SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 10
บุคลิกภาพและคุณลักษณะของครูปฐมวัย
แผนการเรียนประจาบท
1. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้เข้าใจความหมายและความสาคัญของครู
2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพของครูปฐมวัย
3. เพื่อให้เข้าใจบทบาทหน้าที่ของครูปฐมวัย
4. เพื่อให้สามารถพัฒนาบุคลิกภาพตนเองได้
2. สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของครู
2. บุคลิกภาพของครูปฐมวัย
3. คุณวุฒิครูปฐมวัย
4. บทบาทของครูปฐมวัย
5. คุณลักษณะของครูที่ดีตามหลักคาสอนในพระพุทธศาสนา
6. คุณลักษณะตามผลการวิจัย
3. กิจกรรมการเรียนรู้
1. ทดสอบก่อนเรียน (แบบทดสอบ)
2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน
3. อภิปราย ซักถาม
4. แบ่งกลุ่มวิเคราะห์คุณลักษณะของครูปฐมวัย
5. แบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้า (วิจัย) เก็บข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูปฐมวัย
6. ทดสอบหลังเรียน
4. สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอน
2. สไลด์ประกอบการสอน (Power point)
3. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง (Internet)
4. ตัวอย่างกรณีศึกษา
5. หนังสือ ตารา วารสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
264
5. การประเมินผล
1. ผลการทดสอบ
2. แบบฝึกหัดท้ายบท
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
4. รายงานผลการศึกษาค้นคว้า (วิจัย) คุณลักษณะของครูปฐมวัย
5. ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของเนื้อหา
265
บทที่ 10
บุคลิกภาพและคุณลักษณะของครูปฐมวัย
ทุกคนเกิดมาต้องมีครู และทุกคนต้องเป็นครู โดยครูคนแรกก็คือ บิดา มารดา ใน
กรณีที่บุคคลใดเกิดมาแล้วไม่ได้พบหน้าบิดา มารดา ก็ให้ถือว่าผู้อุปการะเลี้ยงดูอย่าง
ใกล้ชิดนั้นเป็นครูคนแรกของตน ส่วนที่กล่าวว่า “ทุกคนต้องเป็นครู” นั้น เพราะทุกคนสอน
ตนเองได้ทุกขณะที่มีสติสัมปชัญญะ เช่น เตือนให้ตัวเองระมัดระวังขณะเดินทางไปทางาน
หรือไปศึกษาเล่าเรียน เตือนให้ตนเองรู้จักประหยัดในการใช้จ่ายเงิน หรือการให้คาแนะนา
บุคคลอื่นในการกระทาบางสิ่งบางอย่าง เป็นต้น ในที่นี้จะขอกล่าวถึงสารระที่เกี่ยวข้องกับ
วิชาชีพครูตามหัวข้อดังต่อไปนี้
1. ความหมายของครู
2. บุคลิกภาพของครูปฐมวัย
3. คุณวุฒิครูปฐมวัย
4. บทบาทของครูปฐมวัย
5. คุณลักษณะของครูที่ดีตามหลักคาสอนในพระพุทธศาสนา
6. คุณลักษณะตามผลการวิจัย
1. ความหมายของครู
1.1 ความหมายของครูตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 อธิบายคาว่า ”ครู” นั้นมาจากรากศัพท์ใน
ภาษาบาลีว่า “คุรุ – ครุ” หรือจากภาษาสันสกฤตว่า “คุรุ” ในความหมายที่เป็นคานาม
แปลว่า “ผู้สั่งสอนศิษย์หรือถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์” ส่วนในความหมายที่เป็นคาวิเศษณ์
ในภาษาบาลี แปลว่า หนัก สูง ส่วนในภาษาสันสกฤตแปลว่า ใหญ่ หรือ หนัก
(ราชบัณฑิตยสถาน. 2546 : 225)
1.2 ความหมายของครูตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
ตามมาตรา 4 ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 นิยามความหมายของคาว่าครูไว้ว่า “ครู” หมายความว่า
บุคลากรวิชาชีพซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
ตามกฎหมายนี้ครูมีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ
266
1. ทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอน และส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย
วิธีการต่าง ๆ
2. ทาการสอนในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
3. เป็นบุคลากรวิชาชีพ
1.3 ความหมายของครูจาก Dictionary of Education ในหนังสือ Dictionary of
Education ของกู๊ด (Good. 1973 : 586) ได้ให้ความหมายของครูไว้หลายนัยด้วยกันดังนี้
1. ครู คือ บุคคลที่ทางราชการจ้างไว้เพื่อทาหน้าที่ให้คาแนะนาหรืออานวยการใน
การจัดประสบการณ์การเรียนสาหรับนักเรียนหรือนักศึกษาในสถาบันการศึกษาไม่ว่าจะ
เป็นของรัฐหรือเอกชน
2. ครู คือ บุคคลที่มีประสบการณ์หรือมีการศึกษามากหรือดีเป็นพิเศษ หรือมีทั้ง
ประสบการณ์และการศึกษาดีเป็นพิเศษในสาขาใดสาขาหนึ่งที่สามารถช่วยทาให้บุคคลอื่น
ๆ เกิดความเจริญงอกงามและพัฒนาก้าวหน้าได้
3. ครู คือ บุคคลที่สาเร็จหลักสูตรวิชาชีพจากสถาบันฝึกหัดครู และการฝึกอบรม
นั้นได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการ โดยการมอบประกาศนียบัตรทางการสอนให้แก่
บุคคลนั้น (ยนต์ ชุ่มจิต. 2550 : 3 - 6)
จากที่กล่าวมา สรุปว่า ครู หมายถึง บุคคลที่มีความรู้ความสามารถและมี
ประสบการณ์สูงผ่านหลักสูตรการศึกษา การอบรม การปฏิบัติการสอน ใน
สถาบันการศึกษาและได้ผ่านการรับรองใบประกอบวิชาชีพจากคุรุสภาสามารถสอนใน
สถานศึกษาได้
2. บุคลิกภาพของครูปฐมวัย
บุคคลที่อยู่ใกล้ชิดกับเด็กมีความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อเด็กทั้ง
ทางตรงและทางอ้อม กล่าวคือเด็กสามารถที่จะเรียนรู้พฤติกรรมต่าง ๆ จากบุคคลใกล้ชิด
เพราะเด็กชอบการเลียนแบบจากสิ่งที่พบเห็น โดยเฉพาะพฤติกรรมต่าง ๆ ที่แสดงออกมา
ทั้งด้านดีและไม่ดี ดังนั้นบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดกับเด็กจะต้องเป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดีมี
จริยธรรมคุณธรรม ที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็กในอนาคตได้ ครูปฐมวัยเป็นบุคคลที่
มีความใกล้ชิดกับเด็ก มากรองจากพ่อแม่ เพราะเวลาประมาณ 1 ใน 3 เด็กจะใกล้ชิดกับ
ครู ครูผู้สอนจึงมีหน้าที่ใน การปรับพฤติกรรมเด็กให้มีความเหมาะสม และทาตัวให้เป็น
แบบอย่างแก่เด็กอีกด้วย
267
บุคลิกภาพ (Personality)
บุคลิกภาพมีผู้ที่ให้ความหมายของบุคลิกภาพมากมายที่พอสรุปได้มีดังต่อไปนี้
ธีรศักดิ์ อัครบวร (2542 : 81 - 83) บุคลิกภาพเป็นเรื่องส่วนของบุคคลที่ต้องไป
เกี่ยวข้องกับผู้อื่นและสังคม การอธิบายเรื่องบุคลิกภาพนั้นส่วนใหญ่จะอธิบายในเชิงของ
จิตวิทยา
ไพพรรณ เกียรติโชติชัย บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะทั้งภายนอกและภายในที่
รวมอยู่ในตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่ง และมีผลทาให้บุคคลนั้นมีความแตกต่างไปจากบุคคลอื่น
ที่กล่าวมาสรุปได้ว่า บุคลิกภาพ หมายถึง คุณลักษณะทั้งภายในและภายนอกของ
บุคคลที่แสดงออกมาให้คนอื่นมองเห็นและรับรู้ได้ ซึ่งทาให้ลักษณะของบุคคลนั้นมี
ความแตกต่างไปจากคนอื่น
บุคลิกภาพที่สาคัญของครูปฐมวัย
บุคลิกภาพที่สาคัญของครูปฐมวัยอาจจาแนกเป็น 4 ด้านดังนี้
1. บุคลิกภาพทางกาย
บุคลิกภาพทางกายเป็นบุคลิกภาพที่สังเกตได้ง่ายและเป็นสิ่งที่ปรากฏต่อบุคคล
ทั่วไป เป็นความประทับใจครั้งแรกที่เกิดกับบุคคลที่พบเห็น บุคลิกทางกายโดยทั่วไปมีดังนี้
1.1 รูปร่างหน้าตาและผิวพรรณ บุคลิกภาพส่วนนี้เป็นมาโดยกาเนิด อาจแก้ไข
ได้ยากแต่ก็สามารถปรับปรุงได้ หน้าตาครูต้องสะอาดถึงจะไม่สวยไม่หล่อก็ตาม
1.2 การแต่งกาย การเสริมบุคลิกภาพที่สาคัญที่สุดคือการแต่งกาย เพราะ
การแต่งกายช่วยกลบเกลื่อนรูปร่างหน้าตาและผิวพรรณได้ ช่วยทาให้รูปร่างหน้าตาและ
ผิวพรรณดูดีขึ้นตัวเอง การแต่งกายของครูเป็นสิ่งแรกที่ลูกศิษย์ ผู้ปกครองและประชาชน
มองเห็น จึงมีผลต่อการสร้างเจตคติที่ดีต่อตัวครู การแต่งกายที่เหมาะสมกับบุคลิกภาพ
ของครูควรคานึงถึงเงื่อนไขดังต่อไปนี้
1) แต่งกายให้เหมาะสมกับความนิยมของสังคมในโอกาสต่าง ๆ
2) แต่งกายให้เหมาะสมกับสถานที่ เช่น ศาสนสถาน ที่ราชการ สนามกีฬา
เป็นต้น
3) การแต่งกายให้เหมาะสมกับฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจ คือต้อง
แต่งตัวให้เหมาะสมกับสถานภาพ ตาแหน่ง หน้าที่ บทบาทและวิชาที่สอนแต่ละคน
นอกจากนี้ครูจะต้องไม่แต่งหน้าหรือแต่งตัวเกินความจาเป็น
4) แต่งกายให้เหมาะสมกับสถานภาพ โดยคานึงถึงเพศ วัย อายุ และ
ผิวพรรณของตน เช่นสี และแบบของเสื้อผ้า รองเท้าและกระเป๋าถือ
268
5) ความสะอาดของเครื่องแต่งกาย ทั้งเสื้อผ้าและรองเท้าไม่จาเป็นต้องมี
ราคาสูงนัก แต่จาเป็นต้องมีความสะอาดอยู่เสมอ
6) สวมเสื้อผ้าให้เหมาะสมกับรูปทรงและเรียบร้อยอยู่เสมอ
7) การเสริมสวยตามความจาเป็น ครูควรใช้เครื่องสาอางช่วยเสริม
ความงามเพียงเพื่อทาให้เกิดความเรียบร้อยแก่ร่างกาย ใช้เพื่อส่งเสริมให้มีบุคลิกภาพดีขึ้น
เช่น สบู่ฟอกตัว น้ามันใส่ผม แป้ง น้าหอม ใช้แต่เพียงเท่าที่จาเป็นเท่านั้น ควรเสริมสวยแต่
พอดี ไม่ควรมากจนเกินไป
8) การใช้เครื่องประดับที่มีค่า ครูไม่ควรใช้ของมีค่าที่มีราคามากเกินไป
เช่น ทอง เพชร พลอย ราคาแพง แต่ถ้าจาเป็นต้องใช้ก็ควรจะต้องดูกาลเทศะ แม้ว่า
เครื่องประดับมีค่าเป็นเครื่องส่งเสริมบุคลิกภาพ แต่ครูไม่จาเป็นต้องเสริมบุคลิกภาพด้วย
สิ่งเหล่านี้เสมอไป
1.3 กิริยามารยาท บุคลิกภาพส่วนนี้เป็นความประพฤติและการปฏิบัติส่วน
บุคคลต่าง ๆ ในสังคมนั้นเอง กิริยามารยาทดีก็คือ การวางตัวให้ถูกกาลเทศะ ให้เหมาะกับ
บุคคลที่สนทนาด้วย โดยมีบุคลิกภาพเป็นพื้นฐานที่สาคัญที่สุด กิริยามารยาทของครูนั้น
อาจแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
1) บุคคลที่มีศักดิ์สูงกว่าตน ได้แก่ ผู้บังคับบัญชา ครูที่มีอาวุโสกว่า
ตลอดจน ผู้ปกครองทั่วไป ครูควรวางตัวโดยยึดแบบขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมไทย
โดยเคร่งครัด การมีสัมมาคารวะ โดยไม่ตีตนเสมอท่าน รู้จักอ่อนน้อมถ่อมตน แต่ก็ไม่
จาเป็นถึงขั้นประจบประแจง หรือพินอบพิเทา
2) ผู้มีศักดิ์เสมอตน ได้แก่ เพื่อนครูด้วยกัน ตลอดจนเพื่อนฝูงต่างอาชีพ
หรือข้าราชการต่างสังกัด ครูควรวางตัวให้มีขอบเขตไม่ล่วงล้าสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่น
และต้องระลึกไว้เสมอว่า กิริยาที่สุภาพต่อกันเป็นแบบแผนของความประพฤติที่ดี แต่ต้อง
ไม่เคร่งครัดเป็นพิธีการอยู่ตลอดเวลาจนเป็นอุปสรรคต่อสัมพันธภาพ แต่ต้องระวังไม่ทาตน
เหนือคนอื่น
3) ผู้มีศักดิ์ต่ากว่าตน ได้แก่ ศิษย์ บุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนเพื่อนครูที่
อาวุโสน้อยกว่า ครูควรวางตัวโดยให้ความเมตตาและเจตนาดี ไม่โอ้อวดหรือย้าสิทธิของ
ตนว่าเหนือกว่า หรือข่มขู่วางอานาจเพราะการสร้างความเคารพนั้นไม่ได้เกิดจาก
การประกาศศักดา
สาหรับกิริยามารยาทที่ดีนั้น เจ้าพระยาสมเด็จสุเรนทราธิบดี (ม.ร.ว. เปีย มาลากุล)
อธิบายไว้ในหนังสือสมบัติผู้ดีว่า ผู้ดีต้องรักษาความเรียบร้อยทั้งกายจริยา วจีจริยา และ
มโนจริยาดังนี้
269
กายจริยาคือ
1. ย่อมไม่ใช้กิริยา อันข้ามกายบุคคล
2. ย่อมไม่อาจเอื้อในตาแหน่งที่สูง
3. ย่อมไม่ล่วงเกินถูกต้องผู้อื่นซึ่งไม่ใช่หยอกกันฐานะเพื่อน
4. ย่อมไม่เสียดสีกระทบกระทั้งกายบุคคล
5. ย่อมไม่ลุกนั่งเดินเหินให้พรวดพราดโดนคนหรือสิ่งของแตกเสียหาย
6. ย่อมไม่ส่งของให้ผู้อื่น ด้วยกิริยาอันเลือกใสผลัดโยน
7. ย่อมไม่ผ่านหน้าหรือบังตาผู้อื่น
8. ย่อมไม่เอะอะเมื่อเวลาผู้อื่นทากิจ
9. ย่อมไม่อื้ออึงในเวลาประชุมสดับรับฟัง
10. ย่อมไม่แสดงกิริยาตึงตัง หรือพูดจาอึกทึกในบ้านแขก
วจีจริยาคือ
1. ย่อมไม่สอดสวนวาจาหรือแย่งชิงพูด
2. ย่อมไม่พูดด้วยเสียงอันดังเหลือเกิน
3. ย่อมไม่เสียงดังตวาดหรือพูดจา กระโชก กระชาก
4. ย่อมไม่ใช้วาจาอันหักหารดึงดัง
5. ย่อมไม่ใช้ถ้อยคาอันหยาบคาย
มโนจริยาคือ
1. ย่อมไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่านกาเริบหยิ่งโยโส
2. ย่อมไม่บันดาลโทสะให้เสียกิริยา
2. บุคลิกภาพทางสังคม
บุคลิกภาพทางสังคมเป็นบุคลิกภาพที่แสดงออกให้ผู้อื่นพบเห็นได้ เช่นเดียวกับ
บุคลิกภาพทางร่างกาย เพียงแต่บุคลิกภาพทางสังคมนั้นอาจมีผลจากบุคลิกภาพกายใน
ของบุคคลนั้น ๆ เป็นแรงขับที่สาคัญมาก โดยเฉพาะค่านิยมทางสังคมทัศนคติ เจตคติ
ตลอดจนคุณธรรม บุคลิกภาพทางสังคมของครู ได้แก่
2.1 มารยาทที่ดีงาม มารยาทนอกจากเป็นบุคลิกภาพทางกายแล้ว ยังเป็น
บุคลิกภาพทางสังคมที่สาคัญที่สุดของครู การมีสัมมาคารวะ วาจาอ่อนหวาน พูดจา
ไพเราะ รู้จักอ่อนน้อม ถ่อมตน องอาจ สง่าผ่าเผย รู้จักทักทาย ล้วนเป็นมารยาทที่เสริม
บุคลิกภาพทางสังคมดีทั้งสิ้น
270
2.2 ความจริงใจ เป็นบุคลิกภาพที่สาคัญมากในการสอน ครูที่สอนอย่างจริงใจจะมี
ความจริงจังน่าเชื่อถือ นอกจากนี้ความจริงใจยังช่วยให้คนเชื่อถือช่วยให้คนมีมิตรแท้ มีผู้
อยากสนิทสนมด้วย
2.3 ความรับผิดชอบ เป็นบุคลิกภาพที่ช่วยทาให้เป็นคนที่ได้รับความเชื่อถือจาก
บุคคลอื่นคนในสังคม
2.4 ความซื่อสัตย์ ช่วยเสริมสร้างเกียรติยศและความเลื่อมใสให้กับบุคคลต่าง ๆ
2.5 รู้จักผ่อนปรน เป็นบุคลิกอย่างหนึ่งที่ช่วยรักษาน้าใจและประสานความรู้สึกที่ดี
ต่อกัน
นอกจากที่กล่าวมาแล้วครูปฐมวัยยังมีลักษณะทางกายที่สาคัญดังต่อไปนี้
1. ความสะอาดของร่างกาย เป็นความสะอาดภายนอกที่บุคคลทั่วไปมองเห็นได้
สัมผัสได้ตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า ได้แก่
1.1 เล็บ เล็บมือและเท้าควรสะอาดและสั้น
1.2 ใบหน้า ต้องดูแลให้สะอาด ตกแต่งให้สวยงามพอเหมาะพอควรไม่แต่งหน้า
มากจนเกินไป
1.3 ผม ทาผมให้สะอาดเรียบร้อยเหมาะสมกับใบหน้า
1.4 ฟัน ควรรักษาความสะอาด ให้อยู่ในลักษณะที่กลิ่นสะอาดไม่ควรปล่อยให้
เหลืองดา
1.5 กลิ่นตัว ควรรู้จักรักษาให้ปราศจากกลิ่น
ความสะอาดของร่างกายดังกล่าวเป็นสิ่งสาคัญยิ่ง นอกจากความสะอาดของ
เครื่องแต่งกาย เพราะจะทาให้ผู้พบเห็นมีความรู้สึกดีประทับใจ เกิดความศรัทธาในตัวครู
และความสะอาดของครูจะเป็นรูปแบบที่ดีสาหรับเด็ก
2. การแต่งกาย ครูปฐมวัยเป็นผู้ที่แต่งกายให้ดูเรียบร้อย สุภาพ สวยงามเหมาะสม
กับเด็กวัยและหน้าที่ และไม่จาเป็นต้องทันสมัย แต่ไม่ควรล้าสมัยจนเกินไป ควรแต่งกายให้
สามารถปฏิบัติงานได้สะดวก สามารถเคลื่อนไหวได้คล่องตัว และไม่สมควรสวม
เครื่องประดับที่อาจจะเป็นอันตรายต่อเด็ก เช่น เข็มกลัดที่มีส่วนแหลม ต่างหู เป็นต้น
3. การพูดจา ครูปฐมวัยจะต้องระมัดระวังเรื่องการใช้คาพูด ควรพูดจาสุภาพ
อ่อนโยนพูดให้ชัดเจน ใช้คาพูดที่เข้าใจง่ายและไพเราะ ไม่ใช้คาพูดที่หยาบ คาแสลง ไม่ใช้
สรรพนามเรียกเด็ก หรือใช้วาจาเหย้าแหย่เด็กในลักษณะล้อเล่น หรือกระทบจิตใจในทาง
ลบ เช่น เป๋ โย่ง เหล่ เตี้ย อ้วน เป็นต้น
271
4. กิริยามารยาท ครูปฐมวัยควรมีมารยาทงาม ท่าทางสง่างาม รู้จักกาลเทศะ รู้จัก
มารยาทต่าง ๆ ตามแบบที่ดีที่ใช้ในสังคมไทย ทั้งมารยาทในการเดิน นั่ง ยืน ฯลฯ เพื่อให้
เป็นตัวอย่างที่ดีแก่เด็ก
5. ยิ้มแย้ม ครูปฐมวัยจะต้องปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น สัมพันธ์กับผู้ปกครอง และ
สัมพันธ์กับเด็กตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน ครูปฐมวัยจะต้องยิ้มแย้มเสมอ
6. คล่องแคล่วว่องไว ธรรมชาติของเด็กเคลื่อนไหวซุกซนตลอดเวลา ครูปฐมวัย
จะต้องเป็นผู้ที่มีความคล่องแคล่วว่องไวสามารถติดตามดูแลเด็กได้ทัน
7. สุขภาพ ครูปฐมวัยมีหน้าที่ดูแลเด็กปฐมวัยทั้งวัน และมีกิจกรรมที่ครูต้องยืน
เดิน หรือเคลื่อนไหวตลอดเวลา ดังนั้นครูจึงจาเป็นต้องรักษาสุขภาพให้แข็งแรง ครูจึงต้อง
ทางานบางอย่างที่เด็กไม่สามารถจะช่วยเหลือได้
3. คุณลักษณะทางจิตใจของครูปฐมวัย
ครูปฐมวัยมีลักษณะพิเศษไม่เหมือนครูผู้สอนในระดับอื่น ๆ เพราะไม่ได้ทาหน้าที่
สอนเพียงอย่างเดียว ต้องทาหน้าที่เป็นทั้งแม่ ตลอดจนเป็นเพื่อนเล่น และเด็กต้องการเอา
ใจใส่เป็นพิเศษ ดังนั้นครูปฐมวัยจึงต้องมีจิตใจหรือจิตสานึกของความเป็นครู ซึ่งเป็นเรื่อง
