SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  44
Télécharger pour lire hors ligne
 ภาษาซีเป็นภาษาที่มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ภาษาซีรุ่นแรก
ทางานภายใต้ ระบบปฏิบัติการดอส (dos) ปัจจุบันทางานภายใต้
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows) ภาษาซีใช้วิธีแปลรหัสคาสั่งให้เป็น
เลขฐานสองเรียกว่าคอมไพเลอร์
 การศึกษาภูมิหลังการเป็นมาของภาษาซีและกระบวนการ
แปลภาษาจะช่วย ให้ผู้ใช้ ภาษาซีในรุ่นและบริษัทผู้ผลิตแตกต่างกัน สามารถ
ใช้ภาษาได้อย่างเข้าใจมากขึ้น
1. ความเป็นมาของภาษาซี
ภาษา ซีได้รับการพัฒนาเมื่อปี ค.ศ. 1972 โดยนายเดนนิส ริตซี่ ตั้ง
ชื่อว่าซีเพราะ พัฒนามาจากภาษา BCLP และภาษา B ในช่วงแรกใช้ทดลอง
เขียนคาสั่งควบคุมใน ห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratoories) เท่านั้น เมื่อ
ปี ค.ศ. 1972 นายไบรอัน เคอร์นิกฮัน และนายเดนนิส ริตซี่ ร่วมกันกาหนด
นิยามรายละเอียดของภาษาซี เผยแพร่ความรู้โดยจัดทาหนังสือ The
CProgramming Language
มีหลายบริษัท ให้ความสนใจนาไปพัฒนาต่อ จนมีภาษาซีหลาย
รูปแบบและแพร่หลายไปทั่วโลก แต่ยังไม่มีมาตรฐานคาสั่งเพื่อให้สามารถใช้
งานร่วมกันได้ ดังนั้นเมื่อปี ค.ศ.1988 นายริตซี่ ได้ร่วมกับสถาบันกาหนด
มาตรฐาน ANSI สร้างมาตรฐานภาษาซีขึ้นมามีผลให้โปรแกรมคาสั่งที่สร้าง
ด้วยภาษาซีสังกัดบริษัทใดๆก็ตามที่ใช้คาสั่งมาตรฐานของภาษาสามารถนามา
ทางานร่วมกันได้
1. ความเป็นมาของภาษาซี
2. การทางานของตอมไพเลอร์ภาษาซี
คอมไพเลอร์เป็นโปรแกรมที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อแปลภาษา
คอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่งมักใช้กับโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ลักษณะการแปล
จะอ่านรหัสคาสั่งทั้งโปรแกรมตั้งแต่บรรทัดคาสั่งแรกถึงบรรทัดสุดท้าย
หากมีข้อผิดพลาดจะรายงานทุกตาแหน่งคาสั่งที่ใช้ผิดกฎไวยากรณ์ของภาษา
กระบวนการคอมไพเลอร์โปรแกรมคาสั่งของภาษาซี มีดังนี้
2.1 จัดทาโปรแกรมต้นฉบับ (Source Program) หลังจากพิมพ์
คาสั่งงาน ตามโครงสร้างภาษาที่สมบูรณ์แล้วทุกส่วนประกอบ ให้บันทึก
โดยกาหนดชนิดงานเป็น .c เช่น work.c
2.2 การแปลรหัสคาสั่งเป็นภาษาเครื่อง (Compile) หรือการบิวด์
(Build) เครื่องจะตรวจสอบคาสั่งทีละคาสั่ง เพื่อวิเคราะห์ว่าใช้งานได้
ถูกต้องตามรูปแบบไวยากรณ์ที่ภาษาซีกาหนดไว้หรือหากมีข้อผิดพลาดจะแจ้ง
ให้ทราบ หากไม่มีข้อผิดพลาดจะไปกระบวนการ3
2.3 การเชื่อมโยงโปรแกรม (Link) ภาษาซีมีฟังก์ชันมาตรฐานให้ใช้งาน
เช่น printf() ซึ่งจัดเก็บไว้ในเฮดเดอร์ไฟล์ หรือเรียกว่า ไลบรารี ในตาแหน่ง
ที่กาหนดชื่อแตกต่างกันไป ผู้ใช้ต้องศึกษาและเรียกใช้เฮดเดอร์ไฟล์กับฟังก์ชันให้
สัมพันธ์เรียกว่าเชื่อมโยงกับไลบรารี กระบวนการนี้ได้ผลลัพธ์เป็นไฟล์ชนิด .exe
โครงสร้างของภาษาซี
ภาษาซีเป็นภาษาที่มีโครงสร้างในการเขียนโปรแกรมที่ชัดเจน ซึ่ง
มีรูปแบบของโครงสร้างโปรแกรม ดังนี้
รูปแสดงโครงสร้างของภาษาซี
1. ส่วนของการประกาศส่วนหัวของโปรแกรม
หรือที่เรียกว่า เฮดเดอร์ไฟล์ (Header File) เป็นการเรียกใช้เฮดเดอร์
ไฟล์เข้ามาร่วมใช้งานภายในโปรแกรม โดยไฟล์เฮดเดอร์เป็นไฟล์ที่ใช้ในการ
รวบรวมฟังก์ชั่นการทางานต่าง ๆ ที่สามารถเรียกใช้ได้ เช่น ภายในเฮดเดอร์
