SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
คณะนิติศาสตร,

                                           น.๖๘๑
                           กฎหมายสิ่งแวดลอมชั้นสูง
                                          ๓ หนวยกิต


                       เคาโครงการศึกษา–ภาค ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๓
                (เฉพาะแปดสัปดาหสุดทาย (๑๒ สิงหาคม-๓๐ กันยายน ๒๕๕๓)




ผูบรรยาย
    ชื่อ:                    ชาคริต สิทธิเวช
    สำนักงาน:                หอง ๔๐๐๖ คณะนิติศาสตร
    โทรศัพท:                ๐๒ ๖๑๓ ๒๙๔๓
    อีเมล:                  schacrit@tu.ac.th
    เว็บไซต:                www.sustainableclasses.net
    เฟสบุค:                 www.facebook.com/schacrit



                                                                       1
ขอตอนรับนักศึกษาสูวิชา น.๖๘๑ กฎหมายสิ่งแวดลอมชั้นสูง ดวยความยินดี
      วิชา น.๖๘๑ กฎหมายสิ่งแวดลอมชั้นสูง เปนวิชาบังคับวิชาหนึ่งของนักศึกษาสาขาวิชากฎหมาย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร1

คำบรรยายรายวิชา
                ศึกษาและวิเคราะหทฤษฎีและหลักกฎหมายตาง ๆ เกี่ยวกับการจัดการ ปองกัน บรรเทา แกไขปญหามลพิษตาง ๆ ไม
        วาจะเปนมลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล ของเสียอันตรายหรือวัตถุอันตราย
        ตลอดจนการศึกษาถึงการเรียกรองคาสินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดจากปญหาดังกลาว นอกจากนี้ยังตองศึกษา
        กฎหมายและหลักเกณฑตาง ๆ ซึ่งเกี่ยวกับการจัดทำรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (environmental audit) การ
        จัดการพื้นที่พิเศษ โดยเฉพาะอยางยิ่ง พื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมและเขตควบคุมมลพิษ มาตรการในการสงเสริมการอนุรักษ
        สิ่งแวดลอม ตลอดจนอำนาจหนาที่ขององคกรและพนักงานเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ง
        แวดลอม2

วัตถุประสงคของการศึกษา
         การศึกษาวิชา น.๖๘๑ มีวัตถุประสงคหลักเจ็ดประการ คือ
         ๑. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการทำความเขาใจและทำความคุนเคยกับทฤษฎีและหลักกฎหมายวา
  ดวยการจัดการ การปองกัน การบรรเทา การแกไขปญหามลพิษ การเรียกรองคาสินไหมทดแทนสำหรับความเสีย
  หายจากมลพิษ การประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอม การจัดการพื้นที่พิเศษ และอำนาจหนาที่ขององคกรและ
  พนักงานเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการดังกลาวขางตน
         ๒. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการศึกษากฎหมายสิ่งแวดลอมเชิงเปรียบเทียบ
         ๓. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการผลิตงานเขียนวิชาการคุณภาพสูง เชน บทความหรือรายงานการ
  ศึกษา
         ๔. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการสื่อสาร การแสดงและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การเสนอผลงาน
  วิชาการ การรวมและการควบคุมการประชุม การอภิปรายหรือการสัมมนาวิชาการ
         ๕. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการศึกษาหรือคนควาขอมูลหรือขาวสารคุณภาพสูง จากแหลงและใน
  รูปแบบตาง ๆ เชน ตำรา หนังสือ บทความ เอกสารประเภทอื่น ๆ หรือขาว ทั้งที่จัดพิมพบนกระดาษและที่เผย
  แพรบนอินเตอรเน็ต
         ๖. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการรวบรวมหรือจัดเก็บขอมูลหรือขาวสารที่ศึกษาหรือคนควาไดตาม
  ๕. อยางเปนระบบ
         ๗.  เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการนำขอมูลหรือขาวสารที่ศึกษาหรือคนควาไดตาม ๕. หรือที่
  รวบรวมหรือจัดเก็บไวตาม ๖. มาใชอยางมีประสิทธิภาพ




1 โปรดดูคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, “หลักสูตรนิติศาสตมหาบัณฑิต: หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๔” ในคูมือการศึกษาหลักสูตรระดับ

บัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. ๒๕๕๐ (เดือนตุลา) หนา ๑๐๒-๑๓๒.
2 อางแลว หนา ๑๒๐.

