SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  63
Télécharger pour lire hors ligne
อุปนิสยของชนชาติต่างๆ
      ั
อุปนิสยของชาวฝรั่งเศส
      ั
วิถีชีวต
       ิ

   ปั จจุบนชาวฝรั่งเศสมีการแบ่งชนชั้น
            ั
    วรรณะน้อยลง
   มีพิธีรีตองในการจัดงานเลี้ยงหรื อในบทสนทนา
                 ่                                   ้
    มีความคิดที่วาฐานะพื้นฐานของครอบครัวที่ดี จะทาให้กาวหน้าในการ
    ทางาน
   คนฝรั่งเศสเป็ นคนรักการทางาน
   ชนชั้นกลางมีอิทธิ พลและบทบาทต่อเศรษฐกิจและสังคม
ครอบครัว

      คนฝรั่งเศสจงรักภักดีและรักครอบครัวมาก
      ปัจจุบนลักษณะครอบครัวจะเล็กลง คือมีสมาชิกเพียง 3-4 คน
              ั
      วัยหนุ่มสาวจะออกหางานทาในเมืองใหญ่ๆรอบฝรั่งเศส
      หนุ่มสาวคิดว่าควรแต่งงานตั้งแต่อายุยงน้อย สร้างฐานะและมีบุตร
                                           ั
       ไว้สืบสกุล
อุปนิสัย

 ผูหญิงชาวฝรั่งเศสเป็ นคนโรแมนติก ช่างฝัน
      ้
  มีความฉลาดในการเลือกคู่ครอง
 ผูชายในอุดมคติตองมีบุคลิกดี การงานดี
    ้              ้
 แต่ผชายส่ วนใหญ่มองว่าผูหญิงฝรั่งเศสไร้สาระ บ้าแฟชัน เซ็กซี่ ลุ่ม
        ู้                 ้                         ่
  หลงกามารมณ์
 มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว
 หลังแต่งงานจะเป็ นแม่บานและเลี้ยงลูกด้วยความเต็มใจ
                         ้
อุปนิสัย

   คนฝรั่งเศสเป็ นคนมีโลกส่ วนตัวสู ง
   ไม่ชอบให้ใครวิจารณ์เรื่ องการมีค่นอน
                                     ู
     ้           ั        ั ้
    ผูชายจะปฏิบติอย่างดีกบผูหญิงที่เขารัก
    ชอบปกป้ องคนรัก
   ชอบผูหญิงอ่อนหวาน มีระเบียบแบบแผน
          ้
    ไม่ชอบผูหญิงที่เก่งกล้า
             ้
อุปนิสัย (3.การรับประทานอาหาร)

   ปั จจุบนชาวฝรั่งเศสมีนิสัยสุ รุ่ยสุ ร่าย
           ั
    ชอบชีวตหรู หรา เน้นการท่องเที่ยวและ
             ิ
    อาหารการกิน
   จะรับประทานอาหาร 3-4 มื้อ ต่อวัน
   โดยเฉพาะมื้อเที่ยง คือมื้อหลัก จะเริ่ มตั้งแต่
    เวลา 12.00-14.00 น.
   แต่ปัจจุบนการรี บเร่ งรับประทานอาหาร ทาให้
               ั
    ลดลงเหลือแค่1-2 มื้อเท่านั้น
   พ่อครัวชาวฝรั่งเศสมีชื่อสี ยงมากในการทาอาหาร
ค่ านิยมและพฤติกรรมทางสั งคม

     การพูด = คนฝรั่งเศสเป็ นคนช่างพูดและสามารถวิจารณ์ทุกสิ่ งและทุกคน
      ได้ ดังนั้นการโต้เถียงกันเป็ นสิ่ งธรรมดาหรื อเป้ นกระบวนการเปลี่ยนแปลง
      ทางสังคม และชอบที่จะซักถามข้อมูลจากตัวบุคคล
     การทักทาย = การจับมือและการจูบแบบฝรั่งเศส (French Kiss)
     การแสดงความสุ ภาพ = ชอบเงียบในบางสถานการณ์
     ทัศนคติต่อชาวเอเชีย = คิดว่าคนเอเชียสุ ภาพ ฉลาด ทางานหนักและไม่
      ก้าวร้าว แต่คนเอเชียยิมง่าย จนบางครั้งดูไม่มีเหตุผม ทาให้รู้สึกว่าเป็ นการ
                            ้
      เสแสร้ง เย็นชา หลอกลวงและประจบประแจง
ค่ านิยมและพฤติกรรมทางสั งคม

   ภาษาท่าทาง
    คนฝรั่งเศสชอบใช้ท่าทางในการพูด เช่น
     – การจับมือ
       เป็ นการแสดงการทักทาย                                          คน
       ฝรั่งเศสต่างจากคนอเมริ กนั
       คือจะมือแบบหลวมๆ และระยะเวลาสั้น
     – การแสดงท่าทางด้วยมือและนิ้ว
       การจูบมือทั้งห้า หมายถึง ยอดเยียม
                                      ่
       หรื อการตวัดมือไปข้างหลัง หมายถึง เรื่ องเล็กน้อยที่สามารถควบคุมได้
การพักผ่ อนและการท่ องเที่ยว
(Club Mediterranean)

   แนวความคิดเรื่ องการท่องเที่ยวมาในแบบ                             การ
    ดาเนินการของClub Mediterranean
   เริ่ มในปี ค.ศ.1950 โดยชาวเบลเยียม
                                    ่                                  ชื่อ
    Gerald Blitz
    และเพื่อนชื่อ Gilbert Trigano
   ได้สร้างการท่องเที่ยวแบบ Camping และสร้างบ้านพักด้วยฟาง
   มีการจาลองหมู่บานเล็กๆ ริ มชายหาด โดยมีสิ่งอานวยความสะดวกพร้อมสรรพ
                      ้
    ในการดารงชีวิต
   หลังจากนั้นมีการสร้างอาณาจักรในสถานที่อื่นๆอีก เช่น โมรอคโค อิสราเอล
    สเปน ยูโกสลาเวีย ภูเก็ต
การพักผ่ อนและการท่ องเที่ยว (Club Mediterranean)

   ในหมู่บานมีกิจกรรมมากมาย เช่นเดินป่ า เดินสารวจหมู่บาน ศึกษา
            ้                                           ้
    พฤติกรรมและเรี ยนรู ้วฒนธรรมของชาวบ้าน เล่นน้ า เล่นกีฬา
                          ั
   มีการเต้นราในตอนกลางคืน
   มีอาหารพร้อมสรรพแก่นกท่องเที่ยว
                              ั
   สถาปั ตยกรรมของหมู่บาน Club Med เหมาะกับสภาพพื้นที่น้ นๆ
                            ้                                    ั
   การเพิมความเป็ นกันเองแก่นกท่องเที่ยว
          ่                     ั
Club Mediterranean
อุปนิสยของชาวเยอรมัน
      ั
วิถีชีวต
       ิ

   คนเยอรมันไม่มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ
   ชอบเรื่ องศิลปวัฒนธรรม สิ่ งแวดล้อม
    และนิยมชองที่ผลิตในญี่ปุ่น โดยเฉพาะรถยนต์
   คนเยอรมันถูกเลี้ยวดูมาอย่างมีระเบียบวินยและรู ้จกการช่วยเหลือตัวเองตั้งแต่
                                           ั        ั
    เด็กๆ
   รัฐบาลส่ งเสริ มเรื่ องการศึกษามาก
   คนเยอรมันเลื่อมใสในศาสนามาก
   ประชากรทุกคนมีการประกันสุ ขภาพเพื่อป้ องกันความเสี ยเปรี ยบทางเศรษฐกิจ
    และมีการประกันการว่างงาน
วิถีชีวต (การรับประทานอาหาร)
       ิ

   อาหารเช้าของชาวเยอรมันเป็ น
    Continental breakfast                                                คือ
    ประกอบด้วย ขนมปั งปิ้ ง กับเนยและแยม เนื้อแข็ง                 หรื อเนื้อ
    เย็น เครื่ องดื่มเป็ นชา กาแฟ หรื อโยเกิร์ต
   อาหารกลางวัน มักจะไม่นิยมปรุ งด้วยเนื้อสัตว์
    แต่จะเป็ นซุป หรื อขนมที่ทาด้วยข้าวหรื อผมไม้
    หรื อแพนเค้กไส้ผลไม้
   หลังอาหารมักจะนัดกันไปร้านกาแฟเพื่อพูดคุยกัน
   คนเยอรมันภูมิใจกับการเป็ นชาติที่ทาเค้กได้อร่ อยที่สุดในโลก
   คนเยอรมันชอบดื่มเบียร์ หรื อน้ าผลไม้ ระหว่างการรับประทานอาหาร
วิถีชีวต (ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม)
       ิ

   คนเยอรมันให้ความสนใจกับ
    ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมมาก
   ส่ วนหนึ่งจากรายถูกนามาใช้เพื่อการอนุรักษ์
   โดยมีพรรคการเมืองใหม่เรี ยกว่า “กลุ่มสี เขียว” ที่อุทิศการทางานให้แก่การ
    การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
   มีกฎหมายด้านสิ่ งแวดล้อมมากมาย เช่น กฎหมายภาษีน้ าเสี ย
   ชอบปลูกต้นไม้ในกระถางประดับหน้าต่างภายในบ้าน
   ชอบให้ดอกไม้แก่กนและกัน และต้องเป็ นจานวนคู่เสมอ
                       ั
วิถีชีวต (กีฬาและนันทนาการ)
       ิ

   มีกีฬายอดนิ ยม คือฟุตบอล
   ในโรงเรี ยนทุกแห่งฐานของปิ รามิด คือกีฬา
   โดยรัฐบาลส่ งเสริ มอย่างจริ งจัง
   การเดินเป็ นกิจกรรมยามว่างที่คนเยอรมันโปรดปราน
   เห็นได้จากการแต่งเพลงเกี่ยวกับการเดินโดยเฉพาะ
   นอกจากนี้ยงผลิตรองเท้าและเสื้ อผ้าที่เหมาะแก่การเดิน
                ั
วิถีชีวต (ศิลปวัฒนธรรม)
       ิ