ไฟล์ stdio.h เป็นไฟล์เฮดเดอร์ที่รวบรวมเกี่ยวกับฟังก์ชั่นมาตรฐานทางด้าน
การรับข้อมูล (Input) และแสดงผลข้อมูล (Output)
2. ส่วนของชื่อฟังก์ชั่น
ในที่นี้ ฟังก์ชั่นที่กาหนดขึ้นมาชื่อฟังก์ชั่น main( ) โดยทุก
โปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่น main( ) ทาหน้าที่เป็นฟังก์ชั่นหลักในการทางาน
ในการประมวลผลโปรแกรมทุกครั้ง โปรแกรมจะทาการประมวลผลที่
ฟังก์ชั่น main( ) เป็นฟังก์ชั่นแรก ซึ่งในการเขียนโปรแกรมภาษาซีทุกครั้ง
จะขาดฟังก์ชั่น main( ) ไม่ได้
3. ส่วนตัวโปรแกรม
ส่วนนี้เป็นส่วนในการเขียนคาสั่งต่าง ๆ เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์
ทางาน ในการเขียนคาสั่งจะเขียนภายในเครื่องหมายปีกกาเปิด
{ และเครื่องหมายปีกกาปิด } โดยปกติส่วนของการเขียน
โปรแกรมจะสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ
3.1) ส่วนของการประกาศตัวแปร คือ ส่วนที่ใช้ในการกาหนด
ตัวแปรที่จะใช้งานในการเขียนโปรแกรม
3.2) ส่วนของคาสั่ง หรือ ฟังก์ชั่นต่าง ๆ คือ ส่วนที่ใช้สาหรับ
ในการพิมพ์คาสั่งและฟังก์ชั่นต่าง ๆ ซึ่งหลังจากพิมพ์ฟังก์ชั่นเสร็จแล้ว
จะต้องปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ; เสมอ
4. ส่วนของการเปิดโปรแกรมและปิดโปรแกรม
ตามโครงสร้างของภาษาซี จะต้องมีการกาหนดจุดเริ่มต้นและจบ
โปรแกรม โดยในที่นี้ใช้เครื่องหมายปีกกาเปิด { ในการระบุตาแหน่ง
การเริ่มต้นโปรแกรม และ ใช้เครื่องหมายปีกกาปิด }
ในการระบุตาแหน่งการจบโปรแกรม
5. การกาหนดตาแหน่ง หมายเหตุ (Comment)
ในการเขียนโปรแกรม ผู้เขียนสามารถเขียนส่วนคาอธิบาย หรือ
หมายเหตุของโปรแกรมได้ ซึ่งส่วนของคาอธิบายหรือหมายเหตุดังกล่าว
จะไม่ถูกแปลความหมายโดยคอมพิวเตอร์ ซึ่งวิธีในการเขียนคาอธิบาย
หรือหมายเหตุ มี 2 แบบ คือ
5.1) การกาหนดหมายเหตุ 1 บรรทัด
ในการกาหนดหมายเหตุ 1 บรรทัด จะใช้
เครื่องหมาย // ด้านหน้าข้อความที่ต้องการกาหนดหมายเหตุ เช่น
จากตัวอย่างข้างต้น คาสั่ง printf จะถูกแปลความหมายตามปกติ แต่
ข้อความ Show data จะไม่ถูกแปลความหมาย เพราะเป็นส่วนของหมายเหตุ
5.2) การกาหนดหมายเหตุหลายบรรทัด
ในการกาหนดหมายเหตุหลายบรรทัด จะใช้เครื่องหมาย /* ไว้ที่
ตาแหน่งบรรทัดเริ่มต้น และ */ ไว้ที่ตาแหน่งบรรทัดสุดท้าย หมายเหตุ เช่น
จากตัวอย่างข้างต้น บรรทัดที่เริ่มต้นด้วย /* จะเป็นส่วนเริ่มต้นหมายเหตุ และคอมพิวเตอร์จะไม่แปลความหมาย
จนถึงบรรทัดที่ปิดท้ายด้วย */ หลังจากบรรทัดดังกล่าว คอมพิวเตอร์ถึงจะทาการแปลความหมาย
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาคอมพิวเตอร์ ภาษากาหนดให้
ดาเนินการผ่านที่ผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้กาหนดเอง ระบบคอมพิวเตอร์จะ
จัดเก็บชื่อและตาแหน่งชื่อ identifier ที่อยู่ (Address) ในหน่วยความจา
เพื่ออ้างอิงนาข้อมูลที่จัดเก็บนั้นมาใช้งาน การกาหนดชื่อที่ใช้เก็บข้อมูลต้องทา
ภายใต้กฎเกณฑ์ และต้องศึกษาวิธีกาหนดลักษณะ การจัดเก็บข้อมูลตามที่
ภาษากาหนดไว้ ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลมี 2 แบบคือ แบบค่าคงที่ และ
แบบตัวแปร
ทั้งนี้ก่อนที่จะเขียนคาสั่งกาหนดการจัดเก็บข้อมูล ควรมีความรู้ใน
เรื่องชนิดข้อมูลก่อน
1. ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน
การจัดเก็บข้อมูลลงหน่วยความจาทั้งแบบค่าคงที่หรือแบบตัวแปร ต้อง
