SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  32
Télécharger pour lire hors ligne
การศึกษาการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
ปีงบประมาณ 2557
สถาบันนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง
การสารวจการใช้ประโยชน์ทรัพยากรของชุมชนชายฝั่ง
ในเขตอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองทางทะเล จังหวัดตรัง
วัตถุประสงค์
เพื่อหาข้อมูลการใช้ประโยชน์จากป่าชายเลนใน
ภาคใต้ โดยเฉพาะหมู่บ้านรอบแนวเขตอุทยาน
แห่งชาติหาดเจ้าไหมทั้งรูปแบบดั้งเดิมอันเป็นภูมิปัญญา
ชาวบ้านและการใช้ประโยชน์รูปแบบใหม่ในปัจจุบัน
พื้นที่ศึกษา
1. บ้านฉางหลาง ชุมชนท่าเรือ
2. หมู่บ้านควนตุ้งกู
3. หมู่บ้านน้าราบชุมชนท่าขยง
4. หมู่บ้านไหม
5. หมู่บ้านมดตะนอย
วิธีศึกษา
เก็บข้อมูลภาคสนาม ผู้ศึกษาเข้าไปอยู่ร่วมกับชาวบ้านในพื้นที่ศึกษา
และเรียนรู้สภาพทั่วไปของหมู่บ้านและสร้างความคุ้นเคยกับชาวบ้าน
ในพื้นที่ ด้วยวิธีการดังนี้
1. การสังเกตโดยตรงและสารวจภาคสนามถึงสภาพ
ทั่วไปของชุมชน
2. การสังเกตโดยการมีส่วนร่วม ได้ใช้วิธีการ สังเกต
สอบถาม บันทึก และถ่ายรูป
ผลการศึกษา
หมู่บ้านฉาง
หลาง
กิจกรรมใน
หมู่บ้าน
ปัญหาและ
อุปสรรค
ประกอบอาชีพ
ข้อเสนอแนะ
ข้อมูลทั่วไป
หมู่ 9 ต.ไม้ฝาด อ.สิเกา จังหวัดตรัง
426 ครัวเรือน
gเป็น 1 ใน 4 “เขตเลเสบ้าน”
การใช้ประโยชน์
จากป่าชายเลน
เป็นอาหาร
ใช้สอยอื่นๆ
สมุนไพร
ให้ภาครัฐและหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องออกกฎบังคับที่ชัดเจน
ควรจะมีภาครัฐและหน่วยงานเอกชนเข้า
มาให้ความรู้ และให้การสนับสนุน
ค้าขาย
ทาสวนยาง
ทาประมงชายฝั่ง
เรือนาเที่ยว
ทาการท่องเที่ยว
ไม่มีภาครัฐและเอกชนเข้าให้
การสนับสนุน
ชุมชนไม่เข้มแข็ง
ไม่มีตลาดสมุนไพร
ขาดจิตสานึก
ผลการศึกษา
ชุมชนควนตุ้งกู
ประกอบอาชีพ
กิจกรรมใน
หมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อมูลทั่วไป
ต.บางสัก อ.กันตัง จังหวัดตรัง
การใช้ประโยชน์จาก
ป่าชายเลน
สัตว์ในป่าชายเลน
เป็นอาหาร
สมุนไพร
ใช้สอยอื่นๆ
ให้ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้
ความรู้ และวางกฎระเบียบให้
ควรจะมีภาครัฐและหน่วยงานเอกชนเข้า
มาทากิจกรรมกับชุมชนมากขึ้น
ชาวบ้านขาดความรู้
มีการทาประมงผิด
ประเภท
ไม่มีตลาดสมุนไพร
ลักลอบเข้ามาในเขตหวงห้าม
ค้าขาย
ทาสวนยาง
ทาประมงพื้นบ้าน
รับจ้าง
ผลการศึกษา
หมู่บ้านน้าราบ
ประกอบอาชีพ
กิจกรรมใน
หมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ
ปัญหาและ
อุปสรรค
ข้อมูลทั่วไป
หมู่ 4ต.บางสัก อ.กันตัง จังหวัดตรัง
การใช้
ประโยชน์
จากป่าชาย
เลน
เป็นอาหาร
สมุนไพร
ใช้สอยอื่นๆ
ให้ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้
ความรู้ และวางกฎระเบียบให้
ควรจะมีภาครัฐและหน่วยงานเอกชนเข้า
มาให้ความรู้ และจัดอบรม
สัตว์หายาก
มีการลักลอบเข้ามาทาใน
เขตหวงห้าม
ไม่มีตลาดสมุนไพร
ขาดจิตสานึก
ค้าขาย
ทาสวนยาง
รับจ้าง
1,304 คน
305 ครัวเรือน
ทาประมงพื้นบ้าน
ผลการศึกษา
ชุมชนท่าขยง
ประกอบ
อาชีพ
กิจกรรมในหมู่บ้าน
ข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อมูลทั่วไป
หมู่ 4ต.บางสัก อ.กันตัง จังหวัดตรัง
การใช้
ประโยชน์จาก
ป่าชายเลน
เป็นอาหาร
สมุนไพร
ใช้สอยอื่นๆ
ให้ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้
ความรู้ และวางกฎระเบียบให้
ควรจะมีภาครัฐและหน่วยงานเอกชนเข้ามาให้
ความรู้ และจัดอบรม
สัตว์หายาก
มีการลักลอบเข้ามาทา
ในเขตหวงห้าม