                                                          ่
    เยอรมันต่างประเทศอื่น คือไม่มีเมืองหลวงที่แท้จริ ง แม้วาเบอร์ ลิน จะเป็ น
    เมืองหลวงมานานกว่า 70 ปี
   วัฒนธรรมจึงกระจายไปในหลายเมืองใหญ่ เช่น มิวนิค และแฟรงค์เฟิ ร์ ต
ครอบครัว

   ครอบครัวส่ วนมากมีบานหรื อห้องชุดเป็ นของตนเอง
                        ้
   ทั้งสามีและภรรยาช่วยกันทางาน ไม่ตองการมีบุตรมาก
                                        ้
   คนเยอรมันร้อยละ 73 เชื่อว่ามนุษย์ตองการอยูร่วมกัน
                                      ้       ่
อุปนิสัย

   มีนิสัยรักดนตรี
   เป็ นคนมีคุณธรรม
                ่
    รักงาน ไม่คอยชอบแต่งตัว
   ชอบชีวิตกลางคืนที่มีการดื่มและร้องเพลงสนุกสนาน
   กลัวที่สุด คือการว่างงาน และสภาวะเศรษฐกิจซบเซา
   การถามไถ่เรื่ องอายุไม่น่าปิ ดบังกันในสังคมเยอรมัน
การพักผ่ อนและการท่ องเทียว
                         ่

 คนเยอรมันได้หยุดพักผ่อน 5 สัปดาห์
 ชอบพักผ่อนโดยการอ่านหนังสื อ
  และฟังดนตรี
ั
อุปนิสยชาวอเมริ กน
      ั
ค่ านิยม

      ชอบความเสมอภาค
      มีการวางแผนในอนาคตเสมอ
      ชอบความเป็ นอิสระ
      ชอบการพึ่งพาตนเอง
                   ั
       สังคมอเมริ กนไม่เน้นสถานภาพ แต่จะไขว่คว้าหาสถานภาพแก่ตนเอง
           ่
       ไม่วาวรรณะทางสังคมใด ครอบครัวฐานะใด หรื อตาแหน่งงานใด ทุกคนมี
       สิ ทธิ์ในการแสวงหาสถานภาพที่ดีกว่า
ค่ านิยม

   ให้คุณค่ากับเวลามาก จะไม่ปล่อยเวลาไปโดยเปล่าประโยชน์
   ไม่ชอบการรอคอย
   มีการกาหนดกิจกรรมต่างๆเสมออย่างขัดเจน
   การตรงต่อเวลาเป็ นสิ่ งที่แสดงถึงการเคารพกันและกัน
พฤติกรรมทางสั งคม

      ความเป็ นมิตร
        –   มีความเป็ นมิตรสูง
        –   มีความเป็ นกันเอง
        –   เปิ ดเผย
        –   การทักทายกัน เปรี ยบเป็ นการทัดเทียมกันทางสังคม
      การแสดงอารมณ์
        –   ไม่ชอบเก็บซ่อนอารมณ์และความรู ้สึก
        –   จะแสดงออกชัดเจน เช่นเมื่อดีใจจะส่ งเสี ยงดัง
        –   สนใจสิ่ งใดจะกระตือรื อร้นเป็ นพิเศส
พฤติกรรมทางสั งคม

   การพูด
     –   ชอบพูดเสี ยงดัง
     –   เวลาพูดจะมองตาผูพด การหลบตาแสดงถึงการไม่จริ งใจ
                         ้ ู
   มารยาท
     –   การดาเนินชีวตง่ายๆ สบายๆ ไม่เป็ นทางการ
                       ิ
     –   ไม่มีกฎเกณฑ์ทางสังคมทางด้านภาษาและมารยาทที่เคร่ งครัด
     –   หนุ่มสาวชอบใช้ภาษาแสลงกันมาก
     –   มารยาทที่ดี คือการให้โอกาสและความทัดทัยมกัน
พฤติกรรมทางสั งคม

   การรับประทานอาหาร
     – ชอบลองอาหารแปลกใหม่
     – อาหารส่ วนมากรสจืด จึงต้องมีเครื่ องชูรสหลัก คือพริ กไทยและเกลือ
     – ชอบขนมที่ทาจากน้ าตาล เช่น แพนเค้กราดด้วยน้ าเชื่อมเมเปิ้ ล
       (Maple Syrup) เป็ นต้น
พฤติกรรมต้ องห้ าม

   เรอในระหว่างหรื อรับประทานอาหาร
   บ้วนน้ าลายหรื อถ่มลงพื้น
   ไม่มองผูพดในขณะที่ฟัง
             ้ ู
   เคี้ยวหมากฝรั่งเสี ยงดัง
   ไม่ปิดปากเวลา ไอ จาม หรื อ หาว
   ผิวปากเวลาเห็นผูหญิงเดินผ่าน
                       ้
   ใส่ หมวกในอาคาร
อุปนิสยของชาวญี่ปุ่น
      ั
อุปนิสัย

   เป็ นคนขยัน
   ชอบการเรี ยนรู้ และการทางานหนัก
   รู ้จกการแบ่งสรรส่ วนรายได้
          ั
   ยึดถือความคิดเห็นของกลุ่มมากกว่าความคิดเห็นส่ วนตัว
   นับถือคนอาวุโสมากกว่าคนระดับเดียวกัน
   ผูที่มีวาสนาเป็ นคนน่ายาเกรง มีสิทธิ์เหนือผูอื่น
        ้                                       ้
   เป็ นคนที่มีการวางแผนการใช้เงิน
   มีความกระตือรื อร้น
อุปนิสัย (หญิง-ชาย)

   บทบาทระหว่างชายหญิงแตกต่างกัน
   เพศชายต้องเด็ดเดี่ยว เข้มแข็ง เป็ นผูนา
                                         ้
   เพศหญิงต้องอ่อนน้อมถ่อมตน สงบเสงี่ยม
   คาว่า Gentleman first เหมาะสมกับสังคมของชาวญี่ปุ่นมาก
   โดยเมื่อผูหญิงญี่ปุ่นไปเที่ยวต่างประเทศจะงุนงงมากว่าการได้ข้ ึนรถก่อน
              ้
    การได้ตกอาหารก่อน เป็ นการแสดงคาว่า Lady first ในวัฒนธรรมตะวันตก
            ั
    เคยชินกับความปลอดภัย ปราศจากโจรผูร้าย ดังนั้นไม่ค่อยห่วงกระเป๋ าถือและ
                                            ้
    สัมภาระที่ตนใช้เดินทาง
ครอบครัว

   ในปั จจุบนร้อยละ 89 ของชาวญี่ปุ่นเป็ นชนชั้นกลาง
              ั
   มีสมาชิกในครอบครัวประมาณ 3-4 คน
   มุ่งเน้นการศึกษาของลูกหลานมาก
   การศึกษาที่ดีทาให้ได้งานที่ดี
   ชอบเดินทางท่องเที่ยวกับสามี ภรรยา รองลงมา คือเพื่อน ญาติพี่นอง
                                                                ้
   แต่งงานช้าลง ผูหญิง อายุ 25 ปี ส่ วนผูชาย อายุ 28 ปี
                   ้                      ้
   ระยะก่อนแต่งงานหลังจากเรี ยนจบจะนิยมท่องเที่ยว
ค่ านิยมเกียวกับการท่ องเทียว
           ่               ่

   ชาวญี่ปุ่นเป็ นชนชาติที่นิยมการเดินทางท่องเที่ยว
   เป็ นตลาดหลักที่มีคุณภาพสาหรับแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ
                                        ่
    จานวนนักท่องเที่ยวญี่ปุ่นเข้ามาไทยอยูในอันดับที่ 2
   คนญี่ปุ่นมีวฒนธรรมที่แตกต่างกับคนเอเชียด้วยกัน ดังนั้นจึงต้องศึกษา
                  ั
    พฤติกรรมนักท่องเที่ยวและวัฒนธรรมเป็ นอย่างดี
   ช่วงอายุที่ชอบเดินทางท่องเที่ยว คือ 20-25 ปี สาหรับผูหญิง และ
                                                          ้
    30-39 สาหรับผูชาย   ้
พฤติกรรมทางสั งคม

   ภาษาท่าทาง จะมีความหมายแฝง
    ซึ่ งมีลกษณะและความหมายแตกต่างกับคนตะวันตก เช่น
            ั
     –   การสบตาและการแสดงสี หน้า จะหลีกเลี่ยงการสบตากับคนที่พดด้วย   ู
     –   การสบตาเป็ นการแสดงการท้าทายและความไม่อ่อนน้อม
     –                            ่
         มักทาสี หน้าราบเรี ยบไม่วายินดี เศร้า ไม่พอใจ หรื อปฏิเสธ เพราะการแสดงสี หน้า
         เป็ นกิริยาไม่สุภาพ
     –   การยิมหรื อหัวเราะ ไม่ตอบรับว่า ใช่ หรื อ ไม่
               ้
     –   การยิม อาจหมายถึงความรู ้สึกลังเล การปฏิเสธ อึดอัด และความไม่สบายใจ
                 ้
     –   การหัวเราะ อาจหมายถึงการกลบเกลื่อนความไม่รู้หรื อขบขันตนเอง
พฤติกรรมทางสั งคม

   –   การกัดฟั นขณะที่พด หมายถึงการใช้ความคิด
                             ู
       อย่างหนักขณะที่พด   ู
   –   การเกาท้ายทอย แสดงความรู้สึกเขินหรื ออาย
   –   การยืนมือออกมาข้างหน้าพร้อมโบกไปมาแสดงความรู้สึกเขินอาย
            ่
   –   การชี้มือที่จมูก หมายถึงตัวเอง
   –   การนิ่ งเงียบ ไม่ใช่การหยิง หรื อการเมินเฉย แต่อาจหมายถึง ในเชิงตอบ
                                 ่
       รับ ปฏิเสธ หรื อคัดค้าน เช่น ไม่เข้าใจ ไม่รู้ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
   –   การพูดแทรก หมายถึงการก้าวร้าว ไม่สุภาพ
พฤติกรรมต้ องห้ ามทางสังคม
   การสื่ อสารที่ตองห้าม
                   ้

