SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
Télécharger pour lire hors ligne
บรรยายครังท ี3 
หลักประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย (democracy) 
มาจากรากศัพท์ภาษากรีก 2 คำบวกกัน คือ 
Demos ซึงแปลว่า ประชาชน กับ 
Kratos ซึงแปลว่า อำนาจ หรือ การปกครอง 
รวม 2 คำเข้าด้วยกันก็แปลได้ว่า ประชาชน 
เป็นเจ้าของอำนาจ หรือ การปกครองโดยประชาชน
1 ระบอบประชาธิปไตยโดยตรงของนครรัฐเอเธนส์ 
(Athenian DDiirreecctt DDeemmooccrraaccyy)) 
2 ระบอบประชาธิปไตยโดยตัวแทน 
(Representative Democracy)
3 ปรัชญาของระบอบประชาธิปไตย 
1) ธรรมชาติของมนุษย์ 
2) เสรีภาพของมนุษย์ (Liberty) 
3) ความเท่าเทียมกันของมนุษย์ (Equality) 
4) อำนาจอธิปไตยของปวงชน (Popular Sovereignty)
ข้อสังเกตเกียวกับหลักประชาธิปไตย 
Plato - นิยมการปกครองโดยกษัตริย์นักปรัชญา 
Aristotle - นิยมการปกครองแบบ Aristocracy 
- ไม่นิยม mob rule 
Waltaire - เหมาะกับประเทศเล็กๆ เท่านัน
เราจะแยกการพิจารณาเรืองของประชาธิปไตย 
ออกเป็น 3 ด้านด้วยกัน คือ
ประชาธิปไตยในฐานะทีเป็นอุดมการณ์ 
จะยึดมันในหลักการสำคัญ 2 ประการ คือ 
1. ความเท่าเทียมกัน 
2. ความมีสิทธิ เสรีภาพ
หลักการทางประชาธิปไตย (ด้านเสมอภาค เท่าเทียมกัน) 
หมายถึง ความเท่าเทียมกันในสังคมประชาธิปไตย ถือว่าทุก 
คนทีเกิดมาจะมีความเท่าเทียมกันในฐานะประชากรของรัฐ มี 
สิทธิ เสรีภาพ หน้าทีเสมอภาคกัน ไม่มีการแบ่งชนชัน 
(1) ความเสมอภาคทางการเมือง 
(2) ความเสมอภาคทางสังคม 
(3) ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ
หลักการทางประชาธิปไตย (ด้านความเท่าเทียมกัน) 
- หลักนิติธรรม หมายถึง การใช้หลักกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกัน เพือ 
ความสงบสุขของสังคม 
- หลักเหตุผล หมายถึง การใช้เหตุผลทีถูกต้องในการตัดสินหรือยุติปัญหาใน 
สสัังคม 
- หลักการถือเสียงข้างมาก หมายถึง การลงมติโดยยอมรับเสียงส่วนใหญ่ใน 
สังคมประชาธิปไตย 
- หลักประนีประนอม หมายถึง การลดความขัดแย้งโดยการผ่อนหนักผ่อนเบาให้ 
กัน ร่วมมือกันเพือเห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ
หลักการทางประชาธิปไตย 
(ด้านสสิิทธธิิ แแลละะ เเสสรรีีภภาาพ ))
“บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพภายใต้บังคับของ 
บัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ” 
นีคือสิทธิตามกฎหมายของประชาชน ตามมาตรา 22
ความหมายของสิทธิและเสรีภาพ 
สิทธิ คือ ประโยชน์ทกีฎหมายรับรองและคุ้มครองให้ 
กล่าวคือ กฎหมายคุ้มครอง ก็คือ คุ้มครองมิให้มีการละเมิด 
สสิิทธธิิ รวมททัังบบัังคคัับใใหห้้เเปป็็นไไปปตตาามสสิิทธธิิใในนกรณณีีทมีีีีกกาารลละะเเมมิิด 
ด้วย เช่น สิทธิในครอบครัว สิทธิความเป็นอยู่ส่วนตัว สิทธิใน 
เกียรติยศชือเสียง สิทธิในการเลือกอาชีพ ถินทอียู่ การ 
เดินทาง สิทธิในทรัพย์สิน เป็นต้น
“สิทธิ”เป็น”อำนาจ” ทีกฎหมายให้แก่บุคคลทีมีเจตจำนงหรือ 
เป็น “ประโยชน์ทกีฎหมายรับรองและคุ้มครองให้” เช่น 
นายกรัฐมนตรี หรือดาราภาพยนตร์มีสิทธิในชีวิตความเป็นอยู่ 