ไม่มีตลาดสมุนไพร
ค้าขาย
กระชังปลากะพง
รับจ้าง
17 ครัวเรือน
50 คน
ทาประมงพื้นบ้าน
โครงการปลูกหญ้าทะเล
ธนาคารปูม้าไข่นอกกระดอง
สีย้อมผ้า
ผลการศึกษา
หมู่บ้านหาดเจ้าไหม
ประกอบอาชีพ
การใช้ประโยชน์ป่า
ชายเลนในชุมชน
ข้อเสนอแนะ
ปัญหาและ
อุปสรรค
ข้อมูลทั่วไป
หมู่ 4 ต.เกาะลิบง อ.กันตัง จังหวัดตรัง
เป็นอาหาร สมุนไพร
ใช้สอยอื่นๆ
ให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชนเข้ามา
มีส่วนร่วม
ประมงพื้นบ้าน
รับจ้างทั่วไป
180 ครัวเรือน
สัตว์ในป่าชายเลน
ประมงชายฝั่ง
ค้าขาย
กินและขาย
ให้ความรู้ แนะนา และรับฟัง
บัญหา
สร้างเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ระหว่างชุมชนและเจ้าหน้าที่รัฐ
การจัดการทรัพยากร
สัตว์ลดน้อยลง
ขาดความรู้ความ
เข้าใจ
มีการขัดแย้งกัน
มีการก่อสร้างรุกล้า
พื้นที่
มีการลักลอบเข้ามาทาประมงแบบผิดวิธี
ที่ดินทากินทับซ้อนกับพื้นที่อุทยาน
ผลการศึกษา
หมู่บ้านมดตะนอย
ประกอบ
อาชีพ
การใช้ประโยชน์ป่า
ชายเลนในชุมชน
ข้อเสนอแนะปัญหาและอุปสรรค
ข้อมูลทั่วไป
หมู่ 3 ต.เกาะลิบง อ.กันตัง จังหวัดตรัง เป็นอาหาร
สมุนไพร
ใช้สอยอื่นๆ
ประมง
รับจ้างทั่วไป
991 คน
246 ครัวเรือน
สัตว์ในป่าชายเลน
ทาสวนยาง
ค้าขาย
กินและขาย
ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการ
ดาเนินงานกับภาครัฐและเอกชน
ให้ภาครัฐเข้ามาให้ความรู้และ
อบรม
สิ่งแวดล้อม
เปลี่ยนแปลง
ขาดจิตสานึก
มีการขัดผลประโยชน์
ทาประมงผิดวิธี
สร้างสิ่งก่อสร้างบุกรุกพื้นที่
ป่า
จับสัตว์น้าฤดูวางไข่
การจัดการการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากร
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในป่าชายเลน
แหล่งอาหาร
หอยสันขวาน ยอดถั่วขาวต้มจิ้มน้าพริกซีหริ่งรุนเคย
ลูกจากสด ลูกจากลอยแก้ว
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในป่าชายเลน
ยารักษาโรค
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในป่าชายเลน
การทาผ้ามัดย้อมจากเปลือกไม้ป่าชายเลน
เป็นการนาเอาเปลือกไม้จากป่าชายเลนที่ต้องการมาตากแห้ง เช่น เปลือกต้นโกงกาง
เปลือกต้นแสม เปลือกต้นตะบูน เป็นต้น ซึ่งแต่ละเปลือกของต้นไม้แต่ละชนิด จะให้สีสันที่
แตกต่างกัน เช่น เปลือกต้นโกงกางจะให้สีแดง เปลือกต้นแสมจะให้สีชมพูอ่อน เป็นต้น ซึ่ง
หลังจากที่นาผ้ามาแช่ในน้าของเปลือกต้นใดต้นหนึ่งแล้วจะต้องนาไปแช่น้าสนิม น้าปูนขาว น้า
สารส้ม ซึ่งสามารถเลือกแช่ได้เพียงหนึ่งน้าเช่นเดียวกัน โดยแต่ละน้าจะให้ความสดของสีที่
แตกต่างกันไป น้าที่ให้สีสดที่สุดคือ น้าปูนขาว
พฤกษศาสตร์พื้นบ้าน “บ้านป่าหมาก”
และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดเพชรบุรี
พื้นที่ศึกษา
การใช้ประโยชน์พฤกษศาสตร์พื้นบ้าน“บ้านป่าหมาก”
พบพืชทั้งหมด
- ๗๕ วงศ์
- ๑๖๓ สกุล
- ๑๙๕ ชนิด
พืชอาหารมากที่สุด
- ยารักษาโรค
- ยาบารุงกาลัง
- พืชที่นามาสร้างเครื่อง
เรือนเครื่องใช้
- ใช้ประโยชน์ในด้าน
อื่นๆ
การใช้ประโยชน์พรรณพืชของชุมชน บริเวณแนวเชื่อมต่อผืนป่า
เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบนิเวศ
ระหว่างอุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้ากับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสนามเพรียง
จังหวัดกาแพงเพชร ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
พื้นที่ศึกษา
วิธีการศึกษา
1. ใช้แบบสอบถามประเมินพฤกษศาสตร์แบบเร่งด่วน
วิธีการศึกษา (ต่อ)
2. วางแปลงตัวอย่าง ขนาด 10 x 10 เมตร ในป่าเต็งรัง และป่าผสมผลัดใบ