ของนามธรรม ลักษณะทางจิตใจมีดังต่อไปนี้
1. รักเด็ก การให้ความรักความอบอุ่นแก่เด็กเป็นความรู้สึกที่ละเอียดอ่อนและ
ลึกซึ้ง ครูปฐมวัยจะต้องรักเด็กอย่างแท้จริง จึงจะอยู่กับเด็กได้อย่างมีความสุข
2. เมตตา กรุณาเด็กจะมีความเมตตากรุณาถ้าเด็กได้รับการอบรมดูแลด้วย
ความเมตตากรุณาเอื้ออาทรห่วงใยเด็กทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ผลที่ได้รับจะทาให้เด็กว่า
ง่ายสอนง่าย เป็นเด็กดี ดังนั้นครูปฐมวัยจะต้องเป็นคนมีความเมตตากรุณาเป็นผู้ที่มีจิตใจ
รักเอื้ออาทรแก่เด็ก
3. อารมณ์ดี ครูปฐมวัยจะต้องเป็นผู้ที่ควบคุมอารมณ์ อดทนอดกลั้นต่อทุกสิ่งได้ดี
ไม่ควรแสดงอารมณ์โกรธ เกลียด โมโหง่าย ไม่ทาให้เด็กสะเทือนใจ ไม่ตื่นตระหนกตกใจ
เอะอะโวยวาย และมีอารมณ์สนุกร่วมกับเด็กเวลาทากิจกรรมต่าง ๆ
4. ใจเย็น ครูปฐมวัยจะต้องทาตัวให้เหมือนพ่อแม่เด็ก ครูจะต้องรับความจริงว่า
เด็กแต่ละคนได้รับการอบรมเลี้ยงดูและการฝึกจากทางบ้านที่มีสภาพแวดล้อมแตกต่างกัน
เด็กอาจจะแสดงกิริยาท่าทาง หรือวาจาที่ไม่น่าพึงพอใจต่อบุคคลต่าง ๆ ในสถานศึกษา ครู
ไม่ควรคิดว่าการแสดงออกของเด็กปฐมวัยที่ไม่เหมาะสมนั้น เป็นการแสดงออกเพื่อเป็น
ปฏิปักษ์ต่อครู แต่ครูจะต้องใจเย็นและทาตนให้เป็นมิตรกับเด็ก
272
5. อดทน การที่ครูมีจิตใจที่เข้มแข็งสามารถเผชิญกับสภาวะที่ไม่พึงพอใจได้
บ่อยครั้งที่เด็กอาจจะเลอะเทอะ เปรอะเปื้อน หรือทาในสิ่งที่เกิดความเสียหายและ
ผิดพลาด สิ่งเหล่านี้ถือว่าเป็นประสบการณ์ที่สาคัญสาหรับเด็ก ครูจะต้องเข้าใจเด็กและ
อดทน ให้อภัยแก่เด็กด้วยความเต็มใจ
6. ซื่อสัตย์ ผู้ที่มีความซื่อสัตย์ย่อมประพฤติตรงไปตรงมา ทั้งกาย วาจา และใจ ทั้ง
ต่อตนเองและผู้อื่น ต่อหน้าที่การงาน เป็นต้น การปฏิบัติงานในสถานศึกษาปฐมวัย มี
บุคลากรที่ปฏิบัติงานหลายหน้าที่อยู่ร่วมกัน ทุกคนจะต้องมีความซื่อสัตย์ต่อกัน จะทาให้
การทางานลุล่วงและอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข
7. ขยัน งานในหน้าที่ครูปฐมวัยในแต่ละวันจะมีความเกี่ยวข้องกัน เริ่มตั้งแต่ก่อนที่
เด็กจะมาถึงโรงเรียน ครูจะต้องเอาใจใส่ต่อหน้าที่ของตนเองอยู่เสมอ ไม่ท้อถอย เพื่อให้
งานบรรลุเป้าหมาย และมีความกระตือรือร้นในการทางาน เป็นการฝึกความรับผิดชอบต่อ
ตนเองในขั้นพื้นฐาน
8. มีมนุษยสัมพันธ์ ครูปฐมวัยจะต้องเป็นบุคคลที่จะต้องปฏิบัติตนให้เป็นผู้ที่มี
มนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคลากรในสถานศึกษา และบุคลากรภายนอก นอกจากนั้นยังเป็น
บุคคลสาคัญในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบ้านกับโรงเรียน และจะทาให้ผู้ปกครองเด็ก
มีความเชื่อถือไว้วางใจครู และทางโรงเรียน
9. มีวินัย การปฏิบัติตนให้อยู่ในกฎระเบียบและวัฒนธรรม สามารถควบคุมกาย
วาจา ใจรวมถึงการประพฤติตนให้อยู่ในศีลธรรมอันดี
10. มีความเป็นระเบียบ สะอาด และประหยัด พร้อมทั้งฝึกเด็กให้เคยชินด้วย
การจัดสภาพห้องเรียน เช่น จัดมุมเล่นของเด็กให้เป็นระเบียบ สะอาด และรู้จักรักษา ช่วย
ซ่อมแซมวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ
11. วาจาสุภาพ มีน้าเสียงอ่อนโยน และการพูดกับเด็กต้องใช้คาพูดสุภาพเสมอ จะ
ช่วยเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็ก จะทาให้เด็กมีวาจาที่ดีด้วย และประโยคที่พูดกับเด็กจะต้อง
เป็นประโยคที่สมบูรณ์และชัดเจน
12. ยุติธรรมและตัดสินใจดี ครูปฐมวัยจะต้องมีความยุติธรรม เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น
จะต้องพิจารณาปัญหาอย่างรอบคอบ วางตนเป็นกลาง รู้จักเหตุและผล ตัดสินปัญหาตาม
เหตุและผล และสามารถตัดสินใจกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะแก้ปัญหาได้
13. เข้าใจธรรมชาติและความต้องการของเด็ก เด็กเล็ก ๆ ยังต้องการความดูแล
เอาใจใส่อย่างใกล้ชิด ครูผู้สอนควรให้ความอบอุ่นแก่เด็กเสมือนคนในครอบครัวของตนเอง
สิ่งนี้จะช่วยให้เด็กอยากมาโรงเรียน ดังนั้นครูผู้สอนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก
และสามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้านต่าง ๆ ได้
273
14. ชอบศิลปะ ครูผู้สอนระดับปฐมวัยควรมีความสามารถในการวาดภาพ การร้อง
เพลง การทางานฝีมือ เล่นดนตรี สิ่งเหล่านี้จะช่วยสอนเด็กได้เป็นอย่างดี
15. สุขภาพดี ครูควรดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ยิ่งอยู่กับเด็กเล็กมากเท่าใด ครูจะต้อง
ระวังในเรื่องสุขภาพให้มาก เพราะจะต้องพูด จะต้องเคลื่อนไหวอยู่เสมอ บางทีจะต้องเล่น
กับเด็ก
16. มีความคล่องแคล่ว ว่องไว การอยู่กับเด็กเล็ก ๆ ซึ่งซุกซนและเคลื่อนไหวอยู่
เสมอ ครูปฐมวัยจึงต้องคล่องแคล่วว่องไว กระฉับกระเฉง สามารถติดตามเด็กได้ทัน
(เยาวพา เดชะคุปต์. 2542 : 110 -111)
3. คุณลักษณะด้านคุณวุฒิ
ในปัจจุบันคุณลักษณะที่สาคัญอย่างหนึ่งของครูปฐมวัยประการหนึ่งคือ
คุณลักษณะตามคุณวุฒิ ซึ่งถือว่าเป็นคุณสมบัติที่สาคัญมาก เพราะคุณวุฒิจะเป็นสิ่งที่จะ
บ่งบอกได้ว่าบุคคลที่จะเข้ามาทาหน้าที่ในบทบาทของครูปฐมวัยนั้นมีความรู้ความสามารถ
เพียงพอในการทาหน้าที่ ซึ่งคุณลักษณะด้านคุณวุฒิมีดังนี้
1. สาเร็จการศึกษาด้านการศึกษาปฐมวัย หรือการศึกษาสาขาอื่น ๆ และผ่าน
การอบรมความรู้ด้านการศึกษาปฐมวัย
2. มีความรู้ด้านจิตวิทยาเด็ก จิตวิทยาพัฒนาการ โดยมีความเข้าใจพัฒนาการเด็ก
อย่างแม่นยา
3. มีความรู้ด้านหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สามารถพัฒนาหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัยได้
4. มีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมได้ตามหลักสูตรและหลักการจัด
การศึกษาในระดับปฐมวัย
5. มีความรู้ในการพัฒนาสื่อสาหรับเด็กปฐมวัยที่เหมาะสมกับกิจกรรมแต่ละ
กิจกรรมที่จัดให้กับเด็ก
6. มีความรู้ในการประเมินพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นรายบุคคล
7. มีความรู้ในด้านการประกันคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัย
8. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัย และสามารถทาวิจัยในระดับปฐมวัย และ
นาเอาผลการวิจัยมาประยุกต์ใช้ได้
5. คุณลักษณะด้านความสามารถ
274
1. มีความสามารถในการวางแผนการจัดประสบการณ์ การดาเนินงานในชั้นเรียน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. มีความสามารถในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่อบอุ่น ที่เอื้อต่อ
การพัฒนาเด็กทุกด้าน
3. มีความสามารถในการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย โดยให้โอกาสเด็กเลือกและ
ตัดสินใจในการปฏิบัติตามความสนใจและความต้องการของเด็ก
4. มีความสามารถในการจัดกิจกรรม โดยให้เด็กได้ฝึกทักษะการคิด การเรียนรู้
จากการปฏิบัติจริง ตามแนวการจัดประสบการณ์ของหลักสูตรและแผนการจัดกิจกรรม
5. มีความสามารถในการเล่านิทาน การพูด การเตรียมเด็กให้พร้อมโดยใช้วิธีการ
ต่าง ๆ
6. มีความสามารถในการจัดกิจกรรมในรูปแบบการบูรณาการ ให้เด็กเรียนรู้ผ่าน
การเล่นอย่างมีความสุข
7. มีความสามารถในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้กับเด็กโดยผ่านกิจกรรมต่าง ๆ
8. มีความสามารถในการจัดหาและผลิตสื่อ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
9. มีความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี และสามารถนามาใช้ใน
การจัดการเรียนการสอนได้
10. มีความสามารถในการประเมินพัฒนาการที่หลากหลาย และมีการจัดเก็บ
ข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อสรุปการประเมินผลพัฒนาการและนาไปพัฒนาเด็ก
6. คุณลักษณะด้านอุดมการณ์ในวิชาชีพครู
1. รักและศรัทธาต่ออาชีพครู
2. อุทิศเวลา กาลังกาย กาลังใจ และกาลังสติปัญญาให้กับงานวิชาชีพครู
3. มีความสานึกในหน้าที่ของความเป็นครู ปฏิบัติงานในหน้าที่อย่างเต็ม
ความสามารถ
4. มีความภูมิใจในความเป็นครูปฐมวัย ซึ่งเป็นผู้วางรากฐานที่ดีให้กับเด็กที่จะ
เติบโตเป็นผู้ใหญ่ในอนาคต
5. มีความมุ่งมั่นไม่ทอดทิ้ง และเบื่อหน่ายต่อการสอน
6. มีความเชื่อว่าเด็กแตกต่างกัน การจัดประสบการณ์จึงเน้นเด็กเป็นสาคัญ และ
ช่วยพัฒนาเด็กให้เต็มศักยภาพ
275
7. มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอเพื่อพัฒนาตนเอง ซึ่งจะเกิดผลดีต่อ
เด็กและเพื่อนครู
7. คุณลักษณะด้านมนุษยสัมพันธ์
1. ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดี ปรับตัวเข้าบุคคลทุกระดับได้อย่างเหมาะสม
2. ยอมรับความคิดเห็นและความสามารถของบุคคลอื่น
3. เข้าใจความรู้สึก และความต้องการของผู้ปกครอง
4. มีสัมพันธภาพที่ดีกับเด็ก ปฏิบัติต่อเด็กทุกคนอย่างเท่าเทียมกันและเป็นกันเองกับ
ทุกคน
5. มีสัมพันธภาพที่ดีต่อบุคคลและหน่วยงานอื่น มองบุคคลอื่นและมองโลกในแง่ดี
6. มีศิลปะในการพูด ใช้คาพูดต่อเด็ก เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง และบุคคลทั่วไปได้
อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์
8. คุณลักษณะด้านจริยธรรมและคุณธรรม
1. มีความเมตตา กรุณา ซื่อสัตย์สุจริต
2. มีความโอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความขยันหมั่นเพียร
3. มีความเชื่ออย่างมีเหตุผลไม่หลงงมงาย
4. มีสติมั่นในการคิดและการกระทา
5. มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี
6. มีความเป็นกัลยามิตรกับเด็ก เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครองและบุคคลอื่น
7. รักเด็กเอาใจใส่ให้ความดูแลช่วยเหลือเมื่อเด็กมีปัญหา
8. ปฏิบัติตนในจรรยาบรรณวิชาชีพครู
คุณลักษณะของครูปฐมวัยตามสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ยังได้กาหนด
มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติของครูปฐมวัยไว้ 2 มาตรฐาน ดังนี้
1. มาตรฐานที่ 9
2. มาตรฐานที่ 10
276
1. มาตรฐานที่ 9 ครูมีคุณธรรมจริยธรรม มี วุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงาน
ที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง มีทั้งหมด 7 ตัวบ่งชี้
ดังนี้
9.1 มีคุณธรรมจริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
9.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก ผู้ปกครองและชุมชน
9.3 มีความมุ่งมั่นในการอุทิศตน ในการสอนและพัฒนาเด็ก
9.4 มีการแสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ ๆ รับฟังความคิดเห็นใจกว้างและ
ยอมรับการเปลี่ยนแปลง
9.5 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่าขึ้นไป
9.6 สอนตรงตามวิชาเอก – โท หรือตรงตามความถนัด
9.7 มีจานวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครูหรือบุคลากรสนับสนุน)
2. มาตรฐานที่ 10 ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็นสาคัญ มีทั้งหมด 7 ตัวบ่งชี้ดังนี้
10.1 มีความรู้ความเข้าใจเป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย
10.2 มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล
10.3 มีความสามารถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ
10.4 มีความสามารถในการใช้สื่อที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็ก
10.5 มีการประเมินพัฒนาการของเด็กตามสภาพจริงโดยคานึงพัฒนาการตามวัย
10.6 มีการนาผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลี่ยนการจัดประสบการณ์ เพื่อ
พัฒนาให้เด็กเต็มตามศักยภาพ
10.7 มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและนาผลไปใช้พัฒนาเด็ก (สานักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. 2548. 52 – 54)
4. บทบาทของครูปฐมวัย
ครูปฐมวัยเป็นบุคคลที่มีความสาคัญยิ่งต่อเด็ก ซึ่งเป็นผู้ที่มีความสาคัญใน
การส่งเสริมพัฒนาการของเด็กเป็นอย่างมาก เยาวพา เดชะคุปต์ (2542 : 114 – 119
อ้างอิงจาก ลัดดา นีละมณี. 2524 : 216 – 262) ได้กล่าวถึงบทบาทของครูปฐมวัยที่ควร
พิจารณา มีดังนี้
277
1. การปฏิบัติของครูปฐมวัยต่อเด็ก ครูปฐมวัยจะต้องมีความเข้าใจธรรมชาติของ
เด็กปฐมวัยในเรื่องต่อไปนี้
1.1 เด็กไม่ชอบอยู่นิ่ง ชอบเคลื่อนไหว อยากรู้ อยากเห็น ครูจะต้องมีการจัด
กิจกรรมอยู่เสมอ
1.2 ชอบเล่น เด็กต้องการโอกาสที่จะได้เล่นอย่างร่าเริงแจ่มใส
1.3 เด็กมีระยะเวลาความสนใจสั้น เกณฑ์เฉลี่ยช่วงระยะเวลาความสนใจของ
เด็กปฐมวัยในการเล่นเครื่องเล่นมีดังนี้
เด็กอายุ 2 ปี มีระยะความสนใจประมาณ 7 นาที
เด็กอายุ 3 ปี มีระยะความสนใจประมาณ 8.9 นาที
เด็กอายุ 4 ปี มีระยะความสนใจประมาณ 10.10 นาที
เด็กอายุ 5 ปี มีระยะความสนใจประมาณ 13.60 นาที
1.4 สนใจสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้ตัว ชอบสีต่าง ๆ ที่แปลกตา ชอบรูปภาพ
1.5 เบื่อง่าย เด็กจะเบื่อเมื่อเห็นของเก่า ๆ ซ้า ๆ ซาก ๆ อยู่นานเป็นแรมสัปดาห์
แรมเดือน แรมปี
2. รู้ความต้องการของเด็ก เด็กแต่ละคนอาจจะมีความต้องการในบางสิ่งบางอย่าง
แตกต่างกันออกไปบ้าง แต่โดยทั่วไปแล้วเด็กจะมีความต้องการตรงกันในเรื่องต่อไปนี้
2.1 ความรัก เด็กทุกคนต้องการความรักอย่างสม่าเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย
โดยเฉพาะความรักจากพ่อแม่และบุคคลที่ใกล้ชิด
2.2 ความปลอดภัย เด็กทุกคนต้องการความปลอดภัยทางร่างกาย คือ อาหาร
เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม ต้องการความปลอดภัยทางสังคม คือ เพื่อน โดยเฉพาะเพื่อนในวัย
เดียวกัน ทางจิตใจ ต้องไม่ถูกรบกวน รังแก รังควานจากผู้ใด เด็กจะเป็นสุขเมื่อได้รับ
ความปลอดภัยเหล่านี้
2.3 การยอมรับว่าเป็นบุคคลสาคัญคนหนึ่ง ต้องการให้มีการยอมรับว่าเขาเป็น
บุคคลสาคัญคนหนึ่งในบ้าน ในชั้นเรียน ในกลุ่ม ของสถานศึกษา อยากจะช่วย อยากแสดง
ความสามารถ เพื่อจะให้ได้รับคายกย่องชมเชย
2.4 ความเป็นคนสาคัญของตัวเอง อยากทดลอง อยากทา อยากรู้ อยากเห็น
เด็กจะพยายามทาทุกสิ่งทุกอย่างด้วยตัวเอง ต้องการช่วยตนเอง เด็กจะมีความสุขและ
ภาคภูมิใจเมื่อทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งประสบความสาเร็จด้วยตัวเอง
2.5 การเลียนแบบผู้ใหญ่ เด็กจะประพฤติตนตามแบบอย่างผู้ที่เด็กรัก และอยู่
ใกล้ชิดกับเด็ก ดังนั้นผู้ใหญ่ เช่น พ่อ แม่ ครู จะต้องปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก
278
2.6 การเหนี่ยวรั้งควบคุมตัวเอง ต้องการแนะนาซักจูง มีคนคอยเอาใจใส่ให้
กาลังใจ
2.7 การยึดถือ เชื่อมั่น เพื่อยึดเป็นแนวทางปฏิบัติในทางที่เหมาะที่ควร ปฏิบัติ
ด้วยความเชื่อมั่น เพื่อเป็นแนวหรือวิถีชีวิตนาเด็กให้เชื่อฟังเคารพนับถือ เชื่อฟังคาสั่งสอน
ของศาสนาที่ตนนับถือ
2.8 คาแนะนาและเหตุผล เด็กจะคอยซักถาม ทั้งนี้เพราะต้องการคาแนะนาที่
ถูกต้อง ต้องการทราบเหตุผลจากผู้ใหญ่ เช่น พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ครู เป็นต้น
3. ให้ความอบอุ่นแก่เด็ก ครูแสดงความสนใจและให้ความอบอุ่นอย่างจริงใจกับ
เด็กแต่ละคนอย่างทั่วถึง โดยไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ด้วยการปฏิบัติดังต่อไปนี้
3.1 แสดงให้เด็กเห็นว่าครูรักเด็กเสมอ พร้อมที่จะให้อภัยในความผิดพลาดของ
เด็ก และยังคิดว่าเด็กเป็นบุคคลที่มีคุณค่าเสมอ
3.2 ยอมรับความจริงในความแตกต่างระหว่างบุคคล ไม่ดูถูกเหยียดหยามเด็ก
พยามหลีกเลี่ยงไม่ให้มีการเปรียบเทียบ ซึ่งจะทาให้เกิดความอิจฉาริษยา
3.3 ควรให้โอกาสเด็กแต่ละคนได้ประสบความสาเร็จด้วยความภูมิใจโดยปล่อย
ให้เด็กทาอะไรเสร็จก่อนเพื่อนในชั้นบ้าง
