SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
ความปลอดภัยในการใช้
สังคมออนไลน์
ในโลกยุคใหม่ที่ไร้พรมแดน ผู้คนสามารถเดินทางข้ามพรมแดน
ข้ามกาลเวลาไปพบปะพูดคุยกับใครก็ได้ที่ไหนก็ได้เวลาใดก็ย่อมได้เพียง
แค่ปลายนิ้วสัมผัส โดยเริ่มจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่มี
อัตราเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จะเห็นได้ว่าความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
สารสนเทศจะมีผลต่อระบบการศึกษาโดยตรง ทั้งนี้ เนื่องจากเทคโนโลยี
สารสนเทศจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ความรอบรู้
จัดระบบประมวลผล ส่งผ่านและสื่อสารด้วยความเร็วสูงและปริมาณมาก
นาเสนอและแสดงผลด้วยระบบสื่อต่าง ๆ ทั้งทางด้านข้อมูล รูปภาพ เสียง
ภาพเคลื่อนไหว และวิดีโอ อีกทั้งยังสามารถสร้างระบบการมีปฏิสัมพันธ์
โต้ตอบทาให้การเรียนรู้ในยุคใหม่ประสบผลสาเร็จด้วยดี
ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์
ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์มีด้วยกันหลายชนิด ขึ้นอยู่กับลักษณะของการนามาใช้
โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่ม หลักดังนี้
1. Weblogs หรือเรียกสั้นๆ ว่า Blogs คือ สื่อส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่
ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบ่งปันให้บุคคลอื่นๆ โดยผู้รับสาร
สามารถเข้าไปอ่าน หรือแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ซึ่งการแสดงเนื้อหาของบล็อกนั้นจะเรียงลาดับ
จากเนื้อหาใหม่ไปสู่เนื้อหาเก่า ผู้เขียนและผู้อ่านสามารถค้นหาเนื้อหาย้อนหลังเพื่ออ่านและแก้ไข
เพิ่มเติมได้ตลอดเวลา เช่น Exteen, Bloggang, Wordpress,Blogger, Okanation
2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายทาง
สังคมที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพื่อให้เกิดเป็นกลุ่มสังคม (Social
Community) เพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนและแบ่งปันข้อมูลระหว่างกันทั้งด้านธุรกิจ การเมือง
การศึกษา เช่น Facebook, Hi5, Ning, Linked in,MySpace, Youmeo, Friendste
3. Micro Blogging และ MicroSharing หรือที่เรียกกันว่า “บล็อกจิ๋ว” ซึ่งเป็นเว็บ
เซอร์วิสหรือเว็บไซต์ที่ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป สาหรับให้ผู้ใช้บริการเขียนข้อความสั้นๆ ประมาณ
140 ตัวอักษร ที่เรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพื่อแสดงสถานะของตัวเองว่ากาลังทาอะไรอยู่
หรือแจ้งข่าวสารต่างๆ แก่กลุ่มเพื่อนในสังคมออนไลน์ (Online Social Network)
(Wikipedia,2010) ทั้งนี้การกาหนดให้ใช้ข้อมูลในรูปข้อความสั้นๆ ก็เพื่อให้ผู้ใช้ที่เป็นทั้งผู้เขียน
และผู้อ่านเข้าใจง่าย ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคือ Twitter
4. Online Video เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งปัจจุบัน
ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเนื้อหาที่นาเสนอในวิดีโอ
ออนไลน์ไม่ถูกจากัดโดยผังรายการที่แน่นอนและตายตัว ทาให้ผู้ใช้บริการสามารถติดตามชมได้อย่าง
ต่อเนื่อง เพราะไม่มีโฆษณาคั่น รวมทั้งผู้ใช้สามารถเลือกชมเนื้อหาได้ตามความต้องการและยัง
สามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บวิดีโออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้จานวนมากอีกด้วย เช่น Youtube, MSN,
Yahoo
5. Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใช้บริการสามารถอัพโหลด
และดาวน์โหลดรูปภาพเพื่อนามาใช้งานได้ ที่สาคัญนอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปัน
รูปภาพแล้ว ยังสามารถใช้เป็นพื้นที่เพื่อเสนอขายภาพที่ตนเองนาเข้าไปฝากได้อีกด้วย เช่น Flickr,
Photobucket, Photoshop,Express, Zooom
6. Wikis เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) ซึ่ง
ผู้เขียนส่วนใหญ่อาจจะเป็นนักวิชาการ นักวิชาชีพหรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ทั้งการเมือง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ซึ่งผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้อย่างอิสระ เช่น Wikipedia,
Google Earth,diggZy Favorites Online
7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจาลองส่วนหนึ่งของชีวิตลงไป จัดเป็นสื่อ
สังคมออนไลน์ที่บรรดาผู้ท่องโลกไซเบอร์ใช้เพื่อสื่อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ตในลักษณะโลก
เสมือนจริง (Virtual Reality) ซึ่งผู้ที่จะเข้าไปใช้บริการอาจจะบริษัทหรือองค์การด้านธุรกิจ ด้าน
การศึกษา รวมถึงองค์การด้านสื่อ เช่น สานักข่าวรอยเตอร์ สานักข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสียค่าใช้จ่ายใน