     –   อย่าตั้งคาถามด้วยคาถามว่า ทาไม เป็ นการแสดงถึงความก้าวร้าว
         ไม่อ่อนน้อม และแสดงการไม่ไว้ใจ
     –   อย่าถามคิดอะไรอยู่ เมื่อคนญี่ปนนิ่งเงียบ เพราะไม่สุภาพ
                                          ุ่
     –   อย่าถูกเนื้อต้องตัวคนญี่ปุ่นที่เราไม่สนิทด้วย เพราะทาให้เขาอึดอัด
     –   อย่าปฏิบติตนสนิทสนมกับคนญี่ปุ่นมากเกินไปในระหว่างการทางาน เพราะการที่ปฏิบติ
                    ั                                                                   ั
         สบายเกินไปแสดงความไม่จริ งจัง ความไม่สนใจ และความไม่เรี ยบร้อย
     –                                              ่
         อย่าแสดงอารมณ์ออกมาอย่างเปิ ดเผยไม่วา เสี ยใจ ดีใจ โกรธ เป็ นต้น เพราะการควบคุม
         อารมณ์ไม่ได้ แสดงการเป็ นเด็ก และความไม่น่านับถือ
     –   คนญี่ปนไม่ค่อยแสดงสี หน้าและทาหน้าเฉย
                 ุ่
     –   หลีกเลี่ยงการเล่าเรื่ องขบขัน โดยเฉพาะเรื่ องเพศ
รายละเอียดความสาคัญต่ างๆ ทีต้องมีในแหล่ งท่ องเทียว
                            ่                     ่

   ความปลอดภัย
   ความสะอาดของบ้านเมือง น้ า โรงแรมที่พกั
   การบริ การทางการแพทย์
   ทัศนคติของตารวจต่อนักท่องเที่ยว
   มัคคุเทศก์ที่พดภาษาญี่ปุ่นได้ดี
                  ู
                              ั ่
    ควรคานึ งถึงมารยาทที่ปฏิบติตอแขกชาวญี่ปุ่น
รายละเอียดความสาคัญต่ างๆ ทีต้องมีในแหล่ งท่ องเทียว
                            ่                     ่

   ห้องพักควรมีภาษาญี่ปุ่น โดยเฉพาะเรื่ อง Emergency
   โรงแรมควรมีหองโถงที่กว้างขวาง
                   ้
   ห้องพักควรมีอ่างอาบน้ า
   ชอบนอนเตียงแยกในห้อง Twin room
   ร้านอาหารสะอาด
   ชอบลองอาหารท้องถิ่น
   ควรมีคาอธิบายเรื่ องอาหารเป็ นภาษญี่ปุ่น
อุปนิสยของชาวเกาหลีใต้
      ั
ภูมิศาสตร์

               ั ่
    เกาหลีใต้ต้ งอยูบนคาบสมุทรเกาหลี
      ่
    อยูระหว่างประเทศจีน รัสเซี ย และญี่ปุ่น
   แบ่งออกเป็ น 2 ประเทศ
    ตามแนวเส้นขนานที่ 38 องศาเหนือ คือ
    เกาหลีเหนือ หรื อสาธารณรัฐประชาธิปไตยเกาหลีเหนือ
    และ เกาหลีใต้ หรื อ สาธารณรัฐเกาหลี
   ภูมิประเทศส่ วนใหญ่เป็ นภูเขา ร้อยละ 70
สั ญลักษณ์ สาคัญ

   ธงชาติเกาหลีมีลกษณะเป็ นสี่ เหลี่ยมผืนผ้า
                      ั
                                                                    ่
    มีวงกลมตรงกลางคล้ายปลาวาฬสองตัวสลับหัวสี แดงและสี น้ าเงินอยูตรงกลาง
   สี ขาว หมายถึงสันติภาพ
   สี แดง หมายถึง หยาง หรื อความสุ ข สว่าง ผูชาย กลางวัน
                                               ้
   สี น้ าเงิน หมายถึง หยิน หรื อความทุกข์ ความมืด ผูหญิง กลางคืน
                                                      ้
   มุม 4 มุม คือ - มุม 1 คือทิศตะวันออก = ฤดูใบไม้ผลิ ความอดทน ฟ้ า
                     - มุม 2 คือทิศเหนือ = ฤดูหนาว ความรู้ ดวงจันทร์
                     - มุม 3 คือทิศตะวันตก = ฤดูร้อน ความถูกต้อง ดิน
                     - มุม 4 คือทิศใต้ = ฤดูใบไม้ร่วง ความเป็ นธรรม ดวงอาทิตย์
ศิลปวัฒนธรรม

 มีอกษรที่ใช้ 24 ตัว
     ั
 ชุดแต่งกายประจาชาติเรี ยกว่า “ฮัมบก”
อุปนิสัย

   โดยทัวไปมีนิสัยฉลาดแกมโกง
          ่
   รักษาอารยธรรม
   มักพูดถึงความสาเร็ จและความภาคภูมิใจ
   มีความรักชาติรุนแรง เนื่องมาจากสงครามภายในและภายนอกประเทศ
   นิยมเดินทางเป็ นครอบครัว
   ชอบเชื่อฟังผูอาวุโส
                 ้
   ยึดถือความกตัญํูเป็ นเรื่ องใหญ่
วิถีชีวต (การรับประทานอาหาร)
       ิ

   ชอบอาหารที่เป็ นข้าว
   การปลูกพืชพรรณธัญญาหารลาบาก
    จึงสั่งสมนิสัยการรับประทานอาหารจนหมด
   อาหารประกอบด้วย ข้าวจ้าว ข้าวเหนียว ข้าวบาร์ เล่ย ์
   อาหารประจาชาติที่ข้ ึนชื่อ คือ “กิมจิ”
                               ็
    บนหลังคาบ้านชาวเกาหลีกจะพบไหที่ใช้ดองกิมจิ
   นิยมรับประทานอาหารประเภทปลา
   นิยมรับประทานอาหารจาพวกผัดผักหลายรู ปแบบ
วิถีชีวต (การรับประทานอาหาร)
       ิ

   นิยมบริ โภคเนื้อวัวมากที่สุด
   รสชาติอาหารจะมีรสจืดนา
   อาหารทุกมื้อจะบริ โภคกับข้าว
   อาหารที่โด่งดังทัวโลก คือ “เนื้ อย่างเกาหลี” หรื อ “พลูโกกิ”
                     ่
   ส่ วนมากนิยมดื่มสุ รา
   อาหารเช้านิยมแบบอเมริ กา คือมี ไข่ดาว เบคอน หมูแฮม
การท่ องเทียว การนันทนาการและการเดินทาง
           ่

   ชอบกีฬากอล์ฟ
   ชอบพักโรงแรมที่สะอาด
   หากเป็ นโรงแรมที่มีพนักงานพูดเกาหลีได้
    จะยิงประทับใจมาก
        ่
   มักใช้เวลากับการท่องเที่ยวประมาณ 3-5 วัน
   ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวประมาณ 4000-5000 บาทต่อวัน
   คาดว่าในอนาคตคนเกาหลีจะนิ ยมมาไทยกันมากขึ้น
การท่ องเทียว การนันทนาการและการเดินทาง
           ่

   นิยมท่องเที่ยวสถานที่ท่ีสามารถส่ งเสี ยง
    เอะอะ สนุกสนานได้ทุกเมื่อ
   ดื่มสุ ราได้
   ควรมีคาราโอเกะด้วยจะดีมาก
   ชอบซื้อของที่ระลึกฝากเพื่อนฝูง
    เพื่อกระชับสัมพันธ์และแสดงความมีน้ าใจ
อุปนิสยชาวจีน
      ั
เศรษฐกิจ

   ปั จจัยหลักที่ทาให้เศรษฐกิจจีนเติบโต
     – การลงทุนอสังหาริ มทรัพย์
     – อุตสาหกรรมยานยนต์ / เครื่ องจักรกล / เหล็ก
     – การค้าระหว่างประเทศ
   จีนพยายามส่ งเสริ มการท่องเที่ยวของกลุ่มอนุภาคลุ่มแม่น้ าโขง
   การท่องเที่ยวจีน (CNTA) รับเป็ นเจ้าภาพจัด China Travel
    Mart เพื่อโปรโมตสิ นค้าทางการท่องเที่ยวของกล่มอนุภมิภาค    ู
   ADB = โครงการพัฒนาลุ่มน้ าโขงของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย
ค่ านิยมและพฤติกรรมในการท่ องเทียว
                                ่

   คนจีนร้อยละ 90 จะไปเที่ยวประเทศเอเชียด้วยกันเอง
    แต่ในอนาคตอันใกล้ จะไปถล่มยุโรป
   พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวจีนจะชอบใช้จ่ายในการช้อปปิ้ งมากกว่าการจ่ายเงินมากมายไป
    กับที่พกและอาหาร
           ั
   นักท่องเที่ยวชาวจีนที่ชอบมาจับจ่ายนั้นเขากล่าวว่า มีอายุอยูในช่วง 30-40 ปี
                                                               ่
    โดยประมาณ มีการศึกษาและกาลังซื้อค่อนข้างมาก
   พฤติกรรมการจับจ่ายใช้สอยของนักท่องเที่ยวชาวจีน
     – ชอบผลไม้ไทย ทานเร็ ว กินง่าย อยูง่าย ทานรสจืด
                                                ่
     – ชอบซื้ อเพชร พลอย ทอง / ซื้ อของฝากผูใหญ่   ้
     – ชอบดูโชว์คาบาเร่
การท่ องเทียวและการเดินทาง
           ่

   จานวนคนจีนที่ออกไปท่องเที่ยวต่างประเทศในปี 2006 คาดว่าจะมีจานวน 35
    ล้านคน (เพิ่มขึ้นจากปี ที่แล้วร้อยละ 12.9)
   ในปี 2005 มีคนจีนจากแผ่นดินใหญ่มาเที่ยวบ้านเราประมาณ 800,000 คน (ยอด
    นักท่องเที่ยวต่างประเทศในไทยทั้งหมดประมาณ 10 ล้านคน)
   ช่วงเทศกาลหยุดยาววันแรงงาน (ช่วงต้นเดือนพฤษภาคม) เป็ นหนึ่งในสาม
    ฤดูท่องเที่ยวสาคัญของคนจีน
อุปนิสยชาวมุสลิม
      ั
ค่ านิยมและพฤติกรรมทางสั งคม