3.4 พยายามมองหาส่วนที่ดีของเด็ก ใช้วิธีการชมอย่างฉลาดเพื่อให้เด็กเกิด
ความภาคภูมิใจ ไม่ควรอย่างยิ่งที่จะปล่อยให้เด็กหัวเราะเยาะเพื่อนเมื่อทาผิดพลาด
3.5 ใช้วิธีละมุนละไมในการปกครองเด็ก ไม่ควรทาโทษ หยิกเด็ก ควรใช้วิธีเตือน
ด้วยสายตา หรือให้อาณัติสัญญาณ เพียงให้เด็กรู้สึกตัวเมื่อเด็กทาผิด และไม่ควรให้เด็กทั้ง
ชั้นเดือดร้อนเพราะความผิดของเด็กเพียงส่วนน้อยหรือเพียงคนเดียว
4. การจัดกิจกรรมที่เหมาะสมให้กับเด็ก เนื่องจากเด็กทุกคนไม่ชอบหยุดนิ่งจะต้อง
มีกิจกรรมอยู่ตลอดเวลา ฉะนั้นในการจัดกิจกรรมสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมความพร้อมใน
การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยจึงเป็นเรื่องสาคัญมาก ควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้เห็นมาก ๆ ได้
ฟังมาก ๆ หรือช่วยให้เข้าใจความหมายจะทาให้เด็กอยากเห็นอยากฟัง อยากรู้มากขึ้น และ
ยิ่งเด็กได้รับรู้ ได้ประสบการณ์จากการได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง ความรู้ประสบการณ์ก็จะ
กว้างขวางออกไปทุกที จะทาให้เด็กมีประสบการณ์มากขึ้น มีความสามารถเกิดการเรียนรู้
ยิ่งขึ้น ดังนั้นการจัดกิจกรรมที่มีความเหมาะสมกับเด็กปฐมวัย ควรคานึงถึงเรื่องต่อไปนี้
4.1 การจัดกิจกรรมโดยเปิดโอกาสหลาย ๆ ทาง ให้เด็กได้คิดค้นด้วยตนเอง
ปล่อยให้ใช้ความคิดอย่างเต็มที่โดยไม่เร่งเด็ก ปล่อยให้เด็กตัดสินใจเอง มอบงานให้
รับผิดชอบตามความสามารถ ช่วยเหลือเด็กเมื่อจาเป็นจริง ๆ ให้เด็กซักถาม ช่วยในสิ่งที่
279
เกินความสามารถ ฯลฯ ให้เด็กได้ใช้ความคิดของตนเอง เพราะสิ่งที่เด็กคิดย่อมส่งผลต่อ
ความภาคภูมิใจ เข้าใจลึกซึ้งกว่า และจาได้นานกว่าสิ่งที่ผู้อื่นบอกให้
4.2 การจัดการ ต้องนึกถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล คนเราถึงแม้ว่าอายุ
เท่ากัน อยู่ในวัยเดียวกัน แต่ความสามารถ ระยะเวลา ความสนใจ ตลอดจนรูปร่าง
สติปัญญาอาจจะไม่เท่ากัน ฉะนั้นควรจัดกิจกรรมให้เด็กตามความสามารถที่จะทา
กิจกรรมนั้น ๆ ให้สาเร็จ เพื่อไม่ให้เกิดความท้อถอย คอยสนใจการกระทาของเด็กเลือกหา
ที่ชมเชย คอยซักถาม คอยดูแลให้กาลังใจ
4.3 ทาตัวอย่างที่ดีให้เด็กเลียนแบบ เพราะเด็กชอบเลียนแบบผู้ที่ใกล้ชิด ผู้ที่เด็ก
รัก ควรปล่อยให้เด็กได้ใช้ความพยายามของเด็กเอง เพื่อหาวิธีที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหาด้วย
ตนเอง ให้เด็กได้แสดงความสามารถอย่างสุดฝีมือ ครูควรช่วยแนะนาเพียงเล็กน้อย เพราะ
คนเราเรียนรู้หลายอย่างโดยไม่มีครู หรือใคร ๆ สอน ปล่อยให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างอิสระ ไม่
ควรเข้าไปขัดขวางขณะที่เด็กกาลังทากิจกรรม ปล่อยให้เด็กใช้ความสามารถของตนเอง
อย่างเต็มที่ แต่ต้องคอยดูแลอย่างใกล้ชิด คอยเติมความรู้ให้ คอยสนับสนุนให้พูด ให้
แสดงออก คอยตั้งคาถามให้เด็กพูด ให้เด็กคิด ให้เด็กแสดงออกมาก ๆ
4.4 ครูปฐมวัยควรเล่นกับเด็ก แต่อย่าพยายามเล่นจนเด็กเหนื่อย เด็กบางคน
กลัว การแข่งขัน ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงการเปรียบเทียบว่า คนนั้นดีกว่า คนนี้ดีกว่า พี่เก่งกว่า
น้องเก่งกว่า ฯลฯ ทางที่ดีควรยกย่องชมเชยผลงานของเด็กแต่ละคนจะดีกว่า
4.5 จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เด็กหาประสบการณ์ตามสิ่งที่ต้องการ จัดห้องเรียน
สาหรับเด็กให้เป็นห้องทางาน จัดวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม เด็กอาจจะเล่นน้า เล่นทราย เล่น
บล็อก ปั้นดินเหนียว ระบายสี ซึ่งจะมีการเตรียมที่เก็บวัสดุให้แก่เด็ก วัสดุอุปกรณ์เหล่านี้
จะช่วยให้เด็กได้ค้นคว้าทดลอง ทาให้ประสบการณ์ของเด็กกว้างขวางมากขึ้น พยายามเก็บ
สิ่งที่เป็นอันตรายออก ให้มีความปลอดภัยแก่เด็ก ครูไม่ต้องคอยห้ามเด็กตลอดเวลา ให้เด็ก
ได้ทดลอง ได้กระทา ได้ปฏิบัติอยู่ตลอดเวลา สิ่งเหล่านี้จะเป็นสิ่งที่จะกระทาให้เด็กเกิด
การเรียนรู้ตลอดเวลา และขยายประสบการณ์ของเด็กเพิ่มมากขึ้น
5. การประเมินความพร้อมในการเรียนรู้ เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่กาลังเจริญเติบโต
ความสามารถและการแสดงออกอาจจะเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม การจัดกิจกรรมและ
ประสบการณ์ การประเมินผลสาหรับเด็กไม่ใช่การตัดสินแบบได้หรือตก แต่เป็น
การประเมินในเรื่องการวัดพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือทางด้านร่างกาย ทางด้านอารมณ์
ทางด้านสังคม และทางด้านสติปัญญา เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมและแก้ไขลักษณะ
นิสัยต่าง ๆ ที่ไม่พึงประสงค์ ถ้าเด็กได้แสดงพฤติกรรมในทางไม่ดี ถ้าเด็กทาบ่อย ๆ จะ
กลายเป็นนิสัยติดตัวเด็กจนโต จึงจาเป็นต้องประเมินความพร้อมของเด็กปฐมวัย และควร
280
ใช้หลาย ๆ วิธี เช่น การสังเกต การสนทนา การตรวจผลงาน การสอบปากเปล่า และ
การทดสอบ เป็นการประเมินผล ควรจะได้มีการบันทึกพฤติกรรมเด็กเป็นระยะ ๆ เพื่อจะ
ได้นาข้อมูลมาประกอบการพิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุงวิธีการส่งเสริมความพร้อม
ในการเรียนรู้ของเด็กต่อไป
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2523 : 352 – 475) ได้เสนอ
บทบาทของครูปฐมวัยมีดังต่อไปนี้
1. บทบาทในฐานะที่เป็นแบบอย่างแก่เด็ก ได้แก่
1.1 มีบุคลิกภาพเป็นแบบอย่างที่ดี ได้แก่ กิริยาท่าทาง การแต่งกาย การทรงตัว
การพูดจาที่เหมาะสมตามสภาพของวัฒนธรรมท้องถิ่น
1.2 ใช้เสียงอ่อนโยน สุภาพ และประโยคที่ควรพูดควรเป็นประโยคที่ชัดเจน
1.3 ฝึกความมีระเบียบ ความสะอาด ความประหยัด โดยการจัดสภาพห้องเรียน
มุมเล่นของเด็ก ให้เคยชินกับความเป็นระเบียบ และความสะอาด การรู้จักเก็บรักษาและ
ซ่อมแซมวัสดุอุปกรณ์
1.4 ปฏิบัติต่อเด็กทุกคนด้วยความรักเสมอหน้ากัน ไม่แสดงความลาเอียงเพราะ
เด็กจะมีความรู้สึกไวในเรื่องนี้
2. บทบาทของครูในการเสริมสร้างบุคลิกภาพและการสร้างสรรค์
2.1 ตั้งใจฟังเวลาเด็กพูด
2.2 สนใจต่อคาถามของเด็ก ส่งเสริมให้เด็กอยากรู้อยากเห็น
2.3 ชมเชย หรือแสดงกิริยาชื่นชมในผลงานของเด็ก พยายามช่วยให้เด็กมี
ความมั่นใจในความสามารถของตน
2.4 เคารพในความแตกต่างของเด็ก ไม่เปรียบเทียบเด็ก
2.5 ให้โอกาสเด็กได้เล่นและทากิจกรรมด้วยตนเองอย่างอิสระสร้างสรรค์
3. บทบาทของครูในการส่งเสริมโภชนาการเด็ก
3.1 ร่วมกับผู้ปกครอง โดยเลี้ยงสัตว์และปลูกพืชที่ใช้เป็นอาหารตามสภาพของ
ท้องถิ่น
3.2 จัดทาอาหารกลางวันและอาหารว่างสาหรับเด็ก โดยร่วมมือกับผู้ปกครอง
3.3 ประเมินสภาพโภชนาการเป็นระยะ ๆ ร่วมกับผู้ปกครองในการศึกษานิสัย
ของเด็กและแก้ไขปรับปรุงที่เป็นปัญหา
4. บทบาทของครูในการส่งเสริมนิสัยส่วนตัวและสังคม
281
4.1 ฝึกเด็กให้มีนิสัยในการเรื่องกิจวัตรส่วนตัวอย่างมีระเบียบ การขับถ่าย
การรักษาความสะอาด การเล่น หรือเรียน เป็นต้น
4.2 ให้เด็กเล่นดนตรีง่าย ๆ
4.3 แก้ไขปรับปรุงการทรงตัวให้เหมาะสมกับเด็ก
5. บทบาทของครูในการส่งเสริมความเข้าใจภาษา
5.1 สนทนากับเด็ก และจัดกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กสามารถบอก ชื่อ วัน คาตรง
ข้าม คาบอกลักษณะ ตาแหน่งได้
5.2 ครูเล่านิทานหรืออ่านเรื่องจากหนังสือพิมพ์ เพื่อฝึกความสามารถในการฟัง
ของเด็ก และเพิ่มพูนความรู้ศัพท์ใหม่ ๆ
5.3 ให้เด็กเล่าเรื่องเกี่ยวกับตนเอง สิ่งที่ได้พบเห็น หรือสิ่งที่นึกคิดได้
5.4 ส่งเสริมให้เด็กเล่นบทบาทสมมุติ โดยการจัดเป็นมุมบ้านและมุมอื่น ๆ
ลัดดา นีละมณี (2524 : 160 – 161) ได้แบ่งหน้าที่ของครูปฐมวัยในแต่ละวันใน
สถานศึกษาไว้ดังนี้
1. หน้าที่ในการสอน
2. หน้าที่ในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก
3. งานธุรการประจาวัน
4. การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หน้าที่ของครูผู้สอนในระดับการศึกษาปฐมวัยในห้องเรียน
1. บทบาทหน้าที่ทางวิชาการ
1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนว (หลักสูตร) และแผนการจัดประสบการณ์
1.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
1.3 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดผลประเมินผล
1.4 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทาสื่อการเรียนการสอน
1.5 มีการเตรียมตัวและพัฒนาตนเองของครู
1.6 สอนและพัฒนาเด็กให้มีความพร้อมทั้ง 4 ด้าน
2. บทบาทหน้าที่ทางธุรการ
2.1 จัดบริการให้คาแนะนา หรือชี้แจงแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับการจัดการศึกษาชั้น
เด็กเล็ก
2.2 จัดทาประวัตินักเรียน
2.3 จัดทาบัญชีเรียกชื่อนักเรียน
282
2.4 จัดทาสมุดประจาชั้นนักเรียน
2.5 จัดทาสมุดรายงานประจาตัวนักเรียน
2.6 จัดทาตารางกิจกรรมประจาวัน
2.7 จัดทาใบตรวจสุขภาพ
2.8 จัดทาสมุดหมายเหตุประจาวัน
2.9 จัดทาบัญชีวัสดุ อุปกรณ์ตลอดจนครุภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน
2.10 จัดบริเวณที่เล่นของเด็กให้สะอาดเรียบร้อยปลอดภัย
2.11 จัดทาเรื่องอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา
3. บทบาทหน้าที่ในการจัดชั้นเรียน
การจัดชั้นเรียนของเด็กระดับปฐมวัยควรให้มีสภาพเป็นทั้งบ้านและที่เรียนของเด็ก
ทั้งเปรียบเสมือนเป็นโลกของเด็ก ครูก็เหมือนสมาชิกคนหนึ่งของบ้าน ทาหน้าที่อบรม
สั่งสอน เลี้ยงดูแลเด็ก ดังนั้นการจัดชั้นเรียนต้องทาให้สอดคล้องกับสภาพของโรงเรียน มี
ความมุ่งหมายก็เพื่อให้เด็กมีความสุข สนุก สะดวกสบาย ตามความต้องการของเด็ก ให้
เด็กได้เล่น ทางาน และอยู่กับเพื่อนในวัยเดียวกัน และให้เด็กได้มีประสบการณ์ใน
การเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ตามวัยด้วย ฉะนั้นการจัดชั้นเรียนของเด็กครูควรพิจารณาดาเนินการ
ในเรื่องต่อไปนี้
3.1 สี เด็กชอบสิ่งต่าง ๆ ที่มีสีสัน สีของห้องเรียนควรเป็นสีอ่อน ๆ เย็นตา เช่น สี
ฟ้า สีเขียว สีชมพู สีเหลือง เป็นต้น เครื่องเล่นของเด็กควรมีสีสันสวยงามให้กลมกลืนกัน
กับสีของห้องเรียน
3.2 แสง ห้องเรียนต้องมีแสงสว่างเพียงพอ มีหน้าต่างหลายบาน และไม่ควรอยู่
สูงจากพื้นเกิน 70 เซนติเมตร เพื่อเด็กจะได้มองดูภาพภายนอกจากหน้าต่างได้ และติดไฟ
ในห้องเรียนเพิ่มแสงสว่าง
3.3 อากาศ เด็กควรได้รับอากาศบริสุทธิ์ ปราศจากกลิ่นเหม็น และห้องต้องมี
ประตูหน้าต่างที่ระบายอากาศ เพื่อจะได้มีอากาศพอเพียง
3.4 ความสะอาด บริเวณใกล้เคียงกับห้องเรียนจะต้องดูแลรักษาความสะอาด
เพราะเด็กชอบนั่ง นอน กลิ้งไปมากับพื้น มีถังขยะไว้บริเวณมุมใดมุมหนึ่งของห้องเรียน
3.5 ความเรียบร้อย มีการวางสิ่งของต่าง ๆ ให้เป็นที่ เป็นระเบียบ จัดสิ่งของ
ต่าง ๆ ไว้เป็นหมวดหมู่
3.6 ความปลอดภัย ห้องเรียนจะต้องไม่มีสิ่งที่เป็นอันตรายแก่เด็ก เช่น โต๊ะเก้าอี้
ตู้จะต้องไม่มีมุมแหลม รวมไปถึงสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอนด้วย
283
3.7 ห้องเรียนควรมีน้าดื่มสาหรับเด็ก พร้อมแก้วน้าสาหรับเด็ก
3.8 ความสุขสบาย สิ่งของเครื่องใช้ โต๊ะ เก้าอี้ ตู้ เตียง จะต้องมีขนาดที่
เหมาะสมกับเด็ก และเพียงพอกับเด็ก
3.9 ความสนุก ในห้องเรียนจะต้องมีเครื่องเล่น สื่อ มุมศึกษา ตลอดจนมีสื่อ
วัสดุอุปกรณ์อย่างเพียงพอ และมีความหลากหลาย เพื่อให้เด็กสามารถเล่น และส่งเสริม
การเรียนรู้สาหรับเด็กได้
3.10 การส่งเสริมประสบการณ์ ห้องเรียนสาหรับเด็กควรจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ์
เพื่อส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กได้ตลอดเวลา
บทบาทหน้าที่ของครูผู้สอนที่มีต่อผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
1. ผู้ปกครอง เพื่อช่วยให้ผู้ปกครองเข้าใจลูกของตนเองได้ดีขึ้น และเข้าใจเกี่ยวกับ
การจัดการเรียนการสอน การติดต่อกับผู้ปกครองจึงเป็นเรื่องที่จะต้องมีการเตรียมการซึ่ง
ครูอาจจะทาในลักษณะดังต่อไปนี้
1.1 ก่อนจะรับเด็ก ควรให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับนโยบาย วัตถุประสงค์
และแนวทางการเรียนการสอน
1.2 พยายามหาโอกาสพูดคุยสนทนากับผู้ปกครองทั้งอย่างเป็นทางการและไม่
เป็นทางการ ถึงลักษณะพฤติกรรมทั้งที่เป็นปัญหาและไม่เป็นปัญหาแก่เด็ก ในขณะที่อยู่
โรงเรียนและอยู่ที่บ้าน การพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการ อาจจะเป็นช่วงพบปะกับผู้ปกครอง
ตอนเช้าหรือตอนเย็นเมื่อผู้ปกครองมารับส่งนักเรียน ส่วนการพูดคุยอย่างเป็นทางการคือ
การจัดประชุมผู้ปกครองเป็นกลุ่มย่อย ๆ อาจจะทาในช่วงปิดเทอมหรือระหว่างเทอมก็ได้
1.3 จัดเวลาและหาโอกาสให้ผู้ปกครองได้เข้าสังเกตการเรียนการสอน
1.4 จัดกิจกรรมให้ผู้ปกครองที่มีการประกอบอาชีพและมีประสบการณ์ในด้าน
ต่าง ๆ เข้ามามีโอกาสได้ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้กับเด็ก
1.5 เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองเข้ามาเป็นอาสาสมัครช่วยเหลือกิจการของโรงเรียน
ตามความถนัด เช่น ช่วยเลี้ยงดูเด็ก ปรุงอาหาร หรือทาของเล่นให้กับเด็ก เป็นต้น
1.6 จัดทาเอกสารหรือสิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนแจกให้
ผู้ปกครอง
1.7 ไปเยี่ยมบ้านเด็กเพื่อพบปะสนทนากับผู้ปกครองของเด็กในยามปกติ
ตลอดจนในยามเจ็บป่วยหรือเดือดร้อน
2. ชุมชน
284
2.1 ติดต่อเยี่ยมเยียนชุมชนอย่างใกล้ชิดอยู่เสมอ ทั้งในยามปกติและยามเจ็บป่วย
หรือเดือดร้อน
2.2 ช่วยเหลือชุมชนในการติดต่อกิจธุระภายในโรงเรียน
2.3 มีการประชุมร่วมกับชุมชน
2.4 ช่วยเหลืองานชุมชน เช่น การพัฒนาสิ่งต่าง ๆ
2.5 ร่วมมือในพิธีการต่าง ๆ ตามประเพณีของชุมชน
2.6 จัดทาเอกสารหรือสิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนชั้นเด็กเล็ก
แจกให้ชุมชน
3. หน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในปัจจุบันการให้การศึกษาและบริการแก่เด็ก
ปฐมวัยได้ขยายกว้างขวางและมีหน่วยงานจัดทาอยู่ ถึงแม้รูปแบบจะแตกต่างกัน แต่
จุดหมายใหญ่เป็นไปในทานองเดียวกัน คือ เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ ความพร้อม และ
การศึกษาของเด็ก ครูที่สอนในหน่วยงานอื่น ๆ เช่น สาธารณสุข กรมพัฒนาชุมชน
กรมประชาสงเคราะห์ เป็นต้น ทั้งนี้ครูอาจจะได้มีโอกาสประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๆ ให้
เกิดประโยชน์แก่หน่วยงานทุก ๆ ฝ่าย การติดต่อประสานงานอาจจะทาได้ในลักษณะ
ดังต่อไปนี้
3.1 เยี่ยมชมการจัดการเรียนการสอนหรือการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยของ
หน่วยงานอื่น
3.2 เชิญชวนให้ครูหรือผู้ดูแลเด็กของหน่วยงานอื่น ๆ มาเยี่ยมชมการจัด
การเรียน การสอนในระดับปฐมวัยในโรงเรียนของตน
3.3 ประชุมพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ในการทางาน
ร่วมกับครูหรือผู้ดูแลเด็กเล็กในหน่วยงานอื่น
3.4 ประชุมวางแผนร่วมกับครู หรือผู้ดูแลเด็กของหน่วยงานอื่น เพื่อให้แนวทาง
ใน การบริการ และการศึกษาเด็กให้เป็นไปในทานองเดียวกัน และมีการแลกเปลี่ยนการใช้
สื่อ การเรียนการสอนระหว่างกัน
3.5 จัดงานสังสรรค์ระหว่างโรงเรียน อาจจัดในระดับครูหรือนักเรียนก็ได้ตาม
ความเหมาะสม เช่น การแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียน เพื่อให้เกิดมิตรภาพที่ดีต่อกันในกลุ่ม
โรงเรียนที่ใกล้เคียง
5. คุณลักษณะของครูที่ดีตามหลักคาสอนในพระพุทธศาสนา
คุณธรรมพื้นฐานของความเป็นครู หลักธรรมหมวดนี้คือ กัลยาณมิตรธรรม ซึ่งมี
อยู่ด้วยกัน 7 ประการ ดังนี้
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55

