SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  95
Télécharger pour lire hors ligne
สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
ดร. ทรงธรรม สุขสว่าง
ผู้อานวยการสถาบันอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
ปรารพ แปลงงาน
หัวหน้าศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดภูเก็ต
ศุภพร เปรมปรีดิ์
หัวหน้าศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดตรัง
ชัยณรงค์ เรืองทอง
หัวหน้าศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดชุมพร
บทนา
ปะการังฟอกขาวในปี 2553 เกิดจากอุณหภูมิน้าทะเล
สูงผิดปกติ โดยอุณหภูมิน้าทะเลตั้งแต่ปลายเดือน มี.ค.-
มิ.ย. 2553 สูงขึ้นจากปกติ คือ 29 องศาเซลเซียส เป็น
30-34 องศาเซลเซียส ทาให้แนวปะการังในน่านน้าไทย
เริ่มเกิดการฟอกขาวตั้งแต่เดือนเมษายน 2553
แนวปะการังในทุกจังหวัดทางฝั่งทะเลอันดามัน เกิดการ
ฟอกขาวมากกว่า 70% ของปะการังมีชีวิตที่มีอยู่
สาเหตุการฟอกขาว
ปะการังอยู่ร่วมกับสาหร่ายซูซานแทลลีแบบพึ่งพา
อาศัยกัน
- ปะการังได้อาหารจากการสังเคราะห์แสงของ
สาหร่าย
- สาหร่ายได้ธาตุอาหารจากการขับของเสีย และ
CO2 จากการหายใจของปะการัง
สาเหตุการฟอกขาว (ต่อ)
หากอุณหภูมิหรือแสงมากไป สาหร่ายจะผลิต
อนุมูลอิสระ ซึ่งเป็นพิษต่อเนื้อเยื่อปะการัง ปะการัง
จึงขับสาหร่ายออกจากเซล จึงเห็นปะการังเป็นสีขาว
เนื่องจากมองผ่านตัวใสๆของปะการังไปเห็น
โครงสร้างหินปูนที่รองรับปะการัง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาสถานภาพแนวปะการังภายหลังการเกิดปรากฏการณ์
ฟอกขาว และความสามารถในการฟื้นตัวตามธรรมชาติของแนว
ปะการังในอุทยานแห่งชาติทางทะเล
2. เพื่อมีฐานข้อมูลสาหรับใช้ในการจัดทาแผนจัดการแนวปะการัง
ในอนาคต และใช้ในการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล ใน
การแบ่งเขตกิจกรรมการท่องเที่ยว การกาหนดกิจกรรมการ
ท่องเที่ยว การควบคุมปริมาณและการจัดการพฤติกรรม
นักท่องเที่ยวที่เหมาะสมในแต่ละบริเวณ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
พื้นที่ศึกษา
ดาเนินการในพื้นที่อุทยานแห่งชาติทางทะเล 7 แห่ง 36
สถานี
1. กลุ่มอันดามันตอนบน ได้แก่ อช.หมู่เกาะสุรินทร์ 10
สถานี อช.หมู่เกาะสิมิลัน 8 สถานี
2. กลุ่มอันดามันตอนล่าง ได้แก่ อช. หาดนพรัตน์ธารา-
หมู่เกาะพีพี 6 สถานี อช.หมู่เกาะลันตา 3 สถานี
อช.หาดเจ้าไหม 2 สถานี และ อช.ตะรุเตา 6
สถานี
พื้นที่ศึกษา (ต่อ)
3. กลุ่มอ่าวไทย ได้แก่ อช.หมู่เกาะชุมพร 1 สถานี
วิธีการศึกษา
1. วิธี Line intercept transect โดยการวางเส้น
เทปบนแนวปะการังขนานกับชายฝั่ง ระยะทาง 30 เมตร
จานวน 4 ซ้า (replicate) ในแต่ละสถานี บันทึกชนิด
ขนาด และจานวนของสิ่งมีชีวิตภายใต้เส้นเทปในระดับ
เซนติเมตร นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาเปอร์เซ็นต์
ครอบคลุมพื้นที่ของปะการังใต้เส้นสารวจ
วางเส้นเทป 30 เมตร ตามแนว