กาหนดชนิดข้อมูลให้ระบบรับทราบในที่นี้กล่าวถึงชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน 3 กลุ่ม
หลักเท่านั้น
2. คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบค่าคงที่
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจาไม่
สามารถเปลี่ยนแปลงได้
3. คาสั่งจัดเก็บข้อมูลแบบตัวแปร
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลในหน่วยความจา
สามารถเปลี่ยนแปลงได้
หมายเหตุ : หากมีตัวแปรมากกว่า 1 ตัว แต่เป็นตัวแปรเก็บข้อมูลประเภท
เดียว ใช้คอมม่า (,) คั่น
ตัวอย่างคาสั่ง : กาหนดคุณสมบัติให้ตัวแปรในการจัดเก็บข้อมูล
คาสั่งที่ใช้ควบคุมการทางานขั้นพื้นฐานมี 3 กลุ่มคือ คาสั่งรับข้อมูล
จากแป้นพิมพ์แล้วนาไปจัดเก็บหน่ายความจา (input ) การเขียนสมการ
คานวณโดยใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์(Process) และคาสั่งแสดงผลข้อมูล
หรือข้อมูลที่จัดเก็บในหน่วยความจา (Output )
1. คาสั่งแสดงผล : printf ( )
ประสิทธิภาพคาสั่ง : ใช้แสดงผล สิ่งต่อไปนี้ เช่น ข้อความ ข้อมูลจาก
ค่าคงที่ หรือตัวแปรที่จอภาพ
ตารางแสดงรหัสรูปแบบข้อมูลระดับพื้นฐาน
2. คาสั่งรับข้อมูล : รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ แล้วจัดเก็บลง
หน่วยความจาของตัวแปร
3. คาสั่งประมวลผล : expression
ประสิทธิภาพคาสั่ง : เขียนคาสั่งแบบนิพจน์เพื่อประมวลผล แล้วนา
ข้อมูลที่ได้ไปจัดเก็บในหน่วยความจาของตัวแปรที่ต้องกาหนดชื่อและข้อมูลไว้แล้ว
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1. ส่วนป้อนข้อมูล ผู้ใช้ระบบงานป้อนค่า ; เก็บในหน่วยความจา x
และป้อนค่า A เก็บในหน่วยความจา y ด้วยคาสั่ง
2. ส่วนประมวลผล ระบบจะนาค่าไปประมวลผลตามนิพจน์คณิตศาสตร์
ทั้งนี้คอมพิวเตอร์ประมวลผล โดยยึดหลักลาดับความสาคัญของ
“เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์”
เช่นคานวณเครื่องหมาย * ก่อนเครื่องหมาย +
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
3.ส่วนแสดงผล คาสั่งควบคุมให้แสดงผลลัพธ์
ภาษาซีมีคาสั่งแสดงผลและรับข้อมูลเฉพาะข้อมูลประเภท 4 อักขระ (char) ดังนี้
1. คาสั่ง putchar ( )
ในการแสดงผลตัวอักษรหรืออักขระ ( char ) ออกทางหน้าจอ นอกจาก
ใช้คาสั่ง printf พร้อมกับกาหนดรหัสควบคุมรูปแบบ %c แล้ว เราสามารถ
เรียกใช้คาสั่งสาหรับแสดงตัวอักษรหรืออักขระโดยเฉพาะได้อีกด้วย โดยคาสั่ง
นั้นคือ คาสั่ง putchar() ซึ่งมีรูปแบบการเรียกใช้คาสั่ง ดังแสดงต่อไปนี้
putchar(ch); ch : ตัวอักษรหรืออักขระเขียนอยู่ภายใน
เครื่องหมาย ‘c' หรือตัวแปรชนิด char
2. คาสั่ง getchar ( )
เป็นคาสั่งที่รับข้อมูลชนิดอักขระจากผู้ใช้เพียงตัวเดียวโดยเมือป้อน
ข้อมูลแล้วต้องกด Enter มีรูปแบบคาสั่งคือ
ch = getchar();ch คือ ตัวแปรชนิดอักขระที่นาค่าที่รับมาเก็บไว้
3. คาสั่ง getch ( )
เป็นคาสั่งที่รับข้อมูลชนิดอักขระเพียงตัวเดียวโดยเมื่อป้อนข้อมูลจะไม่
แสดงอักขระที่ป้อนให้เห็นทางจองภาพ ที่สาคัญ getch(); จะต้องใช้พรี
โปรเซสเซอร์ไดเรคทีฟชื่อว่า conio.h มีรูปแบบการใช้คาสั่งคือ
ch = getch();ch คือ ตัวแปรชนิดอักขระที่นาค่าที่นับมาเก็บไว้
4. คาสั่ง getche ( )
จะรับตัวอักษร 1 ตัวที่ป้อนทางแป้นพิมพ์ และจะแสดงตัวอักษรบน
จอภาพ เมื่อป้อนข้อมูลเสร็จไม่ต้องกด Enter และเคอร์เซอร์จะไม่ขึ้น
บรรทัดใหม่