การซื้อพื้นที่เพื่อให้บุคคลในบริษัทหรือองค์กรได้มีช่องทางในการนาเสนอเรื่องราวต่างๆ ไปยังกลุ่ม
เครือข่ายผู้ใช้สื่อออนไลน์ ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่ม ลูกค้าทั้งหลัก และรองหรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของ
บริษัท หรือองค์การก็ได้ปัจจุบันเว็บไซต์ที่ใช้หลัก Virtual Worlds ที่ประสบผลสาเร็จและมีชื่อเสียง
คือ Second life
8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคาสองคาคือ Crowd และ Outsourcing เป็น
หลักการขอความร่วมมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทาในรูปของเว็บไซต์
ที่มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อค้นหาคาตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆทั้งทางธุรกิจ การศึกษา รวมทั้งการ
สื่อสาร โดยอาจจะเป็นการดึงความร่วมมือจากเครือข่ายทางสังคมมาช่วยตรวจสอบข้อมูลเสนอความ
คิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะ กลุ่มคนที่เข้ามาให้ข้อมูลอาจจะเป็นประชาชนทั่วไปหรือผู้มีความ
เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่อยู่ในภาคธุรกิจหรือแม้แต่ในสังคม
9. Podcasting หรือ Podcast มาจากการรวมตัวของสองคา คือ “Pod”กับ
“Broadcasting” ซึ่ง “POD”หรือ PersonalOn - Demand คือ อุปสงค์หรือความต้องการส่วน
บุคคล ส่วน“Broadcasting” เป็นการนาสื่อต่างๆ มารวมกันในรูปของภาพและเสียง หรืออาจกล่าว
ง่ายๆ Podcast คือ การบันทึกภาพและเสียงแล้วนามาไว้ในเว็บเพจ เพื่อเผยแพร่ให้บุคคลภายนอก ที่
สนใจดาวน์โหลดเพื่อนาไปใช้งาน เช่น Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast
10. Discuss / Review/ Opinion เป็นเว็บบอร์ดที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความ
คิดเห็น โดยอาจจะเกี่ยวกับ สินค้าหรือบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เช่น
Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp
การสร้างเสริมความปลอดภัยทั้งแก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชน ต้องทาอย่าง
เป็นกระบวนการ และมีจิตสานึกที่ดีในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่อาจนามาซึ่งความไม่
ปลอดภัยในสังคม จึงเป็นสิ่งจาเป็นที่ตัวเราควรศึกษา และเข้าใจถึงแนวปฏิบัติให้เหมาะสม
จะได้นาพาชุมชม และสังคมไปสู่ความเป็นวิถีชีวิตที่ปลอดภัยตลอดไป
1. คุณค่าของกระบวนการสร้างเสริมความปลอดภัยให้ชุมชน
การสร้างเสริมความปลอดภัยให้ชุมชนต้องทาอย่างเป็นกระบวนการ คือ มีการ
วางแผน การปฏิบัติตามแผน และการประเมินผล ซึ่งจะให้คุณค่าต่อตนเองและต่อคนใน
ชุมชน ดังนี้
1. ส่งเสริมสุขภาพกาย เมื่อมนุษย์มีความปลอดภัยจากสิ่งต่างๆ เพราะไม่มี
อันตรายเกิดขึ้น ก็จะทาให้เป็นผู้ที่มีสุขภาพดี เมื่อมีสุขภาพดีถ้วนหน้า ชุมชนก็จะเข้มแข็ง
เพราะคนในชุมชนมีสุขภาพดี
2. ส่งเสริมสุขภาพจิต เมื่อชุมชนมีความปลอดภัย ไม่มีโจรผู้ร้าย คนขายยาบ้า
หรือสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษ ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชนก็มีความสุข นั่นคือ มีสุขภาพ
จิตที่ดี
3. ส่งเสริมเศรษฐกิจ เมื่อไม่มีการเจ็บป่วย ไม่มีโจรผู้ร้าย ก็จะทาให้ไม่ต้องเสีย
เงินค่ารักษาพยาบาล และไม่ถูกโจรผู้ร้ายโจรกรรมหรือปล้น เงินทองไม่รั่วไหล ก็จะทาให้
เศรษฐกิจของตนเองและครอบครัวดี และมีความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิต
2.2 ทักษะชีวิต
ทักษะชีวิต หมายถึง คุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคมจิตวิทยา และเป็น
ความสามารถทางสติปัญญาที่ทุกคนจาเป็นต้องใช้ในการเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่
เกิดขึ้น
ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาขึ้นได้ด้วยการฝึกและกระทา
ซ้าๆ
ให้เกิดความเคยชินจนเป็นลักษณะนิสัยที่ดี ประกอบด้วยทักษะต่างๆ คือ การรู้จัก
ตนเอง
การเข้าใจตนเอง และการเห็นคุณค่าของตนเอง การรู้จักคิดอย่างมีวิจารณญาณและคิด
สร้างสรรค์ การรู้จักตัดสินใจและแก้ไขปัญหา การรู้จักแสวงหา และใช้ข้อมูล ความรู้ การ
สื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การ
ปรับตัว
ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง การตั้งเป้ าหมายชีวิตและสุขภาพ การวางแผนและ
ดาเนินการ
ตามแผน ความเห็นใจผู้อื่น ความรับผิดชอบต่อสังคม และซาบซึ้งในสิ่งที่ดีงามรอบตัว
เอง
2.3 การคาดคะเน
การคาดคะเน คือ การคาดเหตุการณ์ล่วงหน้าว่าจะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคาดคะเนแล้ว
ว่าจะเป็นการเสี่ยงต่อสุขภาพและความปลอดภัย ก็ควรที่จะหลีกเลี่ยงเสีย เช่น เพื่อนชาย
ชวนไปเที่ยว ซึ่งต้องค้างคืนกันสองต่อสองคาดคะเนแล้วว่าคงไม่ปลอดภัยก็ไม่ควรไป