                                                                                                                                     2
เอกสารประกอบการศึกษา
       ในปจจุบัน ยังไมมีหนังสือหรือตำราวาดวยกฎหมายสิ่งแวดลอมชั้นสูงโดยตรง อยางไรก็ตาม หนังสือและ
เอกสารดังมีรายชื่อตอไปนี้เปนหนังสือและเอกสารที่คอนขางทันสมัย นาจะเปนประโยชนในการศึกษาวิชา น.๖๘๑
       พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), การพัฒนาที่ยั่งยืน พิมพครั้งที่ ๑๑ (มูลนิธิโกมลคีมทอง, ๒๕๕๑).
       อำนาจ วงศบัณฑิต, กฎหมายสิ่งแวดลอม พิมพครั้งที่ ๒ แกไขเพิ่มเติม (วิญูชน, ๒๕๕๐).
       อุดมศักดิ์ สินธิพงศ, กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม พิมพครั้งที่ ๒ แกไขเพิ่มเติม (วิญูชน, ๒๕๔๙).
       กอบกุล รายะนคร, กฎหมายกับสิ่งแวดลอม (วิญูชน, ๒๕๕๐).
       ฉัตรไชย รัตนไชย, การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑).
       จุมพต สายสุนทร, กฎหมายสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ พิมพครั้งที่ ๒ ปรับปรุงใหม (วิญูชน, ๒๕๕๐).
       Susan Baker, Sustainable development (Routledge, 2006).
       BC Smith, Good governance and development (Palgrave Macmillan, 2007).
       Benjamin J Richardson and Stepan Wood, Environmental law for sustainability (Hart, 2006).
       Marie-Claire Cordonier Segger and Ashfaq Khalfan, Sustainable development law: principles, practices, &
             prospects (Oxford, 2004).
       Rumu Sarkar, International Nicolas de Sadeleer, Environmental principles: from political slogans to legal
             rules (Oxford, 2002).
       Mark Stallworthy, Understanding environmental law (Sweet & Maxwell, 2008).
       David Wilkinson, Environment and law (Routledge, 2002).
       Tim Hayward, Constitutional environmental rights (Oxford, 2005).
       Richard P Hiskes, The human rights to a green future: environmental rights and intergenerational justice
             (Cambridge, 2009).
       นักศึกษาสามารถดูหรือยืมหนังสือเหลานี้ไดจากหองสมุดสัญญา ธรรมศักดิ์หรือหองสมุดปวย อึ๊งภากรณ
       นอกจากนั้น นักศึกษายังสามารถคนควา พิมพหรือดาวนโหลดบทความเกี่ยวกับกฎหมายทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอมไดจาก HeinOnline  ซึ่งจัดวาเปนฐานขอมูลวารสารกฎหมายที่ดีที่สุดแหงหนึ่งของโลก ซึ่งนักศึกษา
สามารถใชบริการของ HeilOnline ไดจาก “รายการฐานขอมูลดานกฎหมาย” ของหองสมุดสัญญา ธรรมศักดิ์ ใน
ขณะที่นักศึกษาอยูในระบบเครือขายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เว็บไซตและเฟสบุค
       เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษาและเพื่อเพิ่มทักษะการใชสื่ออิเล็กทรอนิกสใหเปนประโยชนแกการศึกษาของ
นักศึกษา รวมทั้งการประกอบอาชีพของนักศึกษา ผูบรรยายไดจัดทำเว็บไซตสำหรับวิชา น.๖๘๑ ขึ้นที่
www.sustainableclasses.net ทั้งนี้ ผูบรรยายจักใชเว็บไซตแหงนี้ประกอบกับเฟสบุคที่ www.facebook.com/schacrit
เผยแพรขอมูลและขาวสารที่เปนประโยชนในการศึกษาวิชานี้แกนักศึกษาตลอดภาคการศึกษา ดังนั้น ผูบรรยายขอ
เชิญชวนใหนักศึกษาใชทั้งเว็บไซตและเฟสบุคดังกลาวมานี้เปนศูนยกลางในการติดตอสื่อสารและแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นหรือขอมูลกับผูบรรยายหรือระหวางนักศึกษาดวยกันเอง




