SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
กฎหมาย ประชาธิ ป ไตย
   กั บ ฮาเบอร์ ม ั ส
การอบรมวิ ช าการ “ นิ ต ิ ร ั ฐ กั บ ปรั ช ญา ”
สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย
     ๑๐ – ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕
      จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์

ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์
   จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
     hsoraj@chula.ac.th
โครงร่าง
เบื้องหลังของความคิดของฮาเบอร์มัสใน Between
  Facts and Norms
ภาวะสองขั้วของกฎหมายปัจจุบน
                          ั
ทฤษฎีเหตุผล “หลังอภิปรัชญา”
 (Postmetaphysical theory of reason)
โครงสร้างด้านการสื่อสารของการประสานงานทาง
  สังคม
โครงร่าง
ความจำาเป็นที่จะต้องมี positive law
Rawls กับ Luhmann
กฎหมายที่ชอบธรรมเป็นไปได้อย่างไร
สองขั้วระหว่าง Rousseau กับ Locke (อธิปไตย
 ของปวงชนกับเสรีภาพของปัจเจกบุคคล)
ทางออกของฮาเบอร์มัส
Theory of Communicative Action
โครงร่าง
ปรัชญากฎหมายของฮาเบอร์มัส
Legality (ชอบด้วยกฎหมาย) กับ legitimacy (
 ความชอบธรรมของกฎหมาย)
กฎหมายกับจริยธรรม
Theory of communicative action; discourse
 ethics as foundation for normativity
“สิทธิในการปฏิวัติล้มล้างการปกครอง”
แนวคิดเบืองหลัง
                    ้
ที่มาของความชอบธรรมของกฎหมาย
  วัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อ ระบบอภิปรัชญา
  การปกป้องสิทธิประโยชน์ของปัจเจกชน
  การใช้อำานาจของรัฐ
ความไม่เพียงพอของที่มาทั้งสาม
สำาหรับ H ที่มาที่ถูกต้องของกฎหมายที่ชอบธรรม
  ได้แก่การพิจารณาไตร่ตรองอย่างเสรีของแต่ละ
  คนในชุมชน
ประชาธิปไตยแบบไตร่ตรอง ↔ การปกครองด้วย
 กฎหมาย
H ใช้คำาว่า Rechtsstaat ซึ่งแปลว่า “รัฐที่ปกครอง
 ด้วยกฎหมายสูงสุด” (constitutional state)
ภาวะสองขั้วของกฎหมาย
ขั้วแรก: ความจริงของสังคม → การที่กฎหมาย
   เป็นการใช้อำานาจบังคับของผู้มีอำานาจในรัฐ
ขั้วที่สอง: ความชอบธรรม → กฎหมายจำาเป็นต้อบ
   ได้รับการยอมรับอย่างจริงใจของผู้คน
งานของ H ในหนังสือ Between Facts and
  Norms คือหาทฤษฎีที่จะประสานขั้วทั้งสอง
“หลังอภิปรัชญา”
“...for Habermas a postmetaphysical
   vindication of reason is possible only
   insofar as philosophy—in an
   interdisciplinary cooperation with empirical
   inquiries of various sorts—can show how
   the use of language and social interaction
   in general necessarity rely on notions of
   validity, such as truth, normative rightness,
   sincerity, and authenticity. This
   necessitates not only a philosophical
ความจำ า เป็ น ของ positive law
กฎหมายสมัยใหม่เกิดขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการประสาน
 กันของสังคมที่เกิดจากการสลายตัวของความ
 เชื่อตามประเพณีและความจำาเป็นในการประสาน
 กันของผูคนเพื่อให้แต่ละคนบรรลุเป้าหมายของ
          ้
 ตน
องค์ประกอบสามประการของกฎหมาย: (๑)
 ลักษณะของสังคมสมัยใหม่ (๒) ความแตกต่าง
 ระหว่าง communicative action กับ strategic
 action (๓) การอธิบาย communicative action
Rawls กับ Luhmann