การโดยสารเรือโดยสารที่มีผู้โดยสารไปจนเกินอัตรา คาดคะเนแล้วว่าเรืออาจล่มได้ก็ไม่
ควรไป ไปเล่นน้าที่ชายทะเลมีพายุเข้า และทางผู้รับผิดชอบประกาศให้ขึ้นจากการเล่นน้า
ทะเล คาดคะเนแล้วว่าถ้าเล่นต่อไปอาจถูกคลื่นยักษ์พัดพาจมน้าทะเลได้ก็ควรปฏิบัติตาม
2.4 การต่อรอง
การต่อรอง คือ การเจรจาเพื่อให้สถานการณ์ที่คับขันดีขึ้น หรือการเจรจาเพื่อ
หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่เสี่ยง ซึ่งการต่อรองนี้เป็นศิลปะของแต่ละบุคคล และควรจะมี
การ
ฝึกเพื่อให้เกิดทักษะการต่อรอง ที่คุ้นเคยกันก็คือ เมื่อมีคนเมายาบ้า คนที่เครียดจัด
หรือโจร
ผู้ร้าย มีการจี้ตัวประกัน ทางเจ้าหน้าที่ก็จะใช้วิธีการเจรจาต่อรอง อาจผ่อนหนักเป็น
เบาได้
หรือยืดเวลาออกไป เพื่อให้สถานการณ์ที่เสี่ยงนั้นลดลง หรือแม้แต่เป็นคู่รักกัน แล้ว
ฝ่าย
ชายพยายามขอมีอะไรกับฝ่ายหญิง ฝ่ายหญิงก็อาจจะใช้วิธีการต่อรอง เพื่อเอาตัว
รอด
หรือหลีกเลี่ยงจากสถานการณ์ที่เสี่ยงนั้นได้
บุคคลที่มีทักษะในการต่อรองที่ดี จะสามารถป้ องกัน และหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อ
ความปลอดภัย หรือเป็นการผ่อนหนักเป็นเบาได้
2.5 การปฏิเสธ
• การปฏิเสธ หรือที่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า “Just Say No” เป็นทักษะสาคัญในการ
เอาตัวรอด หรือหลีกเลี่ยงต่อสิ่งเลวร้ายที่จะเข้ามาในชีวิตของตนเอง ทักษะการปฏิเสธนี้
สามารถใช้ได้กับทุกเรื่องที่พบในชีวิตประจาวัน คือ การปฏิเสธใช้ยาเสพติด การปฏิเสธที่จะ
เล่นการพนัน การปฏิเสธที่จะไปเที่ยวหญิงบริการ การปฏิเสธที่จะไปอยู่ในสถานการณ์เสี่ยง
ต่อการมีเพศสัมพันธ์ และการปฏิเสธที่จะมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่น ที่ยังไม่มีความพร้อมทาง
สังคมและเศรษฐกิจ คนดีจะต้องปฏิเสธต่อการถูกชักชวนไปทาในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และไม่
เหมาะสม ทักษะการปฏิเสธนั้น เป็นศิลปะที่จะต้องมีการฝึกการปฏิเสธมีหลายระดับ ตั้งแต่
ระดับที่นุ่มนวลไปจนถึงขึ้นเด็ดขาด ซึ่งจะปฏิเสธระดับใดนั้น ก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ
เช่น ความรุนแรงที่จะต้องปฏิเสธตัวผู้ชักชวน ลักษณะของการชักชวน เรื่องที่ชักชวน
เป็นต้น
บุคคลที่มีทักษะการปฏิเสธที่ดีจะสามารถป้องกัน และหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ และความ
ปลอดภัยได้เป็นอย่างดี 13 แนวทางชุมชนปลอดภัย
ชุมชนปลอดภัย (Self Communities)
เป็นยุทธศาสตร์ที่สาคัญในการดาเนินงานสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการ
บาดเจ็บในเด็ก โดยชุมชนที่จะเข้าร่วมในเครื่อข่ายชุมชนปลอดภัยนั้นอาจเป็นชุมชนระดับ
หมู่บ้าน จังหวัด หรืออื่นๆแต่ที่สาคัญ ชุมชนต้องแสดงความตั้งใจอย่างแท้จริงในการ
ดาเนินงาน โดยใช้หลัก 13 แนวทางชุมชนปลอดภัย ดังต่อไปนี้
1. กลุ่มต่างๆในชุมชนร่วมมือกัน..เพื่อผลระยะยาว
การ ดาเนินงานป้องกันการบาดเจ็บต้องมีจุดเริ่มมาจากความสนใจและความต้องการของคนใน
ชุมชนนั้นๆอย่างแท้จริงโดยที่คนในชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมทั้งร่วมคิด วางแผน ทางานและ
การติดตามผลการดาเนินงาน ซึ่งเป็นในลักษณะการจัดตั้งกลุ่มพหุภาพ(Cross Sectorial
Group) ในระดับชุมชน หมายถึง การรวมตัวกันของกลุ่มประชาชนหรือกลุ่มองค์กรต่างๆที่มี
อยู่แล้วในชุมชน เช่น ผู้นาชุมชน ผู้นาท้องถิ่น อสม. กลุ่มแม่บ้านฯลฯ กาดาเนินงานใน
ระยะแรกเน้นการรวมตัวกันของกลุ่มพหุภาพ
2. เชื่อมโยงหน่วยงานภายนอกร่วมแก้ปัญหา
การประสานงาน คือ กลยุทธ์สาคัญของความสาเร็จ เริ่มจากชุมชนสร้างเครือข่ายในการ
ติดต่อสื่อสารกันระหว่างบุคคล กลุ่มในชุมชนของตน เช่น คณะกรรมการชุมชน กลุ่มครอบครัว
ฯลฯ ไปจนถึงการประสานงานกับองค์กรภายนอกที่เกี่ยวข้องต่างๆ เช่น หน่วยงานที่ทาหน้าที่
คุ้มครองผู้บริโภค งานสาธารณสุข มูลนิธิ สมาคมต่างๆ ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเคลื่อนไหวที่
ชัดเจน
3. ชุมชนสนใจแก้ปัญหาการบาดเจ็บทุกรูปแบบ
กระบวนการจัดการกับปัญหาการบาดเจ็บและสร้างเสริมความปลอดภัยนั้นชุมชนต้องให้
ความสนใจในการแก้ปัญหาการบาดเจ็บโดยไม่ตั้งใจ เช่น การตกจากที่สูง จมน้า ไฟฟ้ าดูด
ฯลฯและการบาดเจ็บโดยตั้งใจ เช่น เด็กถูกทาร้ายร่างกาย ฯลฯ ซึ่งต้องพิจารณาตามลาดับ
ความสาคัญโดยวิเคราะห์จากสถิติและอุบัติการณ์ในชุมชน
4. อย่าละเลยความเสี่ยง
ชุมชนให้ความสนในเป็นพิเศษกับกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็กในครอบครัวยากจน เด็กพิการ เด็ก
เร่ร่อน ฯลฯ เด็กเหล่านี้มีภาวะความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บสูงกว่าเด็กทั่วไป เนื่องจาก
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ศักยภาพของผู้ดูแลเด็ก รวมถึงข้อจากัดของหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