Contenu connexe

Tendances

แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์Jariya Jaiyot
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
บันได ๔ ขั้นสอนเขียน
บันได ๔ ขั้นสอนเขียนบันได ๔ ขั้นสอนเขียน
บันได ๔ ขั้นสอนเขียน5171422
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์Aus2537
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55Decode Ac
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 

Tendances (20)

Dichotomous key
Dichotomous keyDichotomous key
Dichotomous key
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
บันได ๔ ขั้นสอนเขียน
บันได ๔ ขั้นสอนเขียนบันได ๔ ขั้นสอนเขียน
บันได ๔ ขั้นสอนเขียน
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
หู
หูหู
หู
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 

En vedette

คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีniralai
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์pimkhwan
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55Decode Ac
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55Decode Ac
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55Decode Ac
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูokTophit Sampootong
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูsuwantan
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพEkachai Seeyangnok
 
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556Apiruk Kaewkanjanawan
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55Decode Ac
 
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำสมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำMansong Manmaya สุทธการ
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
จักราวุธ แนวข้อสอบสมรรถนะวิชาชีพ ชุดที่ ๒
จักราวุธ แนวข้อสอบสมรรถนะวิชาชีพ ชุดที่ ๒จักราวุธ แนวข้อสอบสมรรถนะวิชาชีพ ชุดที่ ๒
จักราวุธ แนวข้อสอบสมรรถนะวิชาชีพ ชุดที่ ๒นายจักราวุธ คำทวี
 
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพMringMring She Zaa
 

En vedette (20)

คุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดีคุณลักษณะของครูที่ดี
คุณลักษณะของครูที่ดี
 
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
คุณลักษณะครูที่พึงประสงค์
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพ
 