ส่วนตัว ย่อมได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ผู้ใด 
จจะะลละะเเมมิิดหรรืือกรระะทบถถึึงสสิิทธธิิคววาามเเปป็็นอยยูู่่สส่่วนตตััว ดด้้วยกกาาร 
กล่าวหาหรือไขข่าวแพร่หลายไม่ว่าด้วยข้อความหรือภาพด้วย 
วิธีใดไปยังสาธารณชนหาได้ไม่ เว้นแต่จะเป็นประโยชน์แก่ 
สาธารณชนเท่านัน (มาตรา 34)
เสรีภาพ คือ ประโยชน์ซึงบุคคลได้มาโดยปราศจากหน้าที 
ในทางกฎหมายใดๆ ต่อตนเอง กล่าวคือ เป็นสิงทีบุคคลจะกระทำ 
การใดได้ตามชอบใจ คือการทีเราจะใช้สิทธิเสรีภาพของตัวเราได้เท่าที 
ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอืน ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อ 
รัฐธรรมนูญหรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของปรระะชชาาชน ((มมาาตรราา 2288)) 
ได้แก่ เสรีภาพในชีวิตร่างกาย ในเคหะสถาน ในการเดินทาง 
และเลือกถนิทอียู่ ในการสือสาร ในการนับถือศาสนา ในการแสดง 
ความคิดเห็น เป็นต้น เช่น สือมวลชนย่อมมีเสรีภาพในการ 
วิพากษ์วิจารณ์การบริหารของรัฐบาลทีบกพร่องและเกิดความ 
เสียหายแก่ประเทศชาติ
ศูนย์พัฒนาและฝึกอบรมคนพิการแห่งเอเชียและแปซิฟิก (APCD)
เป็นมติข้อตกลงระหว่างประเทศเพือผลักดันให้นานาประเทศยอมรับศักดิfศรี 
ของความเป็นมนุษย์ ภายใต้ข้อตกลง ดังทีจะกล่าวถึงดังต่อไปนี 
ข้อ 19 
1. บุคคลทุกคนมีสิทธิทีจะถือความเห็นใดก็ได้โดยปราศจากการแทรกสอด 
2. บุคคลทุกคนย่อมมีสิทธิในเสรีภาพแห่งการแสดงออก ซึงรวมถึงการรับและ 
กรระะจจาายขข่่าาวสสาารแแลละะคววาามคคิิดเเหห็็นททุุกรรููปแแบบบ โโดดยไไมม่่คคํำานนึึงถถึึงพรมแแดดน 
3. การใช้สิทธิตามบัญญัติไว้ในวรรค 2 ต้องเป็นไปโดยหน้าทีพิเศษ และความ 
รับผิดชอบจึงตกอยู่ภายใต้ข้อจำกัดบางเรือง ได้แก่ 
(ก) การเคารพในสิทธิหรือชือเสียงของบุคคลอืน 
(ข) การรักษาความมันคงของชาติหรือความสงบเงียบหรือการสาธารณสุข 
หรือศีลธรรม
มาตรา 34 ซึงบัญญัติว่า 
“บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการพูด เขียน และการโฆษณา” 
การจำกัดเสรีภาพเช่นนีว่าจะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตาม 
บทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะ เพือรักษาความมันคงของรัฐ หรือเพอืคุ้มครองสิทธิ 
เเสสรรีีภภาาพ เเกกีียรตติิยศ หรรืือชืือเเสสีียงของบบุุคคลอนืื หรรืือเเพพอืืรรัักษษาาคววาามสงบเเรรีียบรร้้อยหรรืือ 
ศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพือป้องกันหรือระงับความเสือมทรามทางจิตใจ 
หรือสุขภาพของประชาชน 
เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ต้องเป็นบุคคลสัญชาติไทย ทังนีตามเงือนไขที 
กฎหมายบัญญัติ 
การให้เงินหรือทรัพย์สินอย่างอืนอุดหนุนหนังสือพิมพ์ของเอกชนรัฐจะกระทำ 
มิได้
ประชาธิปไตยในฐานะทีเป็นรูปแบบการปกครอง 
1. ระบบรัฐสภา หรือ แบบการควบอำนาจ (Fusion of Power or 
Parliamentary System) 
ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลมีทีมาจากรัฐสภาซึงทำหน้าทีนิติบัญญัติเป็นลักษณะในอดีต 
ของไทย 
1.1 ประมุขของรัฐ 
1.2 รัฐสภา 
1.3 คณะรัฐมนตรี 
1.4 ศาล