5. ชุมชนมีระบบการเฝ้าระวังการบาดเจ็บที่ชัดเจน
มีการสร้างระบบการเฝ้าระวังการบาดเจ็บในชุมชน โดยมีการบันทึกการบาดเจ็บ ประโยชน์ที่ได้จาก
การบันทึกมีดังนี้
- ชุมชนใช้การบันทึกในการประเมินขนาดของปัญหาในแบบต่างๆ
- ค้นหาสาเหตุของปัญหานั้นๆ คือ ปัจจัยเสี่ยงของการบาดเจ็บแบบต่างๆ
- ใช้ในการประเมินผลการดาเนินงานต่างๆของชุมชนในการป้องกันการบาดเจ็บ
- นาเรื่องราวของการบาดเจ็บแต่ละรายมาเผยแพร่แก่ประชาชนในชุมชน เพื่อเป็น
บทเรียนที่มีคุณค่า นาไปสู่การสร้างจิตสานึกในการป้องกันการบาดเจ็บ
6. มีระบบการเดินสารวจความปลอดภัย
มีระบบการสารวจความปลอดภัยในสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมเสี่ยง
- ลักษณะพฤติกรรมเสี่ยง เช่น ผู้ปกครองขาดความระมัดระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า
ในบ้าน การเลือกซื้อของเล่นให้เด็ก การขับขี่ยานพาหนะขณะมึนเมาฯลฯ
- ความปลอดภัยในสิ่งแวดล้อม เช่น มีสุนัขจรจัดหรือไม่ สนามเด็ก
เล่น วัสดุ อุปกรณ์ มีความปลอดภัยเพียงไร
7. ต่อต้านพฤติกรรมเสี่ยงและผลิตภัณฑ์อันตราย
ชุมชนร่วมกันต่อต้านพฤติกรรมเสี่ยงและสิ่งแวดล้อมอันตราย ดังนี้
- ต่อต้านพฤติกรรมเสี่ยง ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก อันจะนาไปสู่การบาดเจ็บในเด็ก
- ต่อต้านผลิตภัณฑ์เสี่ยงและสิ่งแวดล้อมอันตรายที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ
8. ส่งเสริมการใช้อุปกรณ์เสริมความปลอดภัย
ชุมชนมีการสนับสนุนการใช้อุปกรณ์เสริมความปลอดภัยต่างๆ เช่น หมวกกันน๊อค ที่นั่ง
พิเศษสาหรับเด็กในรถยนต์ จักรยานยนต์ เครื่องตรวจจับควันไฟ ฯลฯ
9. ชุมชนจัดการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้
ชุมชนมีกระบวนการฝึกอบรมที่เหมาะสมเพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องของการ
ป้องกันควบคุมการบาดเจ็บในเด็ก วิธีการปฐมพยาบาลและการปฏิบัติการณ์กู้ชีพ
เบื้องต้น
10. เตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉิน
มีการเตรียมความพร้อมรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆที่เกิดขึ้นในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นอัคคีภัย วาต
ภัย อุบัติเหตุ ซึ่งชุมชนต้องมีระบบการจัดการกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกะทันหัน เช่น การ
รักษาพยาบาลฉุกเฉินในชุมชนและการส่งต่อ เป็นต้น
11. ใช้ทรัพยากรของชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด
สามารถดาเนินการระยะยาวโดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ปกติในชุมชน เช่น
บุคลากร งบประมาณฯลฯใช้สิ่งเหล่านี้ให้เกิดคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่องานสร้างเสริม
ความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง เพราะในแต่ละชุมชนนั้นมีกระบวนการ ค่านิยม ทัศนคติที่
แตกต่างกัน
12. มีตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน
มีการประเมินภายในชุมชนโดยกาหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสมสาหรับชุมชนเพื่อใช้เป็น
เครื่องมือวัดผลการดาเนินงาน ซึ่ง อาจใช้เกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัยขั้นต่าที่เป็น
เกณฑ์ชี้วัดความสามารถของการดูแลเด็กและครอบครัวหรือประเมินผลข้อมูลจากการ
สารวจการบาดเจ็บและการเฝ้าระวังการบาดเจ็บมาเป็นตัวชี้วัดของชุมชนเอง รูปแบบ
ตัวชี้วัดในชุมชน
13. องค์ความรู้ชุมชน..สาคัญที่การปฏิบัติและขยายผล
มี การรวบรวมความรู้ประสบการณ์ที่ได้จากการดาเนินงานภายในชุมชนเผยแพร่สู่ชุมชน อื่นเพื่อให้
เกิดการขยายผลการดาเนินงานสร้างเสริมความปลอดภัยซึ่งอาจใช้ เทคนิคการประชาสัมพันธ์
เข้าช่วย เช่น การจัดประชุมชุมชนต่างๆ การพูดในที่สาธารณะ การจัดนิทรรศการหรือชุมชน
ประสานกับทางสื่อมวลชน เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ เพื่อให้เกิดการเข้าใจที่ตรงกัน
ในวัตถุประสงค์ เกิดกระบวนการผลักดันเข้าสู่นโยบายระดับชาติต่อไป
ประโยชน์และอันตรายของสังคมออนไลน์
อันตราย
- มิจฉาชีพ
- ผู้ที่นาเราไปแอบอ้าง
- ทาให้คนไม่กล้าทาความรู้จักกันใจโลกความ
เป็นจริง
- ปัญหาด้ายการงาน การเรียน
- ความเป็นส่วนตัวลดลง
ประโยชน์
- ติดต่อสื่อสารในราคาถูก
- รวดเร็วต่อการประชาสัมพันธ์
- ประโยชน์ทางด้านธุรกิจ
- เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนฝูง
- ความรู้ ข้อมูลลบข่าวสาร
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวนันทนา ไก่แก้ว เลขที่ 9
2. นางสาวภาวิณี สุวรรณประทีป เลขที่ 10
3. นางสาววริศรา แสนโสม เลขที่ 11
4. นางสาวปัญญาพร เหมือนจิตร เลขที่ 40
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2