                                                                                                               3
สไลด
       กอนการบรรยายแตละครั้ง ผูบรรยายจะอัปโหลดสไลดประกอบการบรรยายครั้งนั้น ๆ ไวที่เว็บไซตแหงนี้
       เพื่อประโยชนแกการรวมการบรรยายของนักศึกษา ผูบรรยายขอแนะนำใหนักศึกษาศึกษาสไลดดังกลาว
ประกอบกับเอกสารประกอบการศึกษาที่ผูบรรยายไดแนะนำไวใน "เอกสารประกอบการศึกษา" ดังกลาวขางตน
หรือที่ผูบรรยายจักไดแจกจายหรือแจงใหนักศึกษาทราบเพิ่มเติม กอนรวมการบรรยายแตละครั้ง
       นอกจากนั้น นักศึกษายังสามารถใชสไลดเหลานี้ทบทวนความรูหรือความเขาใจไดอีกดวย

วิดีโอ
      เพื่อประโยชนในการศึกษาดวยตนเองของนักศึกษา เมื่อโอกาสอำนวย ผูบรรยายจะบันทึกวิดีโอการบรรยาย
แตละครั้งไวและจะอัปโหลดวิดีโอดังกลาวไวที่เว็บไซตแหงนี้ภายในหนึ่งสัปดาหนับแตการบรรยายครั้งนั้น ๆ
      เชนเดียวกับสไลด นักศึกษาสามารถใชวิดีโอเหลานี้ทบทวนความรูหรือความเขาใจไดอีกดวย

กำหนดการศึกษา
   การศึกษาวิชา น.๖๘๑ จัดขึ้นทุกวันพฤหัสบดี ระหวางเวลา ๑๗.๓๐ น. และเวลา ๒๐.๓๐ น. ณ หอง ๓๑๓
   การศึกษามีทั้งสิ้น ๑๖ ครั้ง เริ่มตั้งแตวันพฤหัสบดีที่ ๑๗ มิถุนายน จนถึงวันพฤหัสบดีที่ ๓๐ กันยายน
๒๕๕๓ อยางไรก็ตาม ผูบรรยายรับผิดชอบการศึกษาเฉพาะแปดครั้งหลังเทานั้น
   รายละเอียดการศึกษาแตละครั้งเฉพาะที่อยูในความรับผิดชอบของผูบรรยาย มีดังนี้
 ครั้งที่     วันที่                                   เรื่อง                                  หมายเหตุ
         ๑   ๑๒ ส.ค.                               ไมมีการศึกษา                             วันหยุดราชการ
      ๒      ๑๙ ส.ค.   • เคาโครงการศึกษา
                       • Sustainable Classes
       ๓     ๒๖ ส.ค.   การพัฒนาที่ยั่งยืน
       ๔     ๒ ก.ย.    กฎหมายกับทฤษฎีและหลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อ
                       การพัฒนาที่ยั่งยืน
      ๕       ๙ ก.ย.   บทบาทของรัฐในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนา
                       ที่ยั่งยืน
         ๖   ๑๖ ก.ย.   บทบาทของพลเมืองในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อการ
                       พัฒนาที่ยั่งยืน
      ๗      ๒๓ ก.ย.   บทบาทของธุรกิจและอุตสาหกรรมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
                       แวดลอมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
       ๘     ๓๐ ก.ย.   สรุปและประเมินผลการศึกษา




                                                                                                             4
การใหคำปรึกษา
      นักศึกษาวิชา น.๖๘๑ ที่ตองการคำปรึกษาจากผูบรรยาย นอกเหนือไปจากการรวมการศึกษาตามกำหนดการ
ศึกษาดังกลาวขางตน สามารถพบผูบรรยายตลอดภาคการศึกษานี้ไดที่หอง ๔๐๐๖ คณะนิติศาสตร ทุกวันพฤหัสบดี
ระหวางเวลา ๙.๐๐ น. และเวลา ๑๒.๐๐ น. นอกจากนั้น นักศึกษายังสามารถติดตอผูบรรยายทางโทรศัพทไดที่ ๐๒
๖๑๓ ๒๙๔๓ หรือทางอีเมลที่ schacrit@tu.ac.th หรือทางเฟสบุคที่ www.facebook.com/schacrit หรือที่เว็บไซต
Sustainable Classes (www.sustainableclasses.net)