ระบบรัฐสภา หรือ แบบการควบอำนาจ (Fusion of Power or 
Parliamentary System) 
(1) ประชาชนเป็นผู้เลือกตังฝ่ายนิติบัญญัติโดยตรง 
(2) ฝ่ายนิติบัญญัติเป็นผู้จัดตังฝ่ายบริหาร 
(3) ฝ่ายนิติบัญญัติมีอำนาจในการยน(ืกระทู้และ 
การขออภิปรายไม่ไว้วางใจฝ่ายบริหาร 
(4) ฝ่ายบริหารมีอำนาจในการยุบสภานิติบัญญัติ 
(5) ประมุขของประเทศและหัวหน้าฝ่ายบริหารจะแยกจากกัน
ระบบประธานาธิบดี (Presidential System) หรือ รูปแบบแบ่งแยกอำนาจ 
(Separation Power or Presidential System) 
Montesquieu เสนอว่าผู้มีอำนาจมีความโน้มเอียงทีจะใช้อำนาจ 
และหาโอกาสมากขึน จึงต้องมีการถ่วงดุลอำนาจ 
2.2.1 ประธานาธิบดี 
2.2.2 รัฐสภา หรือ ฝ่ายนิติบัญญัติ 
2.2.3 ศาล
ระบบประธานาธิบดี (Presidential System) หรือ รูปแบบแบ่งแยก 
อำนาจ (Separation Power or Presidential System) 
(1) ประชาชนเป็นผู้เลือกฝ่ายนิติบัญญัติโดยตรง 
((22)) ปรระะชชาาชนเเปป็็นผผูู้้เเลลืือกฝฝ่่าายบรริิหหาารโโดดยตรง 
(3) ฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีอำนาจในการอภิปรายฝ่ายบริหาร 
(4) ฝ่ายบริหารไม่มีอำนาจยุบสภา 
(5) หัวหน้าฝ่ายบริหารและประมุขของประเทศะเป็นคนเดียวกันหรือแยกจากกันได้
ระบบกึงประธานาธิบดี หรือกึงรัฐสภา หรือ รูปแบบผสม 
(Semi-Presidential or Semi-parliamentary System / (Mixed System or 
Powerful Executive) 
22..33..11 ปรระะมมุุขของรรััฐ 
2.3.2 รัฐสภา 
2.3.3 คณะรัฐมนตรี 
2.3.4 ศาล
3) รูปแบบผสม (Mixed System or Powerful Executive) 
(1) ประชาชนเป็นผู้เลือกประธานาธิบดีโดยตรง 
(2) ประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตังและถอดถอนนายกรัฐมนตรี 
(3) ประธานาธิบดีมีอำนาจยุบสภาแห่งชาติได้ทุกกรณีเมื(อสภามีอายุครบหนึ(งปี
(4) ประธานาธิบดีมีอำนาจในการนำประเด็นทางการเมืองไปให้ 
ประชาชนลงมติ 
(5) ประชาชนเป็นผู้เลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 
(6) สภาสูงได้รับการเลือกตังทางอ้อม โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 
สมาชิกสภาจังหวัด และสมาชิกสภาเทศบาล สภาผู้แทนราษฎร 
และสภาสูง มีอำนาจเท่ากัน ยกเว้นอำนาจในการพิจารณา 
งบประมาณและอำนาจในการลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาลให้เป็น 
อำนาจของสภาผู้แทนราษฎร
3. ประชาธิปไตยในฐานะทีเป็นวิถีชีวิต 
You are what you eat 
“การปกครองนัน คืออะไร ถ้าไม่ใช่ภาพสะท้อน 
ทยีีงิิใใหหญญ่่ทสีีุุดจจาากธรรมชชาาตติิของมนนุุษยย์์”” 
James Madison, The Federalist 
- ประชาชนเป็นอย่างไร รัฐบาลก็เป็นอย่างนัน 
- การปกครองประเทศไหนเป็นอย่างไร ประชาชนก็เป็นอย่างนัน
3. ประชาธิปไตยในฐานะทีเป็นวิถีชีวิต 
ประชาชนยังอาจจะช่วยทำให้ประชาธิปไตย 
เจริญก้าวหน้าได้โดยการปฏิบัติ ดังนี 
1. ยอมรับมติของประชาชนฝ่ายข้างมาก 
2. ปฏิบัติตามกฎหมายของบบ้้าานเเมมืืองสมมาาํํเเสสมอ 
3. พยายามรวมกำลังกันเป็นกลุ่มเป็นก้อนเพอืรักษา 
ผลประโยชน์ของชาติ 
4. พยายามใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาข้อ 
ขัดแย้งต่างๆ ให้มากทีสุด
3 หลักประชาธิปไตย

