณไฟฟา    ้
 (electrical signal) ที่เรี ยกว่ า nerve impulse หรื อ action potential
โครงสร้ างเซลล์ ประสาทและซิแนปส์ (Synapse)




-เซลล์ ประสาทประกอบด้ วย 4 ส่ วนหลัก คือ dendrite, cell body, axon และ synaptic
 terminal
Dendrite
-dendrite นาคาสั่ง/ข้ อมูลจากเซลล์ อ่ ืนในรู ปของ
 สัญญาณไฟฟามายัง cell body (ทาหน้ าที่คล้ ายเสา
             ้
อากาศ)
-มักมีแขนงสันๆ จานวนมาก เพื่อให้ มีพนที่ผิว
              ้                            ื้
 มากและสามารถรั บข้ อมูลได้ มากๆ ก่ อนจะ
 ส่ งข้ อมูลไปยัง cell body
-มี polyribosome (or Nissl body) อยู่ในบริเวณที่
 dendrite รั บข้ อมูล
-คาสั่งอาจจะส่ งหรื อไม่ ส่งต่ อไปยังaxon ขึนอยู่
                                              ้
 กับความแรงของสัญญาณว่ าถึง threshold
 หรื อไม่
-ในเซลล์ ประสาทที่ไม่ มี dendrite จะรั บข้ อมูล
 โดยตรงทาง cell body
Cell body
-Cell body หรื อ soma รั บข้ อมูลจาก dendrite และส่ งคาสั่ง
 ต่ อไปยัง axon (ทาหน้ าที่คล้ าย maintenance site)
-ประกอบด้ วย nucleus&organelle ต่ าง ๆ เหมือนเซลล์ ท่ ัวไป
-ganglion (ganglia):การเข้ ามารวมกลุ่มกันของnerve cell
 body ในบริเวณ PNS เช่ นที่ dorsal root ganglion (or
 sensory ganglion)
-Nucleus (nuclei):การเข้ ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body
 ในสมอง (CNS)ของสัตว์ มีกระดูกสันหลัง
Axon
-axon นาคาสั่งในรู ปของ action potential จาก
 cell bodyไปยังเซลล์ /neuron อื่น (ทา
 หน้ าที่คล้ ายสายเคเบิล) นอกจากนียังทาหน้ าที่
                                  ้
 ขนส่ งสารที่ cell body สร้ างไปยัง axon
 ending หรื อจาก axon ending           cell body
-axon เชื่อมต่ อกับ cell body ตรงบริเวณที่
 เรี ยกว่ า axon hillox
-axon hillox: รวบรวมสัญญาณที่ส่งมาจาก
 dendrite และก่ อให้ เกิด action potential (ถ้ า
สัญญาณที่รวบรวมได้ ไม่ถึง threshold ก็ไม่เกิด action
potential)
-Nerve: มัดของ axons หลายๆอันมารวมกัน
Synaptic terminal
-synaptic terminal (axon ending):ส่ วนปลายของaxon ทาหน้ าที่หลั่งสาร
 neurotransmitter
-synapse:บริเวณที่ synaptic terminal ไปสัมผัสกับเซลล์ เปาหมาย(neuron/effector)
                                                            ้
-เซลล์ ท่ ีส่งสัญญาณเรี ยก presynaptic cell
-เซลล์ เปาหมายเรี ยก postsynaptic cell (จะมี receptorต่อneurotransmitterของ presynaptic cell)
           ้
เปรียบเทียบความแตกต่ างระหว่ าง axon และ dendrite

                    Axon                               Dendrite
1.นาข้ อมูล/สัญญาณออกจากเซลล์        1.นาข้ อมูล/สัญญาณเข้ าสู่เซลล์
2.smooth surface                     2.rough surface (dendritic spine)
3.มี 1 axon/cell                     3.ส่ วนใหญ่ มีมากกว่ า 1 dendrite/cell
4.ไม่ มี ribosome                    4.มี ribosome
5.มี myelin                          5.ไม่ มี myelin
6.มีการแตกแขนงในตาแหน่ งที่ห่างจาก   6.แตกแขนงในตาแหน่ งที่ใกล้ กับ
cell body                            cell body
Supporting cell or glial cells or glia
-Glia:ทาหน้ าที่คาจุนเซลล์ ประสาท มีจานวนมากกว่ าเซลล์ ประสาท 10-50 เท่ า ไม่ มี
                 ้
      บทบาทในการส่ งสัญญาณประสาท
-Astrocyte:glia cellในCNSเกิดtight junctionรอบๆcapillary ทาให้ เกิด Blood-brain barrier
-Oligodendrocyte(ในCNS)และSchwann cell (ในPNS): glial cell ที่เป็ นmyelin sheath
Blood-brain barrier
Neuron แบ่ งเป็ น 3 ชนิด ตามการนาคาสั่ง
1. Receptor (sensory) neuron อาจทาหน้ าที่
 เป็ นตัวรั บในการรั บสิ่งเร้ าโดยตรง (เป็ น
 receptor neuron) เช่ น olfactory nerve cells
 หรื อรั บคาสั่งจาก receptor cell (เช่ น
 photoreceptor cell) อีกทีหนึ่ง (เป็ น sensory
 neuron) แล้ วแปลคาสั่งจากสิ่งเร้ าในรู ปแบบ
 ต่ างๆเป็ น electrical signal ส่ งไปยังinterneuron
 หรื อ motor neuron โดยตรง
2.Interneuron รั บข้ อมูลจาก receptor neuron,
 sensory neuron หรื อ interneuron อื่น
 รวบรวมข้ อมูล แปลผล และส่ งคาสั่งไปยัง
 motor neuron
3.Effector (motor) neuron นาคาสั่งในการ
 ตอบสนองจาก interneuron ไปยัง effector
 cells
การทางานของระบบประสาท จะประสานงานกัน 3 ส่ วน
1.ส่ วนที่รับสัญญาณเข้ า (sensory input) จาก sensory receptor
2.ส่ วนที่รวบรวมและแปลผล (integration center): CNS              PNS
3.ส่ วนที่ส่งสัญญาณออก (motor output) ไปยัง effector cells
Reflex arc
sensory receptor   sensory neuron   integration center
        effector   motor neuron     or interneuron