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
 
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำสมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
สมรรถนะและศักยภาพของครู โดยอาจารย์ดร.ทรงพล เจริญคำ
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
ครูที่ดี
ครูที่ดีครูที่ดี
ครูที่ดี
 
คุณธรรม จรรยาบรรณ
คุณธรรม จรรยาบรรณคุณธรรม จรรยาบรรณ
คุณธรรม จรรยาบรรณ
 
จักราวุธ แนวข้อสอบสมรรถนะวิชาชีพ ชุดที่ ๒
จักราวุธ แนวข้อสอบสมรรถนะวิชาชีพ ชุดที่ ๒จักราวุธ แนวข้อสอบสมรรถนะวิชาชีพ ชุดที่ ๒
จักราวุธ แนวข้อสอบสมรรถนะวิชาชีพ ชุดที่ ๒
 
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
 

Similaire à บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55

ประเมินพนักงานราชการ
ประเมินพนักงานราชการประเมินพนักงานราชการ
ประเมินพนักงานราชการกะทิ เบาเบา
 
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1Prapaporn Boonplord
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
9789740331278
97897403312789789740331278
9789740331278CUPress
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซูmaymymay
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑Tuk Diving
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำklarharn
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐรายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐWichai Likitponrak
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1tery10
 

Similaire à บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55 (20)

51105
5110551105
51105
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
ประเมินพนักงานราชการ
ประเมินพนักงานราชการประเมินพนักงานราชการ
ประเมินพนักงานราชการ
 
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
มนุษย์สัมพันธ์ในองค์การ1
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
9789740331278
97897403312789789740331278
9789740331278
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑บทที่5 ส่วนที่ ๑
บทที่5 ส่วนที่ ๑
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Eb chapter2
Eb chapter2Eb chapter2
Eb chapter2
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐรายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
 