สัน (Reef edge) 3 เส้น ถ่ายรูป
ทุกระยะ 50 เซนติเมตร
2. สารวจปะการังโดยวิธี Photo belt transect
ปะการังฟอกขาว
วิเคราะห์ผลโดยโปรแกรม Coral Point Count with Excel extention (CPCe)
By (Kelvin E Kohler, Shaun M Gill, 2006)
ก่อนฟอกขาว
ระหว่างฟอกขาว เม.ย. - พ.ค. 2553
หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว ปี 2554-2556
สารวจติดตามกาลเปลี่ยนแปลงของสถานภาพแนวปะการังในช่วงเวลาตั้งแต่
ผลและวิจารณ์ผล
1. อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ ศึกษา 10 สถานี
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
สภาพแนวปะการังบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ พื้นที่ปกคลุม
ของปะการังมีชีวิตลดลง 70-90 เปอร์เซ็นต์ อ่าวไม้งามเป็น
สถานีที่มีปะการังมีชีวิตครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด เท่ากับ
12.67 เปอร์เซ็นต์ สถานีที่มีปะการังมีชีวิตครอบคลุมพื้นที่
น้อยที่สุด คือ อ่าวผักกาด เท่ากับ 6.56 เปอร์เซ็นต์
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
เมื่อนาเปอร์เซ็นต์ครอบคลุมพื้นที่ของปะการังมีชีวิตปี
2552 ซึ่งเป็นช่วงก่อนเกิดการฟอกขาว และปี 2553 หลัง
การเกิดการฟอกขาวในระยะแรก มาพิจารณาเปรียบเทียบ
ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ครอบคลุมพื้นที่ของปะการังมีชีวิต พบมี
การเปลี่ยนแปลงของเปอร์เซ็นต์ครอบคลุมพื้นที่ของ
ปะการังมีชีวิตค่อนข้างมาก หลังจากนั้นในปี 2554-2556
แนวโน้มเปอร์เซ็นต์ครอบคลุมพื้นที่มีการเปลี่ยนแปลงไม่
มากนักคล้ายคลึงกับช่วงแรกหลังการฟอกขาว
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
ปะการังที่ได้รับผลกระทบและตายจากการฟอกขาวมาก
ได้แก่ กลุ่มปะการังผิวเกล็ดน้าแข็ง (Montipora
aquituberculata, M. hispida) กลุ่มปะการังเขากวาง
(Acropora spp.) ปะการังเกล็ดคว่า (Stylophora
pistillata) กลุ่มปะการังดอกกะหล่า (Pocillopora
damicornis, P. verrucosa) และกลุ่มปะการังนิ้วมือ
(Porites cylindrica, P. nigrescens)
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
ปัจจุบันปะการังชนิดเด่นที่พบในบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์
ได้แก่ ปะการังโขด (Porites lutea) ปะการังผิวยู่ยี่ (P. rus)
ปะการังดาวใหญ่ (Diploastrea heliopora) ปะการังสีน้าเงิน
(Heliopora coerulea) ปะการังดอกเห็ด (Fungia spp.)
และปะการังดอกไม้ทะเล (Goniopora sp.)
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
จากปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
- นอกจากจะส่งผลให้เปอร์เซ็นต์ครอบคลุมพื้นที่ของ
ปะการังมีชีวิตลดลง
- ยังส่งผลให้โครงสร้างของแนวปะการังในแต่ละสถานี
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม กรณีที่เกิดขึ้นกับสถานีหินกอง สถานี
เกาะตอรินลา สถานีเกาะมังกร สถานีเกาะสตอร์ค และสถานี