Rawls → social contract, individualism
Luhmann → social system theory,
 autopoiesis
Habermas → integration between the two.
ที่มาของกฎหมาย
Locke – private autonomy; also Kant
Rousseau – public autonomy
Habermas argues for the ‘internal relations’
 between the two.
Discourse Principle – Only those norms are
 valid to which all affected persons could
 agree as participants in rationale
 discourses.
Abstract Rights

In order to ground the Discourse Principle, H
  proposes a set of abstract rights as
  necessary conditions
Basic negative liberties, membership rights,
 due process rights (private autonomy)
Rights to political participation (public
 autonomy)
Social welfare rights
These rights must be enforced by the state.
Tension between state power and legitimate
 law.
Legitimacy comes through public reason,
 i.e., “democratic processes of opinion and
 will formation” in the public sphere.
Law “reperesents … the medium for
 transforming communicative power into
 administrative power.”
ปรัชญากฎหมายของฮาเบอร์มัส
Legality กับ Legitimacy
Kant/Locke/Rawls → emphasis on individuals
 and lack of critical dimension
Legitimacy ได้จาก discourse principle,
 deliberation, democratic process
ปัญหาของการปกครองด้วยกฎหมายในสังคม
               ไทย
พลังของการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
การแสวงหาประโยชน์สวนตนจากกรอบปฏิบัติที่รับ
                  ่
 มาจากภายนอก
  สองมาตรฐาน ฯลฯ
สังคมที่ไม่ได้เกิดความกลมกลืนกันระหว่างกรอบ
  ปฏิบติกับวิถีชวิต
      ั          ี
  ผู้คนแปลกแยกกับกฎหมาย กฎหมายกลายเป็นเครื่อง
     มือแสวงหาผลประโยชน์
ฮาเบอร์มัส
การนำาฮาเบอร์มัสมาใช้จะประกอบด้วยการสร้าง “
 เวทีสาธารณะ” เพื่อให้เกิดการอภิปรายไตร่ตรอง
 กันอย่างกว้างขวางโดยผู้มีส่วนร่วมทั้งหมด เพื่อ
 สร้างเจตจำานงร่วมที่จะพัฒนาเป็นกฎหมายที่มี
 ความชอบธรรม
เราจำาเป็นต้องเข้าใจว่า “อุดมคติ” ของการจัดเวทีนี้
  เป็นอย่างไร เพื่อให้มองเห็นว่าสภาพที่เป็นอยู่ยัง
  ขาดจากอุดมคตินี้หรือไม่อย่างไร

Contenu connexe

Similaire à Law dem-habermas

En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1Yota Bhikkhu
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Medical Student, GCM
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองPoramate Minsiri
 
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)Weera Wongsatjachock
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyKatawutPK
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนiearn4234
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองbunchai
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุFURD_RSU
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 

Similaire à Law dem-habermas (20)

En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
สถาบันนิยมใหม่กับการศึกษารัฐธรรมนูญ (New Institutionalism and Constitution)
 
Soc
SocSoc
Soc
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereignty
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมือง
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
Blogger's rights as "citizen media"
Blogger's rights as "citizen media"Blogger's rights as "citizen media"
Blogger's rights as "citizen media"
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
8.3
8.38.3
8.3
 

Plus de Soraj Hongladarom

Ethical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
Ethical Issues in Compulsory Licensing of DrugsEthical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
Ethical Issues in Compulsory Licensing of DrugsSoraj Hongladarom
 
Relations between Human Dignity and Human Rights
Relations between Human Dignity and Human RightsRelations between Human Dignity and Human Rights
Relations between Human Dignity and Human RightsSoraj Hongladarom
 
Promoting research integrity - a mission for Thai universities
Promoting research integrity - a mission for Thai universitiesPromoting research integrity - a mission for Thai universities
Promoting research integrity - a mission for Thai universitiesSoraj Hongladarom
 
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนีฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนีSoraj Hongladarom
 
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นSoraj Hongladarom
 
New law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandNew law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandSoraj Hongladarom
 
Big data and the sharing economy
Big data and the sharing economyBig data and the sharing economy
Big data and the sharing economySoraj Hongladarom
 