                                        บริเวณที่มี interneuronรวม
                                        กันมากที่สดคือสมอง
                                                    ุ
Membrane potential
-membrane potential: ความต่ างศักย์ ท่ ีเยื่อเซลล์
เนื่องจากความแตกต่ างของอิออน ภายใน-นอก
เซลล์ (Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า= -50 ถึง
-100 mV (ค่าติดลบหมายถึงภายในเซลล์มีขวเป็ นลบเมื่อ
                                     ั้
เทียบกับนอกเซลล์)
-สามารถวัดได้ โดยใช้ microelectrode ต่ อกับ
voltmeter หรื อoscilloscope หรื อใช้
micromanipulator วัด
-membrane potential ของเซลล์ ประสาทขณะที่ยัง
ไม่ ถกกระตุ้นเรี ยก
     ู
 resting potential
-Chemically-gated ion channels: เป็ นประตูท่ ีเปิ ด-ปิ ดเมื่อได้ รับการกระตุ้นจาก
สารเคมี เช่ น neurotransmitter โดย gated ion channel จะจาเพาะต่ อ ion ชนิดใด
ชนิดหนึ่งเท่ านัน
                ้
-Voltage-gated ion channels: เป็ นประตูท่ ีเปิ ด-ปิ ดจากการกระตุ้นของ membrane
potential
Hyperpolarization และ depolarization
          Hyperpolarization: เป็ นการเพิ่ม
          ศักย์ ไฟฟาที่เยื่อเซลล์ เช่ น จาก
                   ้
          การเปิ ดของ K+ channel, K+
          เคลื่อนออกจากเซลล์ เพิ่มขึน ทา  ้
          ให้ ภายในเยื่อเซลล์ มีประจุเป็ น
          ลบเพิ่มขึน (-70mV
                       ้               -90mV)
           Depolarization: เป็ นการลด
           ศักย์ ไฟฟาที่เยื่อเซลล์ เช่ น จาก
                     ้
           การเปิ ดของ Na+ channel, Na+
           เคลื่อนเข้ าสู่เซลล์ เพิ่มขึน ทาให้
                                       ้
           ภายในเยื่อเซลล์ มีประจุเป็ นลบ
           ลดลง(-70mV            -50mV)
Graded potential การเปลี่ยนแปลงศักย์ ไฟฟา  ้
(hyper & depolarization) ตามความแรงของสิ่งเร้ า
Action potential
-action potential: การเปลี่ยนแปลง membrane potential อย่ างรวดเร็วของเซลล์
 ประสาทเมื่อได้ รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้ า ที่ทาให้ เกิด depolarization จนถึงระดับ
 threshold potential
-เกิดที่ axon เท่ านัน และเป็ นแบบ all-or-none
                     ้
  แบ่ งเป็ น 5 ระยะดังนี ้
  1.Resting state
  2.Threshold
  3.Depolarization
  4.Repolarization
  5.Undershoot
ระยะที่ 1: Resting State



-ทัง voltage-gated Na+ และ K+
   ้
channel ปิ ด ไม่ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงต่ อ membrane’s
resting potential
ระยะที่ 2: Threshold
-สิ่ งเร้ ามากระตุ้น ทาให้ Na+ channel
บางส่ วนเปิ ด ถ้ าการไหลของ Na+ เข้ าสู่
เซลล์ มากพอจนถึงระดับ threshold
potential จะกระตุ้น Na+ gate เปิ ดมากขึน ้
และกระตุ้นให้ เกิด action potential
ระยะที่ 3: Depolarization

                        -activation gate ของ
                        Na+ channel เปิ ด แต่ K+
                        channelยังคงปิ ดอยู่
                        ดังนันการเคลื่อนที่ของ
                              ้
                        Na+เข้ าภายในเซลล์ จง  ึ
                        ทาให้ ภายในเซลล์ มี
                        ประจุเป็ นบวกมากขึน  ้
                        (หรื อเป็ นลบลดลง)
ระยะที่ 4: Repolarization




                                 -inactivation gate ของ
                                Na+ channel ปิ ด และ
                              K+ channel เปิ ด ทาให้
                          Na+ไม่ สามารถเคลื่อนเข้ าสู่
                   ภายในเซลล์ ได้ อีก ในขณะที่ K+จะ
             เคลื่อนออกนอกเซลล์ จึงทาให้ ภายใน
             เซลล์ มีประจุเป็ นลบเพิ่มขึน กลับคืนสู่
                                         ้
             สภาวะ resting membrane potential
ระยะที่ 5: Undershoot



                                           repolarizationและundershoot = refractory period




-gate ทังสองอันของ Na+ ปิ ด แต่ K+ channel ยังเปิ ดอยู่ (relatively slow gate) จึงทา
        ้
ให้ ภายในเซลล์ มีประจุลดลงต่ากว่ า resting membrane potential หลังจากนันเซลล์
                                                                            ้
จะกลับสู่สภาวะปกติ(Na+-K+ pump)และพร้ อมจะตอบสนองต่ อการกระตุ้นลาดับถัดไป
Propagation of action potential
       1.ขณะที่ เกิด action potential (ในตาแหน่ งที่ 1) N+
       เคลื่อนเข้ าสู่ภายในเซลล์ ซึ่ง Na+ ที่เคลื่อนเข้ ามา
       ภายในเซลล์ จะแพร่ ไปยังบริเวณข้ างเคียง(ตาแหน่ งที่
       2) และสามารถกระตุ้นให้ บริเวณข้ างเคียงเกิด
       depolarization และ action potential ได้ ในที่สุด
       2.ขณะที่ ตาแหน่ งที่ 2 เกิด action potential ในตาแหน่ ง
       ที่ 1 จะเกิด repolarization (refractory period) จึงทา
       ให้ ไม่ สามารถเกิด action potential ในทิศทาง
       ย้ อนกลับได้
       3.หลังจากนัน action potential จะเคลื่อนไปสู่
                      ้
       ตาแหน่ งที่ 3 และตาแหน่ งที่ 2 จะเกิด refractory
       period และ ตาแหน่ งที่ 1 จะกลับสู่สภาวะ resting
       stage ต่ อไป
       -การเคลื่ อนของ action potential บน axon จึง
       เคลื่อนไปในทิศทางเดียว(ออกจาก cell body)
       เท่ านัน้
Saltatory conduction
-ความเร็วในการเคลื่อนของaction potential ไปตาม axon จะขึนอยู่กับความกว้ าง
                                                              ้
 ของ axon ยิ่งกว้ างยิ่งเคลื่อนได้ เร็ว
-แต่ ในพวก myelinated axon ถึงแม้ จะมีขนาดเล็กแต่ action potential ก็เคลื่อนได้ เร็ว
-ใน myelinated axon การเกิด action potential จะเกิดระหว่ าง node of Ranvier หนึ่ง
 ไปยังอีก node หนึ่ง เพราะการเคลื่อนที่ของ Na+ และ K+ เข้ า-ออกจากเซลล์ เกิดได้
 เฉพาะบริเวณ node of Ranvier เท่ านัน ลักษณะนีเ้ รี ยก saltatory conduction
                                        ้
Electrical synapse
-บริเวณ presynatic membrane และ postsynaptic membrane เชื่อมต่ อกันด้ วย gap
junction ดังนัน ion current จากaction potential จึงสามารถเคลื่อนจากเซลล์
              ้
ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์ หนึ่งได้ โดยตรง
                                       Presynaptic membrane   Postsynaptic membrane
Chemical synapse