อ่าวแม่ยาย จากเดิมที่สถานีเหล่านี้มีปะการังเขากวางเป็น
องค์ประกอบหลัก
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
โครงสร้างส่วนใหญ่ของสังคมแนวปะการังบริเวณอุทยาน
แห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์เปลี่ยนไปจากเดิมที่มีโครงสร้างจาก
ปะการังเขากวาง เป็นโครงสร้างที่เกิดจากปะการังก้อนเป็น
หลัก เช่น ปะการังโขด ปะการังดาวใหญ่ เนื่องจากมีความ
ทนทานและสามารถฟื้นตัวได้ดีหลังการฟอกขาว
เปอร์เซ็นต์ครอบคลุมพื้นที่ของปะการังมีชีวิต ปี 2552-2556
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
การลงเกาะของตัวอ่อนปะการัง
ตัวอ่อนปะการังที่ลงเกาะบนพื้นธรรมชาติ (juvenile
corals) พบตัวอ่อนปะการังทั้งหมด 34 ชนิด บริเวณอ่าวสุเทพ
และอ่าวไม้งาม มีความหนาแน่นค่อนข้างสูงกว่าบริเวณอื่นๆ
และความหนาแน่นมีค่าอยู่ในช่วง 0.66-3.98 โคโลนี/ตร.ม.
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
เมื่อเปรียบเทียบแนวโน้มในช่วง 3 ปี หลังปรากฏการณ์
ปะการังฟอกขาว พบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงมากนักตาม
ช่วงเวลา โดยภาพรวมชนิดตัวอ่อนปะการังส่วนใหญ่ที่พบ
ได้แก่ ปะการังดอกเห็ด (Fungia spp. ปะการังเขากวาง
(Acropora spp.) ปะการังช่องเหลี่ยม (Favites spp.)
ปะการังโขด (Porites spp.) และปะการังรังผึ้ง (Goniastrea
spp.)
ความหนาแน่นของตัวอ่อนปะการัง ปี 2554-2556
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
0.0
0.5
1.0
1.5
2.0
2.5
3.0
3.5
4.0
4.5
2554 2555 2556
ความหนาแน่นของตัวอ่อนปะการัง(ตัว/ตร.ม.)
ตัวอ่อนปะการัง
ที่ลงเกาะบนพื้นธรรมชาติ
แนวโน้มการฟื้นตัว
หลังจากเกิดการฟอกขาว การเปลี่ยนแปลงของ
องค์ประกอบทางสังคมแนวปะการังเริ่มมีแนวโน้มคงที่ ซาก
ปะการังที่ตายจากการฟอกขาว มีสาหร่ายขนาดเล็กขึ้น
ปกคลุม โคโลนีมีการซ่อมแซมและฟื้นฟูเนื้อเยื่อส่วนที่ยังคง
อยู่กลับมาอยู่ในสภาพที่ดี ลักษณะที่เกิดขึ้นเป็นสัญญาณที่ดี
ในฟื้นตัวของแนวปะการัง
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
ระยะเวลาที่จะใช้ในการฟื้นตัวให้กลับมามีสภาพ
ใกล้เคียงกับในช่วงก่อนหน้าเกิดการฟอกขาวนั้น ยังไม่
สามารถคาดการณ์ได้
แนวปะการังปี 2552
ก่อนเกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
แนวปะการัง ปี 2553
ระหว่างเกิดปะการังฟอกขาว
แนวปะการังปี 2554
หลังปะการังฟอกขาวประมาณ 1 ปี
แนวปะการังปี 2555
หลังปะการังฟอกขาวประมาณ 2 ปี
แนวปะการังปี 2556
หลังปะการังฟอกขาวประมาณ 3 ปี
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน ศึกษา 8 สถานี
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
สภาพแนวปะการังบริเวณหมู่เกาะสิมิลัน พื้นที่ปกคลุม
ของปะการังมีชีวิตลดลง 40-70 เปอร์เซ็นต์ สภาพแนว
ปะการังมีความเสื่อมโทรมบางสถานี อีสต์ออฟอีเดน (East
of Eden) มีปะการังมีชีวิตครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด เท่ากับ
