SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  42
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 11
นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย
แผนการสอนประจาบท
1. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้เข้าใจความหมายและความสาคัญของนวัตกรรม
2. เพื่อให้รู้หลักการแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม
3. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของนวัตกรรมได้
4. เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยได้เหมาะสม
2. สาระการเรียนรู้
1. ความหมายและความสาคัญของนวัตกรรม
2. การจัดการเรียนการสอนแบบไฮ /สโคป
3. การจัดการศึกษาแบบวอลดอร์ฟ
4. การจัดการศึกษาแบบใยแมงมุม
5. การสอนภาษาแบบธรรมชาติ
6. การสอนแบบโครงการ
7. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
8. การใช้พอตโฟลิโอ
9. การสอนตามทฤษฎีพหุปัญญา
10. การศึกษาแบบซูคอมลิสกี้
11. การศึกษาแบบซูซูกิ
12. หลักสูตรการสอนของมอนเตสซอรี่
3. กิจกรรมการเรียนรู้
1. ทดสอบก่อนเรียน (แบบทดสอบ)
2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน
3. อภิปราย ซักถาม สรุป ด้วยสไลด์
4. แบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้านวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย
5. แบ่งกลุ่มศึกษาและวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของนวัตกรรม
6. ให้นักศึกษาทดลองนานวัตกรรมไปใช้ในโรงเรียน หรือศูนย์พัฒนาเด็ก
7. ทดสอบหลังเรียน
298
4. สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอน
2. สไลด์ประกอบการสอน (Power point)
3. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง (Internet)
4. รูปแบบการออกแบบกิจกรรมตามนวัตกรรม
5. หนังสือ ตารา วารสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
5. การประเมินผล
1. ผลการทดสอบ ก่อน – หลัง
2. รายงานผลการนานวัตกรรมไปทดลองใช้
3. รายงานผลการศึกษาค้นคว้าการวิเคราะห์นวัตกรรม
4. ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของเนื้อหา
299
บทที่ 11
นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย
การจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นการจัดประสบการณ์แก่เด็กในลักษณะของการอบรม
เลี้ยงดูและการพัฒนาความพร้อมทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา
ถึงแม้ว่าในปัจจุบันการจัดการศึกษาในระดับนี้จะมีความเจริญก้าวหน้าทั้งในด้านปริมาณ
และคุณภาพ อันส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของ ประชากรในทางที่ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม
เนื่องด้วยสังคมวิถีชีวิตและความเป็นอยู่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนมากขึ้น
ทาให้มีปัญหาและอุปสรรคหลายประการในการพัฒนาประเทศชาติ และการจัดการศึกษา
ปฐมวัยก็เช่นกันกาลังเผชิญกับปัญหาและอุปสรรคโดยเฉพาะการพัฒนาประสิทธิภาพซึ่ง
นักการศึกษาปฐมวัยได้พยายามศึกษาค้นคว้าและวิจัยค้นหาแนวคิดและวิธีการหรือ
การกระทาใหม่ ๆ ซึ่งก็หมายถึงการนานวัตกรรมมาใช้เพื่อประโยชน์ในการขจัดปัญหาและ
อุปสรรคที่มีให้น้อยลงหรือหมดไปในที่สุดในบทนี้เพื่อให้เข้าใจบริบทที่เกี่ยวข้องกับ
นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยจึงขออธิบายรายละเอียดตามหัวข้อต่อไปนี้
1. ความหมายและความสาคัญของนวัตกรรม
2. การจัดการเรียนการสอนแบบไฮ /สโคป
3. การจัดการศึกษาแบบวอลดอร์ฟ
4. การจัดการศึกษาแบบใยแมงมุม
5. การสอนภาษาแบบธรรมชาติ
6. การสอนแบบโครงการ
7. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
8. การใช้พอตโฟลิโอ
9. การสอนตามทฤษฎีพหุปัญญา
10. การศึกษาแบบซูคอมลิสกี้
11. การศึกษาแบบซูซูกิ
12. หลักสูตรการสอนของมอนเตสซอรี่
1. ความหมายและความสาคัญของนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย
จากการที่นักการศึกษาปฐมวัยพยายามที่จะพัฒนาการจัดกิจกรรมและ
ประสบการณ์เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้และพัฒนาได้อย่างเหมาะสมกับวัย
300
นักการศึกษาปฐมวัยจึงได้พยายามค้นคว้าวิจัยเพื่อหาแนวคิดและวิธีการใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับเด็ก เช่น ในการอบรมเลี้ยงดูและจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กปฐมวัยขึ้นมาเรียกว่า
นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยซึ่งครูปฐมวัยหรือผู้ทาหน้าที่อบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยควร
จะศึกษาและทาความเข้าใจ เกี่ยวกับนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย เพื่อนาความรู้
ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้ในการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมสาหรับเด็ก
ปฐมวัย โดยเริ่มตั้งแต่ศึกษาความหมายและความสาคัญของนวัตกรรมทางการศึกษา
ปฐมวัย เป็นต้น
1. ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย
นวัตกรรมเป็นคาที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทยคานี้เป็นศัพท์บัญญัติ
ของคณะกรรมการพิจารณาวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ โดยในอดีตใช้คาว่า นวกรรมซึ่ง
เป็นคาที่มาจากภาษาอังกฤษว่า “Innovation” (บุญเกื้อ ควรหาเวช. 2542 : 11) หมายถึง
สิ่งใหม่หรือการเปลี่ยนแปลง (ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2536 : 32) คาว่า นวัตกรรม จึงมี
นักการศึกษาบางกลุ่มใช้คาว่า นวกรรม ดังนั้น คาว่า นวกรรมและนวัตกรรม ทั้งสองคานี้
จึงใช้ในความหมายเดียวกัน คือ การกระทาใหม่ ๆ ที่จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อจะ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบการศึกษา
สวัสดิ์ บุษปาคม (2517 : 1) กล่าวถึง นวัตกรรมว่า หมายความถึง การปฏิบัติ
หรือกรรมวิธีที่นาเอาวิธีการใหม่มาใช้หรือการทาการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงวิธีทาสิ่งต่าง ๆ
ให้ดีกว่าเดิม คือทาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ตัวอย่างเช่น ในการให้การศึกษาก็ใช้เครื่องมือ
กลช่วยการสอนที่เรียกว่า Teaching หรือใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยในการสอนที่เรียกว่า
Computer Assissted Instruction (CAI) เป็นต้น
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2529 : 25 –26) กล่าวว่าสิ่งที่ถือว่าเป็น “นวกรรม” มีเกณฑ์
ในการพิจารณาดังนี้
1) จะต้องเป็นสิ่งใหม่ทั้งหมดหรือบางส่วนอาจเป็นของเก่าใช้ไม่ได้ผลในอดีตแต่นามา
ปัดฝุ่นปรับปรุงใหม่ หรือเป็นของปัจจุบันที่เราทาการปรับปรุงให้ดีขึ้น
2) มีการนาวิธีการจัดระบบ (System Approach) มาใช้โดยพิจารณา
องค์ประกอบทั้งส่วนข้อมูลที่ใส่เข้าไป กระบวนการ และผลลัพธ์ โดยกาหนดขั้นตอน
การดาเนินการให้เหมาะสมก่อนที่จะทาการเปลี่ยนแปลง
3) มีการพิสูจน์ด้วยการวิจัยหรืออยู่ระหว่างการวิจัยว่า “สิ่งใหม่” นั้น จะช่วย
ให้แก้ปัญหาและดาเนินงานบางอย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าเดิม
301
4) ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบันมาก “สิ่งใหม่” นั้น ได้รับ
การเผยแพร่และยอมรับจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบงานที่ดาเนินอยู่ในขณะนี้ไม่ถือว่า
สิ่งใหม่นั้นเป็นนวัตกรรมต่อไป แต่จะเปลี่ยนสภาพเป็นเทคโนโลยีอย่างเต็มที่
จากเกณฑ์การพิจารณาข้างต้นทาให้แนวคิดหลักปฏิบัติระบบกระบวนการวิธีการ
ระเบียบกฎและสิ่งประดิษฐ์ซึ่งไม่ถือเป็น “นวัตกรรม” ในประเทศหนึ่งอาจจะเป็นนวัตกรรม
ในประเทศอื่นได้สิ่งที่ถือว่าเป็นนวัตกรรมในอดีตหากใช้แพร่หลายแล้วก็ไม่ถือเป็นนวัตกรรม
และสิ่งที่เคยใช้ไม่ได้ผลในอดีต หากนามาปรับปรุงใช้ในปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพถือ
ว่าเป็นนวัตกรรม
การจัดการศึกษาปฐมวัยในอดีตถือว่าเป็นเด็กเป็นผู้ใหญ่ตัวเล็ก เพราะฉะนั้น
การสอนหรือการให้การศึกษาจึงจัดให้เหมือนผู้ใหญ่ จนกระทั่งมีนักคิดและนักการศึกษา
หลายท่านได้เป็น ผู้ริเริ่มนาแนวปฏิบัติที่ว่าการจัดการศึกษาปฐมวัยควรจะแตกต่างจาก
การจัดการศึกษาสาหรับผู้ใหญ่ โดยได้เสนอแนวคิดตลอดวิธีการสอนและการใช้อุปกรณ์
ต่างๆ ที่เหมาะสมกับวัยของเด็กตั้งแต่อดีตที่นับว่าเป็นนวัตกรรมในอดีตนักการศึกษา
ดังกล่าวมีหลายคน เช่น โคมินิอุส รูสโซ เปสตาลอชซี่ เฟรอเบล และมอนเตสซอรี่ เป็นต้น
ในปัจจุบันแนวคิดของนักการศึกษาเหล่านี้เป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับและนามาปฏิบัติ
อย่างแพร่หลาย
ดังนั้นนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย จึงหมายถึง การนาแนวคิดและวิธีการหรือ
การกระทาใหม่ ๆ ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ทางการศึกษาปฐมวัยมาใช้ในการปรับปรุง
ประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยให้ดียิ่งขึ้นโดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน (วรนาท รักสกุล
ไทย. 2537 : 144)
2. ความสาคัญของนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย
เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่เรียนรู้ด้วยการกระทาจากประสบการณ์ตรงที่ประกอบด้วยสิ่ง
ที่เป็นรูปธรรมง่าย ๆ ไปสู่สิ่งที่เป็นรูปธรรมยากๆและไปสู่นามธรรมในที่สุด (อุดมลักษณ์ กุล