   ช่วงเวลามาพานักนาน
    เฉลี่ยประมาณ 8-12 วัน
   ชอบท่องเที่ยวกับชาวมุสลิม
    ด้วยกันเอง
   เดินทางในกลุ่มจานวนไม่มาก
   ชอบเมืองที่มีสังคมและวัฒนธรรมหลากหลาย
   มัคคุเทศก์ควรศึกษากฎและระเบียบของศาสนาอิสลามเพื่อจะได้ปฏิบติตนไม่
                                                              ั
    ขัดต่อความเชื่อและศรัทธาของนักท่องเที่ยวชาวมุสลิม
ความเชื่อทีน่าสนใจ
           ่

 นับถือพระเจ้าองค์เดียว คือ พระอัลเลาะห์ และมีศาสดาองค์สุดท้าย คือ
  นบีมูฮมหมัด เชื่อเรื่ องสวรรค์ นรก อวสานของโลก และชีวิตในโลก
         ั
  หน้า ซึ่งไม่มีการกลับมาเกิดใหม่แต่เป็ นชีวิตใหม่ที่นิรันดร์
 ส่ วนใหญ่จะไม่เดินทางช่วงเดือนถือศีลอด (รอมดอน) เพราะประกอบ
  กิจทางศาสนาเป็ นเวลา 1 เดือน เป็ นช่วงเดือนที่รอคอยเพื่อแสวงหา
  และขอความเมตตาจากพระอัลเลาะห์ ผูประกอบการและมัคคุเทศก์จึง
                                         ้
  จาเป็ นต้องศึกษาปฏิทินชาวมุสลิมเพื่อวางแผนกิจกรรมการเดินทาง
  หรื อการท่องเที่ยวไม่ให้ตรงกับเดือนดังกล่าว
ความเชื่อทีน่าสนใจ
           ่

   ชาวมุสลิมต้องละหมาด 5 ครั้ง ในแต่ละวัน
    คือ เช้า กลางวัน บ่าย ค่า และกลางคืน
   จะไม่ดื่มแอลกอฮอล์ ไม่เสพยาเสพติด
    และไม่เล่นการพนัน
   ไม่รับประทานหมู เลือด สัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ า และสัตว์ที่ตายแล้ว
    ก่อนนามาชาแหละ เพราะเขามีข้ นตอนการชาแหละสัตว์และ
                                    ั
    ต้องชาแหละด้วยชาวมุสลิมด้วยกันเท่านั้น
   ทักทายด้วยการจับมือ เรี ยกว่า “สลาม” แล้วกล่าวภาษาอาหรับว่า
    “สลามมอไลกุม”ซึ่ งมีความหมายว่า “ความสันติสุขจงมีแก่ท่าน”
    ซึ่ งผูสนทนาอีกฝ่ ายต้องกล่าวแบบเดียวกัน
           ้
ข้ อควรระวัง

   ส่ วนใหญ่จะเดินทางท่องเที่ยวเพื่อชมความยิงใหญ่ของพระเจ้า
                                                 ่
                                          ่
    ไม่ควรถูกเนื้อต้องตัวนักท่องเที่ยว ไม่วาชายหรื อหญิง
   ไม่พดเรื่ องปั ญหาการเมือง
         ู
   ไม่สอบถามความแตกต่างระหว่าง นิ กายซุนหนี่ ย ์ และนิกายชีอะด์
   ไม่ควรถามการปฏิบติตามคาสั่งพระเจ้า
                        ั
   ไม่ดูลายมือหรื อดูโชคชะตา เพราะเชื่อว่าชีวตถูกลิขิตไว้แล้ว
                                               ิ
   ไม่เล่าความเชื่อในศาสนาอื่นให้ฟัง
ข้ อควรระวัง

 เมื่อกล่าวถึงพระอัลเลาะห์จะต้องระมัดระวังและให้เกียรติทุกครั้ง
 ไม่พาไปชมการแสดงล่อแหลม
 ควรหลีกเลี่ยงการนาชมศาสนสถานของศาสนาอื่นๆ
 หากมีการนาชมศาสนาสถานของศาสนาอื่น ต้องอธิ บายในเชิง
  สถาปัตยกรรมเท่านั้น
การติดต่อสื่ อสาร
(Communication)
การติดต่ อสื่ อสาร (Communication)

   ความพยายามที่ผส่งสารจะถ่ายทอดความคิดความต้องการให้ผรับสารได้เข้าใจ
                     ู้                                           ู้
    โดยใช้คาพูด สัญลักษณ์ หรื อการกระทา
   ในธุรกิจท่องเที่ยวจึงให้ความสาคัญกับการสื่ อสารมาก
   หัวใจสาคัญของการสื่ อสาร คือความหมาย ที่ตองเข้าใจตรงกัน
                                                  ้
   ความหมายอาจแสดงออกทางสี หน้าและระดับเสี ยงได้
   ผลดีอีกวิธี คือการคานึ งถึงปฏิกิริยาระหว่างคนส่ งสาร และคนรับสาร คือ
    ผูส่งสารต้องฉลาด มีไหวพริ บดี เปิ ดเผย และรู ้วาผูรับสารเป็ นใคร
      ้                                             ่ ้
   อุปสรรคส่ วนมาก คือด้านภาษา การช่วย คือการใช้ท่าทาง สัญลักษณ์มือ หรื อ
    ให้วาดภาพ
ในธุรกิจนาเทียวนั้นการสื่ อสารได้ ผลดี
             ่
มีดงนี้
   ั

   การพยายามเห็นความสาคัญของนักท่องเที่ยว
   แสดงความยินดีแล้วแต่โอกาส
   ควรจะวันสาคัญของชนชาติน้ น       ั
             ้               ่
    ควรเป็ นผูรับฟั งที่ดีไม่วาจะเป็ นการสรรเสริ ญ หรื อการต่อว่าจากนักท่องเที่ยว
   หากอธิ บายเกี่ยวกับตัวเลข ควรใช้กราฟประกอบการอธิ บาย
   ใช้แผนที่แสดงเส้นทางเสมอ
   ใช้รูปภาพประกอบคาอธิ บายถึงสื่ อแทนความหมายต่างๆ
ในธุรกิจนาเทียวนั้นการสื่ อสารได้ ผลดี มีดงนี้
             ่                            ั

   ควรเข้าใจความต้องการพื้นฐานของนักท่องเที่ยว
   ควรให้เวลาในการซื้ อของที่ระลึก
   ระหว่างการเดินทางควรมีเรื่ องเล่าสนุกสนาน หรื อร้องเพลงบ้าง
   ควรให้เวลาในการถ่ายภาพ
   รู ้จกใช้คาพูดเพื่อแสดงว่านักท่องเที่ยวมีความสาคัญ
         ั
   ควรให้นกท่องเที่ยวลองชิมอาหาร ลองดมหรื อเห็นสิ่ งของแปลกๆดูบาง
              ั                                                 ้
   มีการให้ความรู ้ดานศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ประเพณี ต่างๆ
                       ้
ผู้ประกอบการการท่ องเทียวควรคานึงถึงสิ่ งต่ อไปนี้
                       ่

 รู ้จกนักท่องเที่ยวว่าเป็ นใคร
       ั                            บริ การขนส่ ง
 เข้าใจสภาพแวดล้อม อุปนิ สัย       บริ การการสื่ อสาร
  โดยทัวไปของนักท่องเที่ยว
          ่                         บริ การส่ วนบุคคล
 ควรเห็นประโยชน์ที่                บริ การภายในครัวเรื อน
  นักท่องเที่ยวได้รับมากกว่า        บริ การศึกษาโดยเอกชน
  เน้นเรื่ องสิ นค้า
                                    บริ การให้คาแนะนาทางธุ รกิจ
 หลักทรัพย์ในการทาธุ รกิจ

Contenu connexe

Tendances

1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.
chickyshare
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
Somyot Ongkhluap
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรม
Mint NutniCha
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
Somyot Ongkhluap
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียนโครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
iceskywalker
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวแบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
สำเร็จ นางสีคุณ
 

Tendances (20)

กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdfคู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
T guide 7
T    guide 7T    guide 7
T guide 7
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับที่พักแรม
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียนโครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
 
ธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรมธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจโรงแรม
 
การบริการอาหาร
การบริการอาหารการบริการอาหาร
การบริการอาหาร
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวแบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
 
งานอาหารและบริการ
งานอาหารและบริการงานอาหารและบริการ
งานอาหารและบริการ
 
T guide1
T guide1T guide1
T guide1
 
จังหวัด เชียงราย
จังหวัด เชียงรายจังหวัด เชียงราย
จังหวัด เชียงราย
 

En vedette

แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยวแผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
icecenterA11
 
Intermediation, Norms and Market Strategies in Tourism
Intermediation, Norms and Market Strategies in TourismIntermediation, Norms and Market Strategies in Tourism
Intermediation, Norms and Market Strategies in Tourism
Malgorzata Ogonowska
 
Intro to tourism Chapter 12
Intro to tourism Chapter 12Intro to tourism Chapter 12
Intro to tourism Chapter 12
hawaiiscott
 
Smart Tourism Project Presentation
Smart Tourism Project PresentationSmart Tourism Project Presentation
Smart Tourism Project Presentation
19magnet
 
ช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยว
ช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยวช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยว
ช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยว
Somyot Ongkhluap
 

En vedette (20)

แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยวแผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
แผนวิจัย พฤติกรรมท่องเที่ยว
 
Intermediation, Norms and Market Strategies in Tourism
Intermediation, Norms and Market Strategies in TourismIntermediation, Norms and Market Strategies in Tourism
Intermediation, Norms and Market Strategies in Tourism
 