27.41 เปอร์เซ็นต์ สถานีที่มีปะการังมีชีวิตน้อยที่สุด คือ
อ่าวไฟแวบ เกาะสิมิลัน เท่ากับ 4.66 เปอร์เซ็นต์
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
ปะการังที่ได้รับผลกระทบและตายจากการฟอกขาวมาก
ได้แก่ ปะการังเขากวาง (Acropora spp.) ปะการังลาย
ดอกไม้ (Pavona explanulata) กลุ่มปะการังดอกกะหล่า
(Pocillopora damicornis, P. meandrina, P.
verrucosa) ปะการังนิ้วมือ (Porites cylindrica) และ
ปะการังผิวยู่ยี่ (P. rus)
เปอร์เซ็นต์ครอบคลุมพื้นที่ของปะการังมีชีวิต ปี 2552 - 2556
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
ปัจจุบันปะการังชนิดเด่น ได้แก่ ปะการังโขด (Porites
lutea) ปะการังแผ่นเคลือบ (Porites monticulosa)
ปะการังผิวยู่ยี่ (Porites rus) ปะการังผิวเกล็ดน้าแข็ง
(Montipora aequituberculata) ปะการังสีน้าเงิน
(Heliopora coerulea)
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
พบตัวอ่อนปะการังทั้งหมด 27 ชนิด อีสต์ออฟอีเดน
และอ่าวไฟแวบ มีความหนาแน่นค่อนข้างสูงกว่าบริเวณอื่น
มีค่าอยู่ในช่วง 0.12-0.68 โคโลนี/ตร.ม. เมื่อเปรียบเทียบ
ความหนาแน่นของตัวอ่อนปะการัง พบมีแนวโน้มสูงขึ้น
เล็กน้อย ชนิดตัวอ่อนปะการังที่พบส่วนใหญ่ ได้แก่ ตัวอ่อน
ปะการังโขด (Porites spp.) ปะการังดอกกะหล่า
(Pocillopora spp.) ปะการังดอกเห็ด (Fungia spp.)
และปะการังเขากวาง (Acropora spp.)
ความหนาแน่นของตัวอ่อนปะการัง ปี 2552-2556
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
ตัวอ่อนปะการัง
ที่ลงเกาะบนพื้นธรรมชาติ
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
แนวปะการังบริเวณหมู่เกาะสิมิลันได้รับผลกระทบจาก
การฟอกขาว มีสถานภาพปานกลาง ยังมีโคโลนีปะการังที่
รอดจากการฟอกขาวอยู่ค่อนข้างมาก แต่ในขณะเดียวกัน
ปริมาณตัวอ่อนปะการังในธรรมชาติมีไม่มากนัก ดังนั้น
ระยะเวลาที่จะใช้ในการฟื้นตัวให้กลับมามีสภาพใกล้เคียง
กับในช่วงก่อนหน้าเกิดการฟอกขาวนั้น ยังไม่สามารถ
คาดการณ์ได้
ปะการังก่อนเกิด
ปะการังฟอกขาว ปี 2553
สภาพแนวปะการัง ปี 2554
หลังเกิดฟอกขาว 1 ปี
สภาพแนวปะการัง ปี 2555
หลังเกิดฟอกขาว 2 ปี
สภาพแนวปะการัง ปี 2556
หลังฟอกขาว 3 ปี
Surin Island May 2010
ปะการังเขากวางแบบโต๊ะ ระหว่างฟอกขาว
ปะการังโขด ระหว่างฟอกขาว
Surin Island May 2010
ปะการังโขด ระหว่างฟอกขาว
ปะการังเขากวางแบบกิ่งที่ตายจากการฟอกขาว แล้วมีสาหร่ายขึ้นปกคลุม
ปะการังเขากวางแบบกิ่ง ระหว่างฟอกขาว
Surin Island May 2010
ปะการังโขด ระหว่างฟอกขาว
Surin Island May 2010
ปะการังเขากวางแบบกิ่ง ระหว่างฟอกขาว
Surin Island November 2011
ปะการังเขากวางแบบกิ่ง ที่ตายจากการฟอกขาว มีสาหร่ายขึ้นปกคลุม
Surin Island November 2011
ปะการังเขากวางแบบกิ่ง ที่ตายจากการฟอกขาว มีสาหร่ายขึ้นปกคลุม
ปะการังโขด สามารถทนทานต่อการฟอกขาว
และมีการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ กลับสู่สภาวะปกติ
Surin Island April 2012
ปะการังเขากวางแบบโต๊ะ ที่ตายจากการฟอกขาว
Surin Island April 2012
โคโลนีปะการังโขด ที่ตายเป็นบางส่วน
โคโลนีปะการังโขด ที่รอดชีวิต
Surin Island Mar 2013
ตัวอ่อนปะการังเขากวางที่ลงเกาะใหม่
อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา –
หมู่เกาะพีพี
1). เกาะยูง
2). เกาะไม้ไผ่
3). หินกลาง
4). อ่าวนุ้ย เกาะพีพีดอน
5). หน้าถ้าไวกิ้ง เกาะพีพีเล
6). ผาแดง เกาะพีพีเล
59.17
19.37
17.33
32.69
47.52
73.5
0.00
10.00
20.00
30.00
40.00
50.00
60.00
70.00
80.00
ก่อนปี พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555
ก่อนและหลังปะการังฟอกขาว
ปะการังเป็น
ปะการังตาย
ปรากฏการณ์ฟอกขาวส่งผลถึงการเปลี่ยนแปลงของ
องค์ประกอบสังคมปะการังแข็งของแนวปะการังในบริเวณนี้ โดย
พบว่าในปีหลังการฟอกขาว ปะการังชนิดเด่นและพบได้ทั่วไปคือ
ปะการังโขด (Porites spp.) ปะการังผิวยู่ยี่ (Porites rus)
ปะการังถ้วยสมอง (Lobophyllia sp.) ปะการังดาวใหญ่
(Diploastrea sp.) และปะการังดอกเห็ด (Fungia spp.)
ในขณะที่ก่อนการฟอกขาวองค์ประกอบเด่น คือ ปะการังกลุ่ม
เขากวางรูปทรงกิ่งและรูปทรงโต๊ะ ส่งผลให้ในภาพรวมแนว
ปะการังมีความหลากหลายต่อพื้นที่ลดลง
หลังฟอกขาว ภาพปี 2555ช่วงฟอกขาว ปี 2553
19.37
17.33
16.00
16.50
17.00
17.50
18.00
18.50
19.00
19.50
20.00
พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา
จังหวัดกระบี่
สถานีที่ 1 หลักสยาม เกาะรอกใน
สถานีที่ 2 หน้าหน่วยพิทักษ์ ฯ
เกาะรอกนอก
สถานีที่ 3 ทิศเหนือเกาะรอกใน
43.73
18.17
27.43
38.49
32.57
58.87
63.33
53.67
0.00
10.00
20.00
30.00
40.00
50.00
60.00
70.00
ก่อนปี พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556
ก่อนและหลังปะการังฟอกขาว
ปะการังเป็น
ปะการังตาย
แนวปะการังบริเวณเกาะรอก ก่อตัวทางด้านทิศ
ตะวันออกของเกาะตั้งแต่เหนือจรดใต้ ที่ระดับความลึกประมาณ
2-8 เมตร ปะการังที่พบส่วนใหญ่เป็น ปะการังโขด (Porites
spp.) ปะการังเขากวางแบบกิ่ง แบบพุ่ม หรือแบบโต๊ะ
(Acropora spp.) ปะการังดอกไม้ทะเล (Goniopora
spp.) ปะการังดอกกะหล่า (Pocillopora damicornis)
และปะการังถ้วยสมอง (Lobophyllia spp.) ซึ่งผลการ
สารวจปะการังในปีก่อนการฟอกขาว พบว่าปะการังชนิดเด่น
คือ ปะการังเขากวาง (Acropora spp)
ปะการังฟอกขาว
18.17
27.43
38.49
y = 10.162x + 7.7067
R² = 0.9974
0.00
5.00
10.00
15.00
20.00
25.00
30.00
35.00
40.00
45.00
พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556
มีแนวโน้มฟื้นตัวได้ดีตามธรรมชาติ
อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
จังหวัดตรัง
เกาะเชือก
เกาะกระดาน
73.44
16.00 17.64
28.05
19.5
74.5
72.02
60.8
0.00
10.00
20.00
30.00
40.00
50.00
60.00
70.00
80.00
ก่อนปี พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556