แผน 1 1
แผน 1 1แผน 1 1
แผน 1 1
 
หน วยท _ 4
หน วยท _  4หน วยท _  4
หน วยท _ 4
 

บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55

  • 1. บทที่ 10 บุคลิกภาพและคุณลักษณะของครูปฐมวัย แผนการเรียนประจาบท 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้เข้าใจความหมายและความสาคัญของครู 2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพของครูปฐมวัย 3. เพื่อให้เข้าใจบทบาทหน้าที่ของครูปฐมวัย 4. เพื่อให้สามารถพัฒนาบุคลิกภาพตนเองได้ 2. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของครู 2. บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 3. คุณวุฒิครูปฐมวัย 4. บทบาทของครูปฐมวัย 5. คุณลักษณะของครูที่ดีตามหลักคาสอนในพระพุทธศาสนา 6. คุณลักษณะตามผลการวิจัย 3. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ทดสอบก่อนเรียน (แบบทดสอบ) 2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน 3. อภิปราย ซักถาม 4. แบ่งกลุ่มวิเคราะห์คุณลักษณะของครูปฐมวัย 5. แบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้า (วิจัย) เก็บข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูปฐมวัย 6. ทดสอบหลังเรียน 4. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. สไลด์ประกอบการสอน (Power point) 3. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง (Internet) 4. ตัวอย่างกรณีศึกษา 5. หนังสือ ตารา วารสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 2. 264 5. การประเมินผล 1. ผลการทดสอบ 2. แบบฝึกหัดท้ายบท 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 4. รายงานผลการศึกษาค้นคว้า (วิจัย) คุณลักษณะของครูปฐมวัย 5. ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของเนื้อหา
  • 3. 265 บทที่ 10 บุคลิกภาพและคุณลักษณะของครูปฐมวัย ทุกคนเกิดมาต้องมีครู และทุกคนต้องเป็นครู โดยครูคนแรกก็คือ บิดา มารดา ใน กรณีที่บุคคลใดเกิดมาแล้วไม่ได้พบหน้าบิดา มารดา ก็ให้ถือว่าผู้อุปการะเลี้ยงดูอย่าง ใกล้ชิดนั้นเป็นครูคนแรกของตน ส่วนที่กล่าวว่า “ทุกคนต้องเป็นครู” นั้น เพราะทุกคนสอน ตนเองได้ทุกขณะที่มีสติสัมปชัญญะ เช่น เตือนให้ตัวเองระมัดระวังขณะเดินทางไปทางาน หรือไปศึกษาเล่าเรียน เตือนให้ตนเองรู้จักประหยัดในการใช้จ่ายเงิน หรือการให้คาแนะนา บุคคลอื่นในการกระทาบางสิ่งบางอย่าง เป็นต้น ในที่นี้จะขอกล่าวถึงสารระที่เกี่ยวข้องกับ วิชาชีพครูตามหัวข้อดังต่อไปนี้ 1. ความหมายของครู 2. บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 3. คุณวุฒิครูปฐมวัย 4. บทบาทของครูปฐมวัย 5. คุณลักษณะของครูที่ดีตามหลักคาสอนในพระพุทธศาสนา 6. คุณลักษณะตามผลการวิจัย 1. ความหมายของครู 1.1 ความหมายของครูตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 อธิบายคาว่า ”ครู” นั้นมาจากรากศัพท์ใน ภาษาบาลีว่า “คุรุ – ครุ” หรือจากภาษาสันสกฤตว่า “คุรุ” ในความหมายที่เป็นคานาม แปลว่า “ผู้สั่งสอนศิษย์หรือถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์” ส่วนในความหมายที่เป็นคาวิเศษณ์ ในภาษาบาลี แปลว่า หนัก สูง ส่วนในภาษาสันสกฤตแปลว่า ใหญ่ หรือ หนัก (ราชบัณฑิตยสถาน. 2546 : 225) 1.2 ความหมายของครูตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ตามมาตรา 4 ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 นิยามความหมายของคาว่าครูไว้ว่า “ครู” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของ ผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน ตามกฎหมายนี้ครูมีองค์ประกอบที่สาคัญ คือ
  • 4. 266 1. ทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอน และส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วย วิธีการต่าง ๆ 2. ทาการสอนในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน 3. เป็นบุคลากรวิชาชีพ 1.3 ความหมายของครูจาก Dictionary of Education ในหนังสือ Dictionary of Education ของกู๊ด (Good. 1973 : 586) ได้ให้ความหมายของครูไว้หลายนัยด้วยกันดังนี้ 1. ครู คือ บุคคลที่ทางราชการจ้างไว้เพื่อทาหน้าที่ให้คาแนะนาหรืออานวยการใน การจัดประสบการณ์การเรียนสาหรับนักเรียนหรือนักศึกษาในสถาบันการศึกษาไม่ว่าจะ เป็นของรัฐหรือเอกชน 2. ครู คือ บุคคลที่มีประสบการณ์หรือมีการศึกษามากหรือดีเป็นพิเศษ หรือมีทั้ง ประสบการณ์และการศึกษาดีเป็นพิเศษในสาขาใดสาขาหนึ่งที่สามารถช่วยทาให้บุคคลอื่น ๆ เกิดความเจริญงอกงามและพัฒนาก้าวหน้าได้ 3. ครู คือ บุคคลที่สาเร็จหลักสูตรวิชาชีพจากสถาบันฝึกหัดครู และการฝึกอบรม นั้นได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการ โดยการมอบประกาศนียบัตรทางการสอนให้แก่ บุคคลนั้น (ยนต์ ชุ่มจิต. 2550 : 3 - 6) จากที่กล่าวมา สรุปว่า ครู หมายถึง บุคคลที่มีความรู้ความสามารถและมี ประสบการณ์สูงผ่านหลักสูตรการศึกษา การอบรม การปฏิบัติการสอน ใน สถาบันการศึกษาและได้ผ่านการรับรองใบประกอบวิชาชีพจากคุรุสภาสามารถสอนใน สถานศึกษาได้ 2. บุคลิกภาพของครูปฐมวัย บุคคลที่อยู่ใกล้ชิดกับเด็กมีความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อเด็กทั้ง ทางตรงและทางอ้อม กล่าวคือเด็กสามารถที่จะเรียนรู้พฤติกรรมต่าง ๆ จากบุคคลใกล้ชิด เพราะเด็กชอบการเลียนแบบจากสิ่งที่พบเห็น โดยเฉพาะพฤติกรรมต่าง ๆ ที่แสดงออกมา ทั้งด้านดีและไม่ดี ดังนั้นบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดกับเด็กจะต้องเป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดีมี จริยธรรมคุณธรรม ที่สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็กในอนาคตได้ ครูปฐมวัยเป็นบุคคลที่ มีความใกล้ชิดกับเด็ก มากรองจากพ่อแม่ เพราะเวลาประมาณ 1 ใน 3 เด็กจะใกล้ชิดกับ ครู ครูผู้สอนจึงมีหน้าที่ใน การปรับพฤติกรรมเด็กให้มีความเหมาะสม และทาตัวให้เป็น แบบอย่างแก่เด็กอีกด้วย
  • 5. 267 บุคลิกภาพ (Personality) บุคลิกภาพมีผู้ที่ให้ความหมายของบุคลิกภาพมากมายที่พอสรุปได้มีดังต่อไปนี้ ธีรศักดิ์ อัครบวร (2542 : 81 - 83) บุคลิกภาพเป็นเรื่องส่วนของบุคคลที่ต้องไป เกี่ยวข้องกับผู้อื่นและสังคม การอธิบายเรื่องบุคลิกภาพนั้นส่วนใหญ่จะอธิบายในเชิงของ จิตวิทยา ไพพรรณ เกียรติโชติชัย บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะทั้งภายนอกและภายในที่ รวมอยู่ในตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่ง และมีผลทาให้บุคคลนั้นมีความแตกต่างไปจากบุคคลอื่น ที่กล่าวมาสรุปได้ว่า บุคลิกภาพ หมายถึง คุณลักษณะทั้งภายในและภายนอกของ บุคคลที่แสดงออกมาให้คนอื่นมองเห็นและรับรู้ได้ ซึ่งทาให้ลักษณะของบุคคลนั้นมี ความแตกต่างไปจากคนอื่น บุคลิกภาพที่สาคัญของครูปฐมวัย บุคลิกภาพที่สาคัญของครูปฐมวัยอาจจาแนกเป็น 4 ด้านดังนี้ 1. บุคลิกภาพทางกาย บุคลิกภาพทางกายเป็นบุคลิกภาพที่สังเกตได้ง่ายและเป็นสิ่งที่ปรากฏต่อบุคคล ทั่วไป เป็นความประทับใจครั้งแรกที่เกิดกับบุคคลที่พบเห็น บุคลิกทางกายโดยทั่วไปมีดังนี้ 1.1 รูปร่างหน้าตาและผิวพรรณ บุคลิกภาพส่วนนี้เป็นมาโดยกาเนิด อาจแก้ไข ได้ยากแต่ก็สามารถปรับปรุงได้ หน้าตาครูต้องสะอาดถึงจะไม่สวยไม่หล่อก็ตาม 1.2 การแต่งกาย การเสริมบุคลิกภาพที่สาคัญที่สุดคือการแต่งกาย เพราะ การแต่งกายช่วยกลบเกลื่อนรูปร่างหน้าตาและผิวพรรณได้ ช่วยทาให้รูปร่างหน้าตาและ ผิวพรรณดูดีขึ้นตัวเอง การแต่งกายของครูเป็นสิ่งแรกที่ลูกศิษย์ ผู้ปกครองและประชาชน มองเห็น จึงมีผลต่อการสร้างเจตคติที่ดีต่อตัวครู การแต่งกายที่เหมาะสมกับบุคลิกภาพ ของครูควรคานึงถึงเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1) แต่งกายให้เหมาะสมกับความนิยมของสังคมในโอกาสต่าง ๆ 2) แต่งกายให้เหมาะสมกับสถานที่ เช่น ศาสนสถาน ที่ราชการ สนามกีฬา เป็นต้น 3) การแต่งกายให้เหมาะสมกับฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจ คือต้อง แต่งตัวให้เหมาะสมกับสถานภาพ ตาแหน่ง หน้าที่ บทบาทและวิชาที่สอนแต่ละคน นอกจากนี้ครูจะต้องไม่แต่งหน้าหรือแต่งตัวเกินความจาเป็น 4) แต่งกายให้เหมาะสมกับสถานภาพ โดยคานึงถึงเพศ วัย อายุ และ ผิวพรรณของตน เช่นสี และแบบของเสื้อผ้า รองเท้าและกระเป๋าถือ
  • 6. 268 5) ความสะอาดของเครื่องแต่งกาย ทั้งเสื้อผ้าและรองเท้าไม่จาเป็นต้องมี ราคาสูงนัก แต่จาเป็นต้องมีความสะอาดอยู่เสมอ 6) สวมเสื้อผ้าให้เหมาะสมกับรูปทรงและเรียบร้อยอยู่เสมอ 7) การเสริมสวยตามความจาเป็น ครูควรใช้เครื่องสาอางช่วยเสริม ความงามเพียงเพื่อทาให้เกิดความเรียบร้อยแก่ร่างกาย ใช้เพื่อส่งเสริมให้มีบุคลิกภาพดีขึ้น เช่น สบู่ฟอกตัว น้ามันใส่ผม แป้ง น้าหอม ใช้แต่เพียงเท่าที่จาเป็นเท่านั้น ควรเสริมสวยแต่ พอดี ไม่ควรมากจนเกินไป 8) การใช้เครื่องประดับที่มีค่า ครูไม่ควรใช้ของมีค่าที่มีราคามากเกินไป เช่น ทอง เพชร พลอย ราคาแพง แต่ถ้าจาเป็นต้องใช้ก็ควรจะต้องดูกาลเทศะ แม้ว่า เครื่องประดับมีค่าเป็นเครื่องส่งเสริมบุคลิกภาพ แต่ครูไม่จาเป็นต้องเสริมบุคลิกภาพด้วย สิ่งเหล่านี้เสมอไป 1.3 กิริยามารยาท บุคลิกภาพส่วนนี้เป็นความประพฤติและการปฏิบัติส่วน บุคคลต่าง ๆ ในสังคมนั้นเอง กิริยามารยาทดีก็คือ การวางตัวให้ถูกกาลเทศะ ให้เหมาะกับ บุคคลที่สนทนาด้วย โดยมีบุคลิกภาพเป็นพื้นฐานที่สาคัญที่สุด กิริยามารยาทของครูนั้น อาจแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1) บุคคลที่มีศักดิ์สูงกว่าตน ได้แก่ ผู้บังคับบัญชา ครูที่มีอาวุโสกว่า ตลอดจน ผู้ปกครองทั่วไป ครูควรวางตัวโดยยึดแบบขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมไทย โดยเคร่งครัด การมีสัมมาคารวะ โดยไม่ตีตนเสมอท่าน รู้จักอ่อนน้อมถ่อมตน แต่ก็ไม่ จาเป็นถึงขั้นประจบประแจง หรือพินอบพิเทา 2) ผู้มีศักดิ์เสมอตน ได้แก่ เพื่อนครูด้วยกัน ตลอดจนเพื่อนฝูงต่างอาชีพ หรือข้าราชการต่างสังกัด ครูควรวางตัวให้มีขอบเขตไม่ล่วงล้าสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่น และต้องระลึกไว้เสมอว่า กิริยาที่สุภาพต่อกันเป็นแบบแผนของความประพฤติที่ดี แต่ต้อง ไม่เคร่งครัดเป็นพิธีการอยู่ตลอดเวลาจนเป็นอุปสรรคต่อสัมพันธภาพ แต่ต้องระวังไม่ทาตน เหนือคนอื่น 3) ผู้มีศักดิ์ต่ากว่าตน ได้แก่ ศิษย์ บุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนเพื่อนครูที่ อาวุโสน้อยกว่า ครูควรวางตัวโดยให้ความเมตตาและเจตนาดี ไม่โอ้อวดหรือย้าสิทธิของ ตนว่าเหนือกว่า หรือข่มขู่วางอานาจเพราะการสร้างความเคารพนั้นไม่ได้เกิดจาก การประกาศศักดา สาหรับกิริยามารยาทที่ดีนั้น เจ้าพระยาสมเด็จสุเรนทราธิบดี (ม.ร.ว. เปีย มาลากุล) อธิบายไว้ในหนังสือสมบัติผู้ดีว่า ผู้ดีต้องรักษาความเรียบร้อยทั้งกายจริยา วจีจริยา และ มโนจริยาดังนี้
  • 7. 269 กายจริยาคือ 1. ย่อมไม่ใช้กิริยา อันข้ามกายบุคคล 2. ย่อมไม่อาจเอื้อในตาแหน่งที่สูง 3. ย่อมไม่ล่วงเกินถูกต้องผู้อื่นซึ่งไม่ใช่หยอกกันฐานะเพื่อน 4. ย่อมไม่เสียดสีกระทบกระทั้งกายบุคคล 5. ย่อมไม่ลุกนั่งเดินเหินให้พรวดพราดโดนคนหรือสิ่งของแตกเสียหาย 6. ย่อมไม่ส่งของให้ผู้อื่น ด้วยกิริยาอันเลือกใสผลัดโยน 7. ย่อมไม่ผ่านหน้าหรือบังตาผู้อื่น 8. ย่อมไม่เอะอะเมื่อเวลาผู้อื่นทากิจ 9. ย่อมไม่อื้ออึงในเวลาประชุมสดับรับฟัง 10. ย่อมไม่แสดงกิริยาตึงตัง หรือพูดจาอึกทึกในบ้านแขก วจีจริยาคือ 1. ย่อมไม่สอดสวนวาจาหรือแย่งชิงพูด 2. ย่อมไม่พูดด้วยเสียงอันดังเหลือเกิน 3. ย่อมไม่เสียงดังตวาดหรือพูดจา กระโชก กระชาก 4. ย่อมไม่ใช้วาจาอันหักหารดึงดัง 5. ย่อมไม่ใช้ถ้อยคาอันหยาบคาย มโนจริยาคือ 1. ย่อมไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่านกาเริบหยิ่งโยโส 2. ย่อมไม่บันดาลโทสะให้เสียกิริยา 2. บุคลิกภาพทางสังคม บุคลิกภาพทางสังคมเป็นบุคลิกภาพที่แสดงออกให้ผู้อื่นพบเห็นได้ เช่นเดียวกับ บุคลิกภาพทางร่างกาย เพียงแต่บุคลิกภาพทางสังคมนั้นอาจมีผลจากบุคลิกภาพกายใน ของบุคคลนั้น ๆ เป็นแรงขับที่สาคัญมาก โดยเฉพาะค่านิยมทางสังคมทัศนคติ เจตคติ ตลอดจนคุณธรรม บุคลิกภาพทางสังคมของครู ได้แก่ 2.1 มารยาทที่ดีงาม มารยาทนอกจากเป็นบุคลิกภาพทางกายแล้ว ยังเป็น บุคลิกภาพทางสังคมที่สาคัญที่สุดของครู การมีสัมมาคารวะ วาจาอ่อนหวาน พูดจา ไพเราะ รู้จักอ่อนน้อม ถ่อมตน องอาจ สง่าผ่าเผย รู้จักทักทาย ล้วนเป็นมารยาทที่เสริม บุคลิกภาพทางสังคมดีทั้งสิ้น
  • 8. 270 2.2 ความจริงใจ เป็นบุคลิกภาพที่สาคัญมากในการสอน ครูที่สอนอย่างจริงใจจะมี ความจริงจังน่าเชื่อถือ นอกจากนี้ความจริงใจยังช่วยให้คนเชื่อถือช่วยให้คนมีมิตรแท้ มีผู้ อยากสนิทสนมด้วย 2.3 ความรับผิดชอบ เป็นบุคลิกภาพที่ช่วยทาให้เป็นคนที่ได้รับความเชื่อถือจาก บุคคลอื่นคนในสังคม 2.4 ความซื่อสัตย์ ช่วยเสริมสร้างเกียรติยศและความเลื่อมใสให้กับบุคคลต่าง ๆ 2.5 รู้จักผ่อนปรน เป็นบุคลิกอย่างหนึ่งที่ช่วยรักษาน้าใจและประสานความรู้สึกที่ดี ต่อกัน นอกจากที่กล่าวมาแล้วครูปฐมวัยยังมีลักษณะทางกายที่สาคัญดังต่อไปนี้ 1. ความสะอาดของร่างกาย เป็นความสะอาดภายนอกที่บุคคลทั่วไปมองเห็นได้ สัมผัสได้ตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า ได้แก่ 1.1 เล็บ เล็บมือและเท้าควรสะอาดและสั้น 1.2 ใบหน้า ต้องดูแลให้สะอาด ตกแต่งให้สวยงามพอเหมาะพอควรไม่แต่งหน้า มากจนเกินไป 1.3 ผม ทาผมให้สะอาดเรียบร้อยเหมาะสมกับใบหน้า 1.4 ฟัน ควรรักษาความสะอาด ให้อยู่ในลักษณะที่กลิ่นสะอาดไม่ควรปล่อยให้ เหลืองดา 1.5 กลิ่นตัว ควรรู้จักรักษาให้ปราศจากกลิ่น ความสะอาดของร่างกายดังกล่าวเป็นสิ่งสาคัญยิ่ง นอกจากความสะอาดของ เครื่องแต่งกาย เพราะจะทาให้ผู้พบเห็นมีความรู้สึกดีประทับใจ เกิดความศรัทธาในตัวครู และความสะอาดของครูจะเป็นรูปแบบที่ดีสาหรับเด็ก 2. การแต่งกาย ครูปฐมวัยเป็นผู้ที่แต่งกายให้ดูเรียบร้อย สุภาพ สวยงามเหมาะสม กับเด็กวัยและหน้าที่ และไม่จาเป็นต้องทันสมัย แต่ไม่ควรล้าสมัยจนเกินไป ควรแต่งกายให้ สามารถปฏิบัติงานได้สะดวก สามารถเคลื่อนไหวได้คล่องตัว และไม่สมควรสวม เครื่องประดับที่อาจจะเป็นอันตรายต่อเด็ก เช่น เข็มกลัดที่มีส่วนแหลม ต่างหู เป็นต้น 3. การพูดจา ครูปฐมวัยจะต้องระมัดระวังเรื่องการใช้คาพูด ควรพูดจาสุภาพ อ่อนโยนพูดให้ชัดเจน ใช้คาพูดที่เข้าใจง่ายและไพเราะ ไม่ใช้คาพูดที่หยาบ คาแสลง ไม่ใช้ สรรพนามเรียกเด็ก หรือใช้วาจาเหย้าแหย่เด็กในลักษณะล้อเล่น หรือกระทบจิตใจในทาง ลบ เช่น เป๋ โย่ง เหล่ เตี้ย อ้วน เป็นต้น