จานวนชนิดป่าละ 1 แปลง พร้อมวิเคราะห์ลักษณะทางนิเวศวิทยาเชิงปริมาณบางประการ ได้แก่
2.1 ความหนาแน่น
2.2 ความถี่
2.3 ดัชนีความสาคัญ
3. การนาเสนอข้อมูล
3.1 นาเสนอตามประเภทของการใช้ประโยชน์พืช คือ 1) พืชอาหาร
2) พืชสมุนไพร 3) ไม้ท่อนและไม้ก่อสร้าง 4) ไม้ฟืนและถ่าน และ 5) พืชที่ใช้ประโยชน์ด้านอื่น ๆ
3.2 นาเสนอข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ลักษณะทางนิเวศวิทยาเชิงปริมาณ
บางประการจากแปลงตัวอย่างที่ราษฎรเก็บหาและใช้ประโยชน์ เพื่อศึกษาความหลากหลายของ
ชนิดพรรณพืชที่ราษฎรเก็บหาใช้ประโยชน์
ผลการศึกษา
ลักษณะการใช้ประโยชน์ ชนิด วงศ์
1.พืชอาหาร 55 31
2.พืชสมุนไพร 135 51
3.พืชที่ใช้ในการก่อสร้าง 18 7
4.พืชที่ใช้ทาฟืน/ถ่าน 21 12
5.ใช้สอยอื่นๆ..เครื่องสาอาง สีย้อมผ้า ไม้ประดับ เสื่อ ห่ออาหาร 46 26
รวม 196 54
จานวนชนิดพรรณพืชที่ชุมชนใช้ประโยชน์ จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์
ลักษณะทางนิเวศวิทยาเชิงปริมาณบางประการ จากแปลงตัวอย่าง ป่าเต็งรัง (28 ชนิด / 17 วงศ์)
ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ RD RF IVI
1. เต็ง Shorea odtusa 31.83 13.14 44.97
2. รกฟ้า Terminalia alata 12.22 8.76 20.98
3. รัง Shorea siamensis 12.22 8.76 20.98
4. กระพี้เขาควาย Dalbergia cultrata 6.11 5.84 11.95
5. สมอไทย Terminalia chebula 4.18 5.11 9.29
6. พลวง Dipterocarpus tuberculatus 3.54 5.11 8.65
7. หนามแท่ง Catunaregam tomentosa 3.22 5.11 8.32
8. มะม่วงหัวแมงวัน Buchanania reticulata 3.22 4.38 7.59
9. คามอกน้อย Gardenia obtusifolia 2.25 5.11 7.36
10. กระพี้จั่น Millettia brandisiana 2.89 4.38 7.27
11. แคทราย Stereospermum neuranthum 1.93 3.65 5.58
12. ละมุดป่า Manilkara littoralis 1.61 3.65 5.26
13. มะกอกเกลื้อน Canarium subulatum 1.61 2.92 4.53
14. แคหิน Stereospermum colias 1.29 2.92 4.21
ลักษณะทางนิเวศวิทยาเชิงปริมาณบางประการ จากแปลงตัวอย่าง ป่าเต็งรัง
ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ RD RF IVI
15. กระทุ่ม Anthocephalus chinensis 1.29 2.19 3.48
16. ยอป่า Morinda elliptica 1.29 2.19 3.48
17. อ้อยช้าง Radermachera ignea 1.29 2.19 3.48
18. สารภี Mammea siamensis 1.29 2.19 3.48
19. ยมหิน Chukrasia tabularis 0.96 2.19 3.15
20. ประดู่ป่า Pterocarpus macrocarpus 0.96 1.46 2.42
21. ปอลาย Grewia eriocarpa 0.96 1.46 2.42
22. ส้านใหญ่ Dillenia obovata 0.96 1.46 2.42
23. ตะขบป่า Flacourtia indica 0.64 1.46 2.10
24. แสลงใจ Strychnos nux-vomica 0.64 1.46 2.10
25. ตะคร้อ Schleichera oleosa 0.64 0.73 1.37
26. ขว้าว Haldinia cordifolia 0.32 0.73 1.05
27. ช้างน้าว Gomphia serrata 0.32 0.73 1.05
28. ปรง Cycas pectinata 0.32 0.73 1.05
100.00 100.00 200.00
ลักษณะทางนิเวศวิทยาเชิงปริมาณบางประการ จากแปลงตัวอย่าง ป่าผสมผลัดใบ (48 ชนิด / 24 วงศ์)
ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ RD RF IVI
1. ตาลเดี่ยว Hypoxis aurea 23.97 3.76 27.73
2. ปอตีนเต่า Colona winitii 17.12 3.76 20.88
3. แหนเครือ Combretum deciduum 8.56 4.51 13.07
4. ขะเจ๊าะ Millettia leucantha 4.79 8.27 13.07
5. ตะคร้อ Schleichera oleosa 3.42 6.02 9.44
6. สัก Tectona grandis 3.42 5.26 8.69
7. ลาไยป่า Paranephelium xestophyllum 2.40 3.76 6.16