1.action potential ที่ synaptic terminal ทาให้ เกิด Ca+ influx
2.synaptic vesicle รวมกับเยื่อเซลล์
3.หลั่ งneurotransmitter สู่ synaptic cleft และเคลื่อนไปจับกับ
ตัวรับที่ postsynatic membrane
4.การจับทาให้ ion channel (เช่ น Na+) เปิ ด, Na+ เคลื่อนเข้ าใน
เซลล์ เกิด depolarization
The organization of neurons into systems
The simple circuits: nerve nets
                                  -สัตว์ พวกแรกที่เริ่มมีระบบประสาทที่
                                   แท้ จริงคือ cnidarians เรี ยก nerve net
                                  -ในดาวทะเล ระบบประสาทจะ
                                   ซับซ้ อนขึน โดยจะมี nerve ring เชื่อม
                                              ้
                                   กับ radial nerve ที่เชื่อมอยู่กับ nerve
                                   net ในแต่ ละแขนของดาวทะเลอีกที
                                  หนึ่ง
Complex circuits
-สิ่ งมีชีวตตังแต่ พวกหนอนตัวแบนเป็ นต้ นไป จะมีการรวมกันของเซลล์ ประสาท
           ิ ้
(ganglion) ที่บริเวณหัว เรี ยก cephalization
-พลานาเรี ยจะมีการเรี ยงตัวของเส้ นประสาทบริเวณด้ านข้ างลาตัวทัง 2 ข้ างและจะมี
                                                                ้
เส้ นประสาทเชื่อม เรี ยก transverse nerve
-ตังแต่ พวกหนอนตัวกลมขึนไป จะมีการเรี ยงตัวของเส้ นประสาทอยู่ทางด้ านท้ อง
    ้                        ้
เรี ยก ventral nerve cord
-ในแมลงมีการรวมกันของเซลล์ ประสาท เรี ยก glangion ในแต่ ละข้ อปล้ องของลาตัว
-ในสัตว์ มีกระดูกสันหลัง จะมี dorsal hollow nerve cord มาแทนที่ ventral nerve
cord และไม่ มี segmental ganglia
ระบบประสาทในสัตว์ มีกระดูกสันหลัง
ระบบประสาทแบ่ งเป็ น
1.ระบบประสาทส่ วนกลาง
(Central nervous system; CNS):
สมองและไขสันหลัง ทาหน้ าที่
รวบรวมและแปลผลข้ อมูล
2.ระบบประสาทรอบนอก
(Peripheral nervous system; PNS):
เส้ นประสาทสมอง(cranial nerve)
เส้ นประสาทไขสันหลัง(spinal
nerve) และปมประสาท (ganglia)
ทาหน้ าที่นาสัญญาณประสาท
เข้ า-ออก CNS และควบคุมการ
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้ อม
ภายในร่ างกาย
Peripheral Nervous System
-ในสัตว์ เลียงลูกด้ วยนมมี cranial nerve
            ้
12 คู่ spinal nerve 31 คู่
-cranial nerve ส่ วนใหญ่ & spinal nerve
ทังหมด ประกอบด้ วย sensory & motor
  ้
neuron ยกเว้ น olfactory & optic nerve
เป็ นเฉพาะ sensory nerve
-sensory division ประกอบด้ วย
sensory neuron นาคาสั่งจาก
sensory receptor ไปยัง CNS
-motor division ประกอบด้ วย motor neuron นา
คาสั่งจาก CNS ไปยัง effector cells
-SNS นาคาสั่งไปยัง skeletal muscle เพื่อตอบสนองต่ อ external stimuli
-ANS นาคาสั่งไปยัง smooth & cardiac muscle เพื่อตอบสนองต่ อ external stimuli
การทางานของระบบประสาท จะประสานงานกัน 3 ส่ วน
1.ส่ วนที่รับสัญญาณเข้ า (sensory input) จาก sensory receptor
2.ส่ วนที่รวบรวมและแปลผล (integration center): CNS              PNS
3.ส่ วนที่ส่งสัญญาณออก (motor output) ไปยัง effector cells
Parasympathetic and sympathetic nervous system
                                                        -parasympathetic และ
                                                         sympathetic มักจะทางาน
                                                         ตรงข้ ามกัน (antagonist)
                                                        -sym มักจะกระตุ้นการ
                                                        ทางานของอวัยวะที่ทาให้ เกิด
                                                        การตื่นตัวและก่ อให้ เกิด
                                                        พลังงาน ในขณะที่ parasym
                                                        จะเกิดตรงกันข้ าม
                                                        -sympathetic neuron
                                                         มักจะหลั่ง norepinephrine
                                                        -parasympathetic neuron
                                                         มักจะหลั่ง acetylcholine
postganglionic ganglion   preganglionic ganglion, Ach
Embryonic Development of the Brain
สมองส่ วนต่ างๆของคน
โครงสร้ างและหน้ าที่ในสมองซีรีบรัมส่ วนต่ างๆ
The Limbic System




The limbic system generates the feeling; emotion and memory
Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส)
-Sensation: การเคลื่อนของ action potential ผ่ าน sensory neuron ไปยังสมอง
-Perception: การรวบรวมและแปลผล sensation ที่สมองได้ รับ
 แบ่ ง sensory receptor ตามการรั บสิ่งเร้ าได้ เป็ น 2 กลุ่ม คือ
 1.Exteroreceptor: รั บสิ่งเร้ าจากภายนอกร่ างกาย เช่ น ความร้ อน, แสง, ความดัน, สารเคมี
 2.Interoreceptor: รั บสิ่งเร้ าจากภายในร่ างกาย เช่ น blood pressure, body position
แบ่ ง sensory receptor ตามชนิดของสิ่งเร้ าได้ เป็ น 5 ชนิด คือ
1.Mechanoreceptor: สิ่งเร้ าเป็ นแรงกล เช่ น แรงดัน, การสัมผัส, การเคลื่อนไหว, เสียง
2.Chemoreceptor: สิ่งเร้ าเป็ นสารเคมี เช่ น กลูโคส, O2, CO2, กรดอะมิโน
  -Gustatory (taste) receptor และ Olfactory (smell) receptor
3.Electromegnetic receptor (Photoreceptor): สิ่งเร้ าเป็ นพลังงานแม่ เหล็กไฟฟา เช่ น
                                                                                ้
 แสง (visible light), กระแสไฟฟา, สนามแม่ เหล็ก
                              ้
4.Thermoreceptor: สิ่งเร้ าเป็ นอุณหภูมิ เช่ นความร้ อน, ความเย็น
5.Pain receptor (nociceptors): สิ่งเร้ า เช่ น excess heat, pressure หรือสารเคมีบางชนิดที่
  หลั่งจากบาดแผลหรือเนือเยื่อที่ตดเชือ
                       ้         ิ ้
ผิวหนัง(Skin): การับสัมผัส
            Meissner’s   Krouse’s
            corpuscle    end bulb
Ruffini’s                                       -สิ่ งเร้ าที่เป็ นแรงกลจะทาให้ เกิดการโค้ ง
corpuscle
                                                งอหรื อบิดเบียวของเยื่อเซลล์ ของ
                                                                   ้
                                                mechanoreceptor จะทาให้ permeability
                                                ต่ อ Na+ และ K+ เปลี่ยนไป และทาให้
                                                เกิด depolarization
                                                -mechanoreceptor เป็ น modified
                                                dendrite ของ sensory neuron




                                    Pacinian
                                    corpuscle
ลิน(Tongue): การรับรส
                             ้
-บนลินของคนมีต่ ุมลิน(taste bud)ประมาณ 10,000 อัน ฝั งตัวอยู่ในปุ่ มลิน (papilla)
      ้              ้                                                         ้
-แต่ ละ taste bud จะมี taste (gustatory) receptor cell ซึ่งเป็ น modified epithelial cell อยู่
                                   การรั บรส มีขันตอนดังนี ้
                                                 ้
                                   1.โมเลกุลของสารเช่ นนาตาล จับกับtaste receptor
                                                               ้
                                   2.มีการส่ งสัญญาณผ่ าน signal-transduction pathway
                                     3.K+ channel ปิ ด Na+channel เปิ ด
                                          4.Na+ แพร่ เข้ าสู่เซลล์ เกิด depolarization
                                              5.กระตุ้ นการนา Ca+ เข้ าสู่เซลล์
                                                                    6.receptor cell หลั่ง
                                                                       neurotransmitter
                                                                       ที่ไปกระตุ้น sensory
                                                                       neuron ต่ อไป
ตา(Eye): การมองเห็น
                                        -Eye cup ของพลานาเรี ยจะรั บข้ อมูล
                                        เกี่ยวกับความเข้ มของแสง และทิศทาง
                                        แสง โดยไม่ เกิดเป็ นภาพ
                                        -สมองจะแปลสัญญาณประสาทที่มาจาก
                                        eye cup ทังสองข้ าง
                                                   ้
                                        -พลานาเรี ยจะเคลื่อนที่จนกระทั่ง
                                        sensation จาก eye cup ทัง 2 ข้ างเท่ ากัน
                                                                 ้
                                        และมีค่าน้ อยที่สุด