การวัดผลการศึกษา
       การวัดผลการศึกษาวิชา น.๖๘๑ ในสวนที่ผูบรรยายรับผิดชอบ มีน้ำหนักทั้งสิ้นรอยละ ๕๐ ของคะแนน
ทั้งหมด ประกอบดวย
       ๑. การมีสวนรวมของนักศึกษาในการศึกษา มีน้ำหนักรอยละ ๑๖ (สิบหก) และ
       ๒. การสอบปลายภาค มีน้ำหนักรอยละ ๓๔ (สามสิบสี่)
       ในการวัดผลการมีสวนรวมของนักศึกษาในการศึกษาตาม ๑. ผูบรรยายพิจารณาจากความพรอมของนักศึกษา
ในการศึกษา เชน เขาศึกษาลาชาเปนประจำหรือไม คุณภาพของการเตรียมตนเองเพื่อการเขาศึกษา รวมทั้งคุณภาพ
และปริมาณในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือการทำกิจกรรมในการศึกษาเปนอยางไร
       สำหรับการสอบปลายภาคตาม ๒. ซึ่งมีขึ้นในวันอาทิตยที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๓ นั้น เปนการสอบขอเขียนนอก
หองเรียน จำนวนหนึ่งขอ ทั้งนี้ นักศึกษาตองสงคำตอบที่หองธุรการบัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร ภายในเวลา
๑๖.๓๐ น. ของวันจันทรที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๓




                                                                                                          5

Contenu connexe

En vedette

Week 9 class (17 august 2010) slideshow
Week 9 class (17 august 2010) slideshowWeek 9 class (17 august 2010) slideshow
Week 9 class (17 august 2010) slideshowChacrit Sitdhiwej
 
2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow
2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow
2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshowChacrit Sitdhiwej
 
บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
Upload Images From Your Camera Into Your My Space
Upload Images From Your Camera Into Your My SpaceUpload Images From Your Camera Into Your My Space
Upload Images From Your Camera Into Your My Spacefaceise
 
2553 lx002 week 5 class (13 july 2010) slideshow
2553 lx002 week 5 class (13 july 2010) slideshow2553 lx002 week 5 class (13 july 2010) slideshow
2553 lx002 week 5 class (13 july 2010) slideshowChacrit Sitdhiwej
 
2553 lx002 week 14 class (21 september 2010) slideshow
2553 lx002 week 14 class (21 september 2010) slideshow2553 lx002 week 14 class (21 september 2010) slideshow
2553 lx002 week 14 class (21 september 2010) slideshowChacrit Sitdhiwej
 
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
Week 8 class (10 august 2010) slideshow
Week 8 class (10 august 2010) slideshowWeek 8 class (10 august 2010) slideshow
Week 8 class (10 august 2010) slideshowChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)Chacrit Sitdhiwej
 

En vedette (19)

Week 9 class (17 august 2010) slideshow
Week 9 class (17 august 2010) slideshowWeek 9 class (17 august 2010) slideshow
Week 9 class (17 august 2010) slideshow
 
2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow
2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow
2553 la260 class 10 (6 september 2010) slideshow
 
Interpersonal writing collaboration v3
Interpersonal writing collaboration v3Interpersonal writing collaboration v3
Interpersonal writing collaboration v3
 
13r.05.1 sortir
13r.05.1 sortir13r.05.1 sortir
13r.05.1 sortir
 
No.7
No.7No.7
No.7
 
บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 
Upload Images From Your Camera Into Your My Space
Upload Images From Your Camera Into Your My SpaceUpload Images From Your Camera Into Your My Space
Upload Images From Your Camera Into Your My Space
 
01.00.1 who am i
01.00.1 who am i01.00.1 who am i
01.00.1 who am i
 
12 l.05.1 sortir
12 l.05.1 sortir12 l.05.1 sortir
12 l.05.1 sortir
 
10.05.1 faire
10.05.1 faire10.05.1 faire
10.05.1 faire
 
2553 lx002 week 5 class (13 july 2010) slideshow
2553 lx002 week 5 class (13 july 2010) slideshow2553 lx002 week 5 class (13 july 2010) slideshow
2553 lx002 week 5 class (13 july 2010) slideshow
 
2553 lx002 week 14 class (21 september 2010) slideshow
2553 lx002 week 14 class (21 september 2010) slideshow2553 lx002 week 14 class (21 september 2010) slideshow
2553 lx002 week 14 class (21 september 2010) slideshow
 