8. ฉนวน Dalbergia nigrescens 1.37 3.01 4.38
9. ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 1.37 3.01 4.38
10. มะกอกป่า Spondias bipinnata 1.37 3.01 4.38
11. ยมหิน Chukrasia tabularis 1.37 3.01 4.38
12. องุ่นป่า Tetrastigma matabita 2.05 2.26 4.31
ลักษณะทางนิเวศวิทยาเชิงปริมาณบางประการ จากแปลงตัวอย่าง ป่าผสมผลัดใบ
ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ RD RF IVI
13. ปรู Alangium salviifolium 1.37 2.26 3.63
14. ปออีเก้ง Pterocymbium tinctorium 1.37 2.26 3.63
15. มันเสา Dioscorea alata 1.37 2.26 3.63
16. ขี้อ้าย Terminalia triptera 1.03 2.26 3.28
17. แดง Xylia xylocarpa 1.03 2.26 3.28
18. ติ้วขน Cratoxylum formosum 1.03 2.26 3.28
19. มะกล่าตาไก่ Adenanthera microsperma 1.03 2.26 3.28
20. มะเค็ด Gelsemium elegans 1.03 2.26 3.28
21. โมกมัน Wrightia arborea 1.03 2.26 3.28
22. ส้านใหญ่ Dillenia obovata 1.03 2.26 3.28
23. หนามคนฑา Catunaregam spathulifolia 1.71 1.50 3.22
24. เพกา Oroxylum indicum 1.37 1.50 2.87
ลักษณะทางนิเวศวิทยาเชิงปริมาณบางประการ จากแปลงตัวอย่าง ป่าผสมผลัดใบ
ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ RD RF IVI
25. ตดหมูตดหมา Paederia linearis 1.03 1.50 2.53
26. เอื้องหมายนา Costus speciosus 1.03 1.50 2.53
27. กลอย Dioscorea hispida 0.68 1.50 2.19
28. กวาวเครือ Butea superba 0.68 1.50 2.19
29. แคทราย Stereospermum neuranthum 0.68 1.50 2.19
30. แคหางค่าง Fernandoa adenophylla 0.68 1.50 2.19
31. เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 0.68 1.50 2.19
32. ส้มกบ Hymenodictyon orixense 0.68 1.50 2.19
33. หนามแท่ง Catunaregam tomentosa 0.68 1.50 2.19
34. กระทือป่า Zingiber spectabile 1.37 0.75 2.12
35. กระพี้จั่น Millettia brandisiana 0.68 0.75 1.44
36. เปล้าเลือด Croton robustus 0.68 0.75 1.44
ลักษณะทางนิเวศวิทยาเชิงปริมาณบางประการ จากแปลงตัวอย่าง ป่าผสมผลัดใบ
ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ RD RF IVI
37. มะเม่า Antidesma sootepense 0.68 0.75 1.44
38. ย่านลิเภา Lygodium flexuosum 0.68 0.75 1.44
39. ชิงชัน Dalbergia oliveri 0.34 0.75 1.09
40. ตะแบกเลือด Terminalia corticosa 0.34 0.75 1.09
41. เต็งหนาม Bridelia retusa 0.34 0.75 1.09
42. ปีป Millingtonia hortensis 0.34 0.75 1.09
43. พฤกษ์ Albizia lebbeck 0.34 0.75 1.09
44. มะหาด Artocarpus Lacucha 0.34 0.75 1.09
45. รกฟ้า Terminalia alata 0.34 0.75 1.09
46. สมอพิเภก Terminalia bellirica 0.34 0.75 1.09
47. สาบเสือ Chromolaena odoratum 0.34 0.75 1.09
48. หารอก Pterospermum semisagittatum 0.34 0.75 1.09
100.00 100.00 200.00
การใช้ประโยชน์พรรณพืชของชุมชน ฯ
ลักษณะการใช้ประโยชน์ (196 ชนิด)
1.พืชอาหาร = 55 ชนิด
2.พืชสมุนไพร = 135 ชนิด
3.พืชที่ใช้ในการก่อสร้าง =18 ชนิด
4.พืชที่ใช้ทาฟืน/ถ่าน = 21 ชนิด
5.ใช้สอยอื่นๆ = 46 ชนิด
1. ใช้แบบสอบถามประเมินพฤกษศาสตร์
แบบเร่งด่วน = 196 ชนิด
2. วางแปลงตัวอย่าง
ป่าเต็งรัง 28 ชนิด / 17 วงศ์
1. เต็ง IVI = 44.97
2. รัง และ รกฟ้า IVI = 20.98
3. กระพี้เขาควาย IVI = 11.95
ป่าผสมผลัดใบ 48 ชนิด / 24 วงศ์
1. ตาลเดี่ยว IVI = 27.73
2. ปอตีนเต่า IVI = 20.88
3. แหนเครือ IVI = 13.07
Contact :
ฝ่ายวิจัยฯ email :hnukool@hotmail.com
www.dnpii.org