Ecotourism, Indonesia and Rio+20
Ecotourism, Indonesia and Rio+20Ecotourism, Indonesia and Rio+20
Ecotourism, Indonesia and Rio+20
 
Intro to tourism Chapter 12
Intro to tourism Chapter 12Intro to tourism Chapter 12
Intro to tourism Chapter 12
 
Ecotourism and Medical Tourism in Emerging Markets
Ecotourism and Medical Tourismin Emerging MarketsEcotourism and Medical Tourismin Emerging Markets
Ecotourism and Medical Tourism in Emerging Markets
 
Ecotourism Emerging Industry Forum (2005)
Ecotourism Emerging Industry Forum (2005)Ecotourism Emerging Industry Forum (2005)
Ecotourism Emerging Industry Forum (2005)
 
Destinos turísticos inteligentes: Significado y pilares de su inteligencia
Destinos turísticos inteligentes: Significado y pilares de su inteligenciaDestinos turísticos inteligentes: Significado y pilares de su inteligencia
Destinos turísticos inteligentes: Significado y pilares de su inteligencia
 
Destinos turísticos inteligentes
Destinos turísticos inteligentesDestinos turísticos inteligentes
Destinos turísticos inteligentes
 
Los destinos turísticos inteligentes: ¿Cómo llegar al corazón de los turistas?
Los destinos turísticos inteligentes: ¿Cómo llegar al corazón de los turistas?Los destinos turísticos inteligentes: ¿Cómo llegar al corazón de los turistas?
Los destinos turísticos inteligentes: ¿Cómo llegar al corazón de los turistas?
 
Big data and tourism
Big data and tourismBig data and tourism
Big data and tourism
 
The Ecotourism Revolution
The Ecotourism RevolutionThe Ecotourism Revolution
The Ecotourism Revolution
 
C3 tourist demand
C3 tourist demandC3 tourist demand
C3 tourist demand
 
Tourism marketing promotion 2-2559
Tourism marketing promotion 2-2559Tourism marketing promotion 2-2559
Tourism marketing promotion 2-2559
 
Smart Tourism Project Presentation
Smart Tourism Project PresentationSmart Tourism Project Presentation
Smart Tourism Project Presentation
 
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
 
ช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยว
ช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยวช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยว
ช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยว
 
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
 
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมบทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
บทที่ 4 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
135 402 cross-cultural management12 การเจรจาต่อรองในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
 

Similaire à Tourist Behavior: International tourist behavior

โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
zeenwine
 
ประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหา
superglag
 
ประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหา
superglag
 
ประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหา
superglag
 
เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...
เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...
เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...
Veerahan Rattanaveerapong
 
นักสนับสนุน (Supporter)
นักสนับสนุน (Supporter)นักสนับสนุน (Supporter)
นักสนับสนุน (Supporter)
Sunny Stong
 
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่าง
directorcherdsak
 

Similaire à Tourist Behavior: International tourist behavior (20)

ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
โครงการ การออม
โครงการ การออมโครงการ การออม
โครงการ การออม
 
Internatonal breakfast
Internatonal breakfastInternatonal breakfast
Internatonal breakfast
 
Tsan newsletter 8
Tsan newsletter 8Tsan newsletter 8
Tsan newsletter 8
 
Portfolio
PortfolioPortfolio
Portfolio
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
ประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหา
 
ประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหา
 
ประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหาประเด็นปัญหา
ประเด็นปัญหา
 
America
AmericaAmerica
America
 
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้างโครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
โครงงานหนึ่งเสียงเปิดโลกกว้าง
 
เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...
เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...
เธŠเธธเธ”เธ—เธตเนˆ 2 เธชเธฒเธฃเธฐเธชเธณเธ„เธฑเธเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธฅเธนเธเน...
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
112547
112547112547
112547
 
นักสนับสนุน (Supporter)
นักสนับสนุน (Supporter)นักสนับสนุน (Supporter)
นักสนับสนุน (Supporter)
 
รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศ
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
 
พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่าง
 
5
55
5
 

Tourist Behavior: International tourist behavior

  • 3. วิถีชีวต ิ  ปั จจุบนชาวฝรั่งเศสมีการแบ่งชนชั้น ั วรรณะน้อยลง  มีพิธีรีตองในการจัดงานเลี้ยงหรื อในบทสนทนา  ่ ้ มีความคิดที่วาฐานะพื้นฐานของครอบครัวที่ดี จะทาให้กาวหน้าในการ ทางาน  คนฝรั่งเศสเป็ นคนรักการทางาน  ชนชั้นกลางมีอิทธิ พลและบทบาทต่อเศรษฐกิจและสังคม
  • 4. ครอบครัว  คนฝรั่งเศสจงรักภักดีและรักครอบครัวมาก  ปัจจุบนลักษณะครอบครัวจะเล็กลง คือมีสมาชิกเพียง 3-4 คน ั  วัยหนุ่มสาวจะออกหางานทาในเมืองใหญ่ๆรอบฝรั่งเศส  หนุ่มสาวคิดว่าควรแต่งงานตั้งแต่อายุยงน้อย สร้างฐานะและมีบุตร ั ไว้สืบสกุล
  • 5. อุปนิสัย  ผูหญิงชาวฝรั่งเศสเป็ นคนโรแมนติก ช่างฝัน ้ มีความฉลาดในการเลือกคู่ครอง  ผูชายในอุดมคติตองมีบุคลิกดี การงานดี ้ ้  แต่ผชายส่ วนใหญ่มองว่าผูหญิงฝรั่งเศสไร้สาระ บ้าแฟชัน เซ็กซี่ ลุ่ม ู้ ้ ่ หลงกามารมณ์  มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว  หลังแต่งงานจะเป็ นแม่บานและเลี้ยงลูกด้วยความเต็มใจ ้
  • 6.
  • 7. อุปนิสัย  คนฝรั่งเศสเป็ นคนมีโลกส่ วนตัวสู ง  ไม่ชอบให้ใครวิจารณ์เรื่ องการมีค่นอน ู  ้ ั ั ้ ผูชายจะปฏิบติอย่างดีกบผูหญิงที่เขารัก ชอบปกป้ องคนรัก  ชอบผูหญิงอ่อนหวาน มีระเบียบแบบแผน ้ ไม่ชอบผูหญิงที่เก่งกล้า ้
  • 8. อุปนิสัย (3.การรับประทานอาหาร)  ปั จจุบนชาวฝรั่งเศสมีนิสัยสุ รุ่ยสุ ร่าย ั ชอบชีวตหรู หรา เน้นการท่องเที่ยวและ ิ อาหารการกิน  จะรับประทานอาหาร 3-4 มื้อ ต่อวัน  โดยเฉพาะมื้อเที่ยง คือมื้อหลัก จะเริ่ มตั้งแต่ เวลา 12.00-14.00 น.  แต่ปัจจุบนการรี บเร่ งรับประทานอาหาร ทาให้ ั ลดลงเหลือแค่1-2 มื้อเท่านั้น  พ่อครัวชาวฝรั่งเศสมีชื่อสี ยงมากในการทาอาหาร
  • 9. ค่ านิยมและพฤติกรรมทางสั งคม  การพูด = คนฝรั่งเศสเป็ นคนช่างพูดและสามารถวิจารณ์ทุกสิ่ งและทุกคน ได้ ดังนั้นการโต้เถียงกันเป็ นสิ่ งธรรมดาหรื อเป้ นกระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม และชอบที่จะซักถามข้อมูลจากตัวบุคคล  การทักทาย = การจับมือและการจูบแบบฝรั่งเศส (French Kiss)  การแสดงความสุ ภาพ = ชอบเงียบในบางสถานการณ์  ทัศนคติต่อชาวเอเชีย = คิดว่าคนเอเชียสุ ภาพ ฉลาด ทางานหนักและไม่ ก้าวร้าว แต่คนเอเชียยิมง่าย จนบางครั้งดูไม่มีเหตุผม ทาให้รู้สึกว่าเป็ นการ ้ เสแสร้ง เย็นชา หลอกลวงและประจบประแจง
  • 10. ค่ านิยมและพฤติกรรมทางสั งคม  ภาษาท่าทาง คนฝรั่งเศสชอบใช้ท่าทางในการพูด เช่น – การจับมือ เป็ นการแสดงการทักทาย คน ฝรั่งเศสต่างจากคนอเมริ กนั คือจะมือแบบหลวมๆ และระยะเวลาสั้น – การแสดงท่าทางด้วยมือและนิ้ว การจูบมือทั้งห้า หมายถึง ยอดเยียม ่ หรื อการตวัดมือไปข้างหลัง หมายถึง เรื่ องเล็กน้อยที่สามารถควบคุมได้
  • 11. การพักผ่ อนและการท่ องเที่ยว (Club Mediterranean)  แนวความคิดเรื่ องการท่องเที่ยวมาในแบบ การ ดาเนินการของClub Mediterranean  เริ่ มในปี ค.ศ.1950 โดยชาวเบลเยียม ่ ชื่อ Gerald Blitz และเพื่อนชื่อ Gilbert Trigano  ได้สร้างการท่องเที่ยวแบบ Camping และสร้างบ้านพักด้วยฟาง  มีการจาลองหมู่บานเล็กๆ ริ มชายหาด โดยมีสิ่งอานวยความสะดวกพร้อมสรรพ ้ ในการดารงชีวิต  หลังจากนั้นมีการสร้างอาณาจักรในสถานที่อื่นๆอีก เช่น โมรอคโค อิสราเอล สเปน ยูโกสลาเวีย ภูเก็ต
  • 12. การพักผ่ อนและการท่ องเที่ยว (Club Mediterranean)  ในหมู่บานมีกิจกรรมมากมาย เช่นเดินป่ า เดินสารวจหมู่บาน ศึกษา ้ ้ พฤติกรรมและเรี ยนรู ้วฒนธรรมของชาวบ้าน เล่นน้ า เล่นกีฬา ั  มีการเต้นราในตอนกลางคืน  มีอาหารพร้อมสรรพแก่นกท่องเที่ยว ั  สถาปั ตยกรรมของหมู่บาน Club Med เหมาะกับสภาพพื้นที่น้ นๆ ้ ั  การเพิมความเป็ นกันเองแก่นกท่องเที่ยว ่ ั
  • 15. วิถีชีวต ิ  คนเยอรมันไม่มีการแบ่งชนชั้นวรรณะ  ชอบเรื่ องศิลปวัฒนธรรม สิ่ งแวดล้อม และนิยมชองที่ผลิตในญี่ปุ่น โดยเฉพาะรถยนต์  คนเยอรมันถูกเลี้ยวดูมาอย่างมีระเบียบวินยและรู ้จกการช่วยเหลือตัวเองตั้งแต่ ั ั เด็กๆ  รัฐบาลส่ งเสริ มเรื่ องการศึกษามาก  คนเยอรมันเลื่อมใสในศาสนามาก  ประชากรทุกคนมีการประกันสุ ขภาพเพื่อป้ องกันความเสี ยเปรี ยบทางเศรษฐกิจ และมีการประกันการว่างงาน
  • 16. วิถีชีวต (การรับประทานอาหาร) ิ  อาหารเช้าของชาวเยอรมันเป็ น Continental breakfast คือ ประกอบด้วย ขนมปั งปิ้ ง กับเนยและแยม เนื้อแข็ง หรื อเนื้อ เย็น เครื่ องดื่มเป็ นชา กาแฟ หรื อโยเกิร์ต  อาหารกลางวัน มักจะไม่นิยมปรุ งด้วยเนื้อสัตว์ แต่จะเป็ นซุป หรื อขนมที่ทาด้วยข้าวหรื อผมไม้ หรื อแพนเค้กไส้ผลไม้  หลังอาหารมักจะนัดกันไปร้านกาแฟเพื่อพูดคุยกัน  คนเยอรมันภูมิใจกับการเป็ นชาติที่ทาเค้กได้อร่ อยที่สุดในโลก  คนเยอรมันชอบดื่มเบียร์ หรื อน้ าผลไม้ ระหว่างการรับประทานอาหาร
  • 17. วิถีชีวต (ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม) ิ  คนเยอรมันให้ความสนใจกับ ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมมาก  ส่ วนหนึ่งจากรายถูกนามาใช้เพื่อการอนุรักษ์  โดยมีพรรคการเมืองใหม่เรี ยกว่า “กลุ่มสี เขียว” ที่อุทิศการทางานให้แก่การ การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม  มีกฎหมายด้านสิ่ งแวดล้อมมากมาย เช่น กฎหมายภาษีน้ าเสี ย  ชอบปลูกต้นไม้ในกระถางประดับหน้าต่างภายในบ้าน  ชอบให้ดอกไม้แก่กนและกัน และต้องเป็ นจานวนคู่เสมอ ั
  • 18. วิถีชีวต (กีฬาและนันทนาการ) ิ  มีกีฬายอดนิ ยม คือฟุตบอล  ในโรงเรี ยนทุกแห่งฐานของปิ รามิด คือกีฬา  โดยรัฐบาลส่ งเสริ มอย่างจริ งจัง  การเดินเป็ นกิจกรรมยามว่างที่คนเยอรมันโปรดปราน  เห็นได้จากการแต่งเพลงเกี่ยวกับการเดินโดยเฉพาะ  นอกจากนี้ยงผลิตรองเท้าและเสื้ อผ้าที่เหมาะแก่การเดิน ั
  • 19. วิถีชีวต (ศิลปวัฒนธรรม) ิ  ่ เยอรมันต่างประเทศอื่น คือไม่มีเมืองหลวงที่แท้จริ ง แม้วาเบอร์ ลิน จะเป็ น เมืองหลวงมานานกว่า 70 ปี  วัฒนธรรมจึงกระจายไปในหลายเมืองใหญ่ เช่น มิวนิค และแฟรงค์เฟิ ร์ ต
  • 20. ครอบครัว  ครอบครัวส่ วนมากมีบานหรื อห้องชุดเป็ นของตนเอง ้  ทั้งสามีและภรรยาช่วยกันทางาน ไม่ตองการมีบุตรมาก ้  คนเยอรมันร้อยละ 73 เชื่อว่ามนุษย์ตองการอยูร่วมกัน ้ ่
  • 21. อุปนิสัย  มีนิสัยรักดนตรี  เป็ นคนมีคุณธรรม  ่ รักงาน ไม่คอยชอบแต่งตัว  ชอบชีวิตกลางคืนที่มีการดื่มและร้องเพลงสนุกสนาน  กลัวที่สุด คือการว่างงาน และสภาวะเศรษฐกิจซบเซา  การถามไถ่เรื่ องอายุไม่น่าปิ ดบังกันในสังคมเยอรมัน
  • 22. การพักผ่ อนและการท่ องเทียว ่  คนเยอรมันได้หยุดพักผ่อน 5 สัปดาห์  ชอบพักผ่อนโดยการอ่านหนังสื อ และฟังดนตรี
  • 24. ค่ านิยม  ชอบความเสมอภาค  มีการวางแผนในอนาคตเสมอ  ชอบความเป็ นอิสระ  ชอบการพึ่งพาตนเอง  ั สังคมอเมริ กนไม่เน้นสถานภาพ แต่จะไขว่คว้าหาสถานภาพแก่ตนเอง  ่ ไม่วาวรรณะทางสังคมใด ครอบครัวฐานะใด หรื อตาแหน่งงานใด ทุกคนมี สิ ทธิ์ในการแสวงหาสถานภาพที่ดีกว่า
  • 25. ค่ านิยม  ให้คุณค่ากับเวลามาก จะไม่ปล่อยเวลาไปโดยเปล่าประโยชน์  ไม่ชอบการรอคอย  มีการกาหนดกิจกรรมต่างๆเสมออย่างขัดเจน  การตรงต่อเวลาเป็ นสิ่ งที่แสดงถึงการเคารพกันและกัน