-ในแมลงตาเป็ นแบบ compound eye
-ใน compound eye แต่ ละข้ างมี
ommatidia (light detector) หลายพันอัน
-แต่ ละ ommatidium จะรั บภาพได้ เอง
ดังนันตาแมลงสามารถแยกแยะภาพได้
     ้
ถึง 330 ครั ง/วินาที
            ้
Single lens eyes ในคน
                         white outer layer of
                         connective tissue
                                                                                        thin, pigmented layer

                                                                                             contain photoreceptor cell




give the eye its color


      clear, watery

 liquid lens
                               transparent protein

            jelly-like

                                                                the information of photoreceptor leaves the eye,
     Photoreceptor cells: Rod cell and Cone cell                the optic nerve attached to the eyes
การมองภาพระยะใกล้ และไกล

a.การมองภาพระยะใกล้ (accommodation)
 ciliary muscle หดตัว suspensory
 ligament หย่ อน เลนส์ หนาขึนและกลมขึน
                            ้        ้




b.การมองภาพระยะไกล
 ciliary muscle คลายตัว suspensory
 ligament ตึง เลนส์ ถกดึงทาให้ แบน
                     ู
Photoreceptors of the retina
-photoreceptors มี 2 ชนิด
1.Rod cells มี ประมาณ 125 ล้ านเซลล์
-ไวแสง แต่ ไม่ สามารถแยกสีได้
2.Cone cells มีประมาณ 6 ล้ านเซลล์
-ไม่ ไวแสง แต่ สามารถแยกสีได้ แบ่ งเป็ น red cone, green cone, blue cone
-fovea เป็ นบริเวณที่มีแต่ cone cells ไม่ มี rod cell
From light reception to receptor potential
-Rhodopsin (retinal + opsin) เป็ นเม็ดสีในการมองเห็น (visual pigment) ของ rods
-แสงจะกระตุ้ น rhodopsin ให้ เกิด signal-transduction pathway.
1.แสงกระตุ้ นการเปลี่ยนรู ปของ retinal ทาให้ หลุดจาก opsin
2.active opsin กระตุ้น G protein transducin
3.transducin กระตุ้นphosphodiesterase (PDE)
4.cGMPถูก hydrolze เป็ น GMP หลุดออกจาก Na+ channel
5.Na+ channel ปิ ด เยื่อเซลล์ เกิด hyperpolarization การหลั่ง neurotransmitter ลดลง
The Vertebrate Retina



ขันตอนการเกิดภาพมีดังนี ้
  ้
1.หลังจากแสงมากระตุ้น rods&cones เกิด action
    potential
2.rods&cones synapse กับ bipolar cells
3.bipolar cells synapse กับ ganglion cells
4.ganglion cells ส่ ง visual sensation (action
    potential)ไปยังสมอง
5.การถ่ ายทอดข้ อมูลระหว่ าง rods&cones,
    bipolar cells, ganglion cells ไม่ ได้ เป็ นแบบ
    one-to-one
6.horizontal&amacrine cells ทาหน้ าที่ integrate
    signal
Neural Pathways for Vision
-สมองด้ านขวารั บ sensory information จาก
 วัตถุท่ ีอยู่ทางด้ านซ้ าย (left visual field, blue)
-สมองด้ านซ้ ายรั บ sensory information จาก
 วัตถุท่ ีอยู่ทางด้ านขวา (right visual field, red)
-optic nerve จากตาทังสองข้ างจะมาพบกันที่
                          ้
 optic chiasma
-optic nerve จะเข้ าสู่ lateral geniculate nuclei
 ของ thalamus
-ส่ ง sensation ไปยัง primary visual cortex ใน
 occipital lobe ของ cerebrum
หู(Ear): การได้ ยนและการทรงตัว
                                   ิ
                                                temperal bone
                                                                (equilibrium)




                                                                                (hearing)



การโค้ งงอของ
hair cell ทาให้                (endolymph fluid)
เกิด action
potential


                              perilymph fluid
การเปลี่ยนจากแรงกลเป็ นสัญญาณประสาทของ hair cell
การจาแนกเสียงสูงต่าของ cochlea
         -ความดัง(volume)ของเสียงกาหนดโดย amplitude
         -ความสูงต่า(pitch)ของเสียงกาหนดโดย frequency
         -ในคนปกติหูสามารถฟั งเสียงที่ 20-20,000 Hz,
           สุนัข <40,000 Hz




         -basilar fiber ที่ตาแหน่ งต่ าง ๆ ของ basilar
          membrane มีความกว้ างต่ างกัน, แต่ ละบริเวณ
          ของ basilar membrane จึงจาเพาะต่ อแรงสั่นที่
          ความถี่ต่างกัน, ส่ ง sensation ไปที่ cerebral
          cortex ตาแหน่ งต่ างกัน
การทรงตัว




-utricle, saccule และ semicircular canals ในหูชันใน รั บรู้ เกี่ยว
                                                   ้
 กับการทรงตัวและตาแหน่ งของร่ างกาย โดยมี hair cell อยู่ข้างใน
-utricle&sacculeส่ งสัญญาณให้ สมองรั บรู้ ว่าทิศใดเป็ นด้ านบนและ
ร่ างกายอยู่ในท่ าได้
-semicircular canals รั บรู้ เกี่ยวกับทิศทางทัง 3 ระนาบ โดยบริเวณ
                                              ้
 โคนท่ อมีการบวมเป็ นกระเปาะเรี ยก ampulla
-ในampullaมี gelatinous cap เรี ยก cupula ที่มี hair cell อยู่
การทรงตัวในปลา
-หูส่วนในของปลาทาหน้ าที่เกี่ยวกับการทรงตัว
เท่ านัน (มีเฉพาะ saccule, utricle, semicircular
         ้
canals)
-หูปลาไม่ มี ear drum และไม่ เปิ ดออกสู่
ภายนอก
-การสั่ นของนา(คลื่น)จะถูกส่ งผ่ านทางกระดูกที่
                 ้
หัว เข้ าสู่หูส่วนใน
-ปลามี lateral line system รั บรู้ low-frequency
wave ทาหน้ าที่คล้ ายหูส่วนในของคน ทาให้
รั บรู้ การเคลื่อนไหวผ่ านนา, เหยื่อ และผู้ล่า
                           ้
-มี neuromast (receptor unit) ทาหน้ าที่คล้ าย
ampulla ใน semicircular canal
จมูก(Nose): การได้ กลิ่น




-olfactory receptor cell เป็ น neuron มาทาหน้ าที่โดยตรง
-ส่ วนปลายของเซลล์ ย่ นออกมาเป็ น cilia สู่ mucus
                       ื
-สารเคมีมาจับกับ receptor ที่เยื่อเซลล์ ของ cilia
-เกิด signal-transduction pathway, depolarization, action potential สู่สมอง

Contenu connexe

Tendances

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทWichai Likitponrak
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 

Tendances (20)

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
Acid base 1
Acid base 1Acid base 1
Acid base 1
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 

Similaire à ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system

การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองnokbiology
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...kasidid20309
 
2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาทWichai Likitponrak
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2poonwork
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012Namthip Theangtrong
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transportkasidid20309
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
Nerve cell
Nerve cellNerve cell
Nerve cellBiobiome
 

Similaire à ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system (20)

การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
 
2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท2.ทำงานเซลล์ประสาท
2.ทำงานเซลล์ประสาท
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
 
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคนเซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
เซลล์ประสาทและระบบประสาทของคน
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 3
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transportชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์  cell transport
ชีววิทยา เรื่อง การลำเลียงสารระหว่างเซลล์ cell transport
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
4
44
4
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Nerve cell
Nerve cellNerve cell
Nerve cell
 