Contenu connexe

En vedette

ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
มูลค่าการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติแม่ปิง
มูลค่าการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติแม่ปิงมูลค่าการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติแม่ปิง
มูลค่าการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติแม่ปิงyah2527
 
ป่าชุมชน ห้วยหินลาด
ป่าชุมชน ห้วยหินลาดป่าชุมชน ห้วยหินลาด
ป่าชุมชน ห้วยหินลาดDow P.
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติAuraphin Phetraksa
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุการอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุDaDame Parinan
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตรการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตรUNDP
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีAuraphin Phetraksa
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ตT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรAuraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีAuraphin Phetraksa
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นครูเย็นจิตร บุญศรี
 
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยวผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยวBituey Boonkanan
 

En vedette (20)

ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
มูลค่าการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติแม่ปิง
มูลค่าการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติแม่ปิงมูลค่าการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติแม่ปิง
มูลค่าการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพเหนือพื้นดินป่าเต็งรัง อุทยานแห่งชาติแม่ปิง
 
ป่าชุมชน ห้วยหินลาด
ป่าชุมชน ห้วยหินลาดป่าชุมชน ห้วยหินลาด
ป่าชุมชน ห้วยหินลาด
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุการอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตรการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ตT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดภูเก็ต
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยวผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
 

Plus de Auraphin Phetraksa

แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว Auraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)Auraphin Phetraksa
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗Auraphin Phetraksa
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่Auraphin Phetraksa
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)Auraphin Phetraksa
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 

Plus de Auraphin Phetraksa (19)

แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
 
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗การกัดเซาะชายหาด ๕๗
การกัดเซาะชายหาด ๕๗
 
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
พืชต่างถิ่น อช.เขาใหญ่
 
Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1Prosopis juliflora tha_edit1
Prosopis juliflora tha_edit1
 
แปลงถาวร
แปลงถาวร แปลงถาวร
แปลงถาวร
 
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
แปลงถาวร (ข้อมูลปี2557)
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