14.04.1 en ville
14.04.1 en ville14.04.1 en ville
14.04.1 en ville
 
A2.i.01 le mariage de figaro contextes
A2.i.01 le mariage de figaro contextesA2.i.01 le mariage de figaro contextes
A2.i.01 le mariage de figaro contextes
 
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
Week 8 class (10 august 2010) slideshow
Week 8 class (10 august 2010) slideshowWeek 8 class (10 august 2010) slideshow
Week 8 class (10 august 2010) slideshow
 
01.00.1 who am i
01.00.1 who am i01.00.1 who am i
01.00.1 who am i
 
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
ความรับผิิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๒)
 

Plus de Chacrit Sitdhiwej

ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมากหลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมากChacrit Sitdhiwej
 
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเองแนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเองChacrit Sitdhiwej
 
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
หมวดหมู่ของกฎหมาย
หมวดหมู่ของกฎหมายหมวดหมู่ของกฎหมาย
หมวดหมู่ของกฎหมายChacrit Sitdhiwej
 
การทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมการทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมChacrit Sitdhiwej
 
environmental impact assessment (EIA) (2)
environmental impact assessment (EIA) (2)environmental impact assessment (EIA) (2)
environmental impact assessment (EIA) (2)Chacrit Sitdhiwej
 
environmental impact assessment (EIA) (1)
environmental impact assessment (EIA) (1)environmental impact assessment (EIA) (1)
environmental impact assessment (EIA) (1)Chacrit Sitdhiwej
 
environmental assessment (EA)
environmental assessment (EA)environmental assessment (EA)
environmental assessment (EA)Chacrit Sitdhiwej
 
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์Chacrit Sitdhiwej
 
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทยบ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทยChacrit Sitdhiwej
 
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิดสังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิดChacrit Sitdhiwej
 
การหาหัวข้อวิจัย
การหาหัวข้อวิจัยการหาหัวข้อวิจัย
การหาหัวข้อวิจัยChacrit Sitdhiwej
 

Plus de Chacrit Sitdhiwej (20)

ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางปกครองเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
 
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมากหลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
หลักการระดับปรมัตถสัจจะมิใช่เรื่องของเสียงข้างมาก
 
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
ความรัับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ (๑)
 
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิิิดทางละเมิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
 
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลอื่น (๑)
 
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเองแนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
แนวทางการศึกษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับละเมิด ความรับผิดเพื่อละเมิดของตนเอง
 
The public face
The public faceThe public face
The public face
 
the many faces
the many facesthe many faces
the many faces
 
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 
หมวดหมู่ของกฎหมาย
หมวดหมู่ของกฎหมายหมวดหมู่ของกฎหมาย
หมวดหมู่ของกฎหมาย
 
การทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรมการทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนวรรณกรรม
 
environmental impact assessment (EIA) (2)
environmental impact assessment (EIA) (2)environmental impact assessment (EIA) (2)
environmental impact assessment (EIA) (2)
 
environmental impact assessment (EIA) (1)
environmental impact assessment (EIA) (1)environmental impact assessment (EIA) (1)
environmental impact assessment (EIA) (1)
 
environmental assessment (EA)
environmental assessment (EA)environmental assessment (EA)
environmental assessment (EA)
 
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์
 
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทยบ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
บ่อเกิดกฎหมายลาลักษณ์อักษรของไทย
 
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิดสังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
 