พิจิตร. 2532 : 157) การจัดการศึกษาปฐมวัยจึงให้ความสาคัญในเรื่องความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล โดยมุ่งจัดประสบการณ์ตามความถนัด ความสนใจ และความสามารถของ
แต่ละคนเป็นเกณฑ์ เพื่อพัฒนาให้เด็กมีความพร้อมในการเรียน นักการศึกษาปฐมวัยตั้งแต่
อดีตจนถึงปัจจุบันจึงพยายามที่จะวิเคราะห์ปัญหาในการจัดการศึกษาปฐมวัย คิดวิธีการ
แนวทางใหม่เพื่อแก้ปัญหาทดลองวิธีการใหม่เผยแพร่แนวทาง และวิธีการใหม่ ซึ่งถือได้ว่า
เป็นนวัตกรรม และเมื่อแนวทางและวิธีการใหม่เข้าสู่ระบบปกติก็จะยุติความเป็นนวัตกรรม
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2521 : 15 –16) ได้วิเคราะห์ความสาคัญของนวัตกรรมทาง
การศึกษาปฐมวัยศึกษาจากพัฒนาการยุคต้น ๆ ของการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศว่ามี
302
การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษามาประยุกต์ใช้พอสรุปได้ คือ ระเบียบและวิธีสอนของ
โคมินิอุสเน้นการสัมผัสรับรู้จากธรรมชาติใช้วัสดุอุปกรณ์สีสันสวยงาม จัดสภาพแวดล้อม
ให้น่าอยู่ ส่วนหลักการของรูสโซ เน้นให้เด็กรับรู้สัมผัสตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ
เปสตาลอชซี่ที่เน้นใช้วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทางเทคโนโลยีการศึกษาเข้าช่วย ทั้งการจัด
ประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรมและประสบการณ์ตรงของดิวอี้ ตลอดจนการจัดห้องเรียน
เหมือนบ้านของมอนเตสซอรี่
ปัจจุบันนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย ได้เผยแพร่เข้าสู่การจัดการศึกษาปฐมวัย
อย่างรวดเร็วและเป็นปรากฏการณ์ที่วงการการศึกษาปฐมวัยไม่อาจปฏิเสธได้ เพราะใน
ปัจจุบันการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เป็นไปอย่างเหมาะสมนั้น ได้มีการร่วมมือกันดาเนินการ
โดยหน่วยงานหลายฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งต่างก็พยายามที่จะคิดค้นและทดลอง
นวัตกรรมต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปัญญา (ทิศนา แขมมณี. และคณะ 2535 : 22 – 23) นวัตกรรมทุกอย่างมี
ประโยชน์และมีค่าที่จะทาให้เกิดการตื่นตัวโดยเฉพาะด้านการเรียนการสอนที่จะนาไปสู่
การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของเด็ก ดังนั้นนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย
ควรได้รับการสนับสนุนจากงานวิจัยใหม่ ๆ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในการนานวัตกรรมมา
ใช้ (อารี สัณหฉวี. 2537 : 166)
นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบันได้เผยแพร่มายังประเทศไทยหลาย
เรื่อง อาทิเช่น หลักสูตรไฮ / สโคป การศึกษาวอลดอร์ฟ หลักสูตรใยแมงมุม การสอน
ภาษาแบบธรรมชาติ การสอนแบบโครงการการสอนแบบมอนเตสซอรี่ การใช้คอมพิวเตอร์
ช่วยสอน และการประเมินผลโดยการใช้พอตโฟลิโอ เป็นต้น
2. หลักสูตรไฮ / สโคป
หลักสูตรไฮ / สโคป (High / Scope Curriculum) เป็นหลักสูตรที่เดวิด ไวคาร์ท
(Darid Weikart) และแมรี่ โฮเมน ก่อตั้งขึ้นมา หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่เน้นพุทธิปัญญา
(Cognitively Oriented Curriculum) หรือกระบวนการเรียนรู้ด้วยความเข้าใจ ที่ใช้พื้นฐาน
ทฤษฎีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเพียเจท์ (Piaget) ประกอบด้วยหลักการสาคัญ คือ
(ประอร อิศรเสนา ณ อยุธยา. 2542 : 19)
1) การเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ (Active Learning) หรือการเรียนรู้ด้วยการกระทาของ
เด็กระหว่างเด็กต่อครูเด็กต่อเด็กและเด็กต่อวัตถุสิ่งของหรือสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็น
ประสบการณ์โดยตรงของเด็ก
2) พัฒนาการทางสติปัญญาเกิดขึ้นตลอดเวลา
303
3) เด็กเกิดการพัฒนาทางด้านสติปัญญาจากการกระตุ้นภายใน
“เพียเจท์” เชื่อว่าการจัดสิ่งแวดล้อมที่ดีจะช่วยในการพัฒนาสติปัญญาของเด็ก
การเรียนรู้เชิงปฏิบัติเป็นขั้นตอนการปรับตัวของเด็กให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม เด็กเรียนรู้จาก
การค้นหาการเรียนกิจกรรมการมีปฏิกิริยาหรือกระทากับคนหรือวัตถุซึ่งก่อให้เกิด
ความคิด การแก้ปัญหาการตัดสินใจ ตลอดจนการเล่นซึ่งเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในชีวิตของ
เด็ก
การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรไฮ / สโคป จะเน้นการส่งเสริมเด็กให้เขาได้
ทาในสิ่งที่เขาสนใจหรือในสิ่งที่เขาคิดและได้รับการฝึกฝนด้านสติปัญญาและความสามารถ
ของร่างกาย โดยเปิดโอกาสให้เด็กได้ร่วมมือกับเพื่อนและคณะในการวางแผน การทางาน
เป็นกลุ่มตลอดจน ส่งเสริมให้เด็กประสบผลสาเร็จในชีวิต การจัดการเรียนการสอนแบบ
ไฮ / สโคป จึงองค์ประกอบการเรียนรู้ที่ครูจะต้องจัดทา 6 ประการ คือ (ประอร อิศร
เสนา ณ อยุธยา. 2542 : 22 – 26)
1. การเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ
หัวใจสาคัญของการสอนแบบไฮ / สโคป คือ การเรียนรู้เชิงปฏิบัติการที่มุ่งเน้นให้
เด็กมีประสบการณ์ตรงในการเรียน เด็กได้ค้นหาสารวจสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง
5 จับต้องเปลี่ยนแปลงและประกอบวัสดุสิ่งของเข้าด้วยกัน มีโอกาสเลือกวัสดุอุปกรณ์
กิจกรรมและจุดประสงค์ต่าง ๆ ด้วยตนเอง หัดใช้เครื่องมือต่าง ๆ ที่ทาให้เด็กได้ใช้
กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเรียนและเรียนรู้ถึงความต้องการของตนเอง
เด็กจะเกิดการเรียนรู้เชิงปฏิบัติได้ด้วยการลงมือทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเอง รวมทั้ง
การสารวจค้นหาตลอดจนได้กระทาระหว่างเด็กต่อเด็ก เด็กต่อผู้ใหญ่ และเด็กต่อวัสดุ
อุปกรณ์ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ก่อให้เกิดพัฒนาการในด้านสติปัญญา ดังนั้นในการจัดการเรียน
การสอนสาหรับเด็กแบบไฮ / สโคป จึงต้องมีวัสดุอุปกรณ์หลากหลายไว้ให้เด็กแต่ละคนได้
ใช้เด็กได้จับต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ เด็กมีโอกาสเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์คิดว่าจะใช้ทาอะไร ได้
สนทนากับเพื่อนครู สามารถเลือกใช้คาพูด เกิดพัฒนาการทางภาษา ครูและเพื่อนทั้งหญิง
และชายช่วยสนับสนุนเด็กในการคิดและการทากิจกรรมหรือทาสิ่งต่าง ๆ ของเด็ก
หลักการสาคัญเด็กต้องสามารถวางแผน (Plan) ปฏิบัติการ (Do) และทบทวนงาน
(Review) ของตนในการเรียนทุกครั้ง ซึ่งในกระบวนการสอน ครูต้องเข้าใจและมีความรู้
เกี่ยวกับพัฒนาการของนักเรียนในแต่ละวัย จัดห้องเรียนให้สะท้อนถึงการจัดการเรียน
การสอนให้เหมาะสมกับพัฒนาการของนักเรียนในแต่ละวัย มีมุมต่าง ๆ ในห้องที่เหมาะสม
วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนตามตารางกิจวัตรประจาวัน (Plan – Do - Review) ครู
ต้องเรียนรู้และใช้ประสบการณ์หลักว่าต้องการให้นักเรียนรู้อะไรบ้างจัดกิจกรรมโดย
304
ประเมินความสามารถของนักเรียนว่าต้องการหรือยังขาดเนื้อหาในข้อใดบ้างพยายามจัด
กิจกรรมการสอนให้ครบใน ทุกข้อ
การเรียนเป็นกลุ่มย่อยมีประสิทธิภาพมากกว่าการเรียนเป็นกลุ่มใหญ่ นักเรียนได้
มีปฏิสัมพันธ์กับครูและเพื่อน ตลอดจนได้ลงมือปฏิบัติใช้วัสดุอุปกรณ์ ซึ่งเป็นการง่าย
สาหรับครูในการทาบันทึกสั้นครูต้องทบทวนการจัดการและการวางแผนกิจวัตรประจาวัน
โดยใช้การประเมินผลจากแฟ้มสะสมงาน
2. หลักการจัดห้องเรียน
2.1 จัดมุมสาหรับทากิจกรรม อย่างน้อยควรมี 5 มุม จัดแบ่งมุมให้เรียบร้อยอาจ
ใช้พรมหรือเทปแบ่งเขตมีมุม เช่น มุมศิลปะ มุมบ้าน มุมหนังสือ มุมไม้บล็อก มุมต่อหรือ
ประดิษฐ์สิ่งของชิ้นเล็กๆเช่นโลโก้ มุมหนังสือมุมคอมพิวเตอร์ โดยตั้งชื่อมุมต่าง ๆให้นักเรียน
ได้ทราบอาจเป็นภาพหรืออักษรก็ได้
2.2 มีวัสดุอุปกรณ์ที่หลากหลายและน่าสนใจสาหรับนักเรียน ถ้านักเรียนรู้สึก
เบื่อกับมุมบางมุม ครูมีเทคนิคในการทาให้มุมน่าสนใจขึ้น เช่น อาจเพิ่มผ้ากันเปื้อนที่
มุมบ้าน
2.3 จัดมุมต่าง ๆ และจัดวัสดุอุปกรณ์อย่างมีระบบ อุปกรณ์ต่าง ๆ มีที่เก็บ
เหมาะสมอยู่ในระดับสายตาของเด็ก ปลอดภัยสาหรับเด็กมีป้ายบอกว่าเก็บอะไรไว้ที่ไหน
เช่น ที่ลิ้นชักใส่กรรไกร อาจมีภาพกรรไกรหรือคาว่ากรรไกรและอยู่ที่ลิ้นชัก เด็กจะได้รู้ควร
เอากรรไกรมาจากที่ใดและเก็บไว้ที่ใดเมื่อใช้เสร็จ
3. ตารางกิจวัตรประจาวัน
ตารางกิจวัตรประจาวันมีความสาคัญเด็กมาก เพราะช่วยให้เด็กรู้จักวางแผน
การทางานรู้จักตัดสินใจว่าตนเองจะทาอะไร ซึ่งเป็นการฝึกระเบียบวินัยให้กับเด็กมาก ทั้ง
ยังช่วยให้ครูง่ายต่อการจัดกิจกรรม
การจัดกิจวัตรประจาวันอย่างสม่าเสมอเด็กจะเรียนรู้ในการจัดตารางเวลา
การทางานของตนเอง ตารางการเรียนการสอนประกอบด้วยกิจกรรมที่ครูต้องกระทา 7
ช่วง คือ
3.1 ช่วงทักทาย อาจใช้กิจกรรมวงกลมในการแบ่งปันประสบการณ์การเล่า
นิทานหรือบอกข่าวสารเล่าเรื่องราวระหว่างเด็กบอกเด็กหรือครูบอกข่าวเด็ก
3.2 ช่วงวางแผน ใช้เวลา 5 – 10 นาที ครู 2 คน ต่อเด็ก 2 กลุ่ม โดยครูจะ
สนับสนุนให้เด็กคิดแล้วบอกว่าจะทาอะไรในช่วงกิจกรรม ถ้านักเรียนบอกไม่ถูกอาจเดินไป
ชี้ให้เด็กเลือกรูปกิจกรรมหรือวาดออกมาเป็นภาพ
305
3.3 ช่วงกิจกรรมการทางาน ใช้เวลา 45 นาที เด็กได้เรียนรู้โดยการกระทา
กิจกรรมต่าง ๆ ที่ตนเองได้เลือกทาตามความต้องการของตนเอง ซึ่งเด็กจะทาสิ่งที่ตนเอง
ชอบได้ดีกว่าการเรียนโดยการที่ครูบังคับ ถ้าเด็กทากิจกรรมซ้า ๆ กัน ครูอาจแนะนาว่าให้