Plus de kasidid20309

Quiz Development.pdf
Quiz Development.pdfQuiz Development.pdf
Quiz Development.pdfkasidid20309
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormonekasidid20309
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...kasidid20309
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respirationชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respirationkasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionkasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemkasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2kasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemkasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellkasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellkasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosiskasidid20309
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosiskasidid20309
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2kasidid20309
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1kasidid20309
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)  ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง) kasidid20309
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง) ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง) kasidid20309
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2551 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2551 (ค่ายหนึ่ง) ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2551 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2551 (ค่ายหนึ่ง) kasidid20309
 

Plus de kasidid20309 (20)

Quiz Development.pdf
Quiz Development.pdfQuiz Development.pdf
Quiz Development.pdf
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
เรื่องพันธุศาสตร์ genetics ตอนที่ 1
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respirationชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
 
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system ตอนที่ 2
 
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive systemชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
ชีววิทยา เรื่อง การย่อยอาหาร Digestive system
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 2 general cell
 
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cellชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
ชีววิทยา เรื่อง พิ้นฐานเซลล์ ตอนที่ 1 general cell
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส meiosis
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)  ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2553 (ค่ายหนึ่ง)
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง) ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2552 (ค่ายหนึ่ง)
 
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2551 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2551 (ค่ายหนึ่ง) ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2551 (ค่ายหนึ่ง)
ข้อสอบเข้าโอลิมปิกชีวิทยา สอวน ศูนย์ มทักษิณ ปี2551 (ค่ายหนึ่ง)
 