Contenu connexe

Tendances

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnut jpt
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1niramon_gam
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42poptnw
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kamonrut Deeporum
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี31753
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานKawinna Mitda
 
ใบงานท 2-8 ซ_น
ใบงานท   2-8 ซ_นใบงานท   2-8 ซ_น
ใบงานท 2-8 ซ_นNNarumon Obtom
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวJanchai Pokmoonphon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cherry Patharawadee
 
ผลกระทบเชิงลบ
ผลกระทบเชิงลบผลกระทบเชิงลบ
ผลกระทบเชิงลบKung Kaenchan
 
ผลกระทบเชิงลบ
ผลกระทบเชิงลบผลกระทบเชิงลบ
ผลกระทบเชิงลบTongsai Boonta
 

Tendances (14)

เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
1
11
1
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานท 2-8 ซ_น
ใบงานท   2-8 ซ_นใบงานท   2-8 ซ_น
ใบงานท 2-8 ซ_น
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ผลกระทบเชิงลบ
ผลกระทบเชิงลบผลกระทบเชิงลบ
ผลกระทบเชิงลบ
 
ผลกระทบเชิงลบ
ผลกระทบเชิงลบผลกระทบเชิงลบ
ผลกระทบเชิงลบ
 

Similaire à ความปลอดภัยในการใช้สังคมออนไลน์

06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตรThanich Suwannabutr
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีballjantakong
 
บทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศnawapornsattasan
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์teaw-sirinapa
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 

Similaire à ความปลอดภัยในการใช้สังคมออนไลน์ (20)

06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
 
Sociel
SocielSociel
Sociel
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
 
บทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่3ลักษณะสำคัญและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2 2
2 22 2
2 2
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