  • 26. พฤติกรรมทางสั งคม  ความเป็ นมิตร – มีความเป็ นมิตรสูง – มีความเป็ นกันเอง – เปิ ดเผย – การทักทายกัน เปรี ยบเป็ นการทัดเทียมกันทางสังคม  การแสดงอารมณ์ – ไม่ชอบเก็บซ่อนอารมณ์และความรู ้สึก – จะแสดงออกชัดเจน เช่นเมื่อดีใจจะส่ งเสี ยงดัง – สนใจสิ่ งใดจะกระตือรื อร้นเป็ นพิเศส
  • 27. พฤติกรรมทางสั งคม  การพูด – ชอบพูดเสี ยงดัง – เวลาพูดจะมองตาผูพด การหลบตาแสดงถึงการไม่จริ งใจ ้ ู  มารยาท – การดาเนินชีวตง่ายๆ สบายๆ ไม่เป็ นทางการ ิ – ไม่มีกฎเกณฑ์ทางสังคมทางด้านภาษาและมารยาทที่เคร่ งครัด – หนุ่มสาวชอบใช้ภาษาแสลงกันมาก – มารยาทที่ดี คือการให้โอกาสและความทัดทัยมกัน
  • 28. พฤติกรรมทางสั งคม  การรับประทานอาหาร – ชอบลองอาหารแปลกใหม่ – อาหารส่ วนมากรสจืด จึงต้องมีเครื่ องชูรสหลัก คือพริ กไทยและเกลือ – ชอบขนมที่ทาจากน้ าตาล เช่น แพนเค้กราดด้วยน้ าเชื่อมเมเปิ้ ล (Maple Syrup) เป็ นต้น
  • 29. พฤติกรรมต้ องห้ าม  เรอในระหว่างหรื อรับประทานอาหาร  บ้วนน้ าลายหรื อถ่มลงพื้น  ไม่มองผูพดในขณะที่ฟัง ้ ู  เคี้ยวหมากฝรั่งเสี ยงดัง  ไม่ปิดปากเวลา ไอ จาม หรื อ หาว  ผิวปากเวลาเห็นผูหญิงเดินผ่าน ้  ใส่ หมวกในอาคาร
  • 31. อุปนิสัย  เป็ นคนขยัน  ชอบการเรี ยนรู้ และการทางานหนัก  รู ้จกการแบ่งสรรส่ วนรายได้ ั  ยึดถือความคิดเห็นของกลุ่มมากกว่าความคิดเห็นส่ วนตัว  นับถือคนอาวุโสมากกว่าคนระดับเดียวกัน  ผูที่มีวาสนาเป็ นคนน่ายาเกรง มีสิทธิ์เหนือผูอื่น ้ ้  เป็ นคนที่มีการวางแผนการใช้เงิน  มีความกระตือรื อร้น
  • 32. อุปนิสัย (หญิง-ชาย)  บทบาทระหว่างชายหญิงแตกต่างกัน  เพศชายต้องเด็ดเดี่ยว เข้มแข็ง เป็ นผูนา ้  เพศหญิงต้องอ่อนน้อมถ่อมตน สงบเสงี่ยม  คาว่า Gentleman first เหมาะสมกับสังคมของชาวญี่ปุ่นมาก  โดยเมื่อผูหญิงญี่ปุ่นไปเที่ยวต่างประเทศจะงุนงงมากว่าการได้ข้ ึนรถก่อน ้ การได้ตกอาหารก่อน เป็ นการแสดงคาว่า Lady first ในวัฒนธรรมตะวันตก ั  เคยชินกับความปลอดภัย ปราศจากโจรผูร้าย ดังนั้นไม่ค่อยห่วงกระเป๋ าถือและ ้ สัมภาระที่ตนใช้เดินทาง
  • 33. ครอบครัว  ในปั จจุบนร้อยละ 89 ของชาวญี่ปุ่นเป็ นชนชั้นกลาง ั  มีสมาชิกในครอบครัวประมาณ 3-4 คน  มุ่งเน้นการศึกษาของลูกหลานมาก  การศึกษาที่ดีทาให้ได้งานที่ดี  ชอบเดินทางท่องเที่ยวกับสามี ภรรยา รองลงมา คือเพื่อน ญาติพี่นอง ้  แต่งงานช้าลง ผูหญิง อายุ 25 ปี ส่ วนผูชาย อายุ 28 ปี ้ ้  ระยะก่อนแต่งงานหลังจากเรี ยนจบจะนิยมท่องเที่ยว
  • 34. ค่ านิยมเกียวกับการท่ องเทียว ่ ่  ชาวญี่ปุ่นเป็ นชนชาติที่นิยมการเดินทางท่องเที่ยว  เป็ นตลาดหลักที่มีคุณภาพสาหรับแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ  ่ จานวนนักท่องเที่ยวญี่ปุ่นเข้ามาไทยอยูในอันดับที่ 2  คนญี่ปุ่นมีวฒนธรรมที่แตกต่างกับคนเอเชียด้วยกัน ดังนั้นจึงต้องศึกษา ั พฤติกรรมนักท่องเที่ยวและวัฒนธรรมเป็ นอย่างดี  ช่วงอายุที่ชอบเดินทางท่องเที่ยว คือ 20-25 ปี สาหรับผูหญิง และ ้ 30-39 สาหรับผูชาย ้
  • 35. พฤติกรรมทางสั งคม  ภาษาท่าทาง จะมีความหมายแฝง ซึ่ งมีลกษณะและความหมายแตกต่างกับคนตะวันตก เช่น ั – การสบตาและการแสดงสี หน้า จะหลีกเลี่ยงการสบตากับคนที่พดด้วย ู – การสบตาเป็ นการแสดงการท้าทายและความไม่อ่อนน้อม – ่ มักทาสี หน้าราบเรี ยบไม่วายินดี เศร้า ไม่พอใจ หรื อปฏิเสธ เพราะการแสดงสี หน้า เป็ นกิริยาไม่สุภาพ – การยิมหรื อหัวเราะ ไม่ตอบรับว่า ใช่ หรื อ ไม่ ้ – การยิม อาจหมายถึงความรู ้สึกลังเล การปฏิเสธ อึดอัด และความไม่สบายใจ ้ – การหัวเราะ อาจหมายถึงการกลบเกลื่อนความไม่รู้หรื อขบขันตนเอง
  • 36. พฤติกรรมทางสั งคม – การกัดฟั นขณะที่พด หมายถึงการใช้ความคิด ู อย่างหนักขณะที่พด ู – การเกาท้ายทอย แสดงความรู้สึกเขินหรื ออาย – การยืนมือออกมาข้างหน้าพร้อมโบกไปมาแสดงความรู้สึกเขินอาย ่ – การชี้มือที่จมูก หมายถึงตัวเอง – การนิ่ งเงียบ ไม่ใช่การหยิง หรื อการเมินเฉย แต่อาจหมายถึง ในเชิงตอบ ่ รับ ปฏิเสธ หรื อคัดค้าน เช่น ไม่เข้าใจ ไม่รู้ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย – การพูดแทรก หมายถึงการก้าวร้าว ไม่สุภาพ
  • 37. พฤติกรรมต้ องห้ ามทางสังคม  การสื่ อสารที่ตองห้าม ้ – อย่าตั้งคาถามด้วยคาถามว่า ทาไม เป็ นการแสดงถึงความก้าวร้าว ไม่อ่อนน้อม และแสดงการไม่ไว้ใจ – อย่าถามคิดอะไรอยู่ เมื่อคนญี่ปนนิ่งเงียบ เพราะไม่สุภาพ ุ่ – อย่าถูกเนื้อต้องตัวคนญี่ปุ่นที่เราไม่สนิทด้วย เพราะทาให้เขาอึดอัด – อย่าปฏิบติตนสนิทสนมกับคนญี่ปุ่นมากเกินไปในระหว่างการทางาน เพราะการที่ปฏิบติ ั ั สบายเกินไปแสดงความไม่จริ งจัง ความไม่สนใจ และความไม่เรี ยบร้อย – ่ อย่าแสดงอารมณ์ออกมาอย่างเปิ ดเผยไม่วา เสี ยใจ ดีใจ โกรธ เป็ นต้น เพราะการควบคุม อารมณ์ไม่ได้ แสดงการเป็ นเด็ก และความไม่น่านับถือ – คนญี่ปนไม่ค่อยแสดงสี หน้าและทาหน้าเฉย ุ่ – หลีกเลี่ยงการเล่าเรื่ องขบขัน โดยเฉพาะเรื่ องเพศ
  • 38. รายละเอียดความสาคัญต่ างๆ ทีต้องมีในแหล่ งท่ องเทียว ่ ่  ความปลอดภัย  ความสะอาดของบ้านเมือง น้ า โรงแรมที่พกั  การบริ การทางการแพทย์  ทัศนคติของตารวจต่อนักท่องเที่ยว  มัคคุเทศก์ที่พดภาษาญี่ปุ่นได้ดี ู  ั ่ ควรคานึ งถึงมารยาทที่ปฏิบติตอแขกชาวญี่ปุ่น
  • 39. รายละเอียดความสาคัญต่ างๆ ทีต้องมีในแหล่ งท่ องเทียว ่ ่  ห้องพักควรมีภาษาญี่ปุ่น โดยเฉพาะเรื่ อง Emergency  โรงแรมควรมีหองโถงที่กว้างขวาง ้  ห้องพักควรมีอ่างอาบน้ า  ชอบนอนเตียงแยกในห้อง Twin room  ร้านอาหารสะอาด  ชอบลองอาหารท้องถิ่น  ควรมีคาอธิบายเรื่ องอาหารเป็ นภาษญี่ปุ่น
  • 41. ภูมิศาสตร์  ั ่ เกาหลีใต้ต้ งอยูบนคาบสมุทรเกาหลี  ่ อยูระหว่างประเทศจีน รัสเซี ย และญี่ปุ่น  แบ่งออกเป็ น 2 ประเทศ ตามแนวเส้นขนานที่ 38 องศาเหนือ คือ เกาหลีเหนือ หรื อสาธารณรัฐประชาธิปไตยเกาหลีเหนือ และ เกาหลีใต้ หรื อ สาธารณรัฐเกาหลี  ภูมิประเทศส่ วนใหญ่เป็ นภูเขา ร้อยละ 70
  • 42. สั ญลักษณ์ สาคัญ  ธงชาติเกาหลีมีลกษณะเป็ นสี่ เหลี่ยมผืนผ้า ั  ่ มีวงกลมตรงกลางคล้ายปลาวาฬสองตัวสลับหัวสี แดงและสี น้ าเงินอยูตรงกลาง  สี ขาว หมายถึงสันติภาพ  สี แดง หมายถึง หยาง หรื อความสุ ข สว่าง ผูชาย กลางวัน ้  สี น้ าเงิน หมายถึง หยิน หรื อความทุกข์ ความมืด ผูหญิง กลางคืน ้  มุม 4 มุม คือ - มุม 1 คือทิศตะวันออก = ฤดูใบไม้ผลิ ความอดทน ฟ้ า - มุม 2 คือทิศเหนือ = ฤดูหนาว ความรู้ ดวงจันทร์ - มุม 3 คือทิศตะวันตก = ฤดูร้อน ความถูกต้อง ดิน - มุม 4 คือทิศใต้ = ฤดูใบไม้ร่วง ความเป็ นธรรม ดวงอาทิตย์
  • 43. ศิลปวัฒนธรรม  มีอกษรที่ใช้ 24 ตัว ั  ชุดแต่งกายประจาชาติเรี ยกว่า “ฮัมบก”
  • 44. อุปนิสัย  โดยทัวไปมีนิสัยฉลาดแกมโกง ่  รักษาอารยธรรม  มักพูดถึงความสาเร็ จและความภาคภูมิใจ  มีความรักชาติรุนแรง เนื่องมาจากสงครามภายในและภายนอกประเทศ  นิยมเดินทางเป็ นครอบครัว  ชอบเชื่อฟังผูอาวุโส ้  ยึดถือความกตัญํูเป็ นเรื่ องใหญ่