ชีววิทยาเรื่องระบบประสาท Nervous system

  • 1. TOPICS 1. Obtaining and digesting of food (Digestive system) 2. Gas exchange: breathing system (Respiratory system) 3. Internal transport (Circulatory system) 4. Immune system 5. The control of internal environment 6. Chemical control (Endocrine system) 7. Nervous system and the sense 8. Animal locomotion
  • 2. 7. NERVOUS SYSTEM AND THE SENSE -เซลล์ ประสาท (neuron or nerve cell) เป็ นเซลล์ ท่ ีมีคุณสมบัตในการเปลี่ยนแปลง ิ พลังงานจากรู ปแบบหนึ่งไปเป็ นอีกรู ปแบบหนึ่ง (transducer) เช่ นเปลี่ยนจาก สารเคมี ความร้ อน และความดันที่มากระตุ้น (stimulus) ให้ เป็ นสัญญาณไฟฟา ้ (electrical signal) ที่เรี ยกว่ า nerve impulse หรื อ action potential
  • 3. โครงสร้ างเซลล์ ประสาทและซิแนปส์ (Synapse) -เซลล์ ประสาทประกอบด้ วย 4 ส่ วนหลัก คือ dendrite, cell body, axon และ synaptic terminal
  • 4. Dendrite -dendrite นาคาสั่ง/ข้ อมูลจากเซลล์ อ่ ืนในรู ปของ สัญญาณไฟฟามายัง cell body (ทาหน้ าที่คล้ ายเสา ้ อากาศ) -มักมีแขนงสันๆ จานวนมาก เพื่อให้ มีพนที่ผิว ้ ื้ มากและสามารถรั บข้ อมูลได้ มากๆ ก่ อนจะ ส่ งข้ อมูลไปยัง cell body -มี polyribosome (or Nissl body) อยู่ในบริเวณที่ dendrite รั บข้ อมูล -คาสั่งอาจจะส่ งหรื อไม่ ส่งต่ อไปยังaxon ขึนอยู่ ้ กับความแรงของสัญญาณว่ าถึง threshold หรื อไม่ -ในเซลล์ ประสาทที่ไม่ มี dendrite จะรั บข้ อมูล โดยตรงทาง cell body
  • 5. Cell body -Cell body หรื อ soma รั บข้ อมูลจาก dendrite และส่ งคาสั่ง ต่ อไปยัง axon (ทาหน้ าที่คล้ าย maintenance site) -ประกอบด้ วย nucleus&organelle ต่ าง ๆ เหมือนเซลล์ ท่ ัวไป -ganglion (ganglia):การเข้ ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ในบริเวณ PNS เช่ นที่ dorsal root ganglion (or sensory ganglion) -Nucleus (nuclei):การเข้ ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ในสมอง (CNS)ของสัตว์ มีกระดูกสันหลัง
  • 6. Axon -axon นาคาสั่งในรู ปของ action potential จาก cell bodyไปยังเซลล์ /neuron อื่น (ทา หน้ าที่คล้ ายสายเคเบิล) นอกจากนียังทาหน้ าที่ ้ ขนส่ งสารที่ cell body สร้ างไปยัง axon ending หรื อจาก axon ending cell body -axon เชื่อมต่ อกับ cell body ตรงบริเวณที่ เรี ยกว่ า axon hillox -axon hillox: รวบรวมสัญญาณที่ส่งมาจาก dendrite และก่ อให้ เกิด action potential (ถ้ า สัญญาณที่รวบรวมได้ ไม่ถึง threshold ก็ไม่เกิด action potential) -Nerve: มัดของ axons หลายๆอันมารวมกัน
  • 7. Synaptic terminal -synaptic terminal (axon ending):ส่ วนปลายของaxon ทาหน้ าที่หลั่งสาร neurotransmitter -synapse:บริเวณที่ synaptic terminal ไปสัมผัสกับเซลล์ เปาหมาย(neuron/effector) ้ -เซลล์ ท่ ีส่งสัญญาณเรี ยก presynaptic cell -เซลล์ เปาหมายเรี ยก postsynaptic cell (จะมี receptorต่อneurotransmitterของ presynaptic cell) ้
  • 8. เปรียบเทียบความแตกต่ างระหว่ าง axon และ dendrite Axon Dendrite 1.นาข้ อมูล/สัญญาณออกจากเซลล์ 1.นาข้ อมูล/สัญญาณเข้ าสู่เซลล์ 2.smooth surface 2.rough surface (dendritic spine) 3.มี 1 axon/cell 3.ส่ วนใหญ่ มีมากกว่ า 1 dendrite/cell 4.ไม่ มี ribosome 4.มี ribosome 5.มี myelin 5.ไม่ มี myelin 6.มีการแตกแขนงในตาแหน่ งที่ห่างจาก 6.แตกแขนงในตาแหน่ งที่ใกล้ กับ cell body cell body
  • 9. Supporting cell or glial cells or glia -Glia:ทาหน้ าที่คาจุนเซลล์ ประสาท มีจานวนมากกว่ าเซลล์ ประสาท 10-50 เท่ า ไม่ มี ้ บทบาทในการส่ งสัญญาณประสาท -Astrocyte:glia cellในCNSเกิดtight junctionรอบๆcapillary ทาให้ เกิด Blood-brain barrier -Oligodendrocyte(ในCNS)และSchwann cell (ในPNS): glial cell ที่เป็ นmyelin sheath
  • 11. Neuron แบ่ งเป็ น 3 ชนิด ตามการนาคาสั่ง 1. Receptor (sensory) neuron อาจทาหน้ าที่ เป็ นตัวรั บในการรั บสิ่งเร้ าโดยตรง (เป็ น receptor neuron) เช่ น olfactory nerve cells หรื อรั บคาสั่งจาก receptor cell (เช่ น photoreceptor cell) อีกทีหนึ่ง (เป็ น sensory neuron) แล้ วแปลคาสั่งจากสิ่งเร้ าในรู ปแบบ ต่ างๆเป็ น electrical signal ส่ งไปยังinterneuron หรื อ motor neuron โดยตรง 2.Interneuron รั บข้ อมูลจาก receptor neuron, sensory neuron หรื อ interneuron อื่น รวบรวมข้ อมูล แปลผล และส่ งคาสั่งไปยัง motor neuron 3.Effector (motor) neuron นาคาสั่งในการ ตอบสนองจาก interneuron ไปยัง effector cells
  • 12. การทางานของระบบประสาท จะประสานงานกัน 3 ส่ วน 1.ส่ วนที่รับสัญญาณเข้ า (sensory input) จาก sensory receptor 2.ส่ วนที่รวบรวมและแปลผล (integration center): CNS PNS 3.ส่ วนที่ส่งสัญญาณออก (motor output) ไปยัง effector cells
  • 13. Reflex arc sensory receptor sensory neuron integration center effector motor neuron or interneuron บริเวณที่มี interneuronรวม กันมากที่สดคือสมอง ุ
  • 14. Membrane potential -membrane potential: ความต่ างศักย์ ท่ ีเยื่อเซลล์ เนื่องจากความแตกต่ างของอิออน ภายใน-นอก เซลล์ (Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า= -50 ถึง -100 mV (ค่าติดลบหมายถึงภายในเซลล์มีขวเป็ นลบเมื่อ ั้ เทียบกับนอกเซลล์) -สามารถวัดได้ โดยใช้ microelectrode ต่ อกับ voltmeter หรื อoscilloscope หรื อใช้ micromanipulator วัด -membrane potential ของเซลล์ ประสาทขณะที่ยัง ไม่ ถกกระตุ้นเรี ยก ู resting potential
  • 15. -Chemically-gated ion channels: เป็ นประตูท่ ีเปิ ด-ปิ ดเมื่อได้ รับการกระตุ้นจาก สารเคมี เช่ น neurotransmitter โดย gated ion channel จะจาเพาะต่ อ ion ชนิดใด ชนิดหนึ่งเท่ านัน ้ -Voltage-gated ion channels: เป็ นประตูท่ ีเปิ ด-ปิ ดจากการกระตุ้นของ membrane potential
  • 16. Hyperpolarization และ depolarization Hyperpolarization: เป็ นการเพิ่ม ศักย์ ไฟฟาที่เยื่อเซลล์ เช่ น จาก ้ การเปิ ดของ K+ channel, K+ เคลื่อนออกจากเซลล์ เพิ่มขึน ทา ้ ให้ ภายในเยื่อเซลล์ มีประจุเป็ น ลบเพิ่มขึน (-70mV ้ -90mV) Depolarization: เป็ นการลด ศักย์ ไฟฟาที่เยื่อเซลล์ เช่ น จาก ้ การเปิ ดของ Na+ channel, Na+ เคลื่อนเข้ าสู่เซลล์ เพิ่มขึน ทาให้ ้ ภายในเยื่อเซลล์ มีประจุเป็ นลบ ลดลง(-70mV -50mV) Graded potential การเปลี่ยนแปลงศักย์ ไฟฟา ้ (hyper & depolarization) ตามความแรงของสิ่งเร้ า
  • 17. Action potential -action potential: การเปลี่ยนแปลง membrane potential อย่ างรวดเร็วของเซลล์ ประสาทเมื่อได้ รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้ า ที่ทาให้ เกิด depolarization จนถึงระดับ threshold potential -เกิดที่ axon เท่ านัน และเป็ นแบบ all-or-none ้ แบ่ งเป็ น 5 ระยะดังนี ้ 1.Resting state 2.Threshold 3.Depolarization 4.Repolarization 5.Undershoot