ลองทาอย่างอื่นบ้างในช่วงทากิจกรรมเด็กจะได้พูดคุยด้วยกันทางานร่วมกันก่อให้เกิด
พัฒนาการทางสติปัญญา กิจกรรมที่ทาอาจ ได้แก่ตัดกระดาษ ประดิษฐ์ ทดลอง
คอมพิวเตอร์ ต่อไม้บล็อก ครูมีหน้าที่สังเกต ซักถาม แนะนาและจดบันทึกสั้น
3.4 ช่วงเก็บงานและทาความสะอาด เด็กต้องเรียนรู้ที่จะเก็บทุกอย่างให้เป็น
ระเบียบ ครูจะให้เวลาโดยบอกล่วงหน้า 5 นาที เป็นต้น
3.5 ช่วงทบทวน เป็นการช่วยเด็กสะท้อนความคิดกระตุ้นความทรงจา และเป็น
การประเมินต่อตนเองของเด็ก เด็กอาจออกมารายงานหน้าชั้นให้เพื่อนฟังถึงสิ่งที่ตนเองทา
หรือบอกผลงานของตนเองว่าเป็นอย่างไร ถ้าเด็กเป็นจานวนมากอาจบอกกันในกลุ่มย่อย
หรือบอกสลับวันกันเมื่องานของตนสาเร็จก็ได้
3.6 ช่วงอาหารว่าง ในช่วงนี้อาจรวมกับช่วงทบทวนและให้เด็กบอกว่าได้ทาอะไร
ไป ผลงานตนเป็นอย่างไร เมื่อเด็กรับประทานอาหารเสร็จก็ควรเรียนรู้ในการรักษา
ความสะอาด
3.7 ช่วงกิจกรรมวงกลม ในช่วงนี้ครูอาจให้นักเรียนท่องกลอนหรือร้องเพลง
เล่นเกม หรือเลือกหัวหน้า
4. ประสบการณ์หลัก
เนื้อหาหลักสูตรการเรียนการสอนแบบไฮ / สโคป ไม่มีหน่วยการสอนและไม่
กาหนดหัวข้อที่ต้องเรียนครูใช้ประสบการณ์หลัก (Key experiences) ซึ่งหมายถึง
ประสบการณ์ที่กาหนดอย่างมีจุดประสงค์ เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมซึ่งเป็นการเรียนรู้
เชิงปฏิบัติการเนื้อหาและ หลักสูตรแยกเป็นประสบการณ์หลักรายวิชา ได้แก่ คณิตศาสตร์
ภาษา การอ่านออกเขียนได้ วิทยาศาสตร์ การเคลื่อนไหว และอื่น ๆ
ตัวอย่าง เช่น ครูสอนเรื่องพืช
กิจกรรม คือ การสังเกต แยกและนับเมล็ดพืชและบันทึกโดยการวาดภาพและ
เขียน
ประสบการณ์หลัก คือ การแสดงถึงสิ่งที่สร้างสรรค์ และเลียนแบบสิ่งที่อยู่ในชีวิต
จริงรู้จักและชี้บ่งสิ่งของต่าง ๆ ได้จากประสาทสัมผัสทั้งห้า ด้วยการวาดรูปและระบายสี
การจัดประสบการณ์หลักจะต้องเน้นการเรียนการสอนแบบบูรณาการคู่กับ
การสอนเชิงปฏิบัติการที่นักเรียนสามารถวางแผนและเลือกกิจกรรมเพื่อโยงเข้าหา
ประสบการณ์ที่ครูกาหนดให้เรียนได้ประสบการณ์หลักที่ครูจัดให้กับเด็กแต่ละ
306
ประสบการณ์จะต้องสังเคราะห์มาจากทักษะ เนื้อหา และขั้นตอนพัฒนาการทางสติปัญญา
ที่ครูต้องสามารถให้ผู้ปกครองทราบได้ว่าเด็กจะเกิดการเรียนรู้อะไร ครูจะจัดการสอน
อย่างไร และผู้ปกครองจะนาไปสอนที่บ้านให้แก่บุตรหลานได้อย่างไรด้วย
5. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน
ในขณะดาเนินการเรียนการสอน ครูสนับสนุนและเพิ่มเติมเสริมต่อการเรียนรู้ของ
นักเรียนด้วยการสนทนาเชิงวิชาการ ครูพูดชี้แนะให้นักเรียนคิดและอธิบายในสิ่งที่นักเรียน
ไม่เข้าใจสนับสนุนให้นักเรียนรู้จักแก้ปัญหาด้วยตนเอง ในการเรียนการสอนทั่วไปครูจะเป็น
ผู้นาในการสอน แต่การสอนแบบไฮ / สโคป ครูจะให้โอกาสนักเรียนได้แสดงออกในด้าน
ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นตลอดจนช่วยนากิจกรรมต่าง ๆ ครูจะทาหน้าที่เพียงเป็นผู้สร้าง
บรรยากาศการเรียนรู้ทางสังคมให้เป็นไปในแง่บวก แง่ดี และจูงใจให้เกิดการเรียนรู้ ตาม
ความสนใจโดยคานึงถึงพัฒนาการและความแตกต่างระหว่างบุคคลเช่นการจัดวัสดุ
อุปกรณ์และสิ่งแวดล้อมให้นักเรียนได้เรียนอย่าง เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของ
นักเรียนในลักษณะของการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ
6. การประเมินผล
6.1 ครูทาบันทึกสั้น (Anecdotal Note) เรื่องราวและเหตุการณ์ประจาวัน
เกี่ยวกับความก้าวหน้าและปัญหาของนักเรียนแต่ละคนทุกวัน แล้วรวบรวมเรื่องราวของ
นักเรียนแต่ละคนว่ามีพัฒนาการเป็นอย่างไร
6.2 การเก็บตัวอย่างงานที่นักเรียนได้ทาลงในแฟ้มสะสมงาน (Portfolio) เพื่อ
จะได้ทราบความก้าวหน้าในพัฒนาการของนักเรียนในด้านต่าง ๆการแสดงออกของ
นักเรียนรวมทั้งได้ทราบปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียนนอกจากนี้แฟ้มงานยังสะท้อนถึง
ความเป็นตัวของตัวเองของนักเรียนแต่ละคน และเป็นสื่อกลางให้เกิดความร่วมมือระหว่าง
ผู้ปกครองนักเรียน และครู
6.3 ประเมินผลโดยใช้ประสบการณ์หลัก (Key Experiences) เป็นแนวทาง
6.4 การประเมินผลและการวางแผนตารางประจาวันของครู
3. การศึกษาแบบวอลดอร์ฟ
การศึกษาวอลดอร์ฟ (Waldrolf Education) เป็นการจัดการศึกษาตามแนวคิดของ
รูดอล์ฟสไตเนอร์เขาตั้งโรงเรียนวอลดอร์ฟแห่งแรกขึ้นในปี ค.ศ. 1919 ที่สตุทการ์ด
เยอรมนี แนวคิดของเขาผ่านการพิสูจน์และเรียนรู้มาตลอดระยะเวลายาวนาน จนถึง
ปัจจุบันมีโรงเรียน วอลดอร์ฟอยู่ทั่วโลก (มาร์จอรี่ สบ็อค. 2539 : 4) การศึกษาวอลดอร์ฟ
มีสาระที่น่าสนใจดังนี้
307
1. แนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์
รูดอร์ฟ สไตเนอร์ อุทิศตนเองในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของ
มนุษย์โดยการสังเกตด้วยตนเอง และได้สรุปว่า มนุษย์มิได้เป็นเพียงผลิตผลโดยบังเอิญของ
เอกภพอันไร้จิตซึ่งทาหน้าที่อย่างกลไก เขามองเห็นจิตวิญญาณในตัวมนุษย์เห็นว่ามันมี
ส่วนร่วมในชีวิตและวิวัฒนาการของจักรวาลแห่งจิตวิญญาณโดยแก่นแท้ โลกแห่งสสาร
วิวัฒนาการขึ้นมาจากจักรวาลนี้เอง เขาเชื่อว่าจิตวิญญาณและกายจะต้องดารงอยู่คู่กัน
โดยจิตวิญญาณจะเข้าสู่กายอย่างช้า ๆ ทีละเล็กละน้อยค่อย ๆ ก่อรูปให้กายเป็นเครื่องมือ
ที่สมบูรณ์ของจิตวิญญาณ เขาเห็นว่ากระบวนการนี้เต็มไปด้วยความยุ่งยากสลับซับซ้อน
เสียจนผู้ที่จะเข้าใจได้จะต้องพัฒนาพลังแห่งการสังเกตขึ้นทั้งแบบที่เป็นวิทยาศาสตร์และ
ศิลปะ ดังนั้นในความหมายของรูดอร์ฟสไตเนอร์ การศึกษาจึงเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ใน
การปูทางสู่ปัญหาทางการศึกษาทุกข้อ เขาจึงพูดราวกับผู้ที่มีความเป็นนักคิดศิลปิน
นักจิตวิทยา และนักสรีรวิทยา ผสมผสานกันอย่างสมบูรณ์อยู่ในตัวคนเดียว เขาพูดถึง
มนุษย์อย่างทั่วด้านเสมอ พูดถึงจิตวิญญาณ จิตใจ และรูปกาย เขาเห็นว่าการศึกษาคือ
วิถีทางที่สามารถช่วยให้จิตวิญญาณซึ่งมาจุติอย่างช้า ๆ ประสานกลมกลืนไปกับกายใน
ระดับที่ปรารถนาได้ และการที่จิตวิญญาณครองความเป็นใหญ่ในขั้นตอนต่าง ๆ ของ
การเจริญวัยทางกาย ด้วยเหตุนี้การเปลี่ยนแปลงทางกายจึงกลายเป็นเงื่อนงาที่แสดงถึง
พัฒนาการของเด็ก (มาร์จอรี่ สป็อค. 2539 : 21 – 23)
รูดอร์ฟ สไตเนอร์ แบ่งช่วงพัฒนาการของมนุษย์เป็น 3 ช่วงระยะ คือ
1.1 ช่วงระยะที่ 1 เป็นช่วงระยะก่อนที่ฟันแท้จะขึ้น (แรกเกิด – 7 ขวบ) เมื่อ
ทารกคลอดออกมา ความประทับใจจากรูป รส กลิ่น เสียงและสัมผัส พากันพรั่งพรูเข้า
สู่ประสาทซึ่งตื่นขึ้นอย่างเชื่องช้าของเด็กอย่างค่อยเป็นค่อยไป สัดส่วนร่างกายของเด็กยัง
เป็นสัดส่วนที่ไม่เหมาะสมเพราะระบบในร่างกายคือระบบย่อยอาหารและการเจริญเติบโต
ของแขนขา เพื่อสร้างรูปกายกาลังพัฒนา ซึ่งต้องอาศัยเวลาในการพัฒนาต่อไป ในระยะ 3
ปีแรกของชีวิตพลังทางจิตวิญญาณทั้งหมดของเด็กถูกมอบให้กับความพยายามที่จะเปลี่ยน
มนุษย์จากทารกที่ช่วยตัวเองไม่ได้ไปสู่เด็กที่เดินตัวตรงและสะท้อนความรู้สึกนึกคิดออกมา
เป็นคาพูดที่รู้เรื่อง เด็กเป็นเหมือนองคาพยพรับสัมผัส (Sene organ) ซึ่งเปิดรับความฝัง
ใจที่หลั่งไหลเข้ามาไม่ว่าจะดีหรือร้าย โดยไม่สามารถดึงตัวเองให้พ้นจากความฝังใจ
เหล่านั้นเลย เด็กจะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ โดยการเลียนแบบจากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเพราะ
การเลียนแบบเป็นความพยายามที่จะเข้าใจและ ซึมซับสาระจากสิ่งรอบตัว
1.2 ช่วงระยะที่ 2 อายุ 7 – 14 ปี ระบบในร่างกายกาลังพัฒนาคือระบบ
การหายใจ และการเต้นของหัวใจเพื่อสร้างพื้นอารมณ์ เด็กมีจินตนาการสูง และชื่นชอบ
308
ความแตกต่างในธรรมชาติ เช่น กลางวัน – กลางคืน ฝนตก – แดดออก เด็กชอบฟัง
นิทานเพ้อฝันในช่วงนี้จึงจัดได้ว่าเป็นช่วงของพัฒนาการด้านความรู้สึกและความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์
1.3 ช่วงระยะที่ 3 อายุ 14 – 21 ปี เมื่อเริ่มเป็นหนุ่มเป็นสาว เด็กจะไม่ใช่
นักฝันที่มองโลกรอบตัวในลักษณะจินตนาการอีกต่อไป เด็กจะพัฒนาความคิดของเด็กจะ
ถูกพัฒนาผ่านการศึกษาที่มีรูปแบบเป็นทางการ (Formal Education)
2. การจัดกิจกรรมสาหรับเด็กปฐมวัย
รูดอร์ฟ สไตเนอร์ เสนอแนะการจัดกิจกรรมสาหรับเด็กปฐมวัยว่า จะต้องแปล
เนื้อหาสาระจากอาณาจักรแห่งพลังเจตจานง (Will) อยู่ตลอดเวลาการเรียนรู้ของเด็กควร
เกิดจากการสังเกต ซึมซับ และสร้างสรรค์การกระทาขึ้นมาใหม่โดยการเลียนแบบ การจัด
กิจกรรมให้แก่เด็กควรเป็นกิจกรรมที่เกิดจากความต้องการทาหรือเข้าร่วมลงมือทาสิ่งหนึ่ง
สิ่งใดที่เด็กได้เห็นคนอื่นทาต่อหน้า เช่น ก่อนที่เด็กจะเริ่มระบายสี เด็กต้องได้เห็นผู้ใหญ่จับ
พู่กัน จุ่มสี แล้วแต่งแต้มสีสันลงบนกระดาษ หลักจากที่เด็กเฝ้าดูกิจกรรมนั้นแล้ว เด็กก็จะ
อยากจะลงมือทาเองโดยไม่ต้องการคาอธิบายจากผู้ใหญ่
การจัดกิจกรรมตามแนวคิดนี้ต้องจัดให้มีความสมดุลระหว่างการเล่นอิสระกับ
กิจกรรมกลุ่ม เพราะเด็กจะได้พัฒนาความคิดริเริ่มของเด็กเองควบคู่ไปกับการคลาย
การยึดติดกับตัวมากเกินไปและได้รับประสบการณ์อันสนุกสนานจากการรวมกลุ่ม
กิจกรรมในโรงเรียน วอลดอร์ฟจึงมีทั้งกิจกรรมศิลปะ กิจกรรมการเล่านิทาน กิจกรรม
ดนตรี กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะที่เรียกว่ายูริธมี (Eurythmy) ยูริธมี ก็คือศิลปะ
แห่งการเคลื่อนไหวประกอบจังหวะที่แสดงออกในรูปดนตรีหรือบทกวีง่าย ๆ