กราฟแสดงเปอร์เซ็นต์การปกคลุมของปะการังมีชีวิตและปะการังตายบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จ.ตรัง
ก่อนและหลังปะการังฟอกขาว
ปะการังเป็น
ปะการังตาย
แนวปะการังบริเวณเกาะเชือกและเกาะกระดานก่อตัว
ทางด้านทิศตะวันออกของเกาะไปจนถึงตะวันออกเฉียงใต้ ที่
ระดับความลึกประมาณ 2-6 เมตร ปะการังที่พบส่วนใหญ่เป็น
ปะการังโขด (Porites spp) ปะการังเขากวางแบบกิ่ง แบบพุ่ม
หรือแบบโต๊ะ (Acropora spp.) ปะการังดอกไม้ทะเล
(Goniopora spp.) ปะการังดอกกะหล่า (Pocillopora
damicornis) และปะการังถ้วยสมอง (Lobophyllia spp.)
ซึ่งผลการสารวจปะการังในปีก่อนการฟอกขาว พบว่าปะการัง
ชนิดเด่น คือ ปะการังเขากวาง (Acropora spp)
ช่วงฟอกขาว 2553 (เกาะเชือก) หลังฟอกขาว 2556 (เกาะเชือก)
16.00
17.64
28.05
y = 6.025x + 8.5133
R² = 0.8499
0.00
5.00
10.00
15.00
20.00
25.00
30.00
พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556
อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
จังหวัดสตูล
1. หาดทรายขาว
2. หินงาม
3. หน้าหน่วยราวี
4. อ่าวสอง
5. ทิศเหนือเกาะดง
6. ทิศใต้เกาะดง
59.00
38.25
44.07
55.81
16.32
38.81
36.62
29.62
0.00
10.00
20.00
30.00
40.00
50.00
60.00
70.00
ก่อนปี พ.ศ. 2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556
ปะการังตาย
ปะการังเป็น
ก่อนฟอกขาว (2552) แนวปะการังมีสถานภาพดีจนถึงดี
มาก ปะการังมีชีวิตเฉลี่ย 59 % ปะการังตาย 16% ในปี 2553 มี
การฟอกขาวเฉลี่ยร้อยละ 79.17 ของทุกพื้นที่ และหลังจาก
สถานการณ์ฟอกขาว ในปี 2554 - 2556 แนวปะการังมีพื้นที่
ครอบคลุมเฉลี่ยของปะการังมีชีวิตประมาณร้อยละ 38.25, 44.07
และ 55.81 มีพื้นที่ปะการังตายเฉลี่ยประมาณ 38.81, 36.62
และ 29.62 ของพื้นที่แนวปะการังทั้งหมด
ช่วงฟอกขาว 2553 หาดทรายขาว
เกาะราวี
หลังฟอกขาว 2556 หาดทรายขาว
เกาะราวี
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร
จังหวัดชุมพร
พื้นที่สารวจบริเวณเกาะมะพร้าว อาเภอเมือง จังหวัดชุมพร
ปะการังที่เกิดตามธรรมชาติตายครอบคลุมเฉลี่ย 5 – 20 เปอร์เซ็นต์
ฟื้นตัวเกือบทั้งหมด
ปะการังในแปลงปลูก ตายครอบคลุมเฉลี่ย 70 – 80 เปอร์เซ็นต์
ไม่สามารถฟื้นกลับมาได้
ได้ทาการสารวจจุดที่ประกาศมาตรการปิดจุดดาน้า
เมื่อปี 2553
ที่ หินกลาง อช. พีพี
เกาะเชือก อช.หาดเจ้าไหม
หาดทรายขาว เกาะหินงาม อช.ตะรุเตา
30.5
18
31.77
51.04
39
20.97
52.99
40
30.5
60 60.84
0
10
20
30
40
50
60
70
หินกลาง * เกาะเชือก * หาดทรายขาว * หินงาม (ทิศใต้) *
กราฟแสดงเปอร์เซ็นต์การฟื้นตัวของปะการังหลังจากปิดกิจกรรมการดาน้า ในปี พ.ศ. 2554-2556
255
4
255
5
255
6
สรุป
1. การเปรียบเทียบสถานภาพปะการังในเขต
อุทยานแห่งชาติทางทะเล
- ปี 2552 ช่วงก่อนการเกิดปรากฏการณ์ฟอกขาว
แนวปะการัง สมบูรณ์ปานกลางถึงสมบูรณ์ดีมาก
- ช่วงตั้งแต่ปลายเดือนเมษายน 2553 ซึ่งเป็นช่วง
ปรากฏการณ์ฟอกขาว
แนวปะการังมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง
พื้นที่ครอบคลุมเฉลี่ยของปะการังมีชีวิตลดลงมาก
-ช่วงหลังปรากฏการณ์ฟอกขาว ตั้งแต่มิถุนายน 2554 –
2556 (ต่อ)
-แนวปะการังใน อช. หมู่เกาะสุรินทร์ อช.หมู่เกาะสิมิลัน
- มีแนวโน้มในการฟื้นตัวเพียงเล็กน้อย
-แนวปะการังใน อช. หาดนพรัตน์ธารา - หมู่เกาะพีพี
มีแนวโน้มในการฟื้นตัวลดลง
-ช่วงหลังปรากฏการณ์ฟอกขาว ตั้งแต่มิถุนายน 2554 –
2556 (ต่อ)
-แนวปะการังใน อช. ตะรุเตา อช.หมู่เกาะลันตา และ อช.
หาดเจ้าไหม
มีแนวโน้มในการฟื้นตัวได้ดีตามธรรมชาติ
- แนวปะการังใน อช. หมู่เกาะชุมพร
ปะการังตามธรรมชาติฟื้นตัวทั้งหมด
ปะการังในแปลงปลูกตายเกือบหมด
หลังการฟอกขาว
- สถานภาพส่วนใหญ่อยู่ในสภาพเสื่อมโทรมถึงสมบูรณ์ดี
- การฟื้นตัวขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น สภาพพื้นที่ อัตรา
การผลิตตัวอ่อนของปะการัง อัตราการผลิตชิ้นส่วนจาก
โคโลนีเดิม การแก่งแย่งพื้นที่กับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ การ
รบกวนที่เกิดจากธรรมชาติและจากมนุษย์ทั้งทางตรงและ
ทางอ้อม
2. การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางสังคมแนวปะการังและความ
หลากหลายทางชีวภาพของปะการังแข็ง
ปรากฏการณ์ฟอกขาวส่งผลกระทบอย่างมากต่อแนวปะการังที่อยู่
บริเวณไหล่แนวปะการัง (reef edge) และบริเวณลาดชัน (reef
slope) มากกว่าบริเวณพื้นราบ (reef flat) ทั้งนี้เนื่องจาก
บริเวณไหล่แนวปะการังและบริเวณลาดชันแนวปะการังมักมี
ปะการังเขากวางเป็นชนิดเด่น ในขณะที่บริเวณพื้นราบ มักมี
ปะการังโขดเป็นปะการังชนิดเด่น ปะการังเขากวางมีความ
ต้านทานและความทนทานที่ต่ามากต่ออุณหภูมิที่สูงผิดปกติ จึง
เกิดการฟอกขาวอย่างรุนแรงและตายเป็นจานวนมาก
การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางสังคมแนวปะการังและ
ความหลากหลายทางชีวภาพของปะการังแข็ง (ต่อ)
ส่วนกลุ่มปะการังที่มีรูปทรงเป็นก้อน ได้แก่ ปะการังโขด
ปะการังดาวใหญ่ เป็นต้น มีความทนทานและสามารถฟื้น
ตัวได้ดีหลังการฟอกขาว ดังนั้น จากเดิมที่บางจุดมี
ปะการังเขากวางเป็นองค์ประกอบหลัก หลังเกิด
ปรากฏการณ์ฟอกขาว โครงสร้างเหล่านี้ได้เปลี่ยนแปลง
ไปจากโครงสร้างปะการังเขากวางเป็นโครงสร้างปะการัง
ก้อน
ข้อเสนอแนะ
1.สร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชน ผู้ประกอบการ
ผู้ใช้ประโยชน์จากแนวปะการัง
2. กาหนดมาตรการการใช้ประโยชน์สาหรับกิจกรรม
ต่างๆ ในแนวปะการัง
3. ให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตนให้เหมาะสม เช่น
สอนให้นักท่องเที่ยวรู้จักการใช้อุปกรณ์หน้ากาก
ข้อเสนอแนะ (ต่อ)
4. กระจายของนักดาน้าไปทั่วบริเวณ ควรกาหนดโซนสาหรับ
นักดาน้าที่มีประสบการณ์ต่างกันเพื่อลดความเสียหาย
5. มีมาตรการควบคุมเรือท่องเที่ยว โดยเฉพาะน้าเสีย
6. ติดตั้งทุ่นผูกเรือ
Contact
ฝ่ายวิจัยฯ : hnukool@hotmail.com
www.nprcenter.com