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
Decode Ac
 
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
KiiKz Krittiya
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
อุษณีษ์ ศรีสม
 

Tendances (20)

ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
แผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนวแผ่นพับออกแนะแนว
แผ่นพับออกแนะแนว
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ระดับการศึกษา การจัดเวลาเรียน โครงสร้างเวลาเรียน
ระดับการศึกษา การจัดเวลาเรียน โครงสร้างเวลาเรียนระดับการศึกษา การจัดเวลาเรียน โครงสร้างเวลาเรียน
ระดับการศึกษา การจัดเวลาเรียน โครงสร้างเวลาเรียน
 
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎร
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 

Similaire à 3 หลักประชาธิปไตย

หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
Sansanee Tooksoon
 
การถ่ายรูป
การถ่ายรูปการถ่ายรูป
การถ่ายรูป
TorTor Peerachai
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
thnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
thnaporn999
 
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงครามPower point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Adipong Ngamkusol
 
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงครามPower point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Adipong Ngamkusol
 
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงครามPower point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Adipong Ngamkusol
 
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
chonlataz
 
ความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดีความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดี
saovapa nisapakomol
 

Similaire à 3 หลักประชาธิปไตย (20)

หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereignty
 
สตรี
สตรีสตรี
สตรี
 
การถ่ายรูป
การถ่ายรูปการถ่ายรูป
การถ่ายรูป
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
Democracy
DemocracyDemocracy
Democracy
 
Human1.2
Human1.2Human1.2
Human1.2
 
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงครามPower point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
 
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงครามPower point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
 
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงครามPower point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
Power point ส่ง อ.ณัฐกร สงคราม
 
Panel_DrMark.pdf
Panel_DrMark.pdfPanel_DrMark.pdf
Panel_DrMark.pdf
 
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่
 
Democracy
DemocracyDemocracy
Democracy
 
ความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดีความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดี
 
8.1
8.18.1
8.1
 
Law dem-habermas
Law dem-habermasLaw dem-habermas
Law dem-habermas
 
Lesson8 bp
Lesson8 bpLesson8 bp
Lesson8 bp
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 