การหาหัวข้อวิจัย
การหาหัวข้อวิจัยการหาหัวข้อวิจัย
การหาหัวข้อวิจัย
 

2553 la681 course outline

  • 1. คณะนิติศาสตร, น.๖๘๑ กฎหมายสิ่งแวดลอมชั้นสูง ๓ หนวยกิต เคาโครงการศึกษา–ภาค ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๓ (เฉพาะแปดสัปดาหสุดทาย (๑๒ สิงหาคม-๓๐ กันยายน ๒๕๕๓) ผูบรรยาย ชื่อ: ชาคริต สิทธิเวช สำนักงาน: หอง ๔๐๐๖ คณะนิติศาสตร โทรศัพท: ๐๒ ๖๑๓ ๒๙๔๓ อีเมล: schacrit@tu.ac.th เว็บไซต: www.sustainableclasses.net เฟสบุค: www.facebook.com/schacrit 1
  • 2. ขอตอนรับนักศึกษาสูวิชา น.๖๘๑ กฎหมายสิ่งแวดลอมชั้นสูง ดวยความยินดี วิชา น.๖๘๑ กฎหมายสิ่งแวดลอมชั้นสูง เปนวิชาบังคับวิชาหนึ่งของนักศึกษาสาขาวิชากฎหมาย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร1 คำบรรยายรายวิชา ศึกษาและวิเคราะหทฤษฎีและหลักกฎหมายตาง ๆ เกี่ยวกับการจัดการ ปองกัน บรรเทา แกไขปญหามลพิษตาง ๆ ไม วาจะเปนมลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ เสียง ความสั่นสะเทือน ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล ของเสียอันตรายหรือวัตถุอันตราย ตลอดจนการศึกษาถึงการเรียกรองคาสินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดจากปญหาดังกลาว นอกจากนี้ยังตองศึกษา กฎหมายและหลักเกณฑตาง ๆ ซึ่งเกี่ยวกับการจัดทำรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (environmental audit) การ จัดการพื้นที่พิเศษ โดยเฉพาะอยางยิ่ง พื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมและเขตควบคุมมลพิษ มาตรการในการสงเสริมการอนุรักษ สิ่งแวดลอม ตลอดจนอำนาจหนาที่ขององคกรและพนักงานเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ง แวดลอม2 วัตถุประสงคของการศึกษา การศึกษาวิชา น.๖๘๑ มีวัตถุประสงคหลักเจ็ดประการ คือ ๑. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการทำความเขาใจและทำความคุนเคยกับทฤษฎีและหลักกฎหมายวา ดวยการจัดการ การปองกัน การบรรเทา การแกไขปญหามลพิษ การเรียกรองคาสินไหมทดแทนสำหรับความเสีย หายจากมลพิษ การประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอม การจัดการพื้นที่พิเศษ และอำนาจหนาที่ขององคกรและ พนักงานเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการดังกลาวขางตน ๒. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการศึกษากฎหมายสิ่งแวดลอมเชิงเปรียบเทียบ ๓. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการผลิตงานเขียนวิชาการคุณภาพสูง เชน บทความหรือรายงานการ ศึกษา ๔. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการสื่อสาร การแสดงและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การเสนอผลงาน วิชาการ การรวมและการควบคุมการประชุม การอภิปรายหรือการสัมมนาวิชาการ ๕. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการศึกษาหรือคนควาขอมูลหรือขาวสารคุณภาพสูง จากแหลงและใน รูปแบบตาง ๆ เชน ตำรา หนังสือ บทความ เอกสารประเภทอื่น ๆ หรือขาว ทั้งที่จัดพิมพบนกระดาษและที่เผย แพรบนอินเตอรเน็ต ๖. เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการรวบรวมหรือจัดเก็บขอมูลหรือขาวสารที่ศึกษาหรือคนควาไดตาม ๕. อยางเปนระบบ ๗.  เพิ่มพูนศักยภาพของนักศึกษาในการนำขอมูลหรือขาวสารที่ศึกษาหรือคนควาไดตาม ๕. หรือที่ รวบรวมหรือจัดเก็บไวตาม ๖. มาใชอยางมีประสิทธิภาพ 1 โปรดดูคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, “หลักสูตรนิติศาสตมหาบัณฑิต: หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๔” ในคูมือการศึกษาหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พ.ศ. ๒๕๕๐ (เดือนตุลา) หนา ๑๐๒-๑๓๒. 2 อางแลว หนา ๑๒๐. 2