Contenu connexe

Tendances

Slide caderno 3 construção do sistema de numeração decimal
Slide caderno 3  construção do sistema de numeração decimalSlide caderno 3  construção do sistema de numeração decimal
Slide caderno 3 construção do sistema de numeração decimalMichella Ribeiro Lopes
 
A.P 8 - 2nd Qtr Summative Test 2
A.P 8 - 2nd Qtr Summative Test 2A.P 8 - 2nd Qtr Summative Test 2
A.P 8 - 2nd Qtr Summative Test 2Mavict De Leon
 
TRABALHO FINAL fnde
TRABALHO FINAL fndeTRABALHO FINAL fnde
TRABALHO FINAL fndeJeuza Pires
 
Planejamento na escola
Planejamento na escolaPlanejamento na escola
Planejamento na escolagindri
 

Tendances (6)

Slide caderno 3 construção do sistema de numeração decimal
Slide caderno 3  construção do sistema de numeração decimalSlide caderno 3  construção do sistema de numeração decimal
Slide caderno 3 construção do sistema de numeração decimal
 
A.P 8 - 2nd Qtr Summative Test 2
A.P 8 - 2nd Qtr Summative Test 2A.P 8 - 2nd Qtr Summative Test 2
A.P 8 - 2nd Qtr Summative Test 2
 
TRABALHO FINAL fnde
TRABALHO FINAL fndeTRABALHO FINAL fnde
TRABALHO FINAL fnde
 
Planejamento na escola
Planejamento na escolaPlanejamento na escola
Planejamento na escola
 
Apropriação do SEA
Apropriação do SEAApropriação do SEA
Apropriação do SEA
 
Alfabetização Matemática ll PNAIC
Alfabetização Matemática ll PNAIC Alfabetização Matemática ll PNAIC
Alfabetização Matemática ll PNAIC
 

Similaire à ปะการังฟอกขาว

ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการังUNDP
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรJaae Watcharapirak
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูนteryberry
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้ากลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้าfreelance
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลKrujhim
 

Similaire à ปะการังฟอกขาว (20)

ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการัง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพร
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพรT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดชุมพร
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
042147
042147042147
042147
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Coral lec02
Coral lec02Coral lec02
Coral lec02
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้ากลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 

Plus de Auraphin Phetraksa

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์Auraphin Phetraksa
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรAuraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติAuraphin Phetraksa
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีAuraphin Phetraksa
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)Auraphin Phetraksa
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗Auraphin Phetraksa
 

Plus de Auraphin Phetraksa (20)

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
 

ปะการังฟอกขาว