ch = getche(); ch คือ ตัวแปรชนิดอักขระที่นาค่าที่นับมาเก็บไว้
ภาษาซีมีคาสั่งใช้ในการรับข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความ (String) ใน
ภาษาซีคือชนิดข้อมูล char [n] จัดเก็บในหน่วยความจา และแสดงผลข้อมูล
ประเภทข้อความเท่านั้น มีรายละเอียดดังนี้
1. คาสั่ง puts( )
แสดงผลข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความทางจอภาพครั้งละ 1 ข้อความ
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1. เขียนคาสั่งกาหนดค่าข้อความเก็บในตัวแปรชื่อ word
Char word [15] = “*Example * “ ;
2. เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลในลักษณะข้อความด้วย puts
Puts ( word ) ;
Puts (“**************”);
2. คาสั่ง gets ( )
รับข้อมูล ข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้องกดแป้น Enter
1. เขียนคาสั่งให้รับข้อมูล ชนิดข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้อง กด
แป้น Enter เพื่อนาข้อความบันทึกลงตัวแปรชนิดข้อความ ด้วยคาสั่ง
gets (word) ;
2. เขียนคาสั่งควบคุมให้แสดงผลลักษณะข้อความด้วย
printf ( “You name is = %sn”, word ) ;
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
ภาษาซีมีคาสั่งใช้ในการรับข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความ (String) ใน
ภาษาซีคือชนิดข้อมูล char [n] จัดเก็บในหน่วยความจา และแสดงผลข้อมูล
ประเภทข้อความเท่านั้น มีรายละเอียดดังนี้
1. คาสั่ง puts( )
แสดงผลข้อมูลเฉพาะประเภทข้อความทางจอภาพครั้งละ 1 ข้อความ
รูปแบบputs ( string_argument ) ;
อธิบาย string_argument คือ ข้อมูลชนิดข้อความ
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคุมการทางาน
1. เขียนคาสั่งกาหนดค่าข้อความเก็บในตัวแปรชื่อ word
Char word [15] = “*Example * “ ;
2. เขียนคาสั่งควบคุมการแสดงผลในลักษณะข้อความด้วย puts
Puts ( word ) ;
Puts (“**************”);
2. คาสั่ง gets ( )
รับข้อมูล ข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้องกดแป้น Enter
รูปแบบ 1 ไม่นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร gets ( );
รูปแบบ 2 นาข้อมูลจัดเก็บลงหน่วยความจาของตัวแปร
string_var =gets ( ) ;
อธิบาย string_var คือ ข้อมูลชนิดข้อความ
1. เขียนคาสั่งให้รับข้อมูล ชนิดข้อความ จากแป้นพิมพ์ และต้อง กด
แป้น Enter เพื่อนาข้อความบันทึกลงตัวแปรชนิดข้อความ ด้วยคาสั่ง
gets (word) ;
2. เขียนคาสั่งควบคุมให้แสดงผลลักษณะข้อความด้วย
printf ( “You name is = %sn”, word ) ;
แนวคิดในการเขียนคาสั่งควบคมการทางาน
https://cacalott.wordpress.com/
http://www.slideshare.net/viszenpae/c-35991492
https://kakanpitcha45.wordpress.com/
https://sites.google.com/site/chanikankongkaew/neuxha/5-kha-sang-
saedng-phl-rab-khxmul-chephaa-xakkhra
https://sites.google.com/site/karkheiynkhasangphunthanphasac/home/-
kha-sang-saedng-phl-rab-khxmul-chephaa-khxkhwam
อ้างอิง
สมาชิก
นายภานุ เวียนสันเทียะ เลขที่ 4
นางสาววณิชยา ประพันธุ์ เลขที่ 11
นางสาวมุกอาภา แม้นจิตต์ เลขที่ 18
นางสาวศรัณย์พร รุ่งเรือง เลขที่ 19
นางสาวธณาภา ศรีวลีรัตน์ เลขที่ 22
นางสาวธันย์ชนก หงษ์โต เลขที่ 37
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