  • 3. เอกสารประกอบการศึกษา ในปจจุบัน ยังไมมีหนังสือหรือตำราวาดวยกฎหมายสิ่งแวดลอมชั้นสูงโดยตรง อยางไรก็ตาม หนังสือและ เอกสารดังมีรายชื่อตอไปนี้เปนหนังสือและเอกสารที่คอนขางทันสมัย นาจะเปนประโยชนในการศึกษาวิชา น.๖๘๑ พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), การพัฒนาที่ยั่งยืน พิมพครั้งที่ ๑๑ (มูลนิธิโกมลคีมทอง, ๒๕๕๑). อำนาจ วงศบัณฑิต, กฎหมายสิ่งแวดลอม พิมพครั้งที่ ๒ แกไขเพิ่มเติม (วิญูชน, ๒๕๕๐). อุดมศักดิ์ สินธิพงศ, กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม พิมพครั้งที่ ๒ แกไขเพิ่มเติม (วิญูชน, ๒๕๔๙). กอบกุล รายะนคร, กฎหมายกับสิ่งแวดลอม (วิญูชน, ๒๕๕๐). ฉัตรไชย รัตนไชย, การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑). จุมพต สายสุนทร, กฎหมายสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ พิมพครั้งที่ ๒ ปรับปรุงใหม (วิญูชน, ๒๕๕๐). Susan Baker, Sustainable development (Routledge, 2006). BC Smith, Good governance and development (Palgrave Macmillan, 2007). Benjamin J Richardson and Stepan Wood, Environmental law for sustainability (Hart, 2006). Marie-Claire Cordonier Segger and Ashfaq Khalfan, Sustainable development law: principles, practices, & prospects (Oxford, 2004). Rumu Sarkar, International Nicolas de Sadeleer, Environmental principles: from political slogans to legal rules (Oxford, 2002). Mark Stallworthy, Understanding environmental law (Sweet & Maxwell, 2008). David Wilkinson, Environment and law (Routledge, 2002). Tim Hayward, Constitutional environmental rights (Oxford, 2005). Richard P Hiskes, The human rights to a green future: environmental rights and intergenerational justice (Cambridge, 2009). นักศึกษาสามารถดูหรือยืมหนังสือเหลานี้ไดจากหองสมุดสัญญา ธรรมศักดิ์หรือหองสมุดปวย อึ๊งภากรณ นอกจากนั้น นักศึกษายังสามารถคนควา พิมพหรือดาวนโหลดบทความเกี่ยวกับกฎหมายทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมไดจาก HeinOnline  ซึ่งจัดวาเปนฐานขอมูลวารสารกฎหมายที่ดีที่สุดแหงหนึ่งของโลก ซึ่งนักศึกษา สามารถใชบริการของ HeilOnline ไดจาก “รายการฐานขอมูลดานกฎหมาย” ของหองสมุดสัญญา ธรรมศักดิ์ ใน ขณะที่นักศึกษาอยูในระบบเครือขายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เว็บไซตและเฟสบุค เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษาและเพื่อเพิ่มทักษะการใชสื่ออิเล็กทรอนิกสใหเปนประโยชนแกการศึกษาของ นักศึกษา รวมทั้งการประกอบอาชีพของนักศึกษา ผูบรรยายไดจัดทำเว็บไซตสำหรับวิชา น.๖๘๑ ขึ้นที่ www.sustainableclasses.net ทั้งนี้ ผูบรรยายจักใชเว็บไซตแหงนี้ประกอบกับเฟสบุคที่ www.facebook.com/schacrit เผยแพรขอมูลและขาวสารที่เปนประโยชนในการศึกษาวิชานี้แกนักศึกษาตลอดภาคการศึกษา ดังนั้น ผูบรรยายขอ เชิญชวนใหนักศึกษาใชทั้งเว็บไซตและเฟสบุคดังกลาวมานี้เปนศูนยกลางในการติดตอสื่อสารและแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นหรือขอมูลกับผูบรรยายหรือระหวางนักศึกษาดวยกันเอง 3