  • 18. ระยะที่ 1: Resting State -ทัง voltage-gated Na+ และ K+ ้ channel ปิ ด ไม่ เกิดการ เปลี่ยนแปลงต่ อ membrane’s resting potential
  • 19. ระยะที่ 2: Threshold -สิ่ งเร้ ามากระตุ้น ทาให้ Na+ channel บางส่ วนเปิ ด ถ้ าการไหลของ Na+ เข้ าสู่ เซลล์ มากพอจนถึงระดับ threshold potential จะกระตุ้น Na+ gate เปิ ดมากขึน ้ และกระตุ้นให้ เกิด action potential
  • 20. ระยะที่ 3: Depolarization -activation gate ของ Na+ channel เปิ ด แต่ K+ channelยังคงปิ ดอยู่ ดังนันการเคลื่อนที่ของ ้ Na+เข้ าภายในเซลล์ จง ึ ทาให้ ภายในเซลล์ มี ประจุเป็ นบวกมากขึน ้ (หรื อเป็ นลบลดลง)
  • 21. ระยะที่ 4: Repolarization -inactivation gate ของ Na+ channel ปิ ด และ K+ channel เปิ ด ทาให้ Na+ไม่ สามารถเคลื่อนเข้ าสู่ ภายในเซลล์ ได้ อีก ในขณะที่ K+จะ เคลื่อนออกนอกเซลล์ จึงทาให้ ภายใน เซลล์ มีประจุเป็ นลบเพิ่มขึน กลับคืนสู่ ้ สภาวะ resting membrane potential
  • 22. ระยะที่ 5: Undershoot repolarizationและundershoot = refractory period -gate ทังสองอันของ Na+ ปิ ด แต่ K+ channel ยังเปิ ดอยู่ (relatively slow gate) จึงทา ้ ให้ ภายในเซลล์ มีประจุลดลงต่ากว่ า resting membrane potential หลังจากนันเซลล์ ้ จะกลับสู่สภาวะปกติ(Na+-K+ pump)และพร้ อมจะตอบสนองต่ อการกระตุ้นลาดับถัดไป
  • 23. Propagation of action potential 1.ขณะที่ เกิด action potential (ในตาแหน่ งที่ 1) N+ เคลื่อนเข้ าสู่ภายในเซลล์ ซึ่ง Na+ ที่เคลื่อนเข้ ามา ภายในเซลล์ จะแพร่ ไปยังบริเวณข้ างเคียง(ตาแหน่ งที่ 2) และสามารถกระตุ้นให้ บริเวณข้ างเคียงเกิด depolarization และ action potential ได้ ในที่สุด 2.ขณะที่ ตาแหน่ งที่ 2 เกิด action potential ในตาแหน่ ง ที่ 1 จะเกิด repolarization (refractory period) จึงทา ให้ ไม่ สามารถเกิด action potential ในทิศทาง ย้ อนกลับได้ 3.หลังจากนัน action potential จะเคลื่อนไปสู่ ้ ตาแหน่ งที่ 3 และตาแหน่ งที่ 2 จะเกิด refractory period และ ตาแหน่ งที่ 1 จะกลับสู่สภาวะ resting stage ต่ อไป -การเคลื่ อนของ action potential บน axon จึง เคลื่อนไปในทิศทางเดียว(ออกจาก cell body) เท่ านัน้
  • 24. Saltatory conduction -ความเร็วในการเคลื่อนของaction potential ไปตาม axon จะขึนอยู่กับความกว้ าง ้ ของ axon ยิ่งกว้ างยิ่งเคลื่อนได้ เร็ว -แต่ ในพวก myelinated axon ถึงแม้ จะมีขนาดเล็กแต่ action potential ก็เคลื่อนได้ เร็ว -ใน myelinated axon การเกิด action potential จะเกิดระหว่ าง node of Ranvier หนึ่ง ไปยังอีก node หนึ่ง เพราะการเคลื่อนที่ของ Na+ และ K+ เข้ า-ออกจากเซลล์ เกิดได้ เฉพาะบริเวณ node of Ranvier เท่ านัน ลักษณะนีเ้ รี ยก saltatory conduction ้
  • 25. Electrical synapse -บริเวณ presynatic membrane และ postsynaptic membrane เชื่อมต่ อกันด้ วย gap junction ดังนัน ion current จากaction potential จึงสามารถเคลื่อนจากเซลล์ ้ ประสาทหนึ่งไปยังอีกเซลล์ หนึ่งได้ โดยตรง Presynaptic membrane Postsynaptic membrane
  • 26. Chemical synapse 1.action potential ที่ synaptic terminal ทาให้ เกิด Ca+ influx 2.synaptic vesicle รวมกับเยื่อเซลล์ 3.หลั่ งneurotransmitter สู่ synaptic cleft และเคลื่อนไปจับกับ ตัวรับที่ postsynatic membrane 4.การจับทาให้ ion channel (เช่ น Na+) เปิ ด, Na+ เคลื่อนเข้ าใน เซลล์ เกิด depolarization
  • 27. The organization of neurons into systems The simple circuits: nerve nets -สัตว์ พวกแรกที่เริ่มมีระบบประสาทที่ แท้ จริงคือ cnidarians เรี ยก nerve net -ในดาวทะเล ระบบประสาทจะ ซับซ้ อนขึน โดยจะมี nerve ring เชื่อม ้ กับ radial nerve ที่เชื่อมอยู่กับ nerve net ในแต่ ละแขนของดาวทะเลอีกที หนึ่ง
  • 28. Complex circuits -สิ่ งมีชีวตตังแต่ พวกหนอนตัวแบนเป็ นต้ นไป จะมีการรวมกันของเซลล์ ประสาท ิ ้ (ganglion) ที่บริเวณหัว เรี ยก cephalization -พลานาเรี ยจะมีการเรี ยงตัวของเส้ นประสาทบริเวณด้ านข้ างลาตัวทัง 2 ข้ างและจะมี ้ เส้ นประสาทเชื่อม เรี ยก transverse nerve -ตังแต่ พวกหนอนตัวกลมขึนไป จะมีการเรี ยงตัวของเส้ นประสาทอยู่ทางด้ านท้ อง ้ ้ เรี ยก ventral nerve cord -ในแมลงมีการรวมกันของเซลล์ ประสาท เรี ยก glangion ในแต่ ละข้ อปล้ องของลาตัว
  • 29. -ในสัตว์ มีกระดูกสันหลัง จะมี dorsal hollow nerve cord มาแทนที่ ventral nerve cord และไม่ มี segmental ganglia
  • 30. ระบบประสาทในสัตว์ มีกระดูกสันหลัง ระบบประสาทแบ่ งเป็ น 1.ระบบประสาทส่ วนกลาง (Central nervous system; CNS): สมองและไขสันหลัง ทาหน้ าที่ รวบรวมและแปลผลข้ อมูล 2.ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral nervous system; PNS): เส้ นประสาทสมอง(cranial nerve) เส้ นประสาทไขสันหลัง(spinal nerve) และปมประสาท (ganglia) ทาหน้ าที่นาสัญญาณประสาท เข้ า-ออก CNS และควบคุมการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้ อม ภายในร่ างกาย
  • 31. Peripheral Nervous System -ในสัตว์ เลียงลูกด้ วยนมมี cranial nerve ้ 12 คู่ spinal nerve 31 คู่ -cranial nerve ส่ วนใหญ่ & spinal nerve ทังหมด ประกอบด้ วย sensory & motor ้ neuron ยกเว้ น olfactory & optic nerve เป็ นเฉพาะ sensory nerve -sensory division ประกอบด้ วย sensory neuron นาคาสั่งจาก sensory receptor ไปยัง CNS -motor division ประกอบด้ วย motor neuron นา คาสั่งจาก CNS ไปยัง effector cells -SNS นาคาสั่งไปยัง skeletal muscle เพื่อตอบสนองต่ อ external stimuli -ANS นาคาสั่งไปยัง smooth & cardiac muscle เพื่อตอบสนองต่ อ external stimuli
  • 32. การทางานของระบบประสาท จะประสานงานกัน 3 ส่ วน 1.ส่ วนที่รับสัญญาณเข้ า (sensory input) จาก sensory receptor 2.ส่ วนที่รวบรวมและแปลผล (integration center): CNS PNS 3.ส่ วนที่ส่งสัญญาณออก (motor output) ไปยัง effector cells
  • 33. Parasympathetic and sympathetic nervous system -parasympathetic และ sympathetic มักจะทางาน ตรงข้ ามกัน (antagonist) -sym มักจะกระตุ้นการ ทางานของอวัยวะที่ทาให้ เกิด การตื่นตัวและก่ อให้ เกิด พลังงาน ในขณะที่ parasym จะเกิดตรงกันข้ าม -sympathetic neuron มักจะหลั่ง norepinephrine -parasympathetic neuron มักจะหลั่ง acetylcholine postganglionic ganglion preganglionic ganglion, Ach
  • 37. The Limbic System The limbic system generates the feeling; emotion and memory