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsEthical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsSoraj Hongladarom
 
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยSoraj Hongladarom
 
ปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาSoraj Hongladarom
 
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนSoraj Hongladarom
 
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์Soraj Hongladarom
 
Ethics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational SurrogacyEthics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational SurrogacySoraj Hongladarom
 
ความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนSoraj Hongladarom
 
เขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการเขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการSoraj Hongladarom
 
Ethical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningEthical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningSoraj Hongladarom
 

Plus de Soraj Hongladarom (20)

Ethical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
Ethical Issues in Compulsory Licensing of DrugsEthical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
Ethical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
 
Relations between Human Dignity and Human Rights
Relations between Human Dignity and Human RightsRelations between Human Dignity and Human Rights
Relations between Human Dignity and Human Rights
 
Pittsburgh-info-ethics.pptx
Pittsburgh-info-ethics.pptxPittsburgh-info-ethics.pptx
Pittsburgh-info-ethics.pptx
 
PAAL-Presentation.ppt.ppt
PAAL-Presentation.ppt.pptPAAL-Presentation.ppt.ppt
PAAL-Presentation.ppt.ppt
 
Promoting research integrity - a mission for Thai universities
Promoting research integrity - a mission for Thai universitiesPromoting research integrity - a mission for Thai universities
Promoting research integrity - a mission for Thai universities
 
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนีฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
 
Introduction to Bioethics
Introduction to BioethicsIntroduction to Bioethics
Introduction to Bioethics
 
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
 
New law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandNew law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailand
 
Big data and the sharing economy
Big data and the sharing economyBig data and the sharing economy
Big data and the sharing economy
 
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsEthical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
 
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
 
ปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษา
 
Human dignity
Human dignityHuman dignity
Human dignity
 
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
 
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
 
Ethics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational SurrogacyEthics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational Surrogacy
 
ความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียน
 
เขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการเขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการ
 
Ethical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningEthical issues in e-learning
Ethical issues in e-learning
 