การจัดกิจกรรมจะมีการวางแผนการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย โดยการจัดตาราง
กิจกรรมให้มีกิจกรรมต่าง ๆ สลับกันไปในแต่ละวัน แต่อย่างไรก็ตามตารางที่กาหนดไว้นี้
ไม่จาเป็นต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดจนเกินไปเพราะสามารถปรับเปลี่ยนได้ตาม
ความเหมาะสมการจัดการศึกษาสาหรับเด็กวัยนี้ควรยึดหลักต่อไปนี้ (บุษบง ตันติวงศ์.
2542 : 30)
2.1 การทาซ้า (Repetition) เด็กควรได้มีโอกาสทาสิ่งต่าง ๆ ซ้าแล้วซ้าเล่าจน
การกระทานั้นซึมลึกลงไปในกายและจิตจนเป็นนิสัย
2.2 จังหวะเวลาที่สม่าเสมอ (Rhythm) กิจกรรมในโรงเรียนต้องเป็นไปตาม
จังหวะเวลาที่สม่าเสมอเหมือนลมหายใจเข้า – ออกยามจิตใจสงบและผ่อนคลายเด็กจะได้
รู้สึกมั่นคง ปลอดภัย
309
2.3 ความเคารพและการน้อมรับคุณค่าของทุกสิ่ง กิจกรรมและสื่อธรรมชาติที่
จัดให้เด็กเพื่อให้เด็กเคารพและเห็นคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ที่เกื้อหนุนชีวิตมนุษย์ ความเคารพ
และน้อมรับคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ จะเป็นแก่นของจริยธรรมตลอดชีวิตของเด็ก
3. การจัดสภาพแวดล้อม
เด็กยิ่งเล็กเท่าไรก็ยิ่งเป็นอิสระจากการพึ่งพาสภาพแวดล้อมได้น้อยเท่านั้น ทุกสิ่ง
ทุกอย่างรอบ ๆ ตัวเด็กมีผลต่อพัฒนาการของเด็กไม่ทางใดทางหนึ่ง จากแนวความเชื่อ
ดังกล่าว รูดอล์ฟ สไตเนอร์ จึงให้ความสาคัญกับการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเป็น
พิเศษ เขาเสนอว่าอาณาบริเวณโรงเรียนควรประกอบไปด้วยส่วนที่อยู่ในร่มและกลางแจ้ง
บริเวณในร่มควรเป็นที่ที่มีแสงสว่างทั่วถึง ควรทาสีห้องด้วยสีอ่อน ๆ ไม่จาเป็นต้องติด
วอลเปเปอร์ เพราะลายของวอลเปเปอร์จะทาให้เด็กเบื่อหน่ายที่ไม่ได้ใช้จินตนาการ ส่วน
บริเวณกลางแจ้งควรจัดที่ให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสนาม และควรจัดสื่อวัสดุอุปกรณ์ดังนี้
3.1 อุปกรณ์ภายในห้องเรียน ภายในห้องเรียนควรมีอ่างล้างมือขนาดใหญ่พอที่
เด็กจะจุ่มกระดาษวาดเขียนลงไปได้ทั้งแผ่น มีช่องเก็บของสาหรับเด็กแต่ละคน
สื่อการเรียนหรือของเล่นที่จัดให้แก่เด็ก ควรเป็นสิ่งของจากธรรมชาติ เช่น ไม้ ดินเหนียว
เป็นต้น เมื่อเด็กได้เล่นของเล่นที่ทามาจากวัสดุธรรมชาติ จะทาให้เด็กเกิดความผูกพันกับ
ต้นกาเนิดแหล่งที่มาดั้งเดิมของสิ่งเหล่านั้น สไตเนอร์เชื่อว่าของเล่นที่มีความสมบูรณ์น้อย
แต่ชี้ช่องทางในการเล่นจนได้มากย่อมมีคุณค่าทางการศึกษามากกว่าของเล่นที่ประณีต มี
รายละเอียดครบหมดทุกอย่างโดยไม่เหลืออะไรให้เด็กจินตนาการเอาเองเลย นอกจาก
ของเล่นแล้วยังมีการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทางานศิลปะ เช่น กระดาษวาดเขียน
พู่กันและสีชนิดต่าง ๆ เป็นต้น
3.2 อุปกรณ์กลางแจ้ง ควรประกอบไปด้วยเครื่องเล่นสนามชนิดต่าง ๆ บ่อทราย
รถเข็น อุปกรณ์ก่อสร้างและเครื่องมือทาสวน เป็นต้น
การศึกษาวอลดอร์ฟมาจากพื้นฐานด้วยจิตวิญญาณที่ให้ความสาคัญแก่
พัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ และสติปัญญา พ่อแม่และครูมีหน้าที่ทาตนเป็น
แบบอย่างที่ดี และจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสาหรับการเลียนแบบ เด็กควรมีโอกาสได้
เลียนแบบในสิ่งที่มีคุณค่าและค้นคว้าสร้างสรรค์ จึงเป็นการไม่เหมาะสมที่จะสอน การเขียน
การอ่าน และคณิตศาสตร์ในช่วงวัยนี้การศึกษาวอลดอร์ฟจึงไม่มีการทดสอบ เพราะ
สไตเนอร์ เชื่อว่า การทดสอบไม่มีคุณค่าทางการศึกษา และสิ่งที่การศึกษาวอลดอร์ฟ
แตกต่างจากการศึกษาแบบอื่น ๆ อีกประการหนึ่งก็คือการให้ครูผู้สอน ติดตามเด็กกลุ่มที่
รับผิดชอบไปตลอดระยะเวลา 7 ปี จนกระทั่งเมื่ออยู่ในช่วงสุดท้ายจึงจะมีการเสริม
310
ผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะสาขาเข้าไปเท่านั้น (John Martin Rich. 1992 : 102 อ้างถึงใน วรนาท
รักสกุลไทย. 2536 : 183 - 184)
3. หลักสูตรใยแมงมุม
ใยแมงมุม (Web) เป็นลักษณะหนึ่งของการเขียนผังมโนทัศน์ที่เน้น การกระจาย
เนื้อหาหลักไปสู่เนื้อหารองที่สัมพันธ์กันตามลักษณะมโนทัศน์ที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Mind
mapping หรือ Spidergram (มนัส บุญประกอบ. 2542 อ้างถึงใน กุลยา ตันติผลาชีวะ.
2543 : 25) วิธีการสร้างข่ายใยแมงมุมเป็นวิธีการหนึ่งที่นามาใช้ในการจัดสร้างหลักสูตร
สาหรับเด็กปฐมวัย เพราะการสร้างข่ายใยแมงมุมหลักสูตร จะทาให้ครูเห็นภาพทัศน์เนื้อหา
และกิจกรรมการสอนได้ชัดเจน นักการศึกษาปฐมวัยใช้การสร้างข่ายแมงมุมหลักสูตรเป็น
วิธีการกาหนดเรื่องที่จะสอนเด็กให้ตรงกับความต้องการและความสนใจของเด็กเป็นอันดับ
แรก รองลงมาใช้เพื่อตรวจสอบความครอบคลุมของกิจกรรมการเรียนว่าสอดคล้องกับ
กิจกรรมประจาวันและส่งเสริมพัฒนาการเด็กทุกด้านอย่างแท้จริงตามจุดประสงค์ของ
การศึกษา (กุลยา ตันติผลาชีวะ. 2543 : 25) หลักสูตรใยแมงมุมจึงเป็นหลักสูตรที่มี
แนวคิดในการจัดประสบการณ์โดยใช้ การบูรณาการเนื้อหาสาระและทักษะกระบวนการซึ่งมี
ลักษณะหลักสูตรและวิธีการสร้าง ดังต่อไปนี้
1. ลักษณะของหลักสูตรใยแมงมุม
ครอส (Krogh, 1990 : 87 อ้างถึงใน สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. 2538 : 68 - 69)
ได้กล่าวถึงลักษณะของหลักสูตรใยแมงมุมพอสรุปได้ดังนี้
1.1 ลักษณะหลักสูตรครอบคลุมกว้างขวาง (Curriculum Coverage) ตามปกติ
แล้ววิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรปฐมวัยมักจะครอบคลุมวิชาต่าง ๆ ที่นักเรียนต้องเรียน คือ
ภาษา (Language)การอ่าน (Reading) คณิตศาสตร์ (Mathematics) วิทยาศาสตร์ (Sceince)
สังคมศึกษา (Social Studies) ศิลปะ (Art) การเคลื่อนไหวและละคร (Movement and
Drama) และดนตรี (Music) ดังนั้น ถ้าครูได้จัดทาหลักสูตรแบบใยแมงมุม จะช่วยให้ครูรู้
ว่าเนื้อหาวิชาใดที่จัดให้เด็กมากเกินไปหรือน้อยเกินไป ผังของใยแมงมุมช่วยให้มองภาพ
ทั้งหมดของการจัดเนื้อหาและกิจกรรม
1.2 ลักษณะหลักสูตรเป็นการเรียนรู้ตามธรรมชาติ (Natural Learning)
พัฒนาการของเด็กทางด้านสติปัญญานั้นไม่ได้เรียนรู้เป็นวิชา ๆ เหมือนในอดีตที่ผ่านมา
เด็ก ๆ ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเขา เขาอยากเรียนรู้ในสิ่งที่เขาเห็นเขาได้ยิน
และเกิดความรู้สึกต่าง ๆ การปล่อยให้เด็กเรียนรู้ด้วยความต้องการของเขานับเป็นการให้
311
เด็กเรียนรู้ ตามธรรมชาติดีกว่าการให้เด็กเรียนเป็นวิชา ๆ นับว่าเป็นการบังคับเด็กทาให้
ความสนใจในการเรียนรู้ลดน้อย ลงได้
1.3 ลักษณะของหลักสูตรที่สร้างมาจากพื้นฐานความสนใจของเด็ก (Children’s
Interest) การเลือกเนื้อหาให้เด็กเรียนมาจากพื้นฐานความสนใจของเด็กเป็นหลัก ทาให้
เด็กมีความสนใจและกระตือรือร้นที่จะเรียน
1.4 ลักษณะหลักสูตรเน้นทักษะที่มีความหมายในตัวบริบท (Skills in Meaningful
Context) ในการให้เด็กเรียนรู้ในสิ่งที่เขาสนใจนั้น ควรเน้นการฝึกทักษะควบคู่กันไปด้วย
การฝึกนั้นต้องเป็นทักษะที่มีความหมายต่อตัวเด็ก ตัวอย่างเช่น กิจกรรมเรื่องวันหยุดควร
ให้เด็กฝึกสะกดตัวที่เกี่ยวกับวันหยุดให้ถูกต้อง ซึ่งดีกว่าบอกเด็กท่องจาคาสะกดจาก
รายการในบัตรคา
1.5 ลักษณะหลักสูตรที่มีความยืดหยุ่น (Flexibility) เป็นหลักสูตรที่มีความยืดหยุ่น
ที่ไม่สร้างแรงกดดันให้กับครูและนักเรียน เช่น ถ้าสร้างหลักสูตรใยแมงมุมในหน่วยเดือน
ธันวาคมโดยครูวางแผนว่าแต่ละข่ายใย (เส้น) วิชาใดต้องมีกิจกรรมอะไรบ้าง ถ้าครูไม่
สามารถทาได้หมด หรือกิจกรรมในวิชาใดขอบข่ายใดไม่เหมาะสมกับเวลาหรือฤดูกาลก็
เลี่ยงได้ไม่จาเป็นต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับเด็กอาจไปจัดในโอกาสหน้าก็ได้
1.6 ลักษณะของหลักสูตรเป็นเสมือนเครื่องมือการวางแผน (A Planning Dcvicc)
การสร้างหลักสูตรแบบใยแมงมุม ช่วยทาให้ครูสามารถบูรณาการวิชาต่าง ๆ ในการสอน
หน่วย นั้น ๆ ได้ การทาข่ายใยเป็นการเตรียมการจัดวางแผนการสอน เนื้อหา กระบวนการ
และกิจกรรมได้ชัดเจน โครงสร้างการสร้างข่ายใยไม่ซับซ้อนแต่บรรจุมากด้วยเนื้อหา
กระบวนการและกิจกรรม ตัวอย่าง เช่น การสร้างหน่วยการสอนเรื่องเดือนธันวาคม ถ้า
พบว่าวิทยาศาสตร์จัดเนื้อหาและ กิจกรรมน้อยเกินไปก็จะช่วยให้ครูสามารถคิดเนื้อหาและ
กิจกรรมเพิ่มเติมได้อีกในเวลาที่จะสอนหน่วยนี้ใน 1 สัปดาห์หรือ 1 เดือน ซึ่งการวาง
โครงสร้างของหลักสูตรใยแมงมุมนี้ไม่ใช่การวางครั้งเดียวแล้วทาสิ้นสุดลงเลย แต่สามารถ
จัดวางแผนทาอีกต่อไปได้อีก
2. วิธีการสร้างหลักสูตรใยแมงมุม
2.1 เลือกและคัดหัวเรื่อง (Theme) / ชื่อ / (Unit) โดยหัวข้อเรื่องควรเกี่ยวกับ
ชีวิตของเด็กสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้มีโอกาสฝึกทักษะมีแหล่งค้นคว้าเพียงพอ
2.2 ครูและนักเรียนช่วยกันระดมความคิด เลือกหัวข้อต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กันจน
ได้หัวข้อเรื่องต่าง ๆ
2.3 เลือกกิจกรรมสนองตอบต่อเนื้อหา
312
2.4 ตัวอย่างของหัวข้อ (หน่วยการเรียน) ที่จัดขึ้นโดย เคทส์ และ ชาร์ค
(Brewer , 1992 : 136 อ้างถึงใน วรนาท รักสกุลไทย, 2537 : 175) แยกออกเป็นกลุ่มๆคือ
1) ตัวเด็ก เช่น บ้าน เด็กเล็ก ครอบครัว อาหาร โรงเรียน รถโรงเรียน
รายการโทรทัศน์ของเล่นและเกม
2) ชุมชนท้องถิ่น ประชากร โรงพยาบาล ร้านค้า แหล่งก่อสร้าง การขนส่ง
มวลชน ตลาด
3) เหตุการณ์ในท้องถิ่น เช่น งานวัด งานประจาปี วันสาคัญทางศาสนา
4) สถานที่ เช่น แม่น้า เชิงเขา ทะเลสาบ
5) เวลา เช่น นาฬิกา ฤดูกาล ปฏิทิน เทศกาล
6) ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น อากาศ น้า ลม พืช หิน
7) มโนทัศน์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา เช่น ตรงกันข้าม สี ความสมบูรณ์ รูปแบบ
8) ความรู้ทั่วไป เช่น เรือ ทะเล
9) เบ็ดเตล็ด เช่น หมวก รูปสุนัข
3. ตัวอย่างหลักสูตรใยแมงมุม
การสร้างข่ายใยแมงมุมหลักสูตรเป็นการกระจายเรื่องใหญ่สู่เรื่องย่อยเพื่อเชื่อมโยง
องค์ประกอบเนื้อเรื่องที่มีอยู่ด้วยการเริ่มต้นกระจายเรื่องใหญ่หรือเนื้อหาหลักไปสู่เนื้อหา
รองที่เป็นส่วนประกอบย่อย ตัวอย่างเช่น เรื่องหลักคือต้นไม้ ถ้าเด็กปฐมวัยจะเรียนเรื่อง
ต้นไม้ครูจะสอนอะไรบ้าง ข่ายใยแมงมุมหลักสูตรจะบอกให้ครูทราบว่าจะสอนอะไรดัง
ตัวอย่าง (กุลยา ตันติผลาชีวะ. 2543 : 27) ภาพที่ 2
ต้นไม้
ส่วนประกอบของต้นไม้
ผล
กินไม่ได้กินได้
ราก
ดอก
ใบ
ลักษณะ
สี
การเจริญเติบโตการอนุรักษ์
ประโยชน์
ปลูกป่า
ไม่ตัด
ทำลำย
ป้องกัน
ไฟป่ำ
ร่มเงา สร้างบ้านยากิน
แสงแดด
น้า
ดิน
ปุ๋ย
313
ภาพที่ 2 ตัวอย่างหลักสูตรใยแมงมุม
ที่มา (กุลยา ตันติผลาชีวะ. 2543 : 27)
4. การสอนภาษาแบบธรรมชาติ (Whole Language Approach)
การสอนภาษาแบบธรรมชาติ หรือการสอนภาษาโดยองค์รวม (Whole Language
Approach) เป็นนวัตกรรมการศึกษาที่เสนอแนวคิดใหม่ในการสอนภาษา เกิดจาก
ความพยายามของนักการศึกษาและ นักภาษาศาสตร์ มองเห็นปัญหาการเรียนรู้ภาษา
ของเด็ก ซึ่งเกิดจากการสอนที่ครูมุ่งเน้นสาระทางภาษาเป็นหลัก ทาให้การเรียนการสอน
ไม่น่าสนใจ ไม่เป็นไปตาม ธรรมชาติคือ ไม่เหมาะกับวัย ความสนใจและความสามารถ
ของเด็ก และเมื่อคานึงถึงประโยชน์ที่เด็กจาเป็นต้องใช้ภาษาในการเรียนรู้และสื่อสารใน
ชีวิตจริงพบว่าการสอนภาษาแบบเดิม (Traditional approaches) ไม่เน้นความสาคัญของ
ประสบการณ์และภาษาที่เด็กใช้ในชีวิตจริง จึงไม่ได้ให้โอกาสเด็กเรียนรู้ภาษาและใช้ภาษา
เพื่อสื่อสารอย่างมีความหมายเท่าที่ควร (ภรณี คุรุรัตนะ. 2542 : 85)
แนวคิดเกี่ยวกับการสอนภาษาแบบธรรมชาติก็คือถ้าเด็กได้อ่านเขียนเช่นเดียวกับที่
เด็กหัดพูด เด็กจะไม่เกิดความเครียด เพราะวิธีการที่เด็กหัดพูดเกิดจากการที่เด็กพัฒนา
จากพูดอ้อแอ้จากนั้นพูดเป็นคาๆ 2 – 3 คา แล้วจึงค่อยพูดประโยคยาว ๆ ที่มีคาศัพท์และ
โครงสร้างไวยากรณ์คล้ายคาพูดของผู้ใหญ่เด็กเรียนรู้คาศัพท์หลายพันคาได้อย่าง
เหมาะสมก่อนที่เด็กจะเข้าโรงเรียน ดังนั้นในการหัดอ่านเขียน ครูควรเปิดโอกาสให้เขาหัด
อ่านเขียนโดยการสังเกตและใช้คาพูดตามความมุ่งหมาย การสอนภาษาแบบธรรมชาติจึง
มุ่งให้เด็กอ่านเขียนเพื่อสื่อความหมาย โดยแนะนาให้เข้าใจการใช้ภาษาในสถานการณ์
ต่าง ๆ ที่เขาประสบในชีวิตประจาวัน และจัดสภาพแวดล้อมและ กิจกรรมในห้องเรียนที่
เปิดโอกาสให้เด็กหัดอ่านเขียนจากภาษาที่เขาเห็นรอบตัว ทาให้เด็กได้เรียนรู้ภาษาใน
หลาย ๆ สถานการณ์ ในขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้เด็กเรียนรู้องค์ประกอบย่อยของ
ภาษา เช่น ตัวสะกดและไวยากรณ์ที่ถูกต้อง เมื่อเขาจาเป็นต้องสื่อความหมายให้ทุกฝ่าย
เข้าใจตรงกัน ในลักษณะนี้เองที่เด็กจะได้เรียนรู้ว่าองค์ประกอบย่อย ๆ ของภาษาสัมพันธ์
กับความหมายโดยรวมซึ่งเป็น เป้าหมายของผู้สื่อภาษาว่าต้องการสื่อสารอย่างไร
1. หลักการพื้นฐานการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2538 : 75 – 77) กล่าวถึงแนวการสอนภาษาแบบ
ธรรมชาติว่ามี หลักการและแนวทางในการสอนเด็กดังนี้
314
1. เด็กมีโอกาสได้ใช้ภาษาอย่างเต็มที่ การสอนภาษาแบบธรรมชาตินี้ เปิดโอกาสให้
เด็กมีส่วนร่วมทากิจกรรมเกี่ยวกับการใช้ภาษาอย่างเต็มที่ ตอบสนองตรงตามจุดมุ่งหมาย
แนวความคิดการเรียนการสอนภาษาไปพร้อม ๆ กันทั้งระบบ เด็ก ๆ มีโอกาสใช้ภาษาและ
เห็นเป็นจริงว่า ในชีวิตประจาวันของเขาภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการตั้งคาถาม
การอธิบาย การสร้างและสื่อจินตนาการ การเล่นบทบาทสมมุติ การสะท้อนแสดง
ความเข้าใจกับคนอื่น ๆ การแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้
2. ภาษาพูดมีความสาคัญ เป็นพลังพื้นฐานการพัฒนาทางภาษาในลาดับต่อไป
การสอนภาษาแบบธรรมชาติมีแนวคิดพื้นฐานเชื่อว่าเด็กเกิดมาพร้อมกับการรับรู้และมี
ประสบการณ์กับภาษา โดยเฉพาะภาษาแรกเริ่มที่เด็กเรียนรู้ คือ ภาษาพูด เด็กเมื่อเริ่มแรก
คลอดจากครรภ์มารดาจะตกอยู่ในสภาพแวดล้อมที่พรั่งพร้อมไปด้วยภาษาพูดจากบุคคล
ใกล้ชิด คือ พ่อแม่ พี่น้อง จนขยายวงมาสู่บุคคลในชุมชนและสังคม เด็กจะได้ฟังภาษาพูด
ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ฟังนิทาน ฟังเพลงกล่อมเด็ก เพลงปลอบเด็ก ฟังเพลง ฟังบทกลอน
บทสนทนาและอื่น ๆ จากสภาพแวดล้อมทางด้านภาษาที่ได้รับเด็ก ๆ ได้เรียนรู้การออก
เสียงพูดจากการพูดเป็นคา วลีและประโยคในที่สุด นับเป็นการเรียนรู้ภาษาก่อนที่มา
โรงเรียน ดังนั้นในการจัดกิจกรรมในห้องเรียน ครูควรจัดกิจกรรมภาษาให้สนุกสนานเด็ก
เรียนรู้คาศัพท์ใหม่ ๆ แปลก ๆ และประโยคที่สลับซับซ้อน การเรียนภาษาพูดที่เด็กเรียนรู้
มาก่อนนี้ นับเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้การอ่านและการเขียนในลาดับขั้นต่อไป
3. การอ่านเป็นพื้นฐานนาไปสู่กระบวนการคิด ในการสอนภาษาในอดีตและที่
เป็นอยู่ในปัจจุบันครูมักสอนให้นักเรียนรู้จักโครงสร้างของภาษาเรียนรู้ตั้งแต่พยัญชนะ สระ
วรรณยุกต์ นาส่วนต่าง ๆ มาผสมกันอ่านเป็นคา ออกเสียง การเรียนความหมายของคา
แล้วนาคาต่าง ๆ มา สร้างเป็นประโยค โดยมีกฎเกณฑ์ต้องให้ถูกตามไวยากรณ์ของภาษา
เด็ก ๆ เรียนอย่างไม่สนุกสนานแต่การสอนอ่านตามแบบการสอนภาษาแบบธรรมชาตินั้น
เป็นการเตรียมสภาพแวดล้อมทางด้านภาษา ด้วยการให้เด็กหยิบจับต้องสัมผัสหนังสือ
อย่างมากมายและกว้างขวาง เด็กสามารถเลือกอ่านได้อย่างสม่าเสมอ เด็กจะค่อย ๆ
เรียนรู้ รับรู้และเข้าใจโครงสร้างภาษาในที่สุด และจากการอ่านนี้นาเด็กไปสู่ความสามารถ
สร้างกระบวนการคิดที่สร้างประโยคขึ้นมาใหม่ได้ นับเป็นพื้นฐานการฝึกทักษะการเขียน
ต่อไป
4. การเขียนเป็นทักษะที่พัฒนามาเป็นลาดับขั้นตอนการสอนเขียนแก่เด็กตาม
แนวความคิดพื้นฐานของการสอนแบบธรรมชาติจะไม่เป็นทักษะการสอนเขียนที่แยก
ออกมาเฉพาะ โดด ๆ อย่างเดียว การสอนเขียนเป็นกระบวนการที่มีความเคลื่อนไหว
ควบคู่กับการที่เด็กได้รับประสบการณ์จากการอ่าน การเขียนตัวอักษร คา วลี ประโยค
315
จากเนื้อหาการอ่านเด็ก ๆ สามารถจาส่วนต่าง ๆ โดยไม่รู้ความหมายในขั้นแรก ซึ่ง
นับเป็นการให้เด็กได้มีทักษะการเขียนโดยไม่มีการบังคับ แต่เป็นพลังอานาจในตัวเด็กที่
อยากเขียนถ่ายทอดออกมาเป็นภาษาเขียน ซึ่งนาไปสู่ความสามารถเขียนได้ในที่สุด
5. การสอนเขียนและสอนอ่าน เป็นทักษะที่สอนควบคู่ไปพร้อม ๆ กัน การสอน
ภาษาแบบธรรมชาติมีแนวคิดพื้นฐานว่า ในการสอนเขียนและสอนการอ่านเป็นทักษะ
การสอนควบคู่กันไปในชีวิตประจาวันการที่เด็กฝึกอ่านคานาไปสู่การที่เด็กสามารถเขียนคา
ได้ ซึ่งเด็กสามารถเขียนเป็นเนื้อเรื่องได้ในที่สุด
6. การสอนเป็นหน่วยบูรณาการการจัดหลักสูตรการสอนแบบธรรมชาตินี้เป็น
การสอนแบบบูรณาการโดยเป็นการบูรณาการทั้งเนื้อหาและทักษะเด็กๆจะได้รับ
ประสบการณ์เห็นความสัมพันธ์ของ เนื้อหาและทักษะต่าง ๆ ที่เรียน เป็นกลไกเคลื่อนไหว
ตามธรรมชาติตามความที่เขา สนใจเป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ดังตัวอย่าง เช่น ให้
เด็กเรียนเรื่องปลาในทะเลครูให้ประสบการณ์เด็กด้วยการให้เด็กเห็นภาพทะเล ภาพปลา
ฟังนิทานเกี่ยวกับปลา ให้เด็กวาดปลาด้วยสีเทียน พิมพ์ภาพ ฉีกกระดาษปะภาพปลา
ฟังบทกลอน โคลง เกี่ยวกับปลาและทะเลให้เด็กร้องเพลงทะเล มีการจัดตู้ปลา พาออกไป
นอกสถานที่ดูพิพิธภัณฑ์สัตว์น้า หรือดูปลาที่ตลาดหรือทะเล สนทนาเกี่ยวกับชาวประมง
ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นการจัดเนื้อหาให้สัมพันธ์กันเปิดโอกาสให้นักเรียนมีโอกาส
สารวจคิดค้นพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กันช่วยทาให้ขยายความเข้าใจของเด็กให้
กว้างขวางขึ้น เด็ก ๆ มีโอกาสเรียนรู้ว่าการพูดการอ่าน การฟัง การเขียน เป็นเครื่องมือที่
นาไปสู่กระบวนการคิด แล้วถ่ายทอดออกมาทางภาษาและทักษะต่าง ๆ ทางภาษาเกิดขึ้น
ไปพร้อม ๆ กัน นับเป็นการเรียนรู้อย่างสนุกสนานและมีความหมายต่อเด็ก
7. บทบาทของครูมีความสาคัญ ถือว่าเป็นหัวใจที่สาคัญที่สุดของการสอนภาษา
แบบธรรมชาติ คือ ตัวครู ครูจะต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ในเรื่องพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
มีความชานาญ และทักษะในการสอนอ่านและสอนเขียน มีความรอบรู้เรื่องหนังสือ
วรรณกรรมของเด็ก เนื้อหา และโครงสร้างหลักสูตรแบบบูรณาการและควรเป็นบุคคลที่มี
ความตื่นตัวในเรื่องเกี่ยวกับวรรณกรรมของเด็กการมีปฏิสัมพันธ์การใช้ภาษากับเด็ก
การรู้จักจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนให้พรั่งพร้อมทางด้านภาษาใช้ความรู้สังเกต
พัฒนาการทางด้านภาษาของเด็กพร้อมๆกัน
การสอนภาษาแบบธรรมชาติเป็นแนวคิดที่น่าสนใจที่น่าจะนามาสู่วิธีการสอนภาษา
ที่เหมาะสมกับเด็ก เนื่องจากการเรียนรู้ภาษามีความหมายกว้างครอบคลุมถึงการเรียนรู้
ทุกสิ่งทุกอย่างทั้งนี้เนื่องจากมนุษย์ต้องใช้ภาษาเป็นสื่อสาคัญในการแสวงหาและการสร้าง
เสริมประสบการณ์ชีวิตโดยตลอด ถึงแม้ว่าการจัดการศึกษาปฐมวัยยังไม่ได้มุ่งเน้นให้เด็ก
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55