ความปลอดภัยในการใช้สังคมออนไลน์

  • 2. ในโลกยุคใหม่ที่ไร้พรมแดน ผู้คนสามารถเดินทางข้ามพรมแดน ข้ามกาลเวลาไปพบปะพูดคุยกับใครก็ได้ที่ไหนก็ได้เวลาใดก็ย่อมได้เพียง แค่ปลายนิ้วสัมผัส โดยเริ่มจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่มี อัตราเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จะเห็นได้ว่าความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สารสนเทศจะมีผลต่อระบบการศึกษาโดยตรง ทั้งนี้ เนื่องจากเทคโนโลยี สารสนเทศจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ความรอบรู้ จัดระบบประมวลผล ส่งผ่านและสื่อสารด้วยความเร็วสูงและปริมาณมาก นาเสนอและแสดงผลด้วยระบบสื่อต่าง ๆ ทั้งทางด้านข้อมูล รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และวิดีโอ อีกทั้งยังสามารถสร้างระบบการมีปฏิสัมพันธ์ โต้ตอบทาให้การเรียนรู้ในยุคใหม่ประสบผลสาเร็จด้วยดี
  • 3. ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์มีด้วยกันหลายชนิด ขึ้นอยู่กับลักษณะของการนามาใช้ โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่ม หลักดังนี้ 1. Weblogs หรือเรียกสั้นๆ ว่า Blogs คือ สื่อส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่ ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบ่งปันให้บุคคลอื่นๆ โดยผู้รับสาร สามารถเข้าไปอ่าน หรือแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ซึ่งการแสดงเนื้อหาของบล็อกนั้นจะเรียงลาดับ จากเนื้อหาใหม่ไปสู่เนื้อหาเก่า ผู้เขียนและผู้อ่านสามารถค้นหาเนื้อหาย้อนหลังเพื่ออ่านและแก้ไข เพิ่มเติมได้ตลอดเวลา เช่น Exteen, Bloggang, Wordpress,Blogger, Okanation 2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายทาง สังคมที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพื่อให้เกิดเป็นกลุ่มสังคม (Social Community) เพื่อร่วมกันแลกเปลี่ยนและแบ่งปันข้อมูลระหว่างกันทั้งด้านธุรกิจ การเมือง การศึกษา เช่น Facebook, Hi5, Ning, Linked in,MySpace, Youmeo, Friendste
  • 4. 3. Micro Blogging และ MicroSharing หรือที่เรียกกันว่า “บล็อกจิ๋ว” ซึ่งเป็นเว็บ เซอร์วิสหรือเว็บไซต์ที่ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป สาหรับให้ผู้ใช้บริการเขียนข้อความสั้นๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ที่เรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพื่อแสดงสถานะของตัวเองว่ากาลังทาอะไรอยู่ หรือแจ้งข่าวสารต่างๆ แก่กลุ่มเพื่อนในสังคมออนไลน์ (Online Social Network) (Wikipedia,2010) ทั้งนี้การกาหนดให้ใช้ข้อมูลในรูปข้อความสั้นๆ ก็เพื่อให้ผู้ใช้ที่เป็นทั้งผู้เขียน และผู้อ่านเข้าใจง่าย ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคือ Twitter 4. Online Video เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งปัจจุบัน ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเนื้อหาที่นาเสนอในวิดีโอ ออนไลน์ไม่ถูกจากัดโดยผังรายการที่แน่นอนและตายตัว ทาให้ผู้ใช้บริการสามารถติดตามชมได้อย่าง ต่อเนื่อง เพราะไม่มีโฆษณาคั่น รวมทั้งผู้ใช้สามารถเลือกชมเนื้อหาได้ตามความต้องการและยัง สามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บวิดีโออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้จานวนมากอีกด้วย เช่น Youtube, MSN, Yahoo 5. Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใช้บริการสามารถอัพโหลด และดาวน์โหลดรูปภาพเพื่อนามาใช้งานได้ ที่สาคัญนอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปัน รูปภาพแล้ว ยังสามารถใช้เป็นพื้นที่เพื่อเสนอขายภาพที่ตนเองนาเข้าไปฝากได้อีกด้วย เช่น Flickr, Photobucket, Photoshop,Express, Zooom
  • 5. 6. Wikis เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) ซึ่ง ผู้เขียนส่วนใหญ่อาจจะเป็นนักวิชาการ นักวิชาชีพหรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ซึ่งผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้อย่างอิสระ เช่น Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online 7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจาลองส่วนหนึ่งของชีวิตลงไป จัดเป็นสื่อ สังคมออนไลน์ที่บรรดาผู้ท่องโลกไซเบอร์ใช้เพื่อสื่อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ตในลักษณะโลก เสมือนจริง (Virtual Reality) ซึ่งผู้ที่จะเข้าไปใช้บริการอาจจะบริษัทหรือองค์การด้านธุรกิจ ด้าน การศึกษา รวมถึงองค์การด้านสื่อ เช่น สานักข่าวรอยเตอร์ สานักข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสียค่าใช้จ่ายใน การซื้อพื้นที่เพื่อให้บุคคลในบริษัทหรือองค์กรได้มีช่องทางในการนาเสนอเรื่องราวต่างๆ ไปยังกลุ่ม เครือข่ายผู้ใช้สื่อออนไลน์ ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่ม ลูกค้าทั้งหลัก และรองหรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของ บริษัท หรือองค์การก็ได้ปัจจุบันเว็บไซต์ที่ใช้หลัก Virtual Worlds ที่ประสบผลสาเร็จและมีชื่อเสียง คือ Second life
  • 6. 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคาสองคาคือ Crowd และ Outsourcing เป็น หลักการขอความร่วมมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทาในรูปของเว็บไซต์ ที่มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อค้นหาคาตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆทั้งทางธุรกิจ การศึกษา รวมทั้งการ สื่อสาร โดยอาจจะเป็นการดึงความร่วมมือจากเครือข่ายทางสังคมมาช่วยตรวจสอบข้อมูลเสนอความ คิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะ กลุ่มคนที่เข้ามาให้ข้อมูลอาจจะเป็นประชาชนทั่วไปหรือผู้มีความ เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่อยู่ในภาคธุรกิจหรือแม้แต่ในสังคม 9. Podcasting หรือ Podcast มาจากการรวมตัวของสองคา คือ “Pod”กับ “Broadcasting” ซึ่ง “POD”หรือ PersonalOn - Demand คือ อุปสงค์หรือความต้องการส่วน บุคคล ส่วน“Broadcasting” เป็นการนาสื่อต่างๆ มารวมกันในรูปของภาพและเสียง หรืออาจกล่าว ง่ายๆ Podcast คือ การบันทึกภาพและเสียงแล้วนามาไว้ในเว็บเพจ เพื่อเผยแพร่ให้บุคคลภายนอก ที่ สนใจดาวน์โหลดเพื่อนาไปใช้งาน เช่น Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast 10. Discuss / Review/ Opinion เป็นเว็บบอร์ดที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความ คิดเห็น โดยอาจจะเกี่ยวกับ สินค้าหรือบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เช่น Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp
  • 7. การสร้างเสริมความปลอดภัยทั้งแก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชน ต้องทาอย่าง เป็นกระบวนการ และมีจิตสานึกที่ดีในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่อาจนามาซึ่งความไม่ ปลอดภัยในสังคม จึงเป็นสิ่งจาเป็นที่ตัวเราควรศึกษา และเข้าใจถึงแนวปฏิบัติให้เหมาะสม จะได้นาพาชุมชม และสังคมไปสู่ความเป็นวิถีชีวิตที่ปลอดภัยตลอดไป 1. คุณค่าของกระบวนการสร้างเสริมความปลอดภัยให้ชุมชน การสร้างเสริมความปลอดภัยให้ชุมชนต้องทาอย่างเป็นกระบวนการ คือ มีการ วางแผน การปฏิบัติตามแผน และการประเมินผล ซึ่งจะให้คุณค่าต่อตนเองและต่อคนใน ชุมชน ดังนี้ 1. ส่งเสริมสุขภาพกาย เมื่อมนุษย์มีความปลอดภัยจากสิ่งต่างๆ เพราะไม่มี อันตรายเกิดขึ้น ก็จะทาให้เป็นผู้ที่มีสุขภาพดี เมื่อมีสุขภาพดีถ้วนหน้า ชุมชนก็จะเข้มแข็ง เพราะคนในชุมชนมีสุขภาพดี 2. ส่งเสริมสุขภาพจิต เมื่อชุมชนมีความปลอดภัย ไม่มีโจรผู้ร้าย คนขายยาบ้า หรือสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษ ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชนก็มีความสุข นั่นคือ มีสุขภาพ จิตที่ดี 3. ส่งเสริมเศรษฐกิจ เมื่อไม่มีการเจ็บป่วย ไม่มีโจรผู้ร้าย ก็จะทาให้ไม่ต้องเสีย เงินค่ารักษาพยาบาล และไม่ถูกโจรผู้ร้ายโจรกรรมหรือปล้น เงินทองไม่รั่วไหล ก็จะทาให้ เศรษฐกิจของตนเองและครอบครัวดี และมีความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิต
  • 8. 2.2 ทักษะชีวิต ทักษะชีวิต หมายถึง คุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคมจิตวิทยา และเป็น ความสามารถทางสติปัญญาที่ทุกคนจาเป็นต้องใช้ในการเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่ เกิดขึ้น ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาขึ้นได้ด้วยการฝึกและกระทา ซ้าๆ ให้เกิดความเคยชินจนเป็นลักษณะนิสัยที่ดี ประกอบด้วยทักษะต่างๆ คือ การรู้จัก ตนเอง การเข้าใจตนเอง และการเห็นคุณค่าของตนเอง การรู้จักคิดอย่างมีวิจารณญาณและคิด สร้างสรรค์ การรู้จักตัดสินใจและแก้ไขปัญหา การรู้จักแสวงหา และใช้ข้อมูล ความรู้ การ สื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การ ปรับตัว ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง การตั้งเป้ าหมายชีวิตและสุขภาพ การวางแผนและ ดาเนินการ ตามแผน ความเห็นใจผู้อื่น ความรับผิดชอบต่อสังคม และซาบซึ้งในสิ่งที่ดีงามรอบตัว เอง
  • 9. 2.3 การคาดคะเน การคาดคะเน คือ การคาดเหตุการณ์ล่วงหน้าว่าจะเกิดอะไรขึ้น ถ้าคาดคะเนแล้ว ว่าจะเป็นการเสี่ยงต่อสุขภาพและความปลอดภัย ก็ควรที่จะหลีกเลี่ยงเสีย เช่น เพื่อนชาย ชวนไปเที่ยว ซึ่งต้องค้างคืนกันสองต่อสองคาดคะเนแล้วว่าคงไม่ปลอดภัยก็ไม่ควรไป การโดยสารเรือโดยสารที่มีผู้โดยสารไปจนเกินอัตรา คาดคะเนแล้วว่าเรืออาจล่มได้ก็ไม่ ควรไป ไปเล่นน้าที่ชายทะเลมีพายุเข้า และทางผู้รับผิดชอบประกาศให้ขึ้นจากการเล่นน้า ทะเล คาดคะเนแล้วว่าถ้าเล่นต่อไปอาจถูกคลื่นยักษ์พัดพาจมน้าทะเลได้ก็ควรปฏิบัติตาม
  • 10. 2.4 การต่อรอง การต่อรอง คือ การเจรจาเพื่อให้สถานการณ์ที่คับขันดีขึ้น หรือการเจรจาเพื่อ หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่เสี่ยง ซึ่งการต่อรองนี้เป็นศิลปะของแต่ละบุคคล และควรจะมี การ ฝึกเพื่อให้เกิดทักษะการต่อรอง ที่คุ้นเคยกันก็คือ เมื่อมีคนเมายาบ้า คนที่เครียดจัด หรือโจร ผู้ร้าย มีการจี้ตัวประกัน ทางเจ้าหน้าที่ก็จะใช้วิธีการเจรจาต่อรอง อาจผ่อนหนักเป็น เบาได้ หรือยืดเวลาออกไป เพื่อให้สถานการณ์ที่เสี่ยงนั้นลดลง หรือแม้แต่เป็นคู่รักกัน แล้ว ฝ่าย ชายพยายามขอมีอะไรกับฝ่ายหญิง ฝ่ายหญิงก็อาจจะใช้วิธีการต่อรอง เพื่อเอาตัว รอด หรือหลีกเลี่ยงจากสถานการณ์ที่เสี่ยงนั้นได้ บุคคลที่มีทักษะในการต่อรองที่ดี จะสามารถป้ องกัน และหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อ ความปลอดภัย หรือเป็นการผ่อนหนักเป็นเบาได้
  • 11. 2.5 การปฏิเสธ • การปฏิเสธ หรือที่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า “Just Say No” เป็นทักษะสาคัญในการ เอาตัวรอด หรือหลีกเลี่ยงต่อสิ่งเลวร้ายที่จะเข้ามาในชีวิตของตนเอง ทักษะการปฏิเสธนี้ สามารถใช้ได้กับทุกเรื่องที่พบในชีวิตประจาวัน คือ การปฏิเสธใช้ยาเสพติด การปฏิเสธที่จะ เล่นการพนัน การปฏิเสธที่จะไปเที่ยวหญิงบริการ การปฏิเสธที่จะไปอยู่ในสถานการณ์เสี่ยง ต่อการมีเพศสัมพันธ์ และการปฏิเสธที่จะมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่น ที่ยังไม่มีความพร้อมทาง สังคมและเศรษฐกิจ คนดีจะต้องปฏิเสธต่อการถูกชักชวนไปทาในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และไม่ เหมาะสม ทักษะการปฏิเสธนั้น เป็นศิลปะที่จะต้องมีการฝึกการปฏิเสธมีหลายระดับ ตั้งแต่ ระดับที่นุ่มนวลไปจนถึงขึ้นเด็ดขาด ซึ่งจะปฏิเสธระดับใดนั้น ก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ความรุนแรงที่จะต้องปฏิเสธตัวผู้ชักชวน ลักษณะของการชักชวน เรื่องที่ชักชวน เป็นต้น
  • 12. บุคคลที่มีทักษะการปฏิเสธที่ดีจะสามารถป้องกัน และหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ และความ ปลอดภัยได้เป็นอย่างดี 13 แนวทางชุมชนปลอดภัย ชุมชนปลอดภัย (Self Communities) เป็นยุทธศาสตร์ที่สาคัญในการดาเนินงานสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการ บาดเจ็บในเด็ก โดยชุมชนที่จะเข้าร่วมในเครื่อข่ายชุมชนปลอดภัยนั้นอาจเป็นชุมชนระดับ หมู่บ้าน จังหวัด หรืออื่นๆแต่ที่สาคัญ ชุมชนต้องแสดงความตั้งใจอย่างแท้จริงในการ ดาเนินงาน โดยใช้หลัก 13 แนวทางชุมชนปลอดภัย ดังต่อไปนี้ 1. กลุ่มต่างๆในชุมชนร่วมมือกัน..เพื่อผลระยะยาว การ ดาเนินงานป้องกันการบาดเจ็บต้องมีจุดเริ่มมาจากความสนใจและความต้องการของคนใน ชุมชนนั้นๆอย่างแท้จริงโดยที่คนในชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมทั้งร่วมคิด วางแผน ทางานและ การติดตามผลการดาเนินงาน ซึ่งเป็นในลักษณะการจัดตั้งกลุ่มพหุภาพ(Cross Sectorial Group) ในระดับชุมชน หมายถึง การรวมตัวกันของกลุ่มประชาชนหรือกลุ่มองค์กรต่างๆที่มี อยู่แล้วในชุมชน เช่น ผู้นาชุมชน ผู้นาท้องถิ่น อสม. กลุ่มแม่บ้านฯลฯ กาดาเนินงานใน ระยะแรกเน้นการรวมตัวกันของกลุ่มพหุภาพ 2. เชื่อมโยงหน่วยงานภายนอกร่วมแก้ปัญหา การประสานงาน คือ กลยุทธ์สาคัญของความสาเร็จ เริ่มจากชุมชนสร้างเครือข่ายในการ ติดต่อสื่อสารกันระหว่างบุคคล กลุ่มในชุมชนของตน เช่น คณะกรรมการชุมชน กลุ่มครอบครัว ฯลฯ ไปจนถึงการประสานงานกับองค์กรภายนอกที่เกี่ยวข้องต่างๆ เช่น หน่วยงานที่ทาหน้าที่ คุ้มครองผู้บริโภค งานสาธารณสุข มูลนิธิ สมาคมต่างๆ ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเคลื่อนไหวที่ ชัดเจน