  • 45. วิถีชีวต (การรับประทานอาหาร) ิ  ชอบอาหารที่เป็ นข้าว  การปลูกพืชพรรณธัญญาหารลาบาก จึงสั่งสมนิสัยการรับประทานอาหารจนหมด  อาหารประกอบด้วย ข้าวจ้าว ข้าวเหนียว ข้าวบาร์ เล่ย ์  อาหารประจาชาติที่ข้ ึนชื่อ คือ “กิมจิ”  ็ บนหลังคาบ้านชาวเกาหลีกจะพบไหที่ใช้ดองกิมจิ  นิยมรับประทานอาหารประเภทปลา  นิยมรับประทานอาหารจาพวกผัดผักหลายรู ปแบบ
  • 46. วิถีชีวต (การรับประทานอาหาร) ิ  นิยมบริ โภคเนื้อวัวมากที่สุด  รสชาติอาหารจะมีรสจืดนา  อาหารทุกมื้อจะบริ โภคกับข้าว  อาหารที่โด่งดังทัวโลก คือ “เนื้ อย่างเกาหลี” หรื อ “พลูโกกิ” ่  ส่ วนมากนิยมดื่มสุ รา  อาหารเช้านิยมแบบอเมริ กา คือมี ไข่ดาว เบคอน หมูแฮม
  • 47. การท่ องเทียว การนันทนาการและการเดินทาง ่  ชอบกีฬากอล์ฟ  ชอบพักโรงแรมที่สะอาด  หากเป็ นโรงแรมที่มีพนักงานพูดเกาหลีได้ จะยิงประทับใจมาก ่  มักใช้เวลากับการท่องเที่ยวประมาณ 3-5 วัน  ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวประมาณ 4000-5000 บาทต่อวัน  คาดว่าในอนาคตคนเกาหลีจะนิ ยมมาไทยกันมากขึ้น
  • 48. การท่ องเทียว การนันทนาการและการเดินทาง ่  นิยมท่องเที่ยวสถานที่ท่ีสามารถส่ งเสี ยง เอะอะ สนุกสนานได้ทุกเมื่อ  ดื่มสุ ราได้  ควรมีคาราโอเกะด้วยจะดีมาก  ชอบซื้อของที่ระลึกฝากเพื่อนฝูง เพื่อกระชับสัมพันธ์และแสดงความมีน้ าใจ
  • 50. เศรษฐกิจ  ปั จจัยหลักที่ทาให้เศรษฐกิจจีนเติบโต – การลงทุนอสังหาริ มทรัพย์ – อุตสาหกรรมยานยนต์ / เครื่ องจักรกล / เหล็ก – การค้าระหว่างประเทศ  จีนพยายามส่ งเสริ มการท่องเที่ยวของกลุ่มอนุภาคลุ่มแม่น้ าโขง  การท่องเที่ยวจีน (CNTA) รับเป็ นเจ้าภาพจัด China Travel Mart เพื่อโปรโมตสิ นค้าทางการท่องเที่ยวของกล่มอนุภมิภาค ู  ADB = โครงการพัฒนาลุ่มน้ าโขงของธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย
  • 51. ค่ านิยมและพฤติกรรมในการท่ องเทียว ่  คนจีนร้อยละ 90 จะไปเที่ยวประเทศเอเชียด้วยกันเอง แต่ในอนาคตอันใกล้ จะไปถล่มยุโรป  พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวจีนจะชอบใช้จ่ายในการช้อปปิ้ งมากกว่าการจ่ายเงินมากมายไป กับที่พกและอาหาร ั  นักท่องเที่ยวชาวจีนที่ชอบมาจับจ่ายนั้นเขากล่าวว่า มีอายุอยูในช่วง 30-40 ปี ่ โดยประมาณ มีการศึกษาและกาลังซื้อค่อนข้างมาก  พฤติกรรมการจับจ่ายใช้สอยของนักท่องเที่ยวชาวจีน – ชอบผลไม้ไทย ทานเร็ ว กินง่าย อยูง่าย ทานรสจืด ่ – ชอบซื้ อเพชร พลอย ทอง / ซื้ อของฝากผูใหญ่ ้ – ชอบดูโชว์คาบาเร่
  • 52. การท่ องเทียวและการเดินทาง ่  จานวนคนจีนที่ออกไปท่องเที่ยวต่างประเทศในปี 2006 คาดว่าจะมีจานวน 35 ล้านคน (เพิ่มขึ้นจากปี ที่แล้วร้อยละ 12.9)  ในปี 2005 มีคนจีนจากแผ่นดินใหญ่มาเที่ยวบ้านเราประมาณ 800,000 คน (ยอด นักท่องเที่ยวต่างประเทศในไทยทั้งหมดประมาณ 10 ล้านคน)  ช่วงเทศกาลหยุดยาววันแรงงาน (ช่วงต้นเดือนพฤษภาคม) เป็ นหนึ่งในสาม ฤดูท่องเที่ยวสาคัญของคนจีน
  • 54. ค่ านิยมและพฤติกรรมทางสั งคม  ช่วงเวลามาพานักนาน เฉลี่ยประมาณ 8-12 วัน  ชอบท่องเที่ยวกับชาวมุสลิม ด้วยกันเอง  เดินทางในกลุ่มจานวนไม่มาก  ชอบเมืองที่มีสังคมและวัฒนธรรมหลากหลาย  มัคคุเทศก์ควรศึกษากฎและระเบียบของศาสนาอิสลามเพื่อจะได้ปฏิบติตนไม่ ั ขัดต่อความเชื่อและศรัทธาของนักท่องเที่ยวชาวมุสลิม
  • 55. ความเชื่อทีน่าสนใจ ่  นับถือพระเจ้าองค์เดียว คือ พระอัลเลาะห์ และมีศาสดาองค์สุดท้าย คือ นบีมูฮมหมัด เชื่อเรื่ องสวรรค์ นรก อวสานของโลก และชีวิตในโลก ั หน้า ซึ่งไม่มีการกลับมาเกิดใหม่แต่เป็ นชีวิตใหม่ที่นิรันดร์  ส่ วนใหญ่จะไม่เดินทางช่วงเดือนถือศีลอด (รอมดอน) เพราะประกอบ กิจทางศาสนาเป็ นเวลา 1 เดือน เป็ นช่วงเดือนที่รอคอยเพื่อแสวงหา และขอความเมตตาจากพระอัลเลาะห์ ผูประกอบการและมัคคุเทศก์จึง ้ จาเป็ นต้องศึกษาปฏิทินชาวมุสลิมเพื่อวางแผนกิจกรรมการเดินทาง หรื อการท่องเที่ยวไม่ให้ตรงกับเดือนดังกล่าว
  • 56. ความเชื่อทีน่าสนใจ ่  ชาวมุสลิมต้องละหมาด 5 ครั้ง ในแต่ละวัน คือ เช้า กลางวัน บ่าย ค่า และกลางคืน  จะไม่ดื่มแอลกอฮอล์ ไม่เสพยาเสพติด และไม่เล่นการพนัน  ไม่รับประทานหมู เลือด สัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ า และสัตว์ที่ตายแล้ว ก่อนนามาชาแหละ เพราะเขามีข้ นตอนการชาแหละสัตว์และ ั ต้องชาแหละด้วยชาวมุสลิมด้วยกันเท่านั้น  ทักทายด้วยการจับมือ เรี ยกว่า “สลาม” แล้วกล่าวภาษาอาหรับว่า “สลามมอไลกุม”ซึ่ งมีความหมายว่า “ความสันติสุขจงมีแก่ท่าน” ซึ่ งผูสนทนาอีกฝ่ ายต้องกล่าวแบบเดียวกัน ้
  • 57. ข้ อควรระวัง  ส่ วนใหญ่จะเดินทางท่องเที่ยวเพื่อชมความยิงใหญ่ของพระเจ้า ่  ่ ไม่ควรถูกเนื้อต้องตัวนักท่องเที่ยว ไม่วาชายหรื อหญิง  ไม่พดเรื่ องปั ญหาการเมือง ู  ไม่สอบถามความแตกต่างระหว่าง นิ กายซุนหนี่ ย ์ และนิกายชีอะด์  ไม่ควรถามการปฏิบติตามคาสั่งพระเจ้า ั  ไม่ดูลายมือหรื อดูโชคชะตา เพราะเชื่อว่าชีวตถูกลิขิตไว้แล้ว ิ  ไม่เล่าความเชื่อในศาสนาอื่นให้ฟัง
  • 58. ข้ อควรระวัง  เมื่อกล่าวถึงพระอัลเลาะห์จะต้องระมัดระวังและให้เกียรติทุกครั้ง  ไม่พาไปชมการแสดงล่อแหลม  ควรหลีกเลี่ยงการนาชมศาสนสถานของศาสนาอื่นๆ  หากมีการนาชมศาสนาสถานของศาสนาอื่น ต้องอธิ บายในเชิง สถาปัตยกรรมเท่านั้น
  • 60. การติดต่ อสื่ อสาร (Communication)  ความพยายามที่ผส่งสารจะถ่ายทอดความคิดความต้องการให้ผรับสารได้เข้าใจ ู้ ู้ โดยใช้คาพูด สัญลักษณ์ หรื อการกระทา  ในธุรกิจท่องเที่ยวจึงให้ความสาคัญกับการสื่ อสารมาก  หัวใจสาคัญของการสื่ อสาร คือความหมาย ที่ตองเข้าใจตรงกัน ้  ความหมายอาจแสดงออกทางสี หน้าและระดับเสี ยงได้  ผลดีอีกวิธี คือการคานึ งถึงปฏิกิริยาระหว่างคนส่ งสาร และคนรับสาร คือ ผูส่งสารต้องฉลาด มีไหวพริ บดี เปิ ดเผย และรู ้วาผูรับสารเป็ นใคร ้ ่ ้  อุปสรรคส่ วนมาก คือด้านภาษา การช่วย คือการใช้ท่าทาง สัญลักษณ์มือ หรื อ ให้วาดภาพ
  • 61. ในธุรกิจนาเทียวนั้นการสื่ อสารได้ ผลดี ่ มีดงนี้ ั  การพยายามเห็นความสาคัญของนักท่องเที่ยว  แสดงความยินดีแล้วแต่โอกาส  ควรจะวันสาคัญของชนชาติน้ น ั  ้ ่ ควรเป็ นผูรับฟั งที่ดีไม่วาจะเป็ นการสรรเสริ ญ หรื อการต่อว่าจากนักท่องเที่ยว  หากอธิ บายเกี่ยวกับตัวเลข ควรใช้กราฟประกอบการอธิ บาย  ใช้แผนที่แสดงเส้นทางเสมอ  ใช้รูปภาพประกอบคาอธิ บายถึงสื่ อแทนความหมายต่างๆ
  • 62. ในธุรกิจนาเทียวนั้นการสื่ อสารได้ ผลดี มีดงนี้ ่ ั  ควรเข้าใจความต้องการพื้นฐานของนักท่องเที่ยว  ควรให้เวลาในการซื้ อของที่ระลึก  ระหว่างการเดินทางควรมีเรื่ องเล่าสนุกสนาน หรื อร้องเพลงบ้าง  ควรให้เวลาในการถ่ายภาพ  รู ้จกใช้คาพูดเพื่อแสดงว่านักท่องเที่ยวมีความสาคัญ ั  ควรให้นกท่องเที่ยวลองชิมอาหาร ลองดมหรื อเห็นสิ่ งของแปลกๆดูบาง ั ้  มีการให้ความรู ้ดานศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ประเพณี ต่างๆ ้
  • 63. ผู้ประกอบการการท่ องเทียวควรคานึงถึงสิ่ งต่ อไปนี้ ่  รู ้จกนักท่องเที่ยวว่าเป็ นใคร ั  บริ การขนส่ ง  เข้าใจสภาพแวดล้อม อุปนิ สัย  บริ การการสื่ อสาร โดยทัวไปของนักท่องเที่ยว ่  บริ การส่ วนบุคคล  ควรเห็นประโยชน์ที่  บริ การภายในครัวเรื อน นักท่องเที่ยวได้รับมากกว่า  บริ การศึกษาโดยเอกชน เน้นเรื่ องสิ นค้า  บริ การให้คาแนะนาทางธุ รกิจ  หลักทรัพย์ในการทาธุ รกิจ