Contenu connexe

Tendances

หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนNontaporn Pilawut
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565MungMink2
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงPreeyaporn Wannamanee
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okDhanee Chant
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 

Tendances (20)

หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 

Similaire à บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55

สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้wisnun
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้thanakorn
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษาAmu P Thaiying
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 

Similaire à บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55 (20)

สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
06chap4
06chap406chap4
06chap4
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
 
อาม
อามอาม
อาม
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 

Plus de Decode Ac

บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55Decode Ac
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55Decode Ac
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55Decode Ac
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55Decode Ac
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55Decode Ac
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55Decode Ac
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55Decode Ac
 

Plus de Decode Ac (13)

บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐาน ความหมาย ความสำคัญ 55
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 

บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55

  • 1. บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย แผนการสอนประจาบท 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพื่อให้เข้าใจความหมายและความสาคัญของนวัตกรรม 2. เพื่อให้รู้หลักการแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรม 3. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของนวัตกรรมได้ 4. เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยได้เหมาะสม 2. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายและความสาคัญของนวัตกรรม 2. การจัดการเรียนการสอนแบบไฮ /สโคป 3. การจัดการศึกษาแบบวอลดอร์ฟ 4. การจัดการศึกษาแบบใยแมงมุม 5. การสอนภาษาแบบธรรมชาติ 6. การสอนแบบโครงการ 7. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 8. การใช้พอตโฟลิโอ 9. การสอนตามทฤษฎีพหุปัญญา 10. การศึกษาแบบซูคอมลิสกี้ 11. การศึกษาแบบซูซูกิ 12. หลักสูตรการสอนของมอนเตสซอรี่ 3. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ทดสอบก่อนเรียน (แบบทดสอบ) 2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอน 3. อภิปราย ซักถาม สรุป ด้วยสไลด์ 4. แบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้านวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 5. แบ่งกลุ่มศึกษาและวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยของนวัตกรรม 6. ให้นักศึกษาทดลองนานวัตกรรมไปใช้ในโรงเรียน หรือศูนย์พัฒนาเด็ก 7. ทดสอบหลังเรียน
  • 2. 298 4. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. สไลด์ประกอบการสอน (Power point) 3. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง (Internet) 4. รูปแบบการออกแบบกิจกรรมตามนวัตกรรม 5. หนังสือ ตารา วารสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5. การประเมินผล 1. ผลการทดสอบ ก่อน – หลัง 2. รายงานผลการนานวัตกรรมไปทดลองใช้ 3. รายงานผลการศึกษาค้นคว้าการวิเคราะห์นวัตกรรม 4. ความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของเนื้อหา
  • 3. 299 บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย การจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นการจัดประสบการณ์แก่เด็กในลักษณะของการอบรม เลี้ยงดูและการพัฒนาความพร้อมทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ถึงแม้ว่าในปัจจุบันการจัดการศึกษาในระดับนี้จะมีความเจริญก้าวหน้าทั้งในด้านปริมาณ และคุณภาพ อันส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของ ประชากรในทางที่ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม เนื่องด้วยสังคมวิถีชีวิตและความเป็นอยู่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนมากขึ้น ทาให้มีปัญหาและอุปสรรคหลายประการในการพัฒนาประเทศชาติ และการจัดการศึกษา ปฐมวัยก็เช่นกันกาลังเผชิญกับปัญหาและอุปสรรคโดยเฉพาะการพัฒนาประสิทธิภาพซึ่ง นักการศึกษาปฐมวัยได้พยายามศึกษาค้นคว้าและวิจัยค้นหาแนวคิดและวิธีการหรือ การกระทาใหม่ ๆ ซึ่งก็หมายถึงการนานวัตกรรมมาใช้เพื่อประโยชน์ในการขจัดปัญหาและ อุปสรรคที่มีให้น้อยลงหรือหมดไปในที่สุดในบทนี้เพื่อให้เข้าใจบริบทที่เกี่ยวข้องกับ นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยจึงขออธิบายรายละเอียดตามหัวข้อต่อไปนี้ 1. ความหมายและความสาคัญของนวัตกรรม 2. การจัดการเรียนการสอนแบบไฮ /สโคป 3. การจัดการศึกษาแบบวอลดอร์ฟ 4. การจัดการศึกษาแบบใยแมงมุม 5. การสอนภาษาแบบธรรมชาติ 6. การสอนแบบโครงการ 7. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 8. การใช้พอตโฟลิโอ 9. การสอนตามทฤษฎีพหุปัญญา 10. การศึกษาแบบซูคอมลิสกี้ 11. การศึกษาแบบซูซูกิ 12. หลักสูตรการสอนของมอนเตสซอรี่ 1. ความหมายและความสาคัญของนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย จากการที่นักการศึกษาปฐมวัยพยายามที่จะพัฒนาการจัดกิจกรรมและ ประสบการณ์เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้และพัฒนาได้อย่างเหมาะสมกับวัย
  • 4. 300 นักการศึกษาปฐมวัยจึงได้พยายามค้นคว้าวิจัยเพื่อหาแนวคิดและวิธีการใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับเด็ก เช่น ในการอบรมเลี้ยงดูและจัดประสบการณ์ให้แก่เด็กปฐมวัยขึ้นมาเรียกว่า นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยซึ่งครูปฐมวัยหรือผู้ทาหน้าที่อบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยควร จะศึกษาและทาความเข้าใจ เกี่ยวกับนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย เพื่อนาความรู้ ความเข้าใจไปประยุกต์ใช้ในการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมสาหรับเด็ก ปฐมวัย โดยเริ่มตั้งแต่ศึกษาความหมายและความสาคัญของนวัตกรรมทางการศึกษา ปฐมวัย เป็นต้น 1. ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย นวัตกรรมเป็นคาที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทยคานี้เป็นศัพท์บัญญัติ ของคณะกรรมการพิจารณาวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ โดยในอดีตใช้คาว่า นวกรรมซึ่ง เป็นคาที่มาจากภาษาอังกฤษว่า “Innovation” (บุญเกื้อ ควรหาเวช. 2542 : 11) หมายถึง สิ่งใหม่หรือการเปลี่ยนแปลง (ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2536 : 32) คาว่า นวัตกรรม จึงมี นักการศึกษาบางกลุ่มใช้คาว่า นวกรรม ดังนั้น คาว่า นวกรรมและนวัตกรรม ทั้งสองคานี้ จึงใช้ในความหมายเดียวกัน คือ การกระทาใหม่ ๆ ที่จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อจะ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบการศึกษา สวัสดิ์ บุษปาคม (2517 : 1) กล่าวถึง นวัตกรรมว่า หมายความถึง การปฏิบัติ หรือกรรมวิธีที่นาเอาวิธีการใหม่มาใช้หรือการทาการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงวิธีทาสิ่งต่าง ๆ ให้ดีกว่าเดิม คือทาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ตัวอย่างเช่น ในการให้การศึกษาก็ใช้เครื่องมือ กลช่วยการสอนที่เรียกว่า Teaching หรือใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยในการสอนที่เรียกว่า Computer Assissted Instruction (CAI) เป็นต้น ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2529 : 25 –26) กล่าวว่าสิ่งที่ถือว่าเป็น “นวกรรม” มีเกณฑ์ ในการพิจารณาดังนี้ 1) จะต้องเป็นสิ่งใหม่ทั้งหมดหรือบางส่วนอาจเป็นของเก่าใช้ไม่ได้ผลในอดีตแต่นามา ปัดฝุ่นปรับปรุงใหม่ หรือเป็นของปัจจุบันที่เราทาการปรับปรุงให้ดีขึ้น 2) มีการนาวิธีการจัดระบบ (System Approach) มาใช้โดยพิจารณา องค์ประกอบทั้งส่วนข้อมูลที่ใส่เข้าไป กระบวนการ และผลลัพธ์ โดยกาหนดขั้นตอน การดาเนินการให้เหมาะสมก่อนที่จะทาการเปลี่ยนแปลง 3) มีการพิสูจน์ด้วยการวิจัยหรืออยู่ระหว่างการวิจัยว่า “สิ่งใหม่” นั้น จะช่วย ให้แก้ปัญหาและดาเนินงานบางอย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าเดิม
  • 5. 301 4) ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบันมาก “สิ่งใหม่” นั้น ได้รับ การเผยแพร่และยอมรับจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบงานที่ดาเนินอยู่ในขณะนี้ไม่ถือว่า สิ่งใหม่นั้นเป็นนวัตกรรมต่อไป แต่จะเปลี่ยนสภาพเป็นเทคโนโลยีอย่างเต็มที่ จากเกณฑ์การพิจารณาข้างต้นทาให้แนวคิดหลักปฏิบัติระบบกระบวนการวิธีการ ระเบียบกฎและสิ่งประดิษฐ์ซึ่งไม่ถือเป็น “นวัตกรรม” ในประเทศหนึ่งอาจจะเป็นนวัตกรรม ในประเทศอื่นได้สิ่งที่ถือว่าเป็นนวัตกรรมในอดีตหากใช้แพร่หลายแล้วก็ไม่ถือเป็นนวัตกรรม และสิ่งที่เคยใช้ไม่ได้ผลในอดีต หากนามาปรับปรุงใช้ในปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพถือ ว่าเป็นนวัตกรรม การจัดการศึกษาปฐมวัยในอดีตถือว่าเป็นเด็กเป็นผู้ใหญ่ตัวเล็ก เพราะฉะนั้น การสอนหรือการให้การศึกษาจึงจัดให้เหมือนผู้ใหญ่ จนกระทั่งมีนักคิดและนักการศึกษา หลายท่านได้เป็น ผู้ริเริ่มนาแนวปฏิบัติที่ว่าการจัดการศึกษาปฐมวัยควรจะแตกต่างจาก การจัดการศึกษาสาหรับผู้ใหญ่ โดยได้เสนอแนวคิดตลอดวิธีการสอนและการใช้อุปกรณ์ ต่างๆ ที่เหมาะสมกับวัยของเด็กตั้งแต่อดีตที่นับว่าเป็นนวัตกรรมในอดีตนักการศึกษา ดังกล่าวมีหลายคน เช่น โคมินิอุส รูสโซ เปสตาลอชซี่ เฟรอเบล และมอนเตสซอรี่ เป็นต้น ในปัจจุบันแนวคิดของนักการศึกษาเหล่านี้เป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับและนามาปฏิบัติ อย่างแพร่หลาย ดังนั้นนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย จึงหมายถึง การนาแนวคิดและวิธีการหรือ การกระทาใหม่ ๆ ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ทางการศึกษาปฐมวัยมาใช้ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัยให้ดียิ่งขึ้นโดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน (วรนาท รักสกุล ไทย. 2537 : 144) 2. ความสาคัญของนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่เรียนรู้ด้วยการกระทาจากประสบการณ์ตรงที่ประกอบด้วยสิ่ง ที่เป็นรูปธรรมง่าย ๆ ไปสู่สิ่งที่เป็นรูปธรรมยากๆและไปสู่นามธรรมในที่สุด (อุดมลักษณ์ กุล พิจิตร. 2532 : 157) การจัดการศึกษาปฐมวัยจึงให้ความสาคัญในเรื่องความแตกต่าง ระหว่างบุคคล โดยมุ่งจัดประสบการณ์ตามความถนัด ความสนใจ และความสามารถของ แต่ละคนเป็นเกณฑ์ เพื่อพัฒนาให้เด็กมีความพร้อมในการเรียน นักการศึกษาปฐมวัยตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบันจึงพยายามที่จะวิเคราะห์ปัญหาในการจัดการศึกษาปฐมวัย คิดวิธีการ แนวทางใหม่เพื่อแก้ปัญหาทดลองวิธีการใหม่เผยแพร่แนวทาง และวิธีการใหม่ ซึ่งถือได้ว่า เป็นนวัตกรรม และเมื่อแนวทางและวิธีการใหม่เข้าสู่ระบบปกติก็จะยุติความเป็นนวัตกรรม ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2521 : 15 –16) ได้วิเคราะห์ความสาคัญของนวัตกรรมทาง การศึกษาปฐมวัยศึกษาจากพัฒนาการยุคต้น ๆ ของการศึกษาปฐมวัยในต่างประเทศว่ามี