  • 13. 3. ชุมชนสนใจแก้ปัญหาการบาดเจ็บทุกรูปแบบ กระบวนการจัดการกับปัญหาการบาดเจ็บและสร้างเสริมความปลอดภัยนั้นชุมชนต้องให้ ความสนใจในการแก้ปัญหาการบาดเจ็บโดยไม่ตั้งใจ เช่น การตกจากที่สูง จมน้า ไฟฟ้ าดูด ฯลฯและการบาดเจ็บโดยตั้งใจ เช่น เด็กถูกทาร้ายร่างกาย ฯลฯ ซึ่งต้องพิจารณาตามลาดับ ความสาคัญโดยวิเคราะห์จากสถิติและอุบัติการณ์ในชุมชน 4. อย่าละเลยความเสี่ยง ชุมชนให้ความสนในเป็นพิเศษกับกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็กในครอบครัวยากจน เด็กพิการ เด็ก เร่ร่อน ฯลฯ เด็กเหล่านี้มีภาวะความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บสูงกว่าเด็กทั่วไป เนื่องจาก สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ศักยภาพของผู้ดูแลเด็ก รวมถึงข้อจากัดของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง
  • 14. 5. ชุมชนมีระบบการเฝ้าระวังการบาดเจ็บที่ชัดเจน มีการสร้างระบบการเฝ้าระวังการบาดเจ็บในชุมชน โดยมีการบันทึกการบาดเจ็บ ประโยชน์ที่ได้จาก การบันทึกมีดังนี้ - ชุมชนใช้การบันทึกในการประเมินขนาดของปัญหาในแบบต่างๆ - ค้นหาสาเหตุของปัญหานั้นๆ คือ ปัจจัยเสี่ยงของการบาดเจ็บแบบต่างๆ - ใช้ในการประเมินผลการดาเนินงานต่างๆของชุมชนในการป้องกันการบาดเจ็บ - นาเรื่องราวของการบาดเจ็บแต่ละรายมาเผยแพร่แก่ประชาชนในชุมชน เพื่อเป็น บทเรียนที่มีคุณค่า นาไปสู่การสร้างจิตสานึกในการป้องกันการบาดเจ็บ
  • 15. 6. มีระบบการเดินสารวจความปลอดภัย มีระบบการสารวจความปลอดภัยในสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมเสี่ยง - ลักษณะพฤติกรรมเสี่ยง เช่น ผู้ปกครองขาดความระมัดระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ในบ้าน การเลือกซื้อของเล่นให้เด็ก การขับขี่ยานพาหนะขณะมึนเมาฯลฯ - ความปลอดภัยในสิ่งแวดล้อม เช่น มีสุนัขจรจัดหรือไม่ สนามเด็ก เล่น วัสดุ อุปกรณ์ มีความปลอดภัยเพียงไร 7. ต่อต้านพฤติกรรมเสี่ยงและผลิตภัณฑ์อันตราย ชุมชนร่วมกันต่อต้านพฤติกรรมเสี่ยงและสิ่งแวดล้อมอันตราย ดังนี้ - ต่อต้านพฤติกรรมเสี่ยง ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก อันจะนาไปสู่การบาดเจ็บในเด็ก - ต่อต้านผลิตภัณฑ์เสี่ยงและสิ่งแวดล้อมอันตรายที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ
  • 16. 8. ส่งเสริมการใช้อุปกรณ์เสริมความปลอดภัย ชุมชนมีการสนับสนุนการใช้อุปกรณ์เสริมความปลอดภัยต่างๆ เช่น หมวกกันน๊อค ที่นั่ง พิเศษสาหรับเด็กในรถยนต์ จักรยานยนต์ เครื่องตรวจจับควันไฟ ฯลฯ 9. ชุมชนจัดการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้ ชุมชนมีกระบวนการฝึกอบรมที่เหมาะสมเพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องของการ ป้องกันควบคุมการบาดเจ็บในเด็ก วิธีการปฐมพยาบาลและการปฏิบัติการณ์กู้ชีพ เบื้องต้น 10. เตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉิน มีการเตรียมความพร้อมรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆที่เกิดขึ้นในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นอัคคีภัย วาต ภัย อุบัติเหตุ ซึ่งชุมชนต้องมีระบบการจัดการกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกะทันหัน เช่น การ รักษาพยาบาลฉุกเฉินในชุมชนและการส่งต่อ เป็นต้น
  • 17. 11. ใช้ทรัพยากรของชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด สามารถดาเนินการระยะยาวโดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ปกติในชุมชน เช่น บุคลากร งบประมาณฯลฯใช้สิ่งเหล่านี้ให้เกิดคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่องานสร้างเสริม ความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง เพราะในแต่ละชุมชนนั้นมีกระบวนการ ค่านิยม ทัศนคติที่ แตกต่างกัน 12. มีตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน มีการประเมินภายในชุมชนโดยกาหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสมสาหรับชุมชนเพื่อใช้เป็น เครื่องมือวัดผลการดาเนินงาน ซึ่ง อาจใช้เกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัยขั้นต่าที่เป็น เกณฑ์ชี้วัดความสามารถของการดูแลเด็กและครอบครัวหรือประเมินผลข้อมูลจากการ สารวจการบาดเจ็บและการเฝ้าระวังการบาดเจ็บมาเป็นตัวชี้วัดของชุมชนเอง รูปแบบ ตัวชี้วัดในชุมชน
  • 18. 13. องค์ความรู้ชุมชน..สาคัญที่การปฏิบัติและขยายผล มี การรวบรวมความรู้ประสบการณ์ที่ได้จากการดาเนินงานภายในชุมชนเผยแพร่สู่ชุมชน อื่นเพื่อให้ เกิดการขยายผลการดาเนินงานสร้างเสริมความปลอดภัยซึ่งอาจใช้ เทคนิคการประชาสัมพันธ์ เข้าช่วย เช่น การจัดประชุมชุมชนต่างๆ การพูดในที่สาธารณะ การจัดนิทรรศการหรือชุมชน ประสานกับทางสื่อมวลชน เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ เพื่อให้เกิดการเข้าใจที่ตรงกัน ในวัตถุประสงค์ เกิดกระบวนการผลักดันเข้าสู่นโยบายระดับชาติต่อไป
  • 19. ประโยชน์และอันตรายของสังคมออนไลน์ อันตราย - มิจฉาชีพ - ผู้ที่นาเราไปแอบอ้าง - ทาให้คนไม่กล้าทาความรู้จักกันใจโลกความ เป็นจริง - ปัญหาด้ายการงาน การเรียน - ความเป็นส่วนตัวลดลง ประโยชน์ - ติดต่อสื่อสารในราคาถูก - รวดเร็วต่อการประชาสัมพันธ์ - ประโยชน์ทางด้านธุรกิจ - เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนฝูง - ความรู้ ข้อมูลลบข่าวสาร
  • 20. สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวนันทนา ไก่แก้ว เลขที่ 9 2. นางสาวภาวิณี สุวรรณประทีป เลขที่ 10 3. นางสาววริศรา แสนโสม เลขที่ 11 4. นางสาวปัญญาพร เหมือนจิตร เลขที่ 40 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2