3 หลักประชาธิปไตย

  • 2. ประชาธิปไตย (democracy) มาจากรากศัพท์ภาษากรีก 2 คำบวกกัน คือ Demos ซึงแปลว่า ประชาชน กับ Kratos ซึงแปลว่า อำนาจ หรือ การปกครอง รวม 2 คำเข้าด้วยกันก็แปลได้ว่า ประชาชน เป็นเจ้าของอำนาจ หรือ การปกครองโดยประชาชน
  • 3. 1 ระบอบประชาธิปไตยโดยตรงของนครรัฐเอเธนส์ (Athenian DDiirreecctt DDeemmooccrraaccyy)) 2 ระบอบประชาธิปไตยโดยตัวแทน (Representative Democracy)
  • 4. 3 ปรัชญาของระบอบประชาธิปไตย 1) ธรรมชาติของมนุษย์ 2) เสรีภาพของมนุษย์ (Liberty) 3) ความเท่าเทียมกันของมนุษย์ (Equality) 4) อำนาจอธิปไตยของปวงชน (Popular Sovereignty)
  • 5. ข้อสังเกตเกียวกับหลักประชาธิปไตย Plato - นิยมการปกครองโดยกษัตริย์นักปรัชญา Aristotle - นิยมการปกครองแบบ Aristocracy - ไม่นิยม mob rule Waltaire - เหมาะกับประเทศเล็กๆ เท่านัน
  • 7. ประชาธิปไตยในฐานะทีเป็นอุดมการณ์ จะยึดมันในหลักการสำคัญ 2 ประการ คือ 1. ความเท่าเทียมกัน 2. ความมีสิทธิ เสรีภาพ
  • 8. หลักการทางประชาธิปไตย (ด้านเสมอภาค เท่าเทียมกัน) หมายถึง ความเท่าเทียมกันในสังคมประชาธิปไตย ถือว่าทุก คนทีเกิดมาจะมีความเท่าเทียมกันในฐานะประชากรของรัฐ มี สิทธิ เสรีภาพ หน้าทีเสมอภาคกัน ไม่มีการแบ่งชนชัน (1) ความเสมอภาคทางการเมือง (2) ความเสมอภาคทางสังคม (3) ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ
  • 9. หลักการทางประชาธิปไตย (ด้านความเท่าเทียมกัน) - หลักนิติธรรม หมายถึง การใช้หลักกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกัน เพือ ความสงบสุขของสังคม - หลักเหตุผล หมายถึง การใช้เหตุผลทีถูกต้องในการตัดสินหรือยุติปัญหาใน สสัังคม - หลักการถือเสียงข้างมาก หมายถึง การลงมติโดยยอมรับเสียงส่วนใหญ่ใน สังคมประชาธิปไตย - หลักประนีประนอม หมายถึง การลดความขัดแย้งโดยการผ่อนหนักผ่อนเบาให้ กัน ร่วมมือกันเพือเห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ
  • 12. ความหมายของสิทธิและเสรีภาพ สิทธิ คือ ประโยชน์ทกีฎหมายรับรองและคุ้มครองให้ กล่าวคือ กฎหมายคุ้มครอง ก็คือ คุ้มครองมิให้มีการละเมิด สสิิทธธิิ รวมททัังบบัังคคัับใใหห้้เเปป็็นไไปปตตาามสสิิทธธิิใในนกรณณีีทมีีีีกกาารลละะเเมมิิด ด้วย เช่น สิทธิในครอบครัว สิทธิความเป็นอยู่ส่วนตัว สิทธิใน เกียรติยศชือเสียง สิทธิในการเลือกอาชีพ ถินทอียู่ การ เดินทาง สิทธิในทรัพย์สิน เป็นต้น
  • 13. “สิทธิ”เป็น”อำนาจ” ทีกฎหมายให้แก่บุคคลทีมีเจตจำนงหรือ เป็น “ประโยชน์ทกีฎหมายรับรองและคุ้มครองให้” เช่น นายกรัฐมนตรี หรือดาราภาพยนตร์มีสิทธิในชีวิตความเป็นอยู่ ส่วนตัว ย่อมได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ผู้ใด จจะะลละะเเมมิิดหรรืือกรระะทบถถึึงสสิิทธธิิคววาามเเปป็็นอยยูู่่สส่่วนตตััว ดด้้วยกกาาร กล่าวหาหรือไขข่าวแพร่หลายไม่ว่าด้วยข้อความหรือภาพด้วย วิธีใดไปยังสาธารณชนหาได้ไม่ เว้นแต่จะเป็นประโยชน์แก่ สาธารณชนเท่านัน (มาตรา 34)