  • 4. สไลด กอนการบรรยายแตละครั้ง ผูบรรยายจะอัปโหลดสไลดประกอบการบรรยายครั้งนั้น ๆ ไวที่เว็บไซตแหงนี้ เพื่อประโยชนแกการรวมการบรรยายของนักศึกษา ผูบรรยายขอแนะนำใหนักศึกษาศึกษาสไลดดังกลาว ประกอบกับเอกสารประกอบการศึกษาที่ผูบรรยายไดแนะนำไวใน "เอกสารประกอบการศึกษา" ดังกลาวขางตน หรือที่ผูบรรยายจักไดแจกจายหรือแจงใหนักศึกษาทราบเพิ่มเติม กอนรวมการบรรยายแตละครั้ง นอกจากนั้น นักศึกษายังสามารถใชสไลดเหลานี้ทบทวนความรูหรือความเขาใจไดอีกดวย วิดีโอ เพื่อประโยชนในการศึกษาดวยตนเองของนักศึกษา เมื่อโอกาสอำนวย ผูบรรยายจะบันทึกวิดีโอการบรรยาย แตละครั้งไวและจะอัปโหลดวิดีโอดังกลาวไวที่เว็บไซตแหงนี้ภายในหนึ่งสัปดาหนับแตการบรรยายครั้งนั้น ๆ เชนเดียวกับสไลด นักศึกษาสามารถใชวิดีโอเหลานี้ทบทวนความรูหรือความเขาใจไดอีกดวย กำหนดการศึกษา การศึกษาวิชา น.๖๘๑ จัดขึ้นทุกวันพฤหัสบดี ระหวางเวลา ๑๗.๓๐ น. และเวลา ๒๐.๓๐ น. ณ หอง ๓๑๓ การศึกษามีทั้งสิ้น ๑๖ ครั้ง เริ่มตั้งแตวันพฤหัสบดีที่ ๑๗ มิถุนายน จนถึงวันพฤหัสบดีที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓ อยางไรก็ตาม ผูบรรยายรับผิดชอบการศึกษาเฉพาะแปดครั้งหลังเทานั้น รายละเอียดการศึกษาแตละครั้งเฉพาะที่อยูในความรับผิดชอบของผูบรรยาย มีดังนี้ ครั้งที่ วันที่ เรื่อง หมายเหตุ ๑ ๑๒ ส.ค. ไมมีการศึกษา วันหยุดราชการ ๒ ๑๙ ส.ค. • เคาโครงการศึกษา • Sustainable Classes ๓ ๒๖ ส.ค. การพัฒนาที่ยั่งยืน ๔ ๒ ก.ย. กฎหมายกับทฤษฎีและหลักการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน ๕ ๙ ก.ย. บทบาทของรัฐในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน ๖ ๑๖ ก.ย. บทบาทของพลเมืองในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน ๗ ๒๓ ก.ย. บทบาทของธุรกิจและอุตสาหกรรมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดลอมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ๘ ๓๐ ก.ย. สรุปและประเมินผลการศึกษา 4
  • 5. การใหคำปรึกษา นักศึกษาวิชา น.๖๘๑ ที่ตองการคำปรึกษาจากผูบรรยาย นอกเหนือไปจากการรวมการศึกษาตามกำหนดการ ศึกษาดังกลาวขางตน สามารถพบผูบรรยายตลอดภาคการศึกษานี้ไดที่หอง ๔๐๐๖ คณะนิติศาสตร ทุกวันพฤหัสบดี ระหวางเวลา ๙.๐๐ น. และเวลา ๑๒.๐๐ น. นอกจากนั้น นักศึกษายังสามารถติดตอผูบรรยายทางโทรศัพทไดที่ ๐๒ ๖๑๓ ๒๙๔๓ หรือทางอีเมลที่ schacrit@tu.ac.th หรือทางเฟสบุคที่ www.facebook.com/schacrit หรือที่เว็บไซต Sustainable Classes (www.sustainableclasses.net) การวัดผลการศึกษา การวัดผลการศึกษาวิชา น.๖๘๑ ในสวนที่ผูบรรยายรับผิดชอบ มีน้ำหนักทั้งสิ้นรอยละ ๕๐ ของคะแนน ทั้งหมด ประกอบดวย ๑. การมีสวนรวมของนักศึกษาในการศึกษา มีน้ำหนักรอยละ ๑๖ (สิบหก) และ ๒. การสอบปลายภาค มีน้ำหนักรอยละ ๓๔ (สามสิบสี่) ในการวัดผลการมีสวนรวมของนักศึกษาในการศึกษาตาม ๑. ผูบรรยายพิจารณาจากความพรอมของนักศึกษา ในการศึกษา เชน เขาศึกษาลาชาเปนประจำหรือไม คุณภาพของการเตรียมตนเองเพื่อการเขาศึกษา รวมทั้งคุณภาพ และปริมาณในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือการทำกิจกรรมในการศึกษาเปนอยางไร สำหรับการสอบปลายภาคตาม ๒. ซึ่งมีขึ้นในวันอาทิตยที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๓ นั้น เปนการสอบขอเขียนนอก หองเรียน จำนวนหนึ่งขอ ทั้งนี้ นักศึกษาตองสงคำตอบที่หองธุรการบัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร ภายในเวลา ๑๖.๓๐ น. ของวันจันทรที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ 5