  • 9. 271 4. กิริยามารยาท ครูปฐมวัยควรมีมารยาทงาม ท่าทางสง่างาม รู้จักกาลเทศะ รู้จัก มารยาทต่าง ๆ ตามแบบที่ดีที่ใช้ในสังคมไทย ทั้งมารยาทในการเดิน นั่ง ยืน ฯลฯ เพื่อให้ เป็นตัวอย่างที่ดีแก่เด็ก 5. ยิ้มแย้ม ครูปฐมวัยจะต้องปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น สัมพันธ์กับผู้ปกครอง และ สัมพันธ์กับเด็กตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน ครูปฐมวัยจะต้องยิ้มแย้มเสมอ 6. คล่องแคล่วว่องไว ธรรมชาติของเด็กเคลื่อนไหวซุกซนตลอดเวลา ครูปฐมวัย จะต้องเป็นผู้ที่มีความคล่องแคล่วว่องไวสามารถติดตามดูแลเด็กได้ทัน 7. สุขภาพ ครูปฐมวัยมีหน้าที่ดูแลเด็กปฐมวัยทั้งวัน และมีกิจกรรมที่ครูต้องยืน เดิน หรือเคลื่อนไหวตลอดเวลา ดังนั้นครูจึงจาเป็นต้องรักษาสุขภาพให้แข็งแรง ครูจึงต้อง ทางานบางอย่างที่เด็กไม่สามารถจะช่วยเหลือได้ 3. คุณลักษณะทางจิตใจของครูปฐมวัย ครูปฐมวัยมีลักษณะพิเศษไม่เหมือนครูผู้สอนในระดับอื่น ๆ เพราะไม่ได้ทาหน้าที่ สอนเพียงอย่างเดียว ต้องทาหน้าที่เป็นทั้งแม่ ตลอดจนเป็นเพื่อนเล่น และเด็กต้องการเอา ใจใส่เป็นพิเศษ ดังนั้นครูปฐมวัยจึงต้องมีจิตใจหรือจิตสานึกของความเป็นครู ซึ่งเป็นเรื่อง ของนามธรรม ลักษณะทางจิตใจมีดังต่อไปนี้ 1. รักเด็ก การให้ความรักความอบอุ่นแก่เด็กเป็นความรู้สึกที่ละเอียดอ่อนและ ลึกซึ้ง ครูปฐมวัยจะต้องรักเด็กอย่างแท้จริง จึงจะอยู่กับเด็กได้อย่างมีความสุข 2. เมตตา กรุณาเด็กจะมีความเมตตากรุณาถ้าเด็กได้รับการอบรมดูแลด้วย ความเมตตากรุณาเอื้ออาทรห่วงใยเด็กทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ผลที่ได้รับจะทาให้เด็กว่า ง่ายสอนง่าย เป็นเด็กดี ดังนั้นครูปฐมวัยจะต้องเป็นคนมีความเมตตากรุณาเป็นผู้ที่มีจิตใจ รักเอื้ออาทรแก่เด็ก 3. อารมณ์ดี ครูปฐมวัยจะต้องเป็นผู้ที่ควบคุมอารมณ์ อดทนอดกลั้นต่อทุกสิ่งได้ดี ไม่ควรแสดงอารมณ์โกรธ เกลียด โมโหง่าย ไม่ทาให้เด็กสะเทือนใจ ไม่ตื่นตระหนกตกใจ เอะอะโวยวาย และมีอารมณ์สนุกร่วมกับเด็กเวลาทากิจกรรมต่าง ๆ 4. ใจเย็น ครูปฐมวัยจะต้องทาตัวให้เหมือนพ่อแม่เด็ก ครูจะต้องรับความจริงว่า เด็กแต่ละคนได้รับการอบรมเลี้ยงดูและการฝึกจากทางบ้านที่มีสภาพแวดล้อมแตกต่างกัน เด็กอาจจะแสดงกิริยาท่าทาง หรือวาจาที่ไม่น่าพึงพอใจต่อบุคคลต่าง ๆ ในสถานศึกษา ครู ไม่ควรคิดว่าการแสดงออกของเด็กปฐมวัยที่ไม่เหมาะสมนั้น เป็นการแสดงออกเพื่อเป็น ปฏิปักษ์ต่อครู แต่ครูจะต้องใจเย็นและทาตนให้เป็นมิตรกับเด็ก
  • 10. 272 5. อดทน การที่ครูมีจิตใจที่เข้มแข็งสามารถเผชิญกับสภาวะที่ไม่พึงพอใจได้ บ่อยครั้งที่เด็กอาจจะเลอะเทอะ เปรอะเปื้อน หรือทาในสิ่งที่เกิดความเสียหายและ ผิดพลาด สิ่งเหล่านี้ถือว่าเป็นประสบการณ์ที่สาคัญสาหรับเด็ก ครูจะต้องเข้าใจเด็กและ อดทน ให้อภัยแก่เด็กด้วยความเต็มใจ 6. ซื่อสัตย์ ผู้ที่มีความซื่อสัตย์ย่อมประพฤติตรงไปตรงมา ทั้งกาย วาจา และใจ ทั้ง ต่อตนเองและผู้อื่น ต่อหน้าที่การงาน เป็นต้น การปฏิบัติงานในสถานศึกษาปฐมวัย มี บุคลากรที่ปฏิบัติงานหลายหน้าที่อยู่ร่วมกัน ทุกคนจะต้องมีความซื่อสัตย์ต่อกัน จะทาให้ การทางานลุล่วงและอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข 7. ขยัน งานในหน้าที่ครูปฐมวัยในแต่ละวันจะมีความเกี่ยวข้องกัน เริ่มตั้งแต่ก่อนที่ เด็กจะมาถึงโรงเรียน ครูจะต้องเอาใจใส่ต่อหน้าที่ของตนเองอยู่เสมอ ไม่ท้อถอย เพื่อให้ งานบรรลุเป้าหมาย และมีความกระตือรือร้นในการทางาน เป็นการฝึกความรับผิดชอบต่อ ตนเองในขั้นพื้นฐาน 8. มีมนุษยสัมพันธ์ ครูปฐมวัยจะต้องเป็นบุคคลที่จะต้องปฏิบัติตนให้เป็นผู้ที่มี มนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคลากรในสถานศึกษา และบุคลากรภายนอก นอกจากนั้นยังเป็น บุคคลสาคัญในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบ้านกับโรงเรียน และจะทาให้ผู้ปกครองเด็ก มีความเชื่อถือไว้วางใจครู และทางโรงเรียน 9. มีวินัย การปฏิบัติตนให้อยู่ในกฎระเบียบและวัฒนธรรม สามารถควบคุมกาย วาจา ใจรวมถึงการประพฤติตนให้อยู่ในศีลธรรมอันดี 10. มีความเป็นระเบียบ สะอาด และประหยัด พร้อมทั้งฝึกเด็กให้เคยชินด้วย การจัดสภาพห้องเรียน เช่น จัดมุมเล่นของเด็กให้เป็นระเบียบ สะอาด และรู้จักรักษา ช่วย ซ่อมแซมวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ 11. วาจาสุภาพ มีน้าเสียงอ่อนโยน และการพูดกับเด็กต้องใช้คาพูดสุภาพเสมอ จะ ช่วยเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่เด็ก จะทาให้เด็กมีวาจาที่ดีด้วย และประโยคที่พูดกับเด็กจะต้อง เป็นประโยคที่สมบูรณ์และชัดเจน 12. ยุติธรรมและตัดสินใจดี ครูปฐมวัยจะต้องมีความยุติธรรม เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น จะต้องพิจารณาปัญหาอย่างรอบคอบ วางตนเป็นกลาง รู้จักเหตุและผล ตัดสินปัญหาตาม เหตุและผล และสามารถตัดสินใจกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะแก้ปัญหาได้ 13. เข้าใจธรรมชาติและความต้องการของเด็ก เด็กเล็ก ๆ ยังต้องการความดูแล เอาใจใส่อย่างใกล้ชิด ครูผู้สอนควรให้ความอบอุ่นแก่เด็กเสมือนคนในครอบครัวของตนเอง สิ่งนี้จะช่วยให้เด็กอยากมาโรงเรียน ดังนั้นครูผู้สอนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก และสามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้านต่าง ๆ ได้
  • 11. 273 14. ชอบศิลปะ ครูผู้สอนระดับปฐมวัยควรมีความสามารถในการวาดภาพ การร้อง เพลง การทางานฝีมือ เล่นดนตรี สิ่งเหล่านี้จะช่วยสอนเด็กได้เป็นอย่างดี 15. สุขภาพดี ครูควรดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ยิ่งอยู่กับเด็กเล็กมากเท่าใด ครูจะต้อง ระวังในเรื่องสุขภาพให้มาก เพราะจะต้องพูด จะต้องเคลื่อนไหวอยู่เสมอ บางทีจะต้องเล่น กับเด็ก 16. มีความคล่องแคล่ว ว่องไว การอยู่กับเด็กเล็ก ๆ ซึ่งซุกซนและเคลื่อนไหวอยู่ เสมอ ครูปฐมวัยจึงต้องคล่องแคล่วว่องไว กระฉับกระเฉง สามารถติดตามเด็กได้ทัน (เยาวพา เดชะคุปต์. 2542 : 110 -111) 3. คุณลักษณะด้านคุณวุฒิ ในปัจจุบันคุณลักษณะที่สาคัญอย่างหนึ่งของครูปฐมวัยประการหนึ่งคือ คุณลักษณะตามคุณวุฒิ ซึ่งถือว่าเป็นคุณสมบัติที่สาคัญมาก เพราะคุณวุฒิจะเป็นสิ่งที่จะ บ่งบอกได้ว่าบุคคลที่จะเข้ามาทาหน้าที่ในบทบาทของครูปฐมวัยนั้นมีความรู้ความสามารถ เพียงพอในการทาหน้าที่ ซึ่งคุณลักษณะด้านคุณวุฒิมีดังนี้ 1. สาเร็จการศึกษาด้านการศึกษาปฐมวัย หรือการศึกษาสาขาอื่น ๆ และผ่าน การอบรมความรู้ด้านการศึกษาปฐมวัย 2. มีความรู้ด้านจิตวิทยาเด็ก จิตวิทยาพัฒนาการ โดยมีความเข้าใจพัฒนาการเด็ก อย่างแม่นยา 3. มีความรู้ด้านหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย สามารถพัฒนาหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัยได้ 4. มีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมได้ตามหลักสูตรและหลักการจัด การศึกษาในระดับปฐมวัย 5. มีความรู้ในการพัฒนาสื่อสาหรับเด็กปฐมวัยที่เหมาะสมกับกิจกรรมแต่ละ กิจกรรมที่จัดให้กับเด็ก 6. มีความรู้ในการประเมินพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นรายบุคคล 7. มีความรู้ในด้านการประกันคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัย 8. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัย และสามารถทาวิจัยในระดับปฐมวัย และ นาเอาผลการวิจัยมาประยุกต์ใช้ได้ 5. คุณลักษณะด้านความสามารถ
  • 12. 274 1. มีความสามารถในการวางแผนการจัดประสบการณ์ การดาเนินงานในชั้นเรียน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีความสามารถในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่อบอุ่น ที่เอื้อต่อ การพัฒนาเด็กทุกด้าน 3. มีความสามารถในการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย โดยให้โอกาสเด็กเลือกและ ตัดสินใจในการปฏิบัติตามความสนใจและความต้องการของเด็ก 4. มีความสามารถในการจัดกิจกรรม โดยให้เด็กได้ฝึกทักษะการคิด การเรียนรู้ จากการปฏิบัติจริง ตามแนวการจัดประสบการณ์ของหลักสูตรและแผนการจัดกิจกรรม 5. มีความสามารถในการเล่านิทาน การพูด การเตรียมเด็กให้พร้อมโดยใช้วิธีการ ต่าง ๆ 6. มีความสามารถในการจัดกิจกรรมในรูปแบบการบูรณาการ ให้เด็กเรียนรู้ผ่าน การเล่นอย่างมีความสุข 7. มีความสามารถในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ให้กับเด็กโดยผ่านกิจกรรมต่าง ๆ 8. มีความสามารถในการจัดหาและผลิตสื่อ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ 9. มีความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี และสามารถนามาใช้ใน การจัดการเรียนการสอนได้ 10. มีความสามารถในการประเมินพัฒนาการที่หลากหลาย และมีการจัดเก็บ ข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อสรุปการประเมินผลพัฒนาการและนาไปพัฒนาเด็ก 6. คุณลักษณะด้านอุดมการณ์ในวิชาชีพครู 1. รักและศรัทธาต่ออาชีพครู 2. อุทิศเวลา กาลังกาย กาลังใจ และกาลังสติปัญญาให้กับงานวิชาชีพครู 3. มีความสานึกในหน้าที่ของความเป็นครู ปฏิบัติงานในหน้าที่อย่างเต็ม ความสามารถ 4. มีความภูมิใจในความเป็นครูปฐมวัย ซึ่งเป็นผู้วางรากฐานที่ดีให้กับเด็กที่จะ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ในอนาคต 5. มีความมุ่งมั่นไม่ทอดทิ้ง และเบื่อหน่ายต่อการสอน 6. มีความเชื่อว่าเด็กแตกต่างกัน การจัดประสบการณ์จึงเน้นเด็กเป็นสาคัญ และ ช่วยพัฒนาเด็กให้เต็มศักยภาพ
  • 13. 275 7. มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอเพื่อพัฒนาตนเอง ซึ่งจะเกิดผลดีต่อ เด็กและเพื่อนครู 7. คุณลักษณะด้านมนุษยสัมพันธ์ 1. ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดี ปรับตัวเข้าบุคคลทุกระดับได้อย่างเหมาะสม 2. ยอมรับความคิดเห็นและความสามารถของบุคคลอื่น 3. เข้าใจความรู้สึก และความต้องการของผู้ปกครอง 4. มีสัมพันธภาพที่ดีกับเด็ก ปฏิบัติต่อเด็กทุกคนอย่างเท่าเทียมกันและเป็นกันเองกับ ทุกคน 5. มีสัมพันธภาพที่ดีต่อบุคคลและหน่วยงานอื่น มองบุคคลอื่นและมองโลกในแง่ดี 6. มีศิลปะในการพูด ใช้คาพูดต่อเด็ก เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง และบุคคลทั่วไปได้ อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ 8. คุณลักษณะด้านจริยธรรมและคุณธรรม 1. มีความเมตตา กรุณา ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีความโอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความขยันหมั่นเพียร 3. มีความเชื่ออย่างมีเหตุผลไม่หลงงมงาย 4. มีสติมั่นในการคิดและการกระทา 5. มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองดี 6. มีความเป็นกัลยามิตรกับเด็ก เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครองและบุคคลอื่น 7. รักเด็กเอาใจใส่ให้ความดูแลช่วยเหลือเมื่อเด็กมีปัญหา 8. ปฏิบัติตนในจรรยาบรรณวิชาชีพครู คุณลักษณะของครูปฐมวัยตามสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ยังได้กาหนด มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติของครูปฐมวัยไว้ 2 มาตรฐาน ดังนี้ 1. มาตรฐานที่ 9 2. มาตรฐานที่ 10
  • 14. 276 1. มาตรฐานที่ 9 ครูมีคุณธรรมจริยธรรม มี วุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงาน ที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง มีทั้งหมด 7 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 9.1 มีคุณธรรมจริยธรรม และปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู 9.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก ผู้ปกครองและชุมชน 9.3 มีความมุ่งมั่นในการอุทิศตน ในการสอนและพัฒนาเด็ก 9.4 มีการแสวงหาความรู้และเทคนิควิธีการใหม่ ๆ รับฟังความคิดเห็นใจกว้างและ ยอมรับการเปลี่ยนแปลง 9.5 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่าขึ้นไป 9.6 สอนตรงตามวิชาเอก – โท หรือตรงตามความถนัด 9.7 มีจานวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครูหรือบุคลากรสนับสนุน) 2. มาตรฐานที่ 10 ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็นสาคัญ มีทั้งหมด 7 ตัวบ่งชี้ดังนี้ 10.1 มีความรู้ความเข้าใจเป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย 10.2 มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล 10.3 มีความสามารถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ 10.4 มีความสามารถในการใช้สื่อที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็ก 10.5 มีการประเมินพัฒนาการของเด็กตามสภาพจริงโดยคานึงพัฒนาการตามวัย 10.6 มีการนาผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลี่ยนการจัดประสบการณ์ เพื่อ พัฒนาให้เด็กเต็มตามศักยภาพ 10.7 มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและนาผลไปใช้พัฒนาเด็ก (สานักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. 2548. 52 – 54) 4. บทบาทของครูปฐมวัย ครูปฐมวัยเป็นบุคคลที่มีความสาคัญยิ่งต่อเด็ก ซึ่งเป็นผู้ที่มีความสาคัญใน การส่งเสริมพัฒนาการของเด็กเป็นอย่างมาก เยาวพา เดชะคุปต์ (2542 : 114 – 119 อ้างอิงจาก ลัดดา นีละมณี. 2524 : 216 – 262) ได้กล่าวถึงบทบาทของครูปฐมวัยที่ควร พิจารณา มีดังนี้
  • 15. 277 1. การปฏิบัติของครูปฐมวัยต่อเด็ก ครูปฐมวัยจะต้องมีความเข้าใจธรรมชาติของ เด็กปฐมวัยในเรื่องต่อไปนี้ 1.1 เด็กไม่ชอบอยู่นิ่ง ชอบเคลื่อนไหว อยากรู้ อยากเห็น ครูจะต้องมีการจัด กิจกรรมอยู่เสมอ 1.2 ชอบเล่น เด็กต้องการโอกาสที่จะได้เล่นอย่างร่าเริงแจ่มใส 1.3 เด็กมีระยะเวลาความสนใจสั้น เกณฑ์เฉลี่ยช่วงระยะเวลาความสนใจของ เด็กปฐมวัยในการเล่นเครื่องเล่นมีดังนี้ เด็กอายุ 2 ปี มีระยะความสนใจประมาณ 7 นาที เด็กอายุ 3 ปี มีระยะความสนใจประมาณ 8.9 นาที เด็กอายุ 4 ปี มีระยะความสนใจประมาณ 10.10 นาที เด็กอายุ 5 ปี มีระยะความสนใจประมาณ 13.60 นาที 1.4 สนใจสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่อยู่ใกล้ตัว ชอบสีต่าง ๆ ที่แปลกตา ชอบรูปภาพ 1.5 เบื่อง่าย เด็กจะเบื่อเมื่อเห็นของเก่า ๆ ซ้า ๆ ซาก ๆ อยู่นานเป็นแรมสัปดาห์ แรมเดือน แรมปี 2. รู้ความต้องการของเด็ก เด็กแต่ละคนอาจจะมีความต้องการในบางสิ่งบางอย่าง แตกต่างกันออกไปบ้าง แต่โดยทั่วไปแล้วเด็กจะมีความต้องการตรงกันในเรื่องต่อไปนี้ 2.1 ความรัก เด็กทุกคนต้องการความรักอย่างสม่าเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย โดยเฉพาะความรักจากพ่อแม่และบุคคลที่ใกล้ชิด 2.2 ความปลอดภัย เด็กทุกคนต้องการความปลอดภัยทางร่างกาย คือ อาหาร เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม ต้องการความปลอดภัยทางสังคม คือ เพื่อน โดยเฉพาะเพื่อนในวัย เดียวกัน ทางจิตใจ ต้องไม่ถูกรบกวน รังแก รังควานจากผู้ใด เด็กจะเป็นสุขเมื่อได้รับ ความปลอดภัยเหล่านี้ 2.3 การยอมรับว่าเป็นบุคคลสาคัญคนหนึ่ง ต้องการให้มีการยอมรับว่าเขาเป็น บุคคลสาคัญคนหนึ่งในบ้าน ในชั้นเรียน ในกลุ่ม ของสถานศึกษา อยากจะช่วย อยากแสดง ความสามารถ เพื่อจะให้ได้รับคายกย่องชมเชย 2.4 ความเป็นคนสาคัญของตัวเอง อยากทดลอง อยากทา อยากรู้ อยากเห็น เด็กจะพยายามทาทุกสิ่งทุกอย่างด้วยตัวเอง ต้องการช่วยตนเอง เด็กจะมีความสุขและ ภาคภูมิใจเมื่อทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งประสบความสาเร็จด้วยตัวเอง 2.5 การเลียนแบบผู้ใหญ่ เด็กจะประพฤติตนตามแบบอย่างผู้ที่เด็กรัก และอยู่ ใกล้ชิดกับเด็ก ดังนั้นผู้ใหญ่ เช่น พ่อ แม่ ครู จะต้องปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก
  • 16. 278 2.6 การเหนี่ยวรั้งควบคุมตัวเอง ต้องการแนะนาซักจูง มีคนคอยเอาใจใส่ให้ กาลังใจ 2.7 การยึดถือ เชื่อมั่น เพื่อยึดเป็นแนวทางปฏิบัติในทางที่เหมาะที่ควร ปฏิบัติ ด้วยความเชื่อมั่น เพื่อเป็นแนวหรือวิถีชีวิตนาเด็กให้เชื่อฟังเคารพนับถือ เชื่อฟังคาสั่งสอน ของศาสนาที่ตนนับถือ 2.8 คาแนะนาและเหตุผล เด็กจะคอยซักถาม ทั้งนี้เพราะต้องการคาแนะนาที่ ถูกต้อง ต้องการทราบเหตุผลจากผู้ใหญ่ เช่น พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ครู เป็นต้น 3. ให้ความอบอุ่นแก่เด็ก ครูแสดงความสนใจและให้ความอบอุ่นอย่างจริงใจกับ เด็กแต่ละคนอย่างทั่วถึง โดยไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ด้วยการปฏิบัติดังต่อไปนี้ 3.1 แสดงให้เด็กเห็นว่าครูรักเด็กเสมอ พร้อมที่จะให้อภัยในความผิดพลาดของ เด็ก และยังคิดว่าเด็กเป็นบุคคลที่มีคุณค่าเสมอ 3.2 ยอมรับความจริงในความแตกต่างระหว่างบุคคล ไม่ดูถูกเหยียดหยามเด็ก พยามหลีกเลี่ยงไม่ให้มีการเปรียบเทียบ ซึ่งจะทาให้เกิดความอิจฉาริษยา 3.3 ควรให้โอกาสเด็กแต่ละคนได้ประสบความสาเร็จด้วยความภูมิใจโดยปล่อย ให้เด็กทาอะไรเสร็จก่อนเพื่อนในชั้นบ้าง 3.4 พยายามมองหาส่วนที่ดีของเด็ก ใช้วิธีการชมอย่างฉลาดเพื่อให้เด็กเกิด ความภาคภูมิใจ ไม่ควรอย่างยิ่งที่จะปล่อยให้เด็กหัวเราะเยาะเพื่อนเมื่อทาผิดพลาด 3.5 ใช้วิธีละมุนละไมในการปกครองเด็ก ไม่ควรทาโทษ หยิกเด็ก ควรใช้วิธีเตือน ด้วยสายตา หรือให้อาณัติสัญญาณ เพียงให้เด็กรู้สึกตัวเมื่อเด็กทาผิด และไม่ควรให้เด็กทั้ง ชั้นเดือดร้อนเพราะความผิดของเด็กเพียงส่วนน้อยหรือเพียงคนเดียว 4. การจัดกิจกรรมที่เหมาะสมให้กับเด็ก เนื่องจากเด็กทุกคนไม่ชอบหยุดนิ่งจะต้อง มีกิจกรรมอยู่ตลอดเวลา ฉะนั้นในการจัดกิจกรรมสาหรับเด็กเพื่อส่งเสริมความพร้อมใน การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยจึงเป็นเรื่องสาคัญมาก ควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้เห็นมาก ๆ ได้ ฟังมาก ๆ หรือช่วยให้เข้าใจความหมายจะทาให้เด็กอยากเห็นอยากฟัง อยากรู้มากขึ้น และ ยิ่งเด็กได้รับรู้ ได้ประสบการณ์จากการได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง ความรู้ประสบการณ์ก็จะ กว้างขวางออกไปทุกที จะทาให้เด็กมีประสบการณ์มากขึ้น มีความสามารถเกิดการเรียนรู้ ยิ่งขึ้น ดังนั้นการจัดกิจกรรมที่มีความเหมาะสมกับเด็กปฐมวัย ควรคานึงถึงเรื่องต่อไปนี้ 4.1 การจัดกิจกรรมโดยเปิดโอกาสหลาย ๆ ทาง ให้เด็กได้คิดค้นด้วยตนเอง ปล่อยให้ใช้ความคิดอย่างเต็มที่โดยไม่เร่งเด็ก ปล่อยให้เด็กตัดสินใจเอง มอบงานให้ รับผิดชอบตามความสามารถ ช่วยเหลือเด็กเมื่อจาเป็นจริง ๆ ให้เด็กซักถาม ช่วยในสิ่งที่
  • 17. 279 เกินความสามารถ ฯลฯ ให้เด็กได้ใช้ความคิดของตนเอง เพราะสิ่งที่เด็กคิดย่อมส่งผลต่อ ความภาคภูมิใจ เข้าใจลึกซึ้งกว่า และจาได้นานกว่าสิ่งที่ผู้อื่นบอกให้ 4.2 การจัดการ ต้องนึกถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล คนเราถึงแม้ว่าอายุ เท่ากัน อยู่ในวัยเดียวกัน แต่ความสามารถ ระยะเวลา ความสนใจ ตลอดจนรูปร่าง สติปัญญาอาจจะไม่เท่ากัน ฉะนั้นควรจัดกิจกรรมให้เด็กตามความสามารถที่จะทา กิจกรรมนั้น ๆ ให้สาเร็จ เพื่อไม่ให้เกิดความท้อถอย คอยสนใจการกระทาของเด็กเลือกหา ที่ชมเชย คอยซักถาม คอยดูแลให้กาลังใจ 4.3 ทาตัวอย่างที่ดีให้เด็กเลียนแบบ เพราะเด็กชอบเลียนแบบผู้ที่ใกล้ชิด ผู้ที่เด็ก รัก ควรปล่อยให้เด็กได้ใช้ความพยายามของเด็กเอง เพื่อหาวิธีที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหาด้วย ตนเอง ให้เด็กได้แสดงความสามารถอย่างสุดฝีมือ ครูควรช่วยแนะนาเพียงเล็กน้อย เพราะ คนเราเรียนรู้หลายอย่างโดยไม่มีครู หรือใคร ๆ สอน ปล่อยให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างอิสระ ไม่ ควรเข้าไปขัดขวางขณะที่เด็กกาลังทากิจกรรม ปล่อยให้เด็กใช้ความสามารถของตนเอง อย่างเต็มที่ แต่ต้องคอยดูแลอย่างใกล้ชิด คอยเติมความรู้ให้ คอยสนับสนุนให้พูด ให้ แสดงออก คอยตั้งคาถามให้เด็กพูด ให้เด็กคิด ให้เด็กแสดงออกมาก ๆ 4.4 ครูปฐมวัยควรเล่นกับเด็ก แต่อย่าพยายามเล่นจนเด็กเหนื่อย เด็กบางคน กลัว การแข่งขัน ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงการเปรียบเทียบว่า คนนั้นดีกว่า คนนี้ดีกว่า พี่เก่งกว่า น้องเก่งกว่า ฯลฯ ทางที่ดีควรยกย่องชมเชยผลงานของเด็กแต่ละคนจะดีกว่า 4.5 จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เด็กหาประสบการณ์ตามสิ่งที่ต้องการ จัดห้องเรียน สาหรับเด็กให้เป็นห้องทางาน จัดวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม เด็กอาจจะเล่นน้า เล่นทราย เล่น บล็อก ปั้นดินเหนียว ระบายสี ซึ่งจะมีการเตรียมที่เก็บวัสดุให้แก่เด็ก วัสดุอุปกรณ์เหล่านี้ จะช่วยให้เด็กได้ค้นคว้าทดลอง ทาให้ประสบการณ์ของเด็กกว้างขวางมากขึ้น พยายามเก็บ สิ่งที่เป็นอันตรายออก ให้มีความปลอดภัยแก่เด็ก ครูไม่ต้องคอยห้ามเด็กตลอดเวลา ให้เด็ก ได้ทดลอง ได้กระทา ได้ปฏิบัติอยู่ตลอดเวลา สิ่งเหล่านี้จะเป็นสิ่งที่จะกระทาให้เด็กเกิด การเรียนรู้ตลอดเวลา และขยายประสบการณ์ของเด็กเพิ่มมากขึ้น 5. การประเมินความพร้อมในการเรียนรู้ เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่กาลังเจริญเติบโต ความสามารถและการแสดงออกอาจจะเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อม การจัดกิจกรรมและ ประสบการณ์ การประเมินผลสาหรับเด็กไม่ใช่การตัดสินแบบได้หรือตก แต่เป็น การประเมินในเรื่องการวัดพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือทางด้านร่างกาย ทางด้านอารมณ์ ทางด้านสังคม และทางด้านสติปัญญา เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมและแก้ไขลักษณะ นิสัยต่าง ๆ ที่ไม่พึงประสงค์ ถ้าเด็กได้แสดงพฤติกรรมในทางไม่ดี ถ้าเด็กทาบ่อย ๆ จะ กลายเป็นนิสัยติดตัวเด็กจนโต จึงจาเป็นต้องประเมินความพร้อมของเด็กปฐมวัย และควร
  • 18. 280 ใช้หลาย ๆ วิธี เช่น การสังเกต การสนทนา การตรวจผลงาน การสอบปากเปล่า และ การทดสอบ เป็นการประเมินผล ควรจะได้มีการบันทึกพฤติกรรมเด็กเป็นระยะ ๆ เพื่อจะ ได้นาข้อมูลมาประกอบการพิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุงวิธีการส่งเสริมความพร้อม ในการเรียนรู้ของเด็กต่อไป สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2523 : 352 – 475) ได้เสนอ บทบาทของครูปฐมวัยมีดังต่อไปนี้ 1. บทบาทในฐานะที่เป็นแบบอย่างแก่เด็ก ได้แก่ 1.1 มีบุคลิกภาพเป็นแบบอย่างที่ดี ได้แก่ กิริยาท่าทาง การแต่งกาย การทรงตัว การพูดจาที่เหมาะสมตามสภาพของวัฒนธรรมท้องถิ่น 1.2 ใช้เสียงอ่อนโยน สุภาพ และประโยคที่ควรพูดควรเป็นประโยคที่ชัดเจน 1.3 ฝึกความมีระเบียบ ความสะอาด ความประหยัด โดยการจัดสภาพห้องเรียน มุมเล่นของเด็ก ให้เคยชินกับความเป็นระเบียบ และความสะอาด การรู้จักเก็บรักษาและ ซ่อมแซมวัสดุอุปกรณ์ 1.4 ปฏิบัติต่อเด็กทุกคนด้วยความรักเสมอหน้ากัน ไม่แสดงความลาเอียงเพราะ เด็กจะมีความรู้สึกไวในเรื่องนี้ 2. บทบาทของครูในการเสริมสร้างบุคลิกภาพและการสร้างสรรค์ 2.1 ตั้งใจฟังเวลาเด็กพูด 2.2 สนใจต่อคาถามของเด็ก ส่งเสริมให้เด็กอยากรู้อยากเห็น 2.3 ชมเชย หรือแสดงกิริยาชื่นชมในผลงานของเด็ก พยายามช่วยให้เด็กมี ความมั่นใจในความสามารถของตน 2.4 เคารพในความแตกต่างของเด็ก ไม่เปรียบเทียบเด็ก 2.5 ให้โอกาสเด็กได้เล่นและทากิจกรรมด้วยตนเองอย่างอิสระสร้างสรรค์ 3. บทบาทของครูในการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 3.1 ร่วมกับผู้ปกครอง โดยเลี้ยงสัตว์และปลูกพืชที่ใช้เป็นอาหารตามสภาพของ ท้องถิ่น 3.2 จัดทาอาหารกลางวันและอาหารว่างสาหรับเด็ก โดยร่วมมือกับผู้ปกครอง 3.3 ประเมินสภาพโภชนาการเป็นระยะ ๆ ร่วมกับผู้ปกครองในการศึกษานิสัย ของเด็กและแก้ไขปรับปรุงที่เป็นปัญหา 4. บทบาทของครูในการส่งเสริมนิสัยส่วนตัวและสังคม
  • 19. 281 4.1 ฝึกเด็กให้มีนิสัยในการเรื่องกิจวัตรส่วนตัวอย่างมีระเบียบ การขับถ่าย การรักษาความสะอาด การเล่น หรือเรียน เป็นต้น 4.2 ให้เด็กเล่นดนตรีง่าย ๆ 4.3 แก้ไขปรับปรุงการทรงตัวให้เหมาะสมกับเด็ก 5. บทบาทของครูในการส่งเสริมความเข้าใจภาษา 5.1 สนทนากับเด็ก และจัดกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กสามารถบอก ชื่อ วัน คาตรง ข้าม คาบอกลักษณะ ตาแหน่งได้ 5.2 ครูเล่านิทานหรืออ่านเรื่องจากหนังสือพิมพ์ เพื่อฝึกความสามารถในการฟัง ของเด็ก และเพิ่มพูนความรู้ศัพท์ใหม่ ๆ 5.3 ให้เด็กเล่าเรื่องเกี่ยวกับตนเอง สิ่งที่ได้พบเห็น หรือสิ่งที่นึกคิดได้ 5.4 ส่งเสริมให้เด็กเล่นบทบาทสมมุติ โดยการจัดเป็นมุมบ้านและมุมอื่น ๆ ลัดดา นีละมณี (2524 : 160 – 161) ได้แบ่งหน้าที่ของครูปฐมวัยในแต่ละวันใน สถานศึกษาไว้ดังนี้ 1. หน้าที่ในการสอน 2. หน้าที่ในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก 3. งานธุรการประจาวัน 4. การประเมินผลการปฏิบัติงาน หน้าที่ของครูผู้สอนในระดับการศึกษาปฐมวัยในห้องเรียน 1. บทบาทหน้าที่ทางวิชาการ 1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนว (หลักสูตร) และแผนการจัดประสบการณ์ 1.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน 1.3 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดผลประเมินผล 1.4 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทาสื่อการเรียนการสอน 1.5 มีการเตรียมตัวและพัฒนาตนเองของครู 1.6 สอนและพัฒนาเด็กให้มีความพร้อมทั้ง 4 ด้าน 2. บทบาทหน้าที่ทางธุรการ 2.1 จัดบริการให้คาแนะนา หรือชี้แจงแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับการจัดการศึกษาชั้น เด็กเล็ก 2.2 จัดทาประวัตินักเรียน 2.3 จัดทาบัญชีเรียกชื่อนักเรียน
  • 20. 282 2.4 จัดทาสมุดประจาชั้นนักเรียน 2.5 จัดทาสมุดรายงานประจาตัวนักเรียน 2.6 จัดทาตารางกิจกรรมประจาวัน 2.7 จัดทาใบตรวจสุขภาพ 2.8 จัดทาสมุดหมายเหตุประจาวัน 2.9 จัดทาบัญชีวัสดุ อุปกรณ์ตลอดจนครุภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน 2.10 จัดบริเวณที่เล่นของเด็กให้สะอาดเรียบร้อยปลอดภัย 2.11 จัดทาเรื่องอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา 3. บทบาทหน้าที่ในการจัดชั้นเรียน การจัดชั้นเรียนของเด็กระดับปฐมวัยควรให้มีสภาพเป็นทั้งบ้านและที่เรียนของเด็ก ทั้งเปรียบเสมือนเป็นโลกของเด็ก ครูก็เหมือนสมาชิกคนหนึ่งของบ้าน ทาหน้าที่อบรม สั่งสอน เลี้ยงดูแลเด็ก ดังนั้นการจัดชั้นเรียนต้องทาให้สอดคล้องกับสภาพของโรงเรียน มี ความมุ่งหมายก็เพื่อให้เด็กมีความสุข สนุก สะดวกสบาย ตามความต้องการของเด็ก ให้ เด็กได้เล่น ทางาน และอยู่กับเพื่อนในวัยเดียวกัน และให้เด็กได้มีประสบการณ์ใน การเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ตามวัยด้วย ฉะนั้นการจัดชั้นเรียนของเด็กครูควรพิจารณาดาเนินการ ในเรื่องต่อไปนี้ 3.1 สี เด็กชอบสิ่งต่าง ๆ ที่มีสีสัน สีของห้องเรียนควรเป็นสีอ่อน ๆ เย็นตา เช่น สี ฟ้า สีเขียว สีชมพู สีเหลือง เป็นต้น เครื่องเล่นของเด็กควรมีสีสันสวยงามให้กลมกลืนกัน กับสีของห้องเรียน 3.2 แสง ห้องเรียนต้องมีแสงสว่างเพียงพอ มีหน้าต่างหลายบาน และไม่ควรอยู่ สูงจากพื้นเกิน 70 เซนติเมตร เพื่อเด็กจะได้มองดูภาพภายนอกจากหน้าต่างได้ และติดไฟ ในห้องเรียนเพิ่มแสงสว่าง 3.3 อากาศ เด็กควรได้รับอากาศบริสุทธิ์ ปราศจากกลิ่นเหม็น และห้องต้องมี ประตูหน้าต่างที่ระบายอากาศ เพื่อจะได้มีอากาศพอเพียง 3.4 ความสะอาด บริเวณใกล้เคียงกับห้องเรียนจะต้องดูแลรักษาความสะอาด เพราะเด็กชอบนั่ง นอน กลิ้งไปมากับพื้น มีถังขยะไว้บริเวณมุมใดมุมหนึ่งของห้องเรียน 3.5 ความเรียบร้อย มีการวางสิ่งของต่าง ๆ ให้เป็นที่ เป็นระเบียบ จัดสิ่งของ ต่าง ๆ ไว้เป็นหมวดหมู่ 3.6 ความปลอดภัย ห้องเรียนจะต้องไม่มีสิ่งที่เป็นอันตรายแก่เด็ก เช่น โต๊ะเก้าอี้ ตู้จะต้องไม่มีมุมแหลม รวมไปถึงสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอนด้วย
  • 21. 283 3.7 ห้องเรียนควรมีน้าดื่มสาหรับเด็ก พร้อมแก้วน้าสาหรับเด็ก 3.8 ความสุขสบาย สิ่งของเครื่องใช้ โต๊ะ เก้าอี้ ตู้ เตียง จะต้องมีขนาดที่ เหมาะสมกับเด็ก และเพียงพอกับเด็ก 3.9 ความสนุก ในห้องเรียนจะต้องมีเครื่องเล่น สื่อ มุมศึกษา ตลอดจนมีสื่อ วัสดุอุปกรณ์อย่างเพียงพอ และมีความหลากหลาย เพื่อให้เด็กสามารถเล่น และส่งเสริม การเรียนรู้สาหรับเด็กได้ 3.10 การส่งเสริมประสบการณ์ ห้องเรียนสาหรับเด็กควรจัดสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กได้ตลอดเวลา บทบาทหน้าที่ของครูผู้สอนที่มีต่อผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 1. ผู้ปกครอง เพื่อช่วยให้ผู้ปกครองเข้าใจลูกของตนเองได้ดีขึ้น และเข้าใจเกี่ยวกับ การจัดการเรียนการสอน การติดต่อกับผู้ปกครองจึงเป็นเรื่องที่จะต้องมีการเตรียมการซึ่ง ครูอาจจะทาในลักษณะดังต่อไปนี้ 1.1 ก่อนจะรับเด็ก ควรให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับนโยบาย วัตถุประสงค์ และแนวทางการเรียนการสอน 1.2 พยายามหาโอกาสพูดคุยสนทนากับผู้ปกครองทั้งอย่างเป็นทางการและไม่ เป็นทางการ ถึงลักษณะพฤติกรรมทั้งที่เป็นปัญหาและไม่เป็นปัญหาแก่เด็ก ในขณะที่อยู่ โรงเรียนและอยู่ที่บ้าน การพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการ อาจจะเป็นช่วงพบปะกับผู้ปกครอง ตอนเช้าหรือตอนเย็นเมื่อผู้ปกครองมารับส่งนักเรียน ส่วนการพูดคุยอย่างเป็นทางการคือ การจัดประชุมผู้ปกครองเป็นกลุ่มย่อย ๆ อาจจะทาในช่วงปิดเทอมหรือระหว่างเทอมก็ได้ 1.3 จัดเวลาและหาโอกาสให้ผู้ปกครองได้เข้าสังเกตการเรียนการสอน 1.4 จัดกิจกรรมให้ผู้ปกครองที่มีการประกอบอาชีพและมีประสบการณ์ในด้าน ต่าง ๆ เข้ามามีโอกาสได้ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้กับเด็ก 1.5 เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองเข้ามาเป็นอาสาสมัครช่วยเหลือกิจการของโรงเรียน ตามความถนัด เช่น ช่วยเลี้ยงดูเด็ก ปรุงอาหาร หรือทาของเล่นให้กับเด็ก เป็นต้น 1.6 จัดทาเอกสารหรือสิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนแจกให้ ผู้ปกครอง 1.7 ไปเยี่ยมบ้านเด็กเพื่อพบปะสนทนากับผู้ปกครองของเด็กในยามปกติ ตลอดจนในยามเจ็บป่วยหรือเดือดร้อน 2. ชุมชน
  • 22. 284 2.1 ติดต่อเยี่ยมเยียนชุมชนอย่างใกล้ชิดอยู่เสมอ ทั้งในยามปกติและยามเจ็บป่วย หรือเดือดร้อน 2.2 ช่วยเหลือชุมชนในการติดต่อกิจธุระภายในโรงเรียน 2.3 มีการประชุมร่วมกับชุมชน 2.4 ช่วยเหลืองานชุมชน เช่น การพัฒนาสิ่งต่าง ๆ 2.5 ร่วมมือในพิธีการต่าง ๆ ตามประเพณีของชุมชน 2.6 จัดทาเอกสารหรือสิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนชั้นเด็กเล็ก แจกให้ชุมชน 3. หน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในปัจจุบันการให้การศึกษาและบริการแก่เด็ก ปฐมวัยได้ขยายกว้างขวางและมีหน่วยงานจัดทาอยู่ ถึงแม้รูปแบบจะแตกต่างกัน แต่ จุดหมายใหญ่เป็นไปในทานองเดียวกัน คือ เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ ความพร้อม และ การศึกษาของเด็ก ครูที่สอนในหน่วยงานอื่น ๆ เช่น สาธารณสุข กรมพัฒนาชุมชน กรมประชาสงเคราะห์ เป็นต้น ทั้งนี้ครูอาจจะได้มีโอกาสประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๆ ให้ เกิดประโยชน์แก่หน่วยงานทุก ๆ ฝ่าย การติดต่อประสานงานอาจจะทาได้ในลักษณะ ดังต่อไปนี้ 3.1 เยี่ยมชมการจัดการเรียนการสอนหรือการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยของ หน่วยงานอื่น 3.2 เชิญชวนให้ครูหรือผู้ดูแลเด็กของหน่วยงานอื่น ๆ มาเยี่ยมชมการจัด การเรียน การสอนในระดับปฐมวัยในโรงเรียนของตน 3.3 ประชุมพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ในการทางาน ร่วมกับครูหรือผู้ดูแลเด็กเล็กในหน่วยงานอื่น 3.4 ประชุมวางแผนร่วมกับครู หรือผู้ดูแลเด็กของหน่วยงานอื่น เพื่อให้แนวทาง ใน การบริการ และการศึกษาเด็กให้เป็นไปในทานองเดียวกัน และมีการแลกเปลี่ยนการใช้ สื่อ การเรียนการสอนระหว่างกัน 3.5 จัดงานสังสรรค์ระหว่างโรงเรียน อาจจัดในระดับครูหรือนักเรียนก็ได้ตาม ความเหมาะสม เช่น การแข่งขันกีฬาระหว่างโรงเรียน เพื่อให้เกิดมิตรภาพที่ดีต่อกันในกลุ่ม โรงเรียนที่ใกล้เคียง 5. คุณลักษณะของครูที่ดีตามหลักคาสอนในพระพุทธศาสนา คุณธรรมพื้นฐานของความเป็นครู หลักธรรมหมวดนี้คือ กัลยาณมิตรธรรม ซึ่งมี อยู่ด้วยกัน 7 ประการ ดังนี้