Law dem-habermas

  • 1. กฎหมาย ประชาธิ ป ไตย กั บ ฮาเบอร์ ม ั ส การอบรมวิ ช าการ “ นิ ต ิ ร ั ฐ กั บ ปรั ช ญา ” สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ๑๐ – ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 3. โครงร่าง เบื้องหลังของความคิดของฮาเบอร์มัสใน Between Facts and Norms ภาวะสองขั้วของกฎหมายปัจจุบน ั ทฤษฎีเหตุผล “หลังอภิปรัชญา” (Postmetaphysical theory of reason) โครงสร้างด้านการสื่อสารของการประสานงานทาง สังคม
  • 4. โครงร่าง ความจำาเป็นที่จะต้องมี positive law Rawls กับ Luhmann กฎหมายที่ชอบธรรมเป็นไปได้อย่างไร สองขั้วระหว่าง Rousseau กับ Locke (อธิปไตย ของปวงชนกับเสรีภาพของปัจเจกบุคคล) ทางออกของฮาเบอร์มัส Theory of Communicative Action
  • 5. โครงร่าง ปรัชญากฎหมายของฮาเบอร์มัส Legality (ชอบด้วยกฎหมาย) กับ legitimacy ( ความชอบธรรมของกฎหมาย) กฎหมายกับจริยธรรม Theory of communicative action; discourse ethics as foundation for normativity “สิทธิในการปฏิวัติล้มล้างการปกครอง”
  • 6. แนวคิดเบืองหลัง ้ ที่มาของความชอบธรรมของกฎหมาย วัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อ ระบบอภิปรัชญา การปกป้องสิทธิประโยชน์ของปัจเจกชน การใช้อำานาจของรัฐ ความไม่เพียงพอของที่มาทั้งสาม
  • 7. สำาหรับ H ที่มาที่ถูกต้องของกฎหมายที่ชอบธรรม ได้แก่การพิจารณาไตร่ตรองอย่างเสรีของแต่ละ คนในชุมชน ประชาธิปไตยแบบไตร่ตรอง ↔ การปกครองด้วย กฎหมาย H ใช้คำาว่า Rechtsstaat ซึ่งแปลว่า “รัฐที่ปกครอง ด้วยกฎหมายสูงสุด” (constitutional state)
  • 8. ภาวะสองขั้วของกฎหมาย ขั้วแรก: ความจริงของสังคม → การที่กฎหมาย เป็นการใช้อำานาจบังคับของผู้มีอำานาจในรัฐ ขั้วที่สอง: ความชอบธรรม → กฎหมายจำาเป็นต้อบ ได้รับการยอมรับอย่างจริงใจของผู้คน งานของ H ในหนังสือ Between Facts and Norms คือหาทฤษฎีที่จะประสานขั้วทั้งสอง
  • 9. “หลังอภิปรัชญา” “...for Habermas a postmetaphysical vindication of reason is possible only insofar as philosophy—in an interdisciplinary cooperation with empirical inquiries of various sorts—can show how the use of language and social interaction in general necessarity rely on notions of validity, such as truth, normative rightness, sincerity, and authenticity. This necessitates not only a philosophical
  • 10. ความจำ า เป็ น ของ positive law กฎหมายสมัยใหม่เกิดขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการประสาน กันของสังคมที่เกิดจากการสลายตัวของความ เชื่อตามประเพณีและความจำาเป็นในการประสาน กันของผูคนเพื่อให้แต่ละคนบรรลุเป้าหมายของ ้ ตน องค์ประกอบสามประการของกฎหมาย: (๑) ลักษณะของสังคมสมัยใหม่ (๒) ความแตกต่าง ระหว่าง communicative action กับ strategic action (๓) การอธิบาย communicative action
  • 11. Rawls กับ Luhmann Rawls → social contract, individualism Luhmann → social system theory, autopoiesis Habermas → integration between the two.
  • 12. ที่มาของกฎหมาย Locke – private autonomy; also Kant Rousseau – public autonomy Habermas argues for the ‘internal relations’ between the two. Discourse Principle – Only those norms are valid to which all affected persons could agree as participants in rationale discourses.
  • 13. Abstract Rights In order to ground the Discourse Principle, H proposes a set of abstract rights as necessary conditions Basic negative liberties, membership rights, due process rights (private autonomy) Rights to political participation (public autonomy) Social welfare rights
  • 14. These rights must be enforced by the state. Tension between state power and legitimate law. Legitimacy comes through public reason, i.e., “democratic processes of opinion and will formation” in the public sphere. Law “reperesents … the medium for transforming communicative power into administrative power.”
  • 15. ปรัชญากฎหมายของฮาเบอร์มัส Legality กับ Legitimacy Kant/Locke/Rawls → emphasis on individuals and lack of critical dimension Legitimacy ได้จาก discourse principle, deliberation, democratic process
  • 16. ปัญหาของการปกครองด้วยกฎหมายในสังคม ไทย พลังของการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง การแสวงหาประโยชน์สวนตนจากกรอบปฏิบัติที่รับ ่ มาจากภายนอก สองมาตรฐาน ฯลฯ สังคมที่ไม่ได้เกิดความกลมกลืนกันระหว่างกรอบ ปฏิบติกับวิถีชวิต ั ี ผู้คนแปลกแยกกับกฎหมาย กฎหมายกลายเป็นเครื่อง มือแสวงหาผลประโยชน์
  • 17. ฮาเบอร์มัส การนำาฮาเบอร์มัสมาใช้จะประกอบด้วยการสร้าง “ เวทีสาธารณะ” เพื่อให้เกิดการอภิปรายไตร่ตรอง กันอย่างกว้างขวางโดยผู้มีส่วนร่วมทั้งหมด เพื่อ สร้างเจตจำานงร่วมที่จะพัฒนาเป็นกฎหมายที่มี ความชอบธรรม เราจำาเป็นต้องเข้าใจว่า “อุดมคติ” ของการจัดเวทีนี้ เป็นอย่างไร เพื่อให้มองเห็นว่าสภาพที่เป็นอยู่ยัง ขาดจากอุดมคตินี้หรือไม่อย่างไร