  • 6. 302 การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษามาประยุกต์ใช้พอสรุปได้ คือ ระเบียบและวิธีสอนของ โคมินิอุสเน้นการสัมผัสรับรู้จากธรรมชาติใช้วัสดุอุปกรณ์สีสันสวยงาม จัดสภาพแวดล้อม ให้น่าอยู่ ส่วนหลักการของรูสโซ เน้นให้เด็กรับรู้สัมผัสตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ เปสตาลอชซี่ที่เน้นใช้วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทางเทคโนโลยีการศึกษาเข้าช่วย ทั้งการจัด ประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรมและประสบการณ์ตรงของดิวอี้ ตลอดจนการจัดห้องเรียน เหมือนบ้านของมอนเตสซอรี่ ปัจจุบันนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย ได้เผยแพร่เข้าสู่การจัดการศึกษาปฐมวัย อย่างรวดเร็วและเป็นปรากฏการณ์ที่วงการการศึกษาปฐมวัยไม่อาจปฏิเสธได้ เพราะใน ปัจจุบันการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เป็นไปอย่างเหมาะสมนั้น ได้มีการร่วมมือกันดาเนินการ โดยหน่วยงานหลายฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งต่างก็พยายามที่จะคิดค้นและทดลอง นวัตกรรมต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา (ทิศนา แขมมณี. และคณะ 2535 : 22 – 23) นวัตกรรมทุกอย่างมี ประโยชน์และมีค่าที่จะทาให้เกิดการตื่นตัวโดยเฉพาะด้านการเรียนการสอนที่จะนาไปสู่ การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของเด็ก ดังนั้นนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย ควรได้รับการสนับสนุนจากงานวิจัยใหม่ ๆ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในการนานวัตกรรมมา ใช้ (อารี สัณหฉวี. 2537 : 166) นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบันได้เผยแพร่มายังประเทศไทยหลาย เรื่อง อาทิเช่น หลักสูตรไฮ / สโคป การศึกษาวอลดอร์ฟ หลักสูตรใยแมงมุม การสอน ภาษาแบบธรรมชาติ การสอนแบบโครงการการสอนแบบมอนเตสซอรี่ การใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน และการประเมินผลโดยการใช้พอตโฟลิโอ เป็นต้น 2. หลักสูตรไฮ / สโคป หลักสูตรไฮ / สโคป (High / Scope Curriculum) เป็นหลักสูตรที่เดวิด ไวคาร์ท (Darid Weikart) และแมรี่ โฮเมน ก่อตั้งขึ้นมา หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรที่เน้นพุทธิปัญญา (Cognitively Oriented Curriculum) หรือกระบวนการเรียนรู้ด้วยความเข้าใจ ที่ใช้พื้นฐาน ทฤษฎีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเพียเจท์ (Piaget) ประกอบด้วยหลักการสาคัญ คือ (ประอร อิศรเสนา ณ อยุธยา. 2542 : 19) 1) การเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ (Active Learning) หรือการเรียนรู้ด้วยการกระทาของ เด็กระหว่างเด็กต่อครูเด็กต่อเด็กและเด็กต่อวัตถุสิ่งของหรือสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็น ประสบการณ์โดยตรงของเด็ก 2) พัฒนาการทางสติปัญญาเกิดขึ้นตลอดเวลา
  • 7. 303 3) เด็กเกิดการพัฒนาทางด้านสติปัญญาจากการกระตุ้นภายใน “เพียเจท์” เชื่อว่าการจัดสิ่งแวดล้อมที่ดีจะช่วยในการพัฒนาสติปัญญาของเด็ก การเรียนรู้เชิงปฏิบัติเป็นขั้นตอนการปรับตัวของเด็กให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม เด็กเรียนรู้จาก การค้นหาการเรียนกิจกรรมการมีปฏิกิริยาหรือกระทากับคนหรือวัตถุซึ่งก่อให้เกิด ความคิด การแก้ปัญหาการตัดสินใจ ตลอดจนการเล่นซึ่งเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในชีวิตของ เด็ก การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรไฮ / สโคป จะเน้นการส่งเสริมเด็กให้เขาได้ ทาในสิ่งที่เขาสนใจหรือในสิ่งที่เขาคิดและได้รับการฝึกฝนด้านสติปัญญาและความสามารถ ของร่างกาย โดยเปิดโอกาสให้เด็กได้ร่วมมือกับเพื่อนและคณะในการวางแผน การทางาน เป็นกลุ่มตลอดจน ส่งเสริมให้เด็กประสบผลสาเร็จในชีวิต การจัดการเรียนการสอนแบบ ไฮ / สโคป จึงองค์ประกอบการเรียนรู้ที่ครูจะต้องจัดทา 6 ประการ คือ (ประอร อิศร เสนา ณ อยุธยา. 2542 : 22 – 26) 1. การเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ หัวใจสาคัญของการสอนแบบไฮ / สโคป คือ การเรียนรู้เชิงปฏิบัติการที่มุ่งเน้นให้ เด็กมีประสบการณ์ตรงในการเรียน เด็กได้ค้นหาสารวจสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 จับต้องเปลี่ยนแปลงและประกอบวัสดุสิ่งของเข้าด้วยกัน มีโอกาสเลือกวัสดุอุปกรณ์ กิจกรรมและจุดประสงค์ต่าง ๆ ด้วยตนเอง หัดใช้เครื่องมือต่าง ๆ ที่ทาให้เด็กได้ใช้ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กในการเรียนและเรียนรู้ถึงความต้องการของตนเอง เด็กจะเกิดการเรียนรู้เชิงปฏิบัติได้ด้วยการลงมือทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเอง รวมทั้ง การสารวจค้นหาตลอดจนได้กระทาระหว่างเด็กต่อเด็ก เด็กต่อผู้ใหญ่ และเด็กต่อวัสดุ อุปกรณ์ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ก่อให้เกิดพัฒนาการในด้านสติปัญญา ดังนั้นในการจัดการเรียน การสอนสาหรับเด็กแบบไฮ / สโคป จึงต้องมีวัสดุอุปกรณ์หลากหลายไว้ให้เด็กแต่ละคนได้ ใช้เด็กได้จับต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ เด็กมีโอกาสเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์คิดว่าจะใช้ทาอะไร ได้ สนทนากับเพื่อนครู สามารถเลือกใช้คาพูด เกิดพัฒนาการทางภาษา ครูและเพื่อนทั้งหญิง และชายช่วยสนับสนุนเด็กในการคิดและการทากิจกรรมหรือทาสิ่งต่าง ๆ ของเด็ก หลักการสาคัญเด็กต้องสามารถวางแผน (Plan) ปฏิบัติการ (Do) และทบทวนงาน (Review) ของตนในการเรียนทุกครั้ง ซึ่งในกระบวนการสอน ครูต้องเข้าใจและมีความรู้ เกี่ยวกับพัฒนาการของนักเรียนในแต่ละวัย จัดห้องเรียนให้สะท้อนถึงการจัดการเรียน การสอนให้เหมาะสมกับพัฒนาการของนักเรียนในแต่ละวัย มีมุมต่าง ๆ ในห้องที่เหมาะสม วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนตามตารางกิจวัตรประจาวัน (Plan – Do - Review) ครู ต้องเรียนรู้และใช้ประสบการณ์หลักว่าต้องการให้นักเรียนรู้อะไรบ้างจัดกิจกรรมโดย
  • 8. 304 ประเมินความสามารถของนักเรียนว่าต้องการหรือยังขาดเนื้อหาในข้อใดบ้างพยายามจัด กิจกรรมการสอนให้ครบใน ทุกข้อ การเรียนเป็นกลุ่มย่อยมีประสิทธิภาพมากกว่าการเรียนเป็นกลุ่มใหญ่ นักเรียนได้ มีปฏิสัมพันธ์กับครูและเพื่อน ตลอดจนได้ลงมือปฏิบัติใช้วัสดุอุปกรณ์ ซึ่งเป็นการง่าย สาหรับครูในการทาบันทึกสั้นครูต้องทบทวนการจัดการและการวางแผนกิจวัตรประจาวัน โดยใช้การประเมินผลจากแฟ้มสะสมงาน 2. หลักการจัดห้องเรียน 2.1 จัดมุมสาหรับทากิจกรรม อย่างน้อยควรมี 5 มุม จัดแบ่งมุมให้เรียบร้อยอาจ ใช้พรมหรือเทปแบ่งเขตมีมุม เช่น มุมศิลปะ มุมบ้าน มุมหนังสือ มุมไม้บล็อก มุมต่อหรือ ประดิษฐ์สิ่งของชิ้นเล็กๆเช่นโลโก้ มุมหนังสือมุมคอมพิวเตอร์ โดยตั้งชื่อมุมต่าง ๆให้นักเรียน ได้ทราบอาจเป็นภาพหรืออักษรก็ได้ 2.2 มีวัสดุอุปกรณ์ที่หลากหลายและน่าสนใจสาหรับนักเรียน ถ้านักเรียนรู้สึก เบื่อกับมุมบางมุม ครูมีเทคนิคในการทาให้มุมน่าสนใจขึ้น เช่น อาจเพิ่มผ้ากันเปื้อนที่ มุมบ้าน 2.3 จัดมุมต่าง ๆ และจัดวัสดุอุปกรณ์อย่างมีระบบ อุปกรณ์ต่าง ๆ มีที่เก็บ เหมาะสมอยู่ในระดับสายตาของเด็ก ปลอดภัยสาหรับเด็กมีป้ายบอกว่าเก็บอะไรไว้ที่ไหน เช่น ที่ลิ้นชักใส่กรรไกร อาจมีภาพกรรไกรหรือคาว่ากรรไกรและอยู่ที่ลิ้นชัก เด็กจะได้รู้ควร เอากรรไกรมาจากที่ใดและเก็บไว้ที่ใดเมื่อใช้เสร็จ 3. ตารางกิจวัตรประจาวัน ตารางกิจวัตรประจาวันมีความสาคัญเด็กมาก เพราะช่วยให้เด็กรู้จักวางแผน การทางานรู้จักตัดสินใจว่าตนเองจะทาอะไร ซึ่งเป็นการฝึกระเบียบวินัยให้กับเด็กมาก ทั้ง ยังช่วยให้ครูง่ายต่อการจัดกิจกรรม การจัดกิจวัตรประจาวันอย่างสม่าเสมอเด็กจะเรียนรู้ในการจัดตารางเวลา การทางานของตนเอง ตารางการเรียนการสอนประกอบด้วยกิจกรรมที่ครูต้องกระทา 7 ช่วง คือ 3.1 ช่วงทักทาย อาจใช้กิจกรรมวงกลมในการแบ่งปันประสบการณ์การเล่า นิทานหรือบอกข่าวสารเล่าเรื่องราวระหว่างเด็กบอกเด็กหรือครูบอกข่าวเด็ก 3.2 ช่วงวางแผน ใช้เวลา 5 – 10 นาที ครู 2 คน ต่อเด็ก 2 กลุ่ม โดยครูจะ สนับสนุนให้เด็กคิดแล้วบอกว่าจะทาอะไรในช่วงกิจกรรม ถ้านักเรียนบอกไม่ถูกอาจเดินไป ชี้ให้เด็กเลือกรูปกิจกรรมหรือวาดออกมาเป็นภาพ
  • 9. 305 3.3 ช่วงกิจกรรมการทางาน ใช้เวลา 45 นาที เด็กได้เรียนรู้โดยการกระทา กิจกรรมต่าง ๆ ที่ตนเองได้เลือกทาตามความต้องการของตนเอง ซึ่งเด็กจะทาสิ่งที่ตนเอง ชอบได้ดีกว่าการเรียนโดยการที่ครูบังคับ ถ้าเด็กทากิจกรรมซ้า ๆ กัน ครูอาจแนะนาว่าให้ ลองทาอย่างอื่นบ้างในช่วงทากิจกรรมเด็กจะได้พูดคุยด้วยกันทางานร่วมกันก่อให้เกิด พัฒนาการทางสติปัญญา กิจกรรมที่ทาอาจ ได้แก่ตัดกระดาษ ประดิษฐ์ ทดลอง คอมพิวเตอร์ ต่อไม้บล็อก ครูมีหน้าที่สังเกต ซักถาม แนะนาและจดบันทึกสั้น 3.4 ช่วงเก็บงานและทาความสะอาด เด็กต้องเรียนรู้ที่จะเก็บทุกอย่างให้เป็น ระเบียบ ครูจะให้เวลาโดยบอกล่วงหน้า 5 นาที เป็นต้น 3.5 ช่วงทบทวน เป็นการช่วยเด็กสะท้อนความคิดกระตุ้นความทรงจา และเป็น การประเมินต่อตนเองของเด็ก เด็กอาจออกมารายงานหน้าชั้นให้เพื่อนฟังถึงสิ่งที่ตนเองทา หรือบอกผลงานของตนเองว่าเป็นอย่างไร ถ้าเด็กเป็นจานวนมากอาจบอกกันในกลุ่มย่อย หรือบอกสลับวันกันเมื่องานของตนสาเร็จก็ได้ 3.6 ช่วงอาหารว่าง ในช่วงนี้อาจรวมกับช่วงทบทวนและให้เด็กบอกว่าได้ทาอะไร ไป ผลงานตนเป็นอย่างไร เมื่อเด็กรับประทานอาหารเสร็จก็ควรเรียนรู้ในการรักษา ความสะอาด 3.7 ช่วงกิจกรรมวงกลม ในช่วงนี้ครูอาจให้นักเรียนท่องกลอนหรือร้องเพลง เล่นเกม หรือเลือกหัวหน้า 4. ประสบการณ์หลัก เนื้อหาหลักสูตรการเรียนการสอนแบบไฮ / สโคป ไม่มีหน่วยการสอนและไม่ กาหนดหัวข้อที่ต้องเรียนครูใช้ประสบการณ์หลัก (Key experiences) ซึ่งหมายถึง ประสบการณ์ที่กาหนดอย่างมีจุดประสงค์ เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมซึ่งเป็นการเรียนรู้ เชิงปฏิบัติการเนื้อหาและ หลักสูตรแยกเป็นประสบการณ์หลักรายวิชา ได้แก่ คณิตศาสตร์ ภาษา การอ่านออกเขียนได้ วิทยาศาสตร์ การเคลื่อนไหว และอื่น ๆ ตัวอย่าง เช่น ครูสอนเรื่องพืช กิจกรรม คือ การสังเกต แยกและนับเมล็ดพืชและบันทึกโดยการวาดภาพและ เขียน ประสบการณ์หลัก คือ การแสดงถึงสิ่งที่สร้างสรรค์ และเลียนแบบสิ่งที่อยู่ในชีวิต จริงรู้จักและชี้บ่งสิ่งของต่าง ๆ ได้จากประสาทสัมผัสทั้งห้า ด้วยการวาดรูปและระบายสี การจัดประสบการณ์หลักจะต้องเน้นการเรียนการสอนแบบบูรณาการคู่กับ การสอนเชิงปฏิบัติการที่นักเรียนสามารถวางแผนและเลือกกิจกรรมเพื่อโยงเข้าหา ประสบการณ์ที่ครูกาหนดให้เรียนได้ประสบการณ์หลักที่ครูจัดให้กับเด็กแต่ละ
  • 10. 306 ประสบการณ์จะต้องสังเคราะห์มาจากทักษะ เนื้อหา และขั้นตอนพัฒนาการทางสติปัญญา ที่ครูต้องสามารถให้ผู้ปกครองทราบได้ว่าเด็กจะเกิดการเรียนรู้อะไร ครูจะจัดการสอน อย่างไร และผู้ปกครองจะนาไปสอนที่บ้านให้แก่บุตรหลานได้อย่างไรด้วย 5. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน ในขณะดาเนินการเรียนการสอน ครูสนับสนุนและเพิ่มเติมเสริมต่อการเรียนรู้ของ นักเรียนด้วยการสนทนาเชิงวิชาการ ครูพูดชี้แนะให้นักเรียนคิดและอธิบายในสิ่งที่นักเรียน ไม่เข้าใจสนับสนุนให้นักเรียนรู้จักแก้ปัญหาด้วยตนเอง ในการเรียนการสอนทั่วไปครูจะเป็น ผู้นาในการสอน แต่การสอนแบบไฮ / สโคป ครูจะให้โอกาสนักเรียนได้แสดงออกในด้าน ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นตลอดจนช่วยนากิจกรรมต่าง ๆ ครูจะทาหน้าที่เพียงเป็นผู้สร้าง บรรยากาศการเรียนรู้ทางสังคมให้เป็นไปในแง่บวก แง่ดี และจูงใจให้เกิดการเรียนรู้ ตาม ความสนใจโดยคานึงถึงพัฒนาการและความแตกต่างระหว่างบุคคลเช่นการจัดวัสดุ อุปกรณ์และสิ่งแวดล้อมให้นักเรียนได้เรียนอย่าง เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของ นักเรียนในลักษณะของการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ 6. การประเมินผล 6.1 ครูทาบันทึกสั้น (Anecdotal Note) เรื่องราวและเหตุการณ์ประจาวัน เกี่ยวกับความก้าวหน้าและปัญหาของนักเรียนแต่ละคนทุกวัน แล้วรวบรวมเรื่องราวของ นักเรียนแต่ละคนว่ามีพัฒนาการเป็นอย่างไร 6.2 การเก็บตัวอย่างงานที่นักเรียนได้ทาลงในแฟ้มสะสมงาน (Portfolio) เพื่อ จะได้ทราบความก้าวหน้าในพัฒนาการของนักเรียนในด้านต่าง ๆการแสดงออกของ นักเรียนรวมทั้งได้ทราบปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียนนอกจากนี้แฟ้มงานยังสะท้อนถึง ความเป็นตัวของตัวเองของนักเรียนแต่ละคน และเป็นสื่อกลางให้เกิดความร่วมมือระหว่าง ผู้ปกครองนักเรียน และครู 6.3 ประเมินผลโดยใช้ประสบการณ์หลัก (Key Experiences) เป็นแนวทาง 6.4 การประเมินผลและการวางแผนตารางประจาวันของครู 3. การศึกษาแบบวอลดอร์ฟ การศึกษาวอลดอร์ฟ (Waldrolf Education) เป็นการจัดการศึกษาตามแนวคิดของ รูดอล์ฟสไตเนอร์เขาตั้งโรงเรียนวอลดอร์ฟแห่งแรกขึ้นในปี ค.ศ. 1919 ที่สตุทการ์ด เยอรมนี แนวคิดของเขาผ่านการพิสูจน์และเรียนรู้มาตลอดระยะเวลายาวนาน จนถึง ปัจจุบันมีโรงเรียน วอลดอร์ฟอยู่ทั่วโลก (มาร์จอรี่ สบ็อค. 2539 : 4) การศึกษาวอลดอร์ฟ มีสาระที่น่าสนใจดังนี้