  • 38. Sense Organs (อวัยวะรับสัมผัส) -Sensation: การเคลื่อนของ action potential ผ่ าน sensory neuron ไปยังสมอง -Perception: การรวบรวมและแปลผล sensation ที่สมองได้ รับ แบ่ ง sensory receptor ตามการรั บสิ่งเร้ าได้ เป็ น 2 กลุ่ม คือ 1.Exteroreceptor: รั บสิ่งเร้ าจากภายนอกร่ างกาย เช่ น ความร้ อน, แสง, ความดัน, สารเคมี 2.Interoreceptor: รั บสิ่งเร้ าจากภายในร่ างกาย เช่ น blood pressure, body position แบ่ ง sensory receptor ตามชนิดของสิ่งเร้ าได้ เป็ น 5 ชนิด คือ 1.Mechanoreceptor: สิ่งเร้ าเป็ นแรงกล เช่ น แรงดัน, การสัมผัส, การเคลื่อนไหว, เสียง 2.Chemoreceptor: สิ่งเร้ าเป็ นสารเคมี เช่ น กลูโคส, O2, CO2, กรดอะมิโน -Gustatory (taste) receptor และ Olfactory (smell) receptor 3.Electromegnetic receptor (Photoreceptor): สิ่งเร้ าเป็ นพลังงานแม่ เหล็กไฟฟา เช่ น ้ แสง (visible light), กระแสไฟฟา, สนามแม่ เหล็ก ้ 4.Thermoreceptor: สิ่งเร้ าเป็ นอุณหภูมิ เช่ นความร้ อน, ความเย็น 5.Pain receptor (nociceptors): สิ่งเร้ า เช่ น excess heat, pressure หรือสารเคมีบางชนิดที่ หลั่งจากบาดแผลหรือเนือเยื่อที่ตดเชือ ้ ิ ้
  • 39. ผิวหนัง(Skin): การับสัมผัส Meissner’s Krouse’s corpuscle end bulb Ruffini’s -สิ่ งเร้ าที่เป็ นแรงกลจะทาให้ เกิดการโค้ ง corpuscle งอหรื อบิดเบียวของเยื่อเซลล์ ของ ้ mechanoreceptor จะทาให้ permeability ต่ อ Na+ และ K+ เปลี่ยนไป และทาให้ เกิด depolarization -mechanoreceptor เป็ น modified dendrite ของ sensory neuron Pacinian corpuscle
  • 40. ลิน(Tongue): การรับรส ้ -บนลินของคนมีต่ ุมลิน(taste bud)ประมาณ 10,000 อัน ฝั งตัวอยู่ในปุ่ มลิน (papilla) ้ ้ ้ -แต่ ละ taste bud จะมี taste (gustatory) receptor cell ซึ่งเป็ น modified epithelial cell อยู่ การรั บรส มีขันตอนดังนี ้ ้ 1.โมเลกุลของสารเช่ นนาตาล จับกับtaste receptor ้ 2.มีการส่ งสัญญาณผ่ าน signal-transduction pathway 3.K+ channel ปิ ด Na+channel เปิ ด 4.Na+ แพร่ เข้ าสู่เซลล์ เกิด depolarization 5.กระตุ้ นการนา Ca+ เข้ าสู่เซลล์ 6.receptor cell หลั่ง neurotransmitter ที่ไปกระตุ้น sensory neuron ต่ อไป
  • 41. ตา(Eye): การมองเห็น -Eye cup ของพลานาเรี ยจะรั บข้ อมูล เกี่ยวกับความเข้ มของแสง และทิศทาง แสง โดยไม่ เกิดเป็ นภาพ -สมองจะแปลสัญญาณประสาทที่มาจาก eye cup ทังสองข้ าง ้ -พลานาเรี ยจะเคลื่อนที่จนกระทั่ง sensation จาก eye cup ทัง 2 ข้ างเท่ ากัน ้ และมีค่าน้ อยที่สุด -ในแมลงตาเป็ นแบบ compound eye -ใน compound eye แต่ ละข้ างมี ommatidia (light detector) หลายพันอัน -แต่ ละ ommatidium จะรั บภาพได้ เอง ดังนันตาแมลงสามารถแยกแยะภาพได้ ้ ถึง 330 ครั ง/วินาที ้
  • 42. Single lens eyes ในคน white outer layer of connective tissue thin, pigmented layer contain photoreceptor cell give the eye its color clear, watery liquid lens transparent protein jelly-like the information of photoreceptor leaves the eye, Photoreceptor cells: Rod cell and Cone cell the optic nerve attached to the eyes
  • 43. การมองภาพระยะใกล้ และไกล a.การมองภาพระยะใกล้ (accommodation) ciliary muscle หดตัว suspensory ligament หย่ อน เลนส์ หนาขึนและกลมขึน ้ ้ b.การมองภาพระยะไกล ciliary muscle คลายตัว suspensory ligament ตึง เลนส์ ถกดึงทาให้ แบน ู
  • 44. Photoreceptors of the retina -photoreceptors มี 2 ชนิด 1.Rod cells มี ประมาณ 125 ล้ านเซลล์ -ไวแสง แต่ ไม่ สามารถแยกสีได้ 2.Cone cells มีประมาณ 6 ล้ านเซลล์ -ไม่ ไวแสง แต่ สามารถแยกสีได้ แบ่ งเป็ น red cone, green cone, blue cone -fovea เป็ นบริเวณที่มีแต่ cone cells ไม่ มี rod cell
  • 45. From light reception to receptor potential -Rhodopsin (retinal + opsin) เป็ นเม็ดสีในการมองเห็น (visual pigment) ของ rods -แสงจะกระตุ้ น rhodopsin ให้ เกิด signal-transduction pathway. 1.แสงกระตุ้ นการเปลี่ยนรู ปของ retinal ทาให้ หลุดจาก opsin 2.active opsin กระตุ้น G protein transducin 3.transducin กระตุ้นphosphodiesterase (PDE) 4.cGMPถูก hydrolze เป็ น GMP หลุดออกจาก Na+ channel 5.Na+ channel ปิ ด เยื่อเซลล์ เกิด hyperpolarization การหลั่ง neurotransmitter ลดลง
  • 46. The Vertebrate Retina ขันตอนการเกิดภาพมีดังนี ้ ้ 1.หลังจากแสงมากระตุ้น rods&cones เกิด action potential 2.rods&cones synapse กับ bipolar cells 3.bipolar cells synapse กับ ganglion cells 4.ganglion cells ส่ ง visual sensation (action potential)ไปยังสมอง 5.การถ่ ายทอดข้ อมูลระหว่ าง rods&cones, bipolar cells, ganglion cells ไม่ ได้ เป็ นแบบ one-to-one 6.horizontal&amacrine cells ทาหน้ าที่ integrate signal
  • 47. Neural Pathways for Vision -สมองด้ านขวารั บ sensory information จาก วัตถุท่ ีอยู่ทางด้ านซ้ าย (left visual field, blue) -สมองด้ านซ้ ายรั บ sensory information จาก วัตถุท่ ีอยู่ทางด้ านขวา (right visual field, red) -optic nerve จากตาทังสองข้ างจะมาพบกันที่ ้ optic chiasma -optic nerve จะเข้ าสู่ lateral geniculate nuclei ของ thalamus -ส่ ง sensation ไปยัง primary visual cortex ใน occipital lobe ของ cerebrum
  • 48. หู(Ear): การได้ ยนและการทรงตัว ิ temperal bone (equilibrium) (hearing) การโค้ งงอของ hair cell ทาให้ (endolymph fluid) เกิด action potential perilymph fluid
  • 50. การจาแนกเสียงสูงต่าของ cochlea -ความดัง(volume)ของเสียงกาหนดโดย amplitude -ความสูงต่า(pitch)ของเสียงกาหนดโดย frequency -ในคนปกติหูสามารถฟั งเสียงที่ 20-20,000 Hz, สุนัข <40,000 Hz -basilar fiber ที่ตาแหน่ งต่ าง ๆ ของ basilar membrane มีความกว้ างต่ างกัน, แต่ ละบริเวณ ของ basilar membrane จึงจาเพาะต่ อแรงสั่นที่ ความถี่ต่างกัน, ส่ ง sensation ไปที่ cerebral cortex ตาแหน่ งต่ างกัน
  • 51. การทรงตัว -utricle, saccule และ semicircular canals ในหูชันใน รั บรู้ เกี่ยว ้ กับการทรงตัวและตาแหน่ งของร่ างกาย โดยมี hair cell อยู่ข้างใน -utricle&sacculeส่ งสัญญาณให้ สมองรั บรู้ ว่าทิศใดเป็ นด้ านบนและ ร่ างกายอยู่ในท่ าได้ -semicircular canals รั บรู้ เกี่ยวกับทิศทางทัง 3 ระนาบ โดยบริเวณ ้ โคนท่ อมีการบวมเป็ นกระเปาะเรี ยก ampulla -ในampullaมี gelatinous cap เรี ยก cupula ที่มี hair cell อยู่
  • 52. การทรงตัวในปลา -หูส่วนในของปลาทาหน้ าที่เกี่ยวกับการทรงตัว เท่ านัน (มีเฉพาะ saccule, utricle, semicircular ้ canals) -หูปลาไม่ มี ear drum และไม่ เปิ ดออกสู่ ภายนอก -การสั่ นของนา(คลื่น)จะถูกส่ งผ่ านทางกระดูกที่ ้ หัว เข้ าสู่หูส่วนใน -ปลามี lateral line system รั บรู้ low-frequency wave ทาหน้ าที่คล้ ายหูส่วนในของคน ทาให้ รั บรู้ การเคลื่อนไหวผ่ านนา, เหยื่อ และผู้ล่า ้ -มี neuromast (receptor unit) ทาหน้ าที่คล้ าย ampulla ใน semicircular canal
  • 53. จมูก(Nose): การได้ กลิ่น -olfactory receptor cell เป็ น neuron มาทาหน้ าที่โดยตรง -ส่ วนปลายของเซลล์ ย่ นออกมาเป็ น cilia สู่ mucus ื -สารเคมีมาจับกับ receptor ที่เยื่อเซลล์ ของ cilia -เกิด signal-transduction pathway, depolarization, action potential สู่สมอง