  • 14. เสรีภาพ คือ ประโยชน์ซึงบุคคลได้มาโดยปราศจากหน้าที ในทางกฎหมายใดๆ ต่อตนเอง กล่าวคือ เป็นสิงทีบุคคลจะกระทำ การใดได้ตามชอบใจ คือการทีเราจะใช้สิทธิเสรีภาพของตัวเราได้เท่าที ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอืน ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อ รัฐธรรมนูญหรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของปรระะชชาาชน ((มมาาตรราา 2288)) ได้แก่ เสรีภาพในชีวิตร่างกาย ในเคหะสถาน ในการเดินทาง และเลือกถนิทอียู่ ในการสือสาร ในการนับถือศาสนา ในการแสดง ความคิดเห็น เป็นต้น เช่น สือมวลชนย่อมมีเสรีภาพในการ วิพากษ์วิจารณ์การบริหารของรัฐบาลทีบกพร่องและเกิดความ เสียหายแก่ประเทศชาติ
  • 16.
  • 17. เป็นมติข้อตกลงระหว่างประเทศเพือผลักดันให้นานาประเทศยอมรับศักดิfศรี ของความเป็นมนุษย์ ภายใต้ข้อตกลง ดังทีจะกล่าวถึงดังต่อไปนี ข้อ 19 1. บุคคลทุกคนมีสิทธิทีจะถือความเห็นใดก็ได้โดยปราศจากการแทรกสอด 2. บุคคลทุกคนย่อมมีสิทธิในเสรีภาพแห่งการแสดงออก ซึงรวมถึงการรับและ กรระะจจาายขข่่าาวสสาารแแลละะคววาามคคิิดเเหห็็นททุุกรรููปแแบบบ โโดดยไไมม่่คคํำานนึึงถถึึงพรมแแดดน 3. การใช้สิทธิตามบัญญัติไว้ในวรรค 2 ต้องเป็นไปโดยหน้าทีพิเศษ และความ รับผิดชอบจึงตกอยู่ภายใต้ข้อจำกัดบางเรือง ได้แก่ (ก) การเคารพในสิทธิหรือชือเสียงของบุคคลอืน (ข) การรักษาความมันคงของชาติหรือความสงบเงียบหรือการสาธารณสุข หรือศีลธรรม
  • 18. มาตรา 34 ซึงบัญญัติว่า “บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการพูด เขียน และการโฆษณา” การจำกัดเสรีภาพเช่นนีว่าจะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะ เพือรักษาความมันคงของรัฐ หรือเพอืคุ้มครองสิทธิ เเสสรรีีภภาาพ เเกกีียรตติิยศ หรรืือชืือเเสสีียงของบบุุคคลอนืื หรรืือเเพพอืืรรัักษษาาคววาามสงบเเรรีียบรร้้อยหรรืือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพือป้องกันหรือระงับความเสือมทรามทางจิตใจ หรือสุขภาพของประชาชน เจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์ต้องเป็นบุคคลสัญชาติไทย ทังนีตามเงือนไขที กฎหมายบัญญัติ การให้เงินหรือทรัพย์สินอย่างอืนอุดหนุนหนังสือพิมพ์ของเอกชนรัฐจะกระทำ มิได้
  • 19. ประชาธิปไตยในฐานะทีเป็นรูปแบบการปกครอง 1. ระบบรัฐสภา หรือ แบบการควบอำนาจ (Fusion of Power or Parliamentary System) ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลมีทีมาจากรัฐสภาซึงทำหน้าทีนิติบัญญัติเป็นลักษณะในอดีต ของไทย 1.1 ประมุขของรัฐ 1.2 รัฐสภา 1.3 คณะรัฐมนตรี 1.4 ศาล