  • 11. 307 1. แนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ รูดอร์ฟ สไตเนอร์ อุทิศตนเองในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของ มนุษย์โดยการสังเกตด้วยตนเอง และได้สรุปว่า มนุษย์มิได้เป็นเพียงผลิตผลโดยบังเอิญของ เอกภพอันไร้จิตซึ่งทาหน้าที่อย่างกลไก เขามองเห็นจิตวิญญาณในตัวมนุษย์เห็นว่ามันมี ส่วนร่วมในชีวิตและวิวัฒนาการของจักรวาลแห่งจิตวิญญาณโดยแก่นแท้ โลกแห่งสสาร วิวัฒนาการขึ้นมาจากจักรวาลนี้เอง เขาเชื่อว่าจิตวิญญาณและกายจะต้องดารงอยู่คู่กัน โดยจิตวิญญาณจะเข้าสู่กายอย่างช้า ๆ ทีละเล็กละน้อยค่อย ๆ ก่อรูปให้กายเป็นเครื่องมือ ที่สมบูรณ์ของจิตวิญญาณ เขาเห็นว่ากระบวนการนี้เต็มไปด้วยความยุ่งยากสลับซับซ้อน เสียจนผู้ที่จะเข้าใจได้จะต้องพัฒนาพลังแห่งการสังเกตขึ้นทั้งแบบที่เป็นวิทยาศาสตร์และ ศิลปะ ดังนั้นในความหมายของรูดอร์ฟสไตเนอร์ การศึกษาจึงเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ใน การปูทางสู่ปัญหาทางการศึกษาทุกข้อ เขาจึงพูดราวกับผู้ที่มีความเป็นนักคิดศิลปิน นักจิตวิทยา และนักสรีรวิทยา ผสมผสานกันอย่างสมบูรณ์อยู่ในตัวคนเดียว เขาพูดถึง มนุษย์อย่างทั่วด้านเสมอ พูดถึงจิตวิญญาณ จิตใจ และรูปกาย เขาเห็นว่าการศึกษาคือ วิถีทางที่สามารถช่วยให้จิตวิญญาณซึ่งมาจุติอย่างช้า ๆ ประสานกลมกลืนไปกับกายใน ระดับที่ปรารถนาได้ และการที่จิตวิญญาณครองความเป็นใหญ่ในขั้นตอนต่าง ๆ ของ การเจริญวัยทางกาย ด้วยเหตุนี้การเปลี่ยนแปลงทางกายจึงกลายเป็นเงื่อนงาที่แสดงถึง พัฒนาการของเด็ก (มาร์จอรี่ สป็อค. 2539 : 21 – 23) รูดอร์ฟ สไตเนอร์ แบ่งช่วงพัฒนาการของมนุษย์เป็น 3 ช่วงระยะ คือ 1.1 ช่วงระยะที่ 1 เป็นช่วงระยะก่อนที่ฟันแท้จะขึ้น (แรกเกิด – 7 ขวบ) เมื่อ ทารกคลอดออกมา ความประทับใจจากรูป รส กลิ่น เสียงและสัมผัส พากันพรั่งพรูเข้า สู่ประสาทซึ่งตื่นขึ้นอย่างเชื่องช้าของเด็กอย่างค่อยเป็นค่อยไป สัดส่วนร่างกายของเด็กยัง เป็นสัดส่วนที่ไม่เหมาะสมเพราะระบบในร่างกายคือระบบย่อยอาหารและการเจริญเติบโต ของแขนขา เพื่อสร้างรูปกายกาลังพัฒนา ซึ่งต้องอาศัยเวลาในการพัฒนาต่อไป ในระยะ 3 ปีแรกของชีวิตพลังทางจิตวิญญาณทั้งหมดของเด็กถูกมอบให้กับความพยายามที่จะเปลี่ยน มนุษย์จากทารกที่ช่วยตัวเองไม่ได้ไปสู่เด็กที่เดินตัวตรงและสะท้อนความรู้สึกนึกคิดออกมา เป็นคาพูดที่รู้เรื่อง เด็กเป็นเหมือนองคาพยพรับสัมผัส (Sene organ) ซึ่งเปิดรับความฝัง ใจที่หลั่งไหลเข้ามาไม่ว่าจะดีหรือร้าย โดยไม่สามารถดึงตัวเองให้พ้นจากความฝังใจ เหล่านั้นเลย เด็กจะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ โดยการเลียนแบบจากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเพราะ การเลียนแบบเป็นความพยายามที่จะเข้าใจและ ซึมซับสาระจากสิ่งรอบตัว 1.2 ช่วงระยะที่ 2 อายุ 7 – 14 ปี ระบบในร่างกายกาลังพัฒนาคือระบบ การหายใจ และการเต้นของหัวใจเพื่อสร้างพื้นอารมณ์ เด็กมีจินตนาการสูง และชื่นชอบ
  • 12. 308 ความแตกต่างในธรรมชาติ เช่น กลางวัน – กลางคืน ฝนตก – แดดออก เด็กชอบฟัง นิทานเพ้อฝันในช่วงนี้จึงจัดได้ว่าเป็นช่วงของพัฒนาการด้านความรู้สึกและความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ 1.3 ช่วงระยะที่ 3 อายุ 14 – 21 ปี เมื่อเริ่มเป็นหนุ่มเป็นสาว เด็กจะไม่ใช่ นักฝันที่มองโลกรอบตัวในลักษณะจินตนาการอีกต่อไป เด็กจะพัฒนาความคิดของเด็กจะ ถูกพัฒนาผ่านการศึกษาที่มีรูปแบบเป็นทางการ (Formal Education) 2. การจัดกิจกรรมสาหรับเด็กปฐมวัย รูดอร์ฟ สไตเนอร์ เสนอแนะการจัดกิจกรรมสาหรับเด็กปฐมวัยว่า จะต้องแปล เนื้อหาสาระจากอาณาจักรแห่งพลังเจตจานง (Will) อยู่ตลอดเวลาการเรียนรู้ของเด็กควร เกิดจากการสังเกต ซึมซับ และสร้างสรรค์การกระทาขึ้นมาใหม่โดยการเลียนแบบ การจัด กิจกรรมให้แก่เด็กควรเป็นกิจกรรมที่เกิดจากความต้องการทาหรือเข้าร่วมลงมือทาสิ่งหนึ่ง สิ่งใดที่เด็กได้เห็นคนอื่นทาต่อหน้า เช่น ก่อนที่เด็กจะเริ่มระบายสี เด็กต้องได้เห็นผู้ใหญ่จับ พู่กัน จุ่มสี แล้วแต่งแต้มสีสันลงบนกระดาษ หลักจากที่เด็กเฝ้าดูกิจกรรมนั้นแล้ว เด็กก็จะ อยากจะลงมือทาเองโดยไม่ต้องการคาอธิบายจากผู้ใหญ่ การจัดกิจกรรมตามแนวคิดนี้ต้องจัดให้มีความสมดุลระหว่างการเล่นอิสระกับ กิจกรรมกลุ่ม เพราะเด็กจะได้พัฒนาความคิดริเริ่มของเด็กเองควบคู่ไปกับการคลาย การยึดติดกับตัวมากเกินไปและได้รับประสบการณ์อันสนุกสนานจากการรวมกลุ่ม กิจกรรมในโรงเรียน วอลดอร์ฟจึงมีทั้งกิจกรรมศิลปะ กิจกรรมการเล่านิทาน กิจกรรม ดนตรี กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะที่เรียกว่ายูริธมี (Eurythmy) ยูริธมี ก็คือศิลปะ แห่งการเคลื่อนไหวประกอบจังหวะที่แสดงออกในรูปดนตรีหรือบทกวีง่าย ๆ การจัดกิจกรรมจะมีการวางแผนการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย โดยการจัดตาราง กิจกรรมให้มีกิจกรรมต่าง ๆ สลับกันไปในแต่ละวัน แต่อย่างไรก็ตามตารางที่กาหนดไว้นี้ ไม่จาเป็นต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดจนเกินไปเพราะสามารถปรับเปลี่ยนได้ตาม ความเหมาะสมการจัดการศึกษาสาหรับเด็กวัยนี้ควรยึดหลักต่อไปนี้ (บุษบง ตันติวงศ์. 2542 : 30) 2.1 การทาซ้า (Repetition) เด็กควรได้มีโอกาสทาสิ่งต่าง ๆ ซ้าแล้วซ้าเล่าจน การกระทานั้นซึมลึกลงไปในกายและจิตจนเป็นนิสัย 2.2 จังหวะเวลาที่สม่าเสมอ (Rhythm) กิจกรรมในโรงเรียนต้องเป็นไปตาม จังหวะเวลาที่สม่าเสมอเหมือนลมหายใจเข้า – ออกยามจิตใจสงบและผ่อนคลายเด็กจะได้ รู้สึกมั่นคง ปลอดภัย
  • 13. 309 2.3 ความเคารพและการน้อมรับคุณค่าของทุกสิ่ง กิจกรรมและสื่อธรรมชาติที่ จัดให้เด็กเพื่อให้เด็กเคารพและเห็นคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ที่เกื้อหนุนชีวิตมนุษย์ ความเคารพ และน้อมรับคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ จะเป็นแก่นของจริยธรรมตลอดชีวิตของเด็ก 3. การจัดสภาพแวดล้อม เด็กยิ่งเล็กเท่าไรก็ยิ่งเป็นอิสระจากการพึ่งพาสภาพแวดล้อมได้น้อยเท่านั้น ทุกสิ่ง ทุกอย่างรอบ ๆ ตัวเด็กมีผลต่อพัฒนาการของเด็กไม่ทางใดทางหนึ่ง จากแนวความเชื่อ ดังกล่าว รูดอล์ฟ สไตเนอร์ จึงให้ความสาคัญกับการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนเป็น พิเศษ เขาเสนอว่าอาณาบริเวณโรงเรียนควรประกอบไปด้วยส่วนที่อยู่ในร่มและกลางแจ้ง บริเวณในร่มควรเป็นที่ที่มีแสงสว่างทั่วถึง ควรทาสีห้องด้วยสีอ่อน ๆ ไม่จาเป็นต้องติด วอลเปเปอร์ เพราะลายของวอลเปเปอร์จะทาให้เด็กเบื่อหน่ายที่ไม่ได้ใช้จินตนาการ ส่วน บริเวณกลางแจ้งควรจัดที่ให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสนาม และควรจัดสื่อวัสดุอุปกรณ์ดังนี้ 3.1 อุปกรณ์ภายในห้องเรียน ภายในห้องเรียนควรมีอ่างล้างมือขนาดใหญ่พอที่ เด็กจะจุ่มกระดาษวาดเขียนลงไปได้ทั้งแผ่น มีช่องเก็บของสาหรับเด็กแต่ละคน สื่อการเรียนหรือของเล่นที่จัดให้แก่เด็ก ควรเป็นสิ่งของจากธรรมชาติ เช่น ไม้ ดินเหนียว เป็นต้น เมื่อเด็กได้เล่นของเล่นที่ทามาจากวัสดุธรรมชาติ จะทาให้เด็กเกิดความผูกพันกับ ต้นกาเนิดแหล่งที่มาดั้งเดิมของสิ่งเหล่านั้น สไตเนอร์เชื่อว่าของเล่นที่มีความสมบูรณ์น้อย แต่ชี้ช่องทางในการเล่นจนได้มากย่อมมีคุณค่าทางการศึกษามากกว่าของเล่นที่ประณีต มี รายละเอียดครบหมดทุกอย่างโดยไม่เหลืออะไรให้เด็กจินตนาการเอาเองเลย นอกจาก ของเล่นแล้วยังมีการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทางานศิลปะ เช่น กระดาษวาดเขียน พู่กันและสีชนิดต่าง ๆ เป็นต้น 3.2 อุปกรณ์กลางแจ้ง ควรประกอบไปด้วยเครื่องเล่นสนามชนิดต่าง ๆ บ่อทราย รถเข็น อุปกรณ์ก่อสร้างและเครื่องมือทาสวน เป็นต้น การศึกษาวอลดอร์ฟมาจากพื้นฐานด้วยจิตวิญญาณที่ให้ความสาคัญแก่ พัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ และสติปัญญา พ่อแม่และครูมีหน้าที่ทาตนเป็น แบบอย่างที่ดี และจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสาหรับการเลียนแบบ เด็กควรมีโอกาสได้ เลียนแบบในสิ่งที่มีคุณค่าและค้นคว้าสร้างสรรค์ จึงเป็นการไม่เหมาะสมที่จะสอน การเขียน การอ่าน และคณิตศาสตร์ในช่วงวัยนี้การศึกษาวอลดอร์ฟจึงไม่มีการทดสอบ เพราะ สไตเนอร์ เชื่อว่า การทดสอบไม่มีคุณค่าทางการศึกษา และสิ่งที่การศึกษาวอลดอร์ฟ แตกต่างจากการศึกษาแบบอื่น ๆ อีกประการหนึ่งก็คือการให้ครูผู้สอน ติดตามเด็กกลุ่มที่ รับผิดชอบไปตลอดระยะเวลา 7 ปี จนกระทั่งเมื่ออยู่ในช่วงสุดท้ายจึงจะมีการเสริม
  • 14. 310 ผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะสาขาเข้าไปเท่านั้น (John Martin Rich. 1992 : 102 อ้างถึงใน วรนาท รักสกุลไทย. 2536 : 183 - 184) 3. หลักสูตรใยแมงมุม ใยแมงมุม (Web) เป็นลักษณะหนึ่งของการเขียนผังมโนทัศน์ที่เน้น การกระจาย เนื้อหาหลักไปสู่เนื้อหารองที่สัมพันธ์กันตามลักษณะมโนทัศน์ที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Mind mapping หรือ Spidergram (มนัส บุญประกอบ. 2542 อ้างถึงใน กุลยา ตันติผลาชีวะ. 2543 : 25) วิธีการสร้างข่ายใยแมงมุมเป็นวิธีการหนึ่งที่นามาใช้ในการจัดสร้างหลักสูตร สาหรับเด็กปฐมวัย เพราะการสร้างข่ายใยแมงมุมหลักสูตร จะทาให้ครูเห็นภาพทัศน์เนื้อหา และกิจกรรมการสอนได้ชัดเจน นักการศึกษาปฐมวัยใช้การสร้างข่ายแมงมุมหลักสูตรเป็น วิธีการกาหนดเรื่องที่จะสอนเด็กให้ตรงกับความต้องการและความสนใจของเด็กเป็นอันดับ แรก รองลงมาใช้เพื่อตรวจสอบความครอบคลุมของกิจกรรมการเรียนว่าสอดคล้องกับ กิจกรรมประจาวันและส่งเสริมพัฒนาการเด็กทุกด้านอย่างแท้จริงตามจุดประสงค์ของ การศึกษา (กุลยา ตันติผลาชีวะ. 2543 : 25) หลักสูตรใยแมงมุมจึงเป็นหลักสูตรที่มี แนวคิดในการจัดประสบการณ์โดยใช้ การบูรณาการเนื้อหาสาระและทักษะกระบวนการซึ่งมี ลักษณะหลักสูตรและวิธีการสร้าง ดังต่อไปนี้ 1. ลักษณะของหลักสูตรใยแมงมุม ครอส (Krogh, 1990 : 87 อ้างถึงใน สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. 2538 : 68 - 69) ได้กล่าวถึงลักษณะของหลักสูตรใยแมงมุมพอสรุปได้ดังนี้ 1.1 ลักษณะหลักสูตรครอบคลุมกว้างขวาง (Curriculum Coverage) ตามปกติ แล้ววิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรปฐมวัยมักจะครอบคลุมวิชาต่าง ๆ ที่นักเรียนต้องเรียน คือ ภาษา (Language)การอ่าน (Reading) คณิตศาสตร์ (Mathematics) วิทยาศาสตร์ (Sceince) สังคมศึกษา (Social Studies) ศิลปะ (Art) การเคลื่อนไหวและละคร (Movement and Drama) และดนตรี (Music) ดังนั้น ถ้าครูได้จัดทาหลักสูตรแบบใยแมงมุม จะช่วยให้ครูรู้ ว่าเนื้อหาวิชาใดที่จัดให้เด็กมากเกินไปหรือน้อยเกินไป ผังของใยแมงมุมช่วยให้มองภาพ ทั้งหมดของการจัดเนื้อหาและกิจกรรม 1.2 ลักษณะหลักสูตรเป็นการเรียนรู้ตามธรรมชาติ (Natural Learning) พัฒนาการของเด็กทางด้านสติปัญญานั้นไม่ได้เรียนรู้เป็นวิชา ๆ เหมือนในอดีตที่ผ่านมา เด็ก ๆ ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเขา เขาอยากเรียนรู้ในสิ่งที่เขาเห็นเขาได้ยิน และเกิดความรู้สึกต่าง ๆ การปล่อยให้เด็กเรียนรู้ด้วยความต้องการของเขานับเป็นการให้
  • 15. 311 เด็กเรียนรู้ ตามธรรมชาติดีกว่าการให้เด็กเรียนเป็นวิชา ๆ นับว่าเป็นการบังคับเด็กทาให้ ความสนใจในการเรียนรู้ลดน้อย ลงได้ 1.3 ลักษณะของหลักสูตรที่สร้างมาจากพื้นฐานความสนใจของเด็ก (Children’s Interest) การเลือกเนื้อหาให้เด็กเรