SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
คณิตศาสตร (Mathematics)


แนวทางการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู
กลุมสาระวิชาคณิตศาสตร โรงเรียนอัตตาภิวัฒน ไดตั้งเปาหมายการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรของโรงเรียน
ใหเปนการจัดการเรียนรูระดับชั้นนำในมาตรฐานโลกที่ปรับแตงใหสอดคลองกับบริบทของไทย บรรยากาศใน
หองเรียน เจตคติ ความมั่นใจและแรงบันดาลตอการเรียนรูคณิตศาสตรของเด็กนักเรียนอัตตาภิวัฒน ตลอด
จนถึงผลการสอบที่ดีเยี่ยมในระดับประเทศและความสำเร็จในการเรียนในระดับมัธยมของนักเรียนที่จบไปแลว
ลวนสะทอนใหเห็นถึงความสำเร็จสู เปาหมายของโรงเรียนฯไดเปนอยางดี

                                                          โจทยปญหา และกิจกรรมการเรียนรู ไวอยางมากมาย
                                                          ซึ่งกลุมสาระฯ คณิตศาสตร โรงเรียนอัตตาภิวัฒนใครถือ
                                                          โอกาสนี้แสดงความขอบคุณในความเปดกวางขององคกร
                                                          เหลานี้มา ณ.ที่นี้ แหลงความรูและแหลงขอมูลหลักๆ ที่
                                                          กลุมสาระฯ นำมาประยุกตใชในการพัฒนาและจัดการ
                                                          เรียนรูของโรงเรียนฯ ไดแก
                                                          • Evergreen Curriculum ของ รัฐ Saskatchewan
                                                               ประเทศ Canada
                                                          • ตำราเรียนคณิตศาสตร ของสำนักพิมพ Harcourt
                                                               ประเทศสหรัฐอเมริกา ตำราดังกลาวเปนตำราที่ใช
                                                               กันทั่วไป เปนที่นิยมอยางแพรหลายในสหรัฐอเมริกา
                                                          • หลักสูตรของประเทศสิงคโปร ในชวงระยะเวลานับ
                                                               สิบปที่ผานมา ประเทศสิงคโปรนับเปนประเทศที่
                                                               ประสบความสำเร็จดานการจัดการศึกษาเปนอยาง
 แนวทางการพัฒนาหลักสูตร                                        มาก โดยไดถูกจัดใหอยูใน 3 ลำดับแรกของโลกมา
 การพัฒนาและการดำเนินการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร               โดยตลอด
 สอดคลองกับการจัดการในภาพรวมของโรงเรียนฯ ซึ่ง            • โปรแกรมการยกระดับคุณภาพการเรียนรูของสหราช
 กลุมสาระฯ ไดใชขอกำหนดและมาตรฐานในหลักสูตรการ              อาณาจักรของ Center for Innovation in
 ศึกษาขั้นพื้นฐานป ๒๕๕๑ เปนเกณฑขั้นต่ำ และไดนำเอา          Mathematics Teaching ภายใตการจัดการของมหา
 ปรัชญาและแนวทางการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร จาก                วิทยาลัยพลีมัธและมหาวิทยาลัยเอ็กซีเทอร
 หลักสูตรและมาตรฐานคณิตศาสตรระดับโลกมาใชในการ           • มาตรฐาน NCTM (The National Council of
 ดำเนินการจัดการเรียนรูของโรงเรียนฯ                           Teachers of Mathematics) ซึ่งเปนมาตรฐานการ
 การดำเนินการดังกลาวไดสรางความมั่นใจใหกับโรงเรียนฯ         จัดการเรียนรูคณิตศาสตรที่ใชกันทั่วโลก
 และตัวนักเรียนเอง ถึงศักยภาพและความสามารถดาน            • Website illuminations.nctm.org เปนเว็บไซตที่ให
 คณิตศาสตรของนักเรียนวาครอบคลุมครบถวนทั้งในระดับ            ขอมูล บทเรียน และกิจกรรมการเรียนรูคณิตศาสตร
 ประเทศและระดับมาตรฐานโลก                                      ที่มีประโยชนมาก เว็บไซตดังกลาวนี้ NCTM เปนผู
 แหลงขอมูลที่กลุมสาระฯ นำมาใชนั้นมีมากมายหลายหลาก          ดำเนินการจัดตั้งขึ้นเพื่อเผยแพร ใหความรูการจัด
 โดยเฉพาะอยางยิ่งแหลงขอมูลทางอินเตอรเน็ต ซึ่งองคกร        การเรียนรูดานคณิตศาสตร
 ตางๆ ไดนำเสนอและพิมพเผยแพรองคความรู บทเรียน        • เว็บไซตคณิตศาสตร อื่นๆ ซึ่งจะไดนำเสนอเปน
                                                               แหลงอางอิงในตอนทายนี้
                                                                                                                1
สอนอยางไร...สำคัญไมยิ่งหยอนไปกวา...สอนอะไร                สื่อที่เปนรูปธรรม...รูปภาพ...สัญลักษณ
ขอบเขตหลักสูตรคณิตศาสตรครอบคลุมสาระการเรียนรู
ตางๆ เชน จำนวนและการดำเนินการ เรขาคณิต ชั่งตวงวัด
ขอมูลและการวิเคราะห และโจทยปญหา กลุมสาระ
คณิตศาสตร โรงเรียนอัตตาภิวัฒนใหความสำคัญกับวิธีการ
และแนวทางในการจัดการเรียนการสอนนอกเหนือไปจาก
เนื้อหาในสาระตางๆ เหลานี้ การจัดการกระบวนการเรียนรู
คณิตศาสตรของโรงเรียน เอาใจใสกับประเด็นตอไปนี้
• คำจำกัดความ...เหตุผล...วิธีการ (Know What...Know
     Why...Know How)
• สื่อที่เปนรูปธรรม...รูปภาพ...สัญลักษณ
     (Concrete...Pictorial...Symbols)
• สถานการณของความเปนจริง (Real World Situation)
• แบบจำลอง (Models)
• ความรูสึกทางจำนวน (Sense of Number)
• การเรียนรูแบบบันไดเวียน (Spiral Learning)
• แบบฝกหัดและโจทย
คำจำกัดความ...เหตุผล...วิธีการ (Know What...Know
Why...Know How)




                                                              นักเรียนเปนจำนวนไมนอยที่เห็นวาคณิตศาสตรเปนเรื่อง
                                                              ยาก เพราะไดรับการเริ่มตนสอนดวยสัญลักษณ (ตัวเลข
                                                              เครื่องหมาย) ซึ่งมีความเปนนามธรรม เขาใจไดยาก ใน
                                                              ปจจุบัน ไดมีการพัฒนาสื่อที่จับตองได มีความเปนรูป
                                                              ธรรม และนำมาใชกันอยางแพรหลายในหลักสูตร
                                                              มาตรฐานโลก โรงเรียนอัตตาภิวัฒนไดนำเอาวิธีการและ
                                                              แนวทางดังกลาวนี้มาใช โดยไดจัดหาและจัดกระบวนการ
                                                              เรียนรูที่ตั้งตนจากสิ่งที่เปนรูปธรรม ทำใหเด็กๆเรียน
                                                              อยางเขาใจ สนุกสนานกับการเรียน และประสบผล
                                                              สำเร็จในการเรียนรูไดเปนอยางดี และอยางเต็มศักยภาพ
                                                              ทุกคน




การสอนตั้งตนที่ความหมายของสิ่งที่จะเรียนกอน แทนที่จะ
ใหนักเรียนจดจำวิธีการ การเรียนแบบนี้ทำใหนักเรียนได
เขาใจในเรื่องที่จะเรียนอยางลึกซึ้ง ทำใหการเรียนรูมีความ
หมายกับตัวนักเรียนเอง บอยครั้งที่นักเรียนจะพัฒนาวิธีการ
คิดคำนวณไดเองหลังจากที่ไดทำความเขาใจในคำจำกัดความ
                                                                                                                    2
สถานการณของความเปนจริง (Real World Situation)                 การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตรใชแบบจำลองตางๆ
                                                                ที่หลายหลากเพื่อยกระดับการเรียนรูของเด็กใหลึกซึ้ง
                                                                กวางขวางและเห็นภาพในองครวมไดดียิ่งขึ้น แบบจำลอง
                                                                ดังกลาวจะอยูในรูปของ ตาราง แบบรูป และแผนผัง

                                                                Bar Model แบบจำลองที่นำมาจากหลักสูตรประเทศ
                                                                สิงคโปร
                                                                ตัวอยาง
                                                                                                                3
                                                                ในตอนเชา แมคารายหนึ่งขายไขไกไปไดเทากับ     ของ
                                                                                                                5
                                                                                                      1
                                                                ที่มีอยู ตอมาในตอนบายขายไปไดอีก     ของที่เหลือ
                                                                                                      4
                                                                ถาในตอนเชาแมคาขายไขไกไดมากกวาในตอนบายอยู
                                                                450 ฟอง ในตอนตนแมคารายนี้มีไขไกอยูกี่ฟอง
การเรียนรูในสถานการณความเปนจริง ชวยใหนักเรียน
สามารถนำเอาความรูไปใชประโยชนในชีวิตไดดี สามารถ              วิธีใช Bar Model
ประยุกตใชความรูแกปญหาได การเรียนการสอน
คณิตศาสตรของโรงเรียนฯ ไดสอดแทรกการดำเนินการดัง
กลาวอยูเสมอ กรณีตัวอยางที่เห็นไดอยางเปนรูปธรรมไดแก
การใหนักเรียนชั้นประถม ๒ สำรวจความคิดเห็นโดยให
กลุมตัวอยางไดชิมอาหารจริง บันทึกจริง และนำขอมูลจริง
ดังกลาวมาใชในบทเรียนที่เกี่ยวของกันตอไป

แบบจำลอง




                                                             ความรูสึกทางจำนวน
                                                             การพัฒนาความรูสึกทางจำนวนชวยยกระดับความรูความ
                                                             เขาใจและความหมายในการเรียนรูคณิตศาสตร หลักสูตร
                                                             คณิตศาสตรของโรงเรียนอัตตาภิวัฒนพัฒนาความรูสึกทาง
                                                             จำนวนใหกับนักเรียนใน 6 ดาน คือ
                                                             1. ขนาดที่ดูสมเหตุผล เชน ประตูสูงประมาณ 2.5 เมตร
                                                                 ลิฟตบรรทุกน้ำหนักไดประมาณ 1,000 กิโลกรัม
                                                             2. ความละเอียดแมนยำของขอมูล เชน ลิฟตบรรทุกได
                                                                 หนัก 1,000 กิโลกรัม ไมใช 997.5 กิโลกรัม ความ
                                                                 สามารถในการบรรทุกไมนาจะกำหนดไดละเอียดถึง
                                                                 ระดับทศนิยม
                                                             3. คาอางอิง ตึกที่สูงที่สุดในประเทศไทยสูงประมาณ 300
                                                                 เมตร ขวดน้ำดื่มมีความจุ 500 มิลิลิตร

                                                                                                                      3
-
    4. ทักษะการกะประมาณผลการคำนวณ (บวก ลบ คูณ                 แบบฝกหัดและโจทย
       และหาร) การกะประมาณกอนคำนวณจริง ทำให                 “งานที่มอบหมายที่ตองการใหทำใหเสร็จในหองเรียนหรือที่
       นักเรียนคิดอยางมีเปาหมาย                             บานควรจะตอง ยกระดับความเขาใจ ทักษะและความ
    5. ทักษะการคาดคะเน ความยาว ความจุและน้ำหนัก การ
       กะประมาณกอนดำเนินการชั่งตวงวัดจริง ทำใหนักเรียน      คลองแคลวดานคณิตศาสตรใหกับนักเรียน และพึง
       รูจักเอาใจใส และตั้งเปาหมายการเรียนรู              ระมัดระวังใหแนใจวางานที่มอบหมายเปนสวนเพิ่มเติมที่มี
    6. ทักษะการกะประมาณคา                                    ความหมายของแนวคิดที่สอนในหองเรียน การคำนวณที่
    การเรียนรูแบบบันไดเวียน (Spiral Learning)                ซ้ำซากหรืองานการบานอื่นที่คลายกันมักจะยับยั้งความ
                                                              สรางสรรค ความรักในคณิตศาสตรและความปรารถนาที่จะ
                                                              ตอยอดการเรียนรูของนักเรียน งานที่มอบหมายควรที่จะ
                                                              พัฒนาระดับความคิดที่สูงขึ้นโดยจัดโครงสรางในรูปแบบการ
                                                              แกปญหาเพื่อใหนักเรียนไดมีโอกาสไดประยุกตความคิดทาง
                                                              คณิตศาสตรที่ไดเรียน”
                                                                                     Saskatchewan Education, Canada
                                                              ดวยพื้นฐานการจัดการเรียนรูดังกลาวขางตนทำให โรงเรียน
                                                              อัตตาภิวัฒนมีโอกาสไดศึกษา และคัดสรรโจทยปญหา
                                                              จำนวนมากจากแหลงหลายหลากที่มีคุณภาพเพื่อยกระดับ
                                                              การเรียนรูของนักเรียน
    การเรียนรูแบบบันไดเวียน เปนการจัดการเรียนรูจากงายไป นอกจากนี้แลว โรงเรียนฯ ยังไดพัฒนาโจทยปญหาเฉพาะ
    หายากในแตละสาระหรือหัวขอ โดยใหนักเรียนไดมีโอกาส ดานเพื่อใหนักเรียนไดฝกฝน ประยุกตพื้นฐานความรูผนวก
    เรียนรูในทุกหัวขอในทุกชั้นป แทนที่จะเรียนจบเปนเรื่องๆ กับเทคนิคการแกโจทยปญหาตางลักษณะ
    ในแตละป การจัดการเรียนรูลักษณะนี้สรางความสำเร็จใน
    การเรียนรูใหกับนักเรียนเปนอยางมาก นอกเหนือจาก         แหลงความรูสำคัญในการพัฒนาโจทยปญหาของโรงเรียน
    คณิตศาสตรแลว โรงเรียนอัตตาภิวัฒนไดนำเอาการจัดการ ไดแก โจทยปญหาเฉพาะดานของหลักสูตรประเทศสิงคโปร
    เรียนรูแบบนี้มาใชกับทุกกลุมสาระรายวิชา ผลก็คือนักเรียน โจทยปญหาเพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการคิด
    ไดมีโอกาสพัฒนาตนเอง ไดทบทวนและยกระดับความคิด Innovative Maths ของ CIMT มหาวิยาลัยพลีมัธและมหา
    ความรูความเขาใจ ทักษะและความคลองแคลว ในทุกเรื่อง
                                                              วิทยาลัยเอ็กซีเทอร สหราชอาณาจักร และตำราเรียนของ
                                                              สำนักพิมพ Harcourt ประเทศสหรัฐอเมริกา




                                                                                                                          4
การเรียนรูบนพื้นฐานของทรัพยากรการเรียนรู้ (Resource-
based Learning)
การนำเอาสื่อทรัพยากรมาใชสามารถชวยยกระดับการเรียน
รูของนักเรียนไดเปนอยางดีในทุกดาน
ในกรณีของคณิตศาสตร นั้น สื่อในลักษณะที่เรียกวา
Manipulatives ชวยทำใหนักเรียนไดเรียนรูอยางเปนรูป
ธรรม สรางความคลองแคลว ไหลลื่นใหกับบทเรียน
นักเรียนมีสวนรวมโดยตรงกับบทเรียน ทำใหบทเรียนมี
ความนาสนใจ โรงเรียนอัตตาภิวัฒนไดเล็งเห็นถึงประโยชน
ดังกลาวในการทำใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น จึงไดดำเนินการศึกษา จัดหาและจัด
ทำแผนการเรียนรู เพื่อนำเอาสื่อ Manipulatives มาใชรวม
ในบทเรียนคณิตศาสตรของโรงเรียน




                                                          5
1



            1                       1
            2                       2


        1               1               1
        3               3               3


    1               1       1               1
    4               4       4               4


1               1       1       1           1
5               5       5       5           5


                                                6
ตัวอยางการตอยอดความรูและการจัดกระบวนการเรียนรูของโรงเรียนอัตตาภิวัฒน: สูตรคูณ
ยอมเปนที่ยอมรับกันทั่วไปวา สูตรคูณเปนหัวใจสำคัญอยางหนึ่งของคณิตศาสตร อยางไรก็ตามการเรียนรูสูตรคูณโดยการ
ทองจำนั้นตองอาศัยความอุตสาหะพยายาม ซึ่งทำใหนักเรียนสวนหนึ่งเกิดความทอ ยอมแพ ไมสามารถ”รู” สูตรคูณ ไดอยาง
ขึ้นใจ อีกสวนหนึ่งก็ตองใชความพยายามเปนอยางยิ่ง กวาจะ “รู” สูตรคูณไดตองอาศัยเวลา ทำใหเสียเวลาและเสียโอกาสที่จะ
ไดตอยอดความรูไประยะหนึ่ง และที่เปนผลลบอยางมากคือ ทำใหนักเรียนสวนใหญ “เสียความรูสึก” กับคณิตศาสตร ทำให
เกิดเจตคติที่ไมดีตอคณิตศาสตร วาเปนเรื่องยาก
โรงเรียนอัตตาภิวัฒนไดตระหนักถึงประเด็นปญหาอุปสรรคดังกลาวขางตนเปนอยางดี โดยเฉพาะอยางยิ่ง ปจจัยสำคัญอยาง
หนึ่งที่โรงเรียนฯ ไดใหความสำคัญ และดำเนินมาอยางตอเนื่องโดยตลอด คือ การสรางใหนักเรียนเรียนรูอยางมีความสุข
สนุกสนาน และประสบความสำเร็จในการเรียน
ในกรณีของสูตรคูณนี้ เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่โรงเรียนตั้งไว โรงเรียนฯ ไดตอยอดความคิดจากกระบวนการเรียนรูมาตรฐาน
โลกดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน และนำมาผนวกสรางกระบวนการคิดคำนวณ อยางตอเนื่องจากการบวกเลขหลักมาถึงการคูณ
และสูตรคูณ ดวยกระบวนการเรียนรูที่โรงเรียนฯ ไดออกแบบขึ้นนี้ สามารถทำใหนักเรียน “รู” สูตรคูณอยางลึกซึ้งดวยในชวง
ปลายปชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ดวยความสนุกสนานโดยไมตองใชวิธีทองจำ ทำใหเด็กๆ เกิดแรงบันดาลใจและเจตคติที่ดีตอ
คณิตศาสตร และที่สำคัญอยางยิ่งก็คือ การ “รู” สูตรคูณของเด็กนี้ ครอบคลุมไปถึงความเขาใจในความสัมพันธระหวาง
จำนวนตางๆ ความสัมพันธระหวางการบวกและการคูณ และความหมายของการคูณ ซึ่งเปนพื้นฐานสำคัญสำหรับการเรียนรู
ในระดับตอไป




                       กระบวนการเรียนรูเรื่องการดำเนินการและสูตรคูณของโรงเรียนอัตตาภิวัฒน


                                                                                                                     7
ผลสัมฤทธิ์ของการจัดการเรียนรู
จากการดำเนินการจัดการเรียนการสอนดังกลาวขางตน ทำใหนักเรียนในโรงเรียนฯ ทุกคนประสบผลสำเร็จในการเรียนรู
คณิตศาสตรตามที่โรงเรียนฯ ตั้งเปาหมายไวเปนอยางดียิ่ง สิ่งที่คุณครูและผูปกครองทุกคนเห็นไดทันทีคือนักเรียนทุกคนมี
เจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร มีความตื่นตัว เกิดแรงบันดาลใจ เรียนดวยความกระหายใครรู ไมจำกัดของเขตการเรียนรูของตน
พัฒนาตนเองไปสูการเปนผูเรียนรูตลอดชีวิตอยางธรรมชาติ ในขณะเดียวกันนักเรียนอัตตาภิวัฒนทุกรุนสามารถทำคะแนน
เฉลี่ยในการสอบระดับชาติ (O-net) อยางโดดเดน อยูระดับดีเยี่ยมมาโดยตลอด
                       ผลสอบคณิตศาสตรกระทรวงศึกษาฯ ป ๒๕๕๐
90
80
70
60
50
40
30
20
10
 0
                      ป. ๒                                 ป. ๕                         ป. ๖ (O-NET)
           เฉลี่ยจังหวัด             เฉลี่ยเอกชนจังหวัด               เฉลี่ยประเทศ               อัตตาภิวัฒน




                                                                                                                        8
ผลสอบคณิตศาสตรกระทรวงศึกษาฯ ป ๒๕๕๑
80
70
60
50
40
30
20
10
 0
          ป. ๒                ป. ๓(NT)          ป. ๕               ป. ๖ (O-NET)
     เฉลี่ยจังหวัด        เฉลี่ยเอกชนจังหวัด   เฉลี่ยประเทศ          อัตตาภิวัฒน

                ผลสอบคณิตศาสตรกระทรวงศึกษาฯ ป ๒๕๕๒
80
70
60
50
40
30
20
10
 0
          ป. ๒                ป. ๓(NT)          ป. ๕               ป. ๖ (O-NET)
                     เฉลี่ยจังหวัด                  อัตตาภิวัฒน



                                                                                    9
แมวาการดำเนินการเพื่อการจัดการเรียนรูในระดับมาตรฐานโลก ตองอาศัยความมุงมั่น ตั้งใจ ความคิด และทรัพยากร
สนับสนุนเปนอยางมาก ผลที่เกิดขึ้นดังที่ไดกลาวในเบื้องตนนับไดวาคุมคาเปนอยางยิ่ง ยิ่งไปกวานั้นดวยพื้นฐานการเรียนรู
ระดับมาตรฐานโลกที่โรงเรียนฯ พัฒนาขึ้นประกอบกับเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเตอรเน็ต ยังทำใหโรงเรียนฯ สามารถปรับ
แตง พัฒนาการจัดการเรียนรูอยางตอเนื่อง ทำใหกาวทันการจัดการศึกษาคุณภาพทั่วโลกอยูเสมอ Websites ที่เผยแพรใน
อินเตอรเน็ตนับเปนแหลงทรัพยากรสำคัญอยางหนึ่ง เราสามารถคนหา Websites คุณภาพที่สนับสนุนการจัดการเรียนรู
คณิตศาสตรในลักษณะตางๆ ไดมากมายหลายหลาก แทบจะกลาวไดวาเรานาจะหารูปแบบการสนับสนุนการจัดการเรียนรูได
ทุกรูปแบบเทาที่ตองการ ไมวาจะเปน แนวคิด ปรัชญา หลักสูตร แนวทางการจัดการเรียนรู แผนการเรียนรู สื่อ หรือ
กิจกรรมการเรียนรูในรูปของ Virtual manipulatives ตัวอยางแหลงอางอิง Websites เพื่อสืบคน หรือนำมาใชพัฒนาการเรียน
รูใหกับเด็ก มีดังตอไปนี้

http://illuminations.nctm.org/

http://www.arcytech.org/

http://explorer.scrtec.org/explorer/explorer-db/html/783749995-447DED81.html

http://edweb.sdsu.edu/courses/edtec670/

http://mathforum.org/varnelle/knum.html

http://www.mathcats.com/microworlds/whatacrowd.html

http://mathforum.org/arithmetic/arithmetic.html

http://mathforum.org/workshops/usi/pascal/petals_pascal.html

http://www.figurethis.org/index.html

http://nlvm.usu.edu/en/nav/vlibrary.html

http://www.cimt.plymouth.ac.uk/

http://www.sasked.gov.sk.ca/branches/curr/evergreen/index.shtml

http://www.nctm.org/

http://mathcentral.uregina.ca/RR/database/RR.09.96/archamb1.html

http://math.rice.edu/~lanius/Lessons/Polys/poly1.html

http://britton.disted.camosun.bc.ca/jbsymteslk.htm

http://mathforum.org/trscavo/tangrams/contents.html

http://mathforum.org/workshops/sum98/participants/muenster/index2.html

http://mathforum.org/trscavo/geoboards/

http://www.geom.uiuc.edu/~demo5337/s97b/

http://mathforum.org/alejandre/frisbie/math/leonardo.html
                                                                                                                          10
http://www.maths.surrey.ac.uk/hosted-sites/R.Knott/Fibonacci/fib.html


http://www.aplusmath.com/Games/index.html

http://www.quickmath.com/

http://www.geom.uiuc.edu/~lori/mathed/problems/




                                                                       11

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการsrkschool
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงคุณครูพี่อั๋น
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาJirathorn Buenglee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
9789740329497
97897403294979789740329497
9789740329497CUPress
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์srkschool
 
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12Orange Wongwaiwit
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับsayunwanlor
 

Tendances (19)

แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
9789740329497
97897403294979789740329497
9789740329497
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 

Similaire à Math website

ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะkrupornpana55
 
ปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซตปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซตteachersaman
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษาsuchinmam
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนwatdang
 
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑kroosomsri
 
Basic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryBasic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryArtit Promratpan
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาsuchinmam
 

Similaire à Math website (20)

ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
 
ปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซตปกเล่มที่ 1 เซต
ปกเล่มที่ 1 เซต
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
1ปกสอน
1ปกสอน1ปกสอน
1ปกสอน
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
2222222
22222222222222
2222222
 
Basic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the countryBasic education challenge for status of the country
Basic education challenge for status of the country
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 

Math website

  • 1. คณิตศาสตร (Mathematics) แนวทางการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู กลุมสาระวิชาคณิตศาสตร โรงเรียนอัตตาภิวัฒน ไดตั้งเปาหมายการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรของโรงเรียน ใหเปนการจัดการเรียนรูระดับชั้นนำในมาตรฐานโลกที่ปรับแตงใหสอดคลองกับบริบทของไทย บรรยากาศใน หองเรียน เจตคติ ความมั่นใจและแรงบันดาลตอการเรียนรูคณิตศาสตรของเด็กนักเรียนอัตตาภิวัฒน ตลอด จนถึงผลการสอบที่ดีเยี่ยมในระดับประเทศและความสำเร็จในการเรียนในระดับมัธยมของนักเรียนที่จบไปแลว ลวนสะทอนใหเห็นถึงความสำเร็จสู เปาหมายของโรงเรียนฯไดเปนอยางดี โจทยปญหา และกิจกรรมการเรียนรู ไวอยางมากมาย ซึ่งกลุมสาระฯ คณิตศาสตร โรงเรียนอัตตาภิวัฒนใครถือ โอกาสนี้แสดงความขอบคุณในความเปดกวางขององคกร เหลานี้มา ณ.ที่นี้ แหลงความรูและแหลงขอมูลหลักๆ ที่ กลุมสาระฯ นำมาประยุกตใชในการพัฒนาและจัดการ เรียนรูของโรงเรียนฯ ไดแก • Evergreen Curriculum ของ รัฐ Saskatchewan ประเทศ Canada • ตำราเรียนคณิตศาสตร ของสำนักพิมพ Harcourt ประเทศสหรัฐอเมริกา ตำราดังกลาวเปนตำราที่ใช กันทั่วไป เปนที่นิยมอยางแพรหลายในสหรัฐอเมริกา • หลักสูตรของประเทศสิงคโปร ในชวงระยะเวลานับ สิบปที่ผานมา ประเทศสิงคโปรนับเปนประเทศที่ ประสบความสำเร็จดานการจัดการศึกษาเปนอยาง แนวทางการพัฒนาหลักสูตร มาก โดยไดถูกจัดใหอยูใน 3 ลำดับแรกของโลกมา การพัฒนาและการดำเนินการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร โดยตลอด สอดคลองกับการจัดการในภาพรวมของโรงเรียนฯ ซึ่ง • โปรแกรมการยกระดับคุณภาพการเรียนรูของสหราช กลุมสาระฯ ไดใชขอกำหนดและมาตรฐานในหลักสูตรการ อาณาจักรของ Center for Innovation in ศึกษาขั้นพื้นฐานป ๒๕๕๑ เปนเกณฑขั้นต่ำ และไดนำเอา Mathematics Teaching ภายใตการจัดการของมหา ปรัชญาและแนวทางการจัดการเรียนรูคณิตศาสตร จาก วิทยาลัยพลีมัธและมหาวิทยาลัยเอ็กซีเทอร หลักสูตรและมาตรฐานคณิตศาสตรระดับโลกมาใชในการ • มาตรฐาน NCTM (The National Council of ดำเนินการจัดการเรียนรูของโรงเรียนฯ Teachers of Mathematics) ซึ่งเปนมาตรฐานการ การดำเนินการดังกลาวไดสรางความมั่นใจใหกับโรงเรียนฯ จัดการเรียนรูคณิตศาสตรที่ใชกันทั่วโลก และตัวนักเรียนเอง ถึงศักยภาพและความสามารถดาน • Website illuminations.nctm.org เปนเว็บไซตที่ให คณิตศาสตรของนักเรียนวาครอบคลุมครบถวนทั้งในระดับ ขอมูล บทเรียน และกิจกรรมการเรียนรูคณิตศาสตร ประเทศและระดับมาตรฐานโลก ที่มีประโยชนมาก เว็บไซตดังกลาวนี้ NCTM เปนผู แหลงขอมูลที่กลุมสาระฯ นำมาใชนั้นมีมากมายหลายหลาก ดำเนินการจัดตั้งขึ้นเพื่อเผยแพร ใหความรูการจัด โดยเฉพาะอยางยิ่งแหลงขอมูลทางอินเตอรเน็ต ซึ่งองคกร การเรียนรูดานคณิตศาสตร ตางๆ ไดนำเสนอและพิมพเผยแพรองคความรู บทเรียน • เว็บไซตคณิตศาสตร อื่นๆ ซึ่งจะไดนำเสนอเปน แหลงอางอิงในตอนทายนี้ 1
  • 2. สอนอยางไร...สำคัญไมยิ่งหยอนไปกวา...สอนอะไร สื่อที่เปนรูปธรรม...รูปภาพ...สัญลักษณ ขอบเขตหลักสูตรคณิตศาสตรครอบคลุมสาระการเรียนรู ตางๆ เชน จำนวนและการดำเนินการ เรขาคณิต ชั่งตวงวัด ขอมูลและการวิเคราะห และโจทยปญหา กลุมสาระ คณิตศาสตร โรงเรียนอัตตาภิวัฒนใหความสำคัญกับวิธีการ และแนวทางในการจัดการเรียนการสอนนอกเหนือไปจาก เนื้อหาในสาระตางๆ เหลานี้ การจัดการกระบวนการเรียนรู คณิตศาสตรของโรงเรียน เอาใจใสกับประเด็นตอไปนี้ • คำจำกัดความ...เหตุผล...วิธีการ (Know What...Know Why...Know How) • สื่อที่เปนรูปธรรม...รูปภาพ...สัญลักษณ (Concrete...Pictorial...Symbols) • สถานการณของความเปนจริง (Real World Situation) • แบบจำลอง (Models) • ความรูสึกทางจำนวน (Sense of Number) • การเรียนรูแบบบันไดเวียน (Spiral Learning) • แบบฝกหัดและโจทย คำจำกัดความ...เหตุผล...วิธีการ (Know What...Know Why...Know How) นักเรียนเปนจำนวนไมนอยที่เห็นวาคณิตศาสตรเปนเรื่อง ยาก เพราะไดรับการเริ่มตนสอนดวยสัญลักษณ (ตัวเลข เครื่องหมาย) ซึ่งมีความเปนนามธรรม เขาใจไดยาก ใน ปจจุบัน ไดมีการพัฒนาสื่อที่จับตองได มีความเปนรูป ธรรม และนำมาใชกันอยางแพรหลายในหลักสูตร มาตรฐานโลก โรงเรียนอัตตาภิวัฒนไดนำเอาวิธีการและ แนวทางดังกลาวนี้มาใช โดยไดจัดหาและจัดกระบวนการ เรียนรูที่ตั้งตนจากสิ่งที่เปนรูปธรรม ทำใหเด็กๆเรียน อยางเขาใจ สนุกสนานกับการเรียน และประสบผล สำเร็จในการเรียนรูไดเปนอยางดี และอยางเต็มศักยภาพ ทุกคน การสอนตั้งตนที่ความหมายของสิ่งที่จะเรียนกอน แทนที่จะ ใหนักเรียนจดจำวิธีการ การเรียนแบบนี้ทำใหนักเรียนได เขาใจในเรื่องที่จะเรียนอยางลึกซึ้ง ทำใหการเรียนรูมีความ หมายกับตัวนักเรียนเอง บอยครั้งที่นักเรียนจะพัฒนาวิธีการ คิดคำนวณไดเองหลังจากที่ไดทำความเขาใจในคำจำกัดความ 2
  • 3. สถานการณของความเปนจริง (Real World Situation) การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตรใชแบบจำลองตางๆ ที่หลายหลากเพื่อยกระดับการเรียนรูของเด็กใหลึกซึ้ง กวางขวางและเห็นภาพในองครวมไดดียิ่งขึ้น แบบจำลอง ดังกลาวจะอยูในรูปของ ตาราง แบบรูป และแผนผัง Bar Model แบบจำลองที่นำมาจากหลักสูตรประเทศ สิงคโปร ตัวอยาง 3 ในตอนเชา แมคารายหนึ่งขายไขไกไปไดเทากับ ของ 5 1 ที่มีอยู ตอมาในตอนบายขายไปไดอีก ของที่เหลือ 4 ถาในตอนเชาแมคาขายไขไกไดมากกวาในตอนบายอยู 450 ฟอง ในตอนตนแมคารายนี้มีไขไกอยูกี่ฟอง การเรียนรูในสถานการณความเปนจริง ชวยใหนักเรียน สามารถนำเอาความรูไปใชประโยชนในชีวิตไดดี สามารถ วิธีใช Bar Model ประยุกตใชความรูแกปญหาได การเรียนการสอน คณิตศาสตรของโรงเรียนฯ ไดสอดแทรกการดำเนินการดัง กลาวอยูเสมอ กรณีตัวอยางที่เห็นไดอยางเปนรูปธรรมไดแก การใหนักเรียนชั้นประถม ๒ สำรวจความคิดเห็นโดยให กลุมตัวอยางไดชิมอาหารจริง บันทึกจริง และนำขอมูลจริง ดังกลาวมาใชในบทเรียนที่เกี่ยวของกันตอไป แบบจำลอง ความรูสึกทางจำนวน การพัฒนาความรูสึกทางจำนวนชวยยกระดับความรูความ เขาใจและความหมายในการเรียนรูคณิตศาสตร หลักสูตร คณิตศาสตรของโรงเรียนอัตตาภิวัฒนพัฒนาความรูสึกทาง จำนวนใหกับนักเรียนใน 6 ดาน คือ 1. ขนาดที่ดูสมเหตุผล เชน ประตูสูงประมาณ 2.5 เมตร ลิฟตบรรทุกน้ำหนักไดประมาณ 1,000 กิโลกรัม 2. ความละเอียดแมนยำของขอมูล เชน ลิฟตบรรทุกได หนัก 1,000 กิโลกรัม ไมใช 997.5 กิโลกรัม ความ สามารถในการบรรทุกไมนาจะกำหนดไดละเอียดถึง ระดับทศนิยม 3. คาอางอิง ตึกที่สูงที่สุดในประเทศไทยสูงประมาณ 300 เมตร ขวดน้ำดื่มมีความจุ 500 มิลิลิตร 3
  • 4. - 4. ทักษะการกะประมาณผลการคำนวณ (บวก ลบ คูณ แบบฝกหัดและโจทย และหาร) การกะประมาณกอนคำนวณจริง ทำให “งานที่มอบหมายที่ตองการใหทำใหเสร็จในหองเรียนหรือที่ นักเรียนคิดอยางมีเปาหมาย บานควรจะตอง ยกระดับความเขาใจ ทักษะและความ 5. ทักษะการคาดคะเน ความยาว ความจุและน้ำหนัก การ กะประมาณกอนดำเนินการชั่งตวงวัดจริง ทำใหนักเรียน คลองแคลวดานคณิตศาสตรใหกับนักเรียน และพึง รูจักเอาใจใส และตั้งเปาหมายการเรียนรู ระมัดระวังใหแนใจวางานที่มอบหมายเปนสวนเพิ่มเติมที่มี 6. ทักษะการกะประมาณคา ความหมายของแนวคิดที่สอนในหองเรียน การคำนวณที่ การเรียนรูแบบบันไดเวียน (Spiral Learning) ซ้ำซากหรืองานการบานอื่นที่คลายกันมักจะยับยั้งความ สรางสรรค ความรักในคณิตศาสตรและความปรารถนาที่จะ ตอยอดการเรียนรูของนักเรียน งานที่มอบหมายควรที่จะ พัฒนาระดับความคิดที่สูงขึ้นโดยจัดโครงสรางในรูปแบบการ แกปญหาเพื่อใหนักเรียนไดมีโอกาสไดประยุกตความคิดทาง คณิตศาสตรที่ไดเรียน” Saskatchewan Education, Canada ดวยพื้นฐานการจัดการเรียนรูดังกลาวขางตนทำให โรงเรียน อัตตาภิวัฒนมีโอกาสไดศึกษา และคัดสรรโจทยปญหา จำนวนมากจากแหลงหลายหลากที่มีคุณภาพเพื่อยกระดับ การเรียนรูของนักเรียน การเรียนรูแบบบันไดเวียน เปนการจัดการเรียนรูจากงายไป นอกจากนี้แลว โรงเรียนฯ ยังไดพัฒนาโจทยปญหาเฉพาะ หายากในแตละสาระหรือหัวขอ โดยใหนักเรียนไดมีโอกาส ดานเพื่อใหนักเรียนไดฝกฝน ประยุกตพื้นฐานความรูผนวก เรียนรูในทุกหัวขอในทุกชั้นป แทนที่จะเรียนจบเปนเรื่องๆ กับเทคนิคการแกโจทยปญหาตางลักษณะ ในแตละป การจัดการเรียนรูลักษณะนี้สรางความสำเร็จใน การเรียนรูใหกับนักเรียนเปนอยางมาก นอกเหนือจาก แหลงความรูสำคัญในการพัฒนาโจทยปญหาของโรงเรียน คณิตศาสตรแลว โรงเรียนอัตตาภิวัฒนไดนำเอาการจัดการ ไดแก โจทยปญหาเฉพาะดานของหลักสูตรประเทศสิงคโปร เรียนรูแบบนี้มาใชกับทุกกลุมสาระรายวิชา ผลก็คือนักเรียน โจทยปญหาเพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการคิด ไดมีโอกาสพัฒนาตนเอง ไดทบทวนและยกระดับความคิด Innovative Maths ของ CIMT มหาวิยาลัยพลีมัธและมหา ความรูความเขาใจ ทักษะและความคลองแคลว ในทุกเรื่อง วิทยาลัยเอ็กซีเทอร สหราชอาณาจักร และตำราเรียนของ สำนักพิมพ Harcourt ประเทศสหรัฐอเมริกา 4
  • 5. การเรียนรูบนพื้นฐานของทรัพยากรการเรียนรู้ (Resource- based Learning) การนำเอาสื่อทรัพยากรมาใชสามารถชวยยกระดับการเรียน รูของนักเรียนไดเปนอยางดีในทุกดาน ในกรณีของคณิตศาสตร นั้น สื่อในลักษณะที่เรียกวา Manipulatives ชวยทำใหนักเรียนไดเรียนรูอยางเปนรูป ธรรม สรางความคลองแคลว ไหลลื่นใหกับบทเรียน นักเรียนมีสวนรวมโดยตรงกับบทเรียน ทำใหบทเรียนมี ความนาสนใจ โรงเรียนอัตตาภิวัฒนไดเล็งเห็นถึงประโยชน ดังกลาวในการทำใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น จึงไดดำเนินการศึกษา จัดหาและจัด ทำแผนการเรียนรู เพื่อนำเอาสื่อ Manipulatives มาใชรวม ในบทเรียนคณิตศาสตรของโรงเรียน 5
  • 6. 1 1 1 2 2 1 1 1 3 3 3 1 1 1 1 4 4 4 4 1 1 1 1 1 5 5 5 5 5 6
  • 7. ตัวอยางการตอยอดความรูและการจัดกระบวนการเรียนรูของโรงเรียนอัตตาภิวัฒน: สูตรคูณ ยอมเปนที่ยอมรับกันทั่วไปวา สูตรคูณเปนหัวใจสำคัญอยางหนึ่งของคณิตศาสตร อยางไรก็ตามการเรียนรูสูตรคูณโดยการ ทองจำนั้นตองอาศัยความอุตสาหะพยายาม ซึ่งทำใหนักเรียนสวนหนึ่งเกิดความทอ ยอมแพ ไมสามารถ”รู” สูตรคูณ ไดอยาง ขึ้นใจ อีกสวนหนึ่งก็ตองใชความพยายามเปนอยางยิ่ง กวาจะ “รู” สูตรคูณไดตองอาศัยเวลา ทำใหเสียเวลาและเสียโอกาสที่จะ ไดตอยอดความรูไประยะหนึ่ง และที่เปนผลลบอยางมากคือ ทำใหนักเรียนสวนใหญ “เสียความรูสึก” กับคณิตศาสตร ทำให เกิดเจตคติที่ไมดีตอคณิตศาสตร วาเปนเรื่องยาก โรงเรียนอัตตาภิวัฒนไดตระหนักถึงประเด็นปญหาอุปสรรคดังกลาวขางตนเปนอยางดี โดยเฉพาะอยางยิ่ง ปจจัยสำคัญอยาง หนึ่งที่โรงเรียนฯ ไดใหความสำคัญ และดำเนินมาอยางตอเนื่องโดยตลอด คือ การสรางใหนักเรียนเรียนรูอยางมีความสุข สนุกสนาน และประสบความสำเร็จในการเรียน ในกรณีของสูตรคูณนี้ เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่โรงเรียนตั้งไว โรงเรียนฯ ไดตอยอดความคิดจากกระบวนการเรียนรูมาตรฐาน โลกดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน และนำมาผนวกสรางกระบวนการคิดคำนวณ อยางตอเนื่องจากการบวกเลขหลักมาถึงการคูณ และสูตรคูณ ดวยกระบวนการเรียนรูที่โรงเรียนฯ ไดออกแบบขึ้นนี้ สามารถทำใหนักเรียน “รู” สูตรคูณอยางลึกซึ้งดวยในชวง ปลายปชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ ดวยความสนุกสนานโดยไมตองใชวิธีทองจำ ทำใหเด็กๆ เกิดแรงบันดาลใจและเจตคติที่ดีตอ คณิตศาสตร และที่สำคัญอยางยิ่งก็คือ การ “รู” สูตรคูณของเด็กนี้ ครอบคลุมไปถึงความเขาใจในความสัมพันธระหวาง จำนวนตางๆ ความสัมพันธระหวางการบวกและการคูณ และความหมายของการคูณ ซึ่งเปนพื้นฐานสำคัญสำหรับการเรียนรู ในระดับตอไป กระบวนการเรียนรูเรื่องการดำเนินการและสูตรคูณของโรงเรียนอัตตาภิวัฒน 7
  • 8. ผลสัมฤทธิ์ของการจัดการเรียนรู จากการดำเนินการจัดการเรียนการสอนดังกลาวขางตน ทำใหนักเรียนในโรงเรียนฯ ทุกคนประสบผลสำเร็จในการเรียนรู คณิตศาสตรตามที่โรงเรียนฯ ตั้งเปาหมายไวเปนอยางดียิ่ง สิ่งที่คุณครูและผูปกครองทุกคนเห็นไดทันทีคือนักเรียนทุกคนมี เจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร มีความตื่นตัว เกิดแรงบันดาลใจ เรียนดวยความกระหายใครรู ไมจำกัดของเขตการเรียนรูของตน พัฒนาตนเองไปสูการเปนผูเรียนรูตลอดชีวิตอยางธรรมชาติ ในขณะเดียวกันนักเรียนอัตตาภิวัฒนทุกรุนสามารถทำคะแนน เฉลี่ยในการสอบระดับชาติ (O-net) อยางโดดเดน อยูระดับดีเยี่ยมมาโดยตลอด ผลสอบคณิตศาสตรกระทรวงศึกษาฯ ป ๒๕๕๐ 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 ป. ๒ ป. ๕ ป. ๖ (O-NET) เฉลี่ยจังหวัด เฉลี่ยเอกชนจังหวัด เฉลี่ยประเทศ อัตตาภิวัฒน 8
  • 9. ผลสอบคณิตศาสตรกระทรวงศึกษาฯ ป ๒๕๕๑ 80 70 60 50 40 30 20 10 0 ป. ๒ ป. ๓(NT) ป. ๕ ป. ๖ (O-NET) เฉลี่ยจังหวัด เฉลี่ยเอกชนจังหวัด เฉลี่ยประเทศ อัตตาภิวัฒน ผลสอบคณิตศาสตรกระทรวงศึกษาฯ ป ๒๕๕๒ 80 70 60 50 40 30 20 10 0 ป. ๒ ป. ๓(NT) ป. ๕ ป. ๖ (O-NET) เฉลี่ยจังหวัด อัตตาภิวัฒน 9
  • 10. แมวาการดำเนินการเพื่อการจัดการเรียนรูในระดับมาตรฐานโลก ตองอาศัยความมุงมั่น ตั้งใจ ความคิด และทรัพยากร สนับสนุนเปนอยางมาก ผลที่เกิดขึ้นดังที่ไดกลาวในเบื้องตนนับไดวาคุมคาเปนอยางยิ่ง ยิ่งไปกวานั้นดวยพื้นฐานการเรียนรู ระดับมาตรฐานโลกที่โรงเรียนฯ พัฒนาขึ้นประกอบกับเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเตอรเน็ต ยังทำใหโรงเรียนฯ สามารถปรับ แตง พัฒนาการจัดการเรียนรูอยางตอเนื่อง ทำใหกาวทันการจัดการศึกษาคุณภาพทั่วโลกอยูเสมอ Websites ที่เผยแพรใน อินเตอรเน็ตนับเปนแหลงทรัพยากรสำคัญอยางหนึ่ง เราสามารถคนหา Websites คุณภาพที่สนับสนุนการจัดการเรียนรู คณิตศาสตรในลักษณะตางๆ ไดมากมายหลายหลาก แทบจะกลาวไดวาเรานาจะหารูปแบบการสนับสนุนการจัดการเรียนรูได ทุกรูปแบบเทาที่ตองการ ไมวาจะเปน แนวคิด ปรัชญา หลักสูตร แนวทางการจัดการเรียนรู แผนการเรียนรู สื่อ หรือ กิจกรรมการเรียนรูในรูปของ Virtual manipulatives ตัวอยางแหลงอางอิง Websites เพื่อสืบคน หรือนำมาใชพัฒนาการเรียน รูใหกับเด็ก มีดังตอไปนี้ http://illuminations.nctm.org/ http://www.arcytech.org/ http://explorer.scrtec.org/explorer/explorer-db/html/783749995-447DED81.html http://edweb.sdsu.edu/courses/edtec670/ http://mathforum.org/varnelle/knum.html http://www.mathcats.com/microworlds/whatacrowd.html http://mathforum.org/arithmetic/arithmetic.html http://mathforum.org/workshops/usi/pascal/petals_pascal.html http://www.figurethis.org/index.html http://nlvm.usu.edu/en/nav/vlibrary.html http://www.cimt.plymouth.ac.uk/ http://www.sasked.gov.sk.ca/branches/curr/evergreen/index.shtml http://www.nctm.org/ http://mathcentral.uregina.ca/RR/database/RR.09.96/archamb1.html http://math.rice.edu/~lanius/Lessons/Polys/poly1.html http://britton.disted.camosun.bc.ca/jbsymteslk.htm http://mathforum.org/trscavo/tangrams/contents.html http://mathforum.org/workshops/sum98/participants/muenster/index2.html http://mathforum.org/trscavo/geoboards/ http://www.geom.uiuc.edu/~demo5337/s97b/ http://mathforum.org/alejandre/frisbie/math/leonardo.html 10