  • 20. ระบบรัฐสภา หรือ แบบการควบอำนาจ (Fusion of Power or Parliamentary System) (1) ประชาชนเป็นผู้เลือกตังฝ่ายนิติบัญญัติโดยตรง (2) ฝ่ายนิติบัญญัติเป็นผู้จัดตังฝ่ายบริหาร (3) ฝ่ายนิติบัญญัติมีอำนาจในการยน(ืกระทู้และ การขออภิปรายไม่ไว้วางใจฝ่ายบริหาร (4) ฝ่ายบริหารมีอำนาจในการยุบสภานิติบัญญัติ (5) ประมุขของประเทศและหัวหน้าฝ่ายบริหารจะแยกจากกัน
  • 21. ระบบประธานาธิบดี (Presidential System) หรือ รูปแบบแบ่งแยกอำนาจ (Separation Power or Presidential System) Montesquieu เสนอว่าผู้มีอำนาจมีความโน้มเอียงทีจะใช้อำนาจ และหาโอกาสมากขึน จึงต้องมีการถ่วงดุลอำนาจ 2.2.1 ประธานาธิบดี 2.2.2 รัฐสภา หรือ ฝ่ายนิติบัญญัติ 2.2.3 ศาล
  • 22. ระบบประธานาธิบดี (Presidential System) หรือ รูปแบบแบ่งแยก อำนาจ (Separation Power or Presidential System) (1) ประชาชนเป็นผู้เลือกฝ่ายนิติบัญญัติโดยตรง ((22)) ปรระะชชาาชนเเปป็็นผผูู้้เเลลืือกฝฝ่่าายบรริิหหาารโโดดยตรง (3) ฝ่ายนิติบัญญัติไม่มีอำนาจในการอภิปรายฝ่ายบริหาร (4) ฝ่ายบริหารไม่มีอำนาจยุบสภา (5) หัวหน้าฝ่ายบริหารและประมุขของประเทศะเป็นคนเดียวกันหรือแยกจากกันได้
  • 23. ระบบกึงประธานาธิบดี หรือกึงรัฐสภา หรือ รูปแบบผสม (Semi-Presidential or Semi-parliamentary System / (Mixed System or Powerful Executive) 22..33..11 ปรระะมมุุขของรรััฐ 2.3.2 รัฐสภา 2.3.3 คณะรัฐมนตรี 2.3.4 ศาล
  • 24. 3) รูปแบบผสม (Mixed System or Powerful Executive) (1) ประชาชนเป็นผู้เลือกประธานาธิบดีโดยตรง (2) ประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตังและถอดถอนนายกรัฐมนตรี (3) ประธานาธิบดีมีอำนาจยุบสภาแห่งชาติได้ทุกกรณีเมื(อสภามีอายุครบหนึ(งปี
  • 25. (4) ประธานาธิบดีมีอำนาจในการนำประเด็นทางการเมืองไปให้ ประชาชนลงมติ (5) ประชาชนเป็นผู้เลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (6) สภาสูงได้รับการเลือกตังทางอ้อม โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาจังหวัด และสมาชิกสภาเทศบาล สภาผู้แทนราษฎร และสภาสูง มีอำนาจเท่ากัน ยกเว้นอำนาจในการพิจารณา งบประมาณและอำนาจในการลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาลให้เป็น อำนาจของสภาผู้แทนราษฎร
  • 26. 3. ประชาธิปไตยในฐานะทีเป็นวิถีชีวิต You are what you eat “การปกครองนัน คืออะไร ถ้าไม่ใช่ภาพสะท้อน ทยีีงิิใใหหญญ่่ทสีีุุดจจาากธรรมชชาาตติิของมนนุุษยย์์”” James Madison, The Federalist - ประชาชนเป็นอย่างไร รัฐบาลก็เป็นอย่างนัน - การปกครองประเทศไหนเป็นอย่างไร ประชาชนก็เป็นอย่างนัน
  • 27. 3. ประชาธิปไตยในฐานะทีเป็นวิถีชีวิต ประชาชนยังอาจจะช่วยทำให้ประชาธิปไตย เจริญก้าวหน้าได้โดยการปฏิบัติ ดังนี 1. ยอมรับมติของประชาชนฝ่ายข้างมาก 2. ปฏิบัติตามกฎหมายของบบ้้าานเเมมืืองสมมาาํํเเสสมอ 3. พยายามรวมกำลังกันเป็นกลุ่มเป็นก้อนเพอืรักษา ผลประโยชน์ของชาติ 4. พยายามใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาข้อ ขัดแย้งต่างๆ ให้มากทีสุด