Contenu connexe

Tendances

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Ja Phenpitcha
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
Tay Atcharawan
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Pitchaya Jitbowornwong
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
mansuang1978
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
boky_peaw
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Nookky Anapat
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
dechathon
 

Tendances (20)

การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)บทที่4 เมธอด (METHOD)
บทที่4 เมธอด (METHOD)
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา Cโครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
 
โครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา Cโครงสร้างของภาษา C
โครงสร้างของภาษา C
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 

En vedette

現場共有MTG
現場共有MTG現場共有MTG
現場共有MTG
旭陽 王
 
cv stefano ercolani
cv stefano ercolanicv stefano ercolani
cv stefano ercolani
Styd Lani
 
cv aggiornato Stefano Ercolani.doc
cv aggiornato Stefano Ercolani.doccv aggiornato Stefano Ercolani.doc
cv aggiornato Stefano Ercolani.doc
Styd Lani
 
DSC477_Group5_GlasscraftFinalProjectReport
DSC477_Group5_GlasscraftFinalProjectReportDSC477_Group5_GlasscraftFinalProjectReport
DSC477_Group5_GlasscraftFinalProjectReport
Whitney Parkin
 
Treadway Tire Company Implementation Plan FINAL
Treadway Tire Company Implementation Plan FINALTreadway Tire Company Implementation Plan FINAL
Treadway Tire Company Implementation Plan FINAL
Whitney Parkin
 

En vedette (7)

現場共有MTG
現場共有MTG現場共有MTG
現場共有MTG
 
Sambhaji Rao Bhonsle -
Sambhaji Rao Bhonsle -Sambhaji Rao Bhonsle -
Sambhaji Rao Bhonsle -
 
cv stefano ercolani
cv stefano ercolanicv stefano ercolani
cv stefano ercolani
 
cv aggiornato Stefano Ercolani.doc
cv aggiornato Stefano Ercolani.doccv aggiornato Stefano Ercolani.doc
cv aggiornato Stefano Ercolani.doc
 
DSC477_Group5_GlasscraftFinalProjectReport
DSC477_Group5_GlasscraftFinalProjectReportDSC477_Group5_GlasscraftFinalProjectReport
DSC477_Group5_GlasscraftFinalProjectReport
 
MKTG420_SweetLife
MKTG420_SweetLifeMKTG420_SweetLife
MKTG420_SweetLife
 
Treadway Tire Company Implementation Plan FINAL
Treadway Tire Company Implementation Plan FINALTreadway Tire Company Implementation Plan FINAL
Treadway Tire Company Implementation Plan FINAL
 

Similaire à บทที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
SubLt Masu
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
KEk YourJust'one
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
Maneerat Artgeaw
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
choco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
choco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
choco336
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณ
Narongrit Hotrucha
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
Aeew Autaporn
 

Similaire à บทที่ 2 (20)

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานบทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
บทที่ 2 การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐานงานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
งานนำเสนอ การเขียนคำสั่่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
lesson 2
lesson 2lesson 2
lesson 2
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณ
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
vb.net
vb.netvb.net
vb.net
 
689 2
689 2689 2
689 2
 
content 2
content 2content 2
content 2
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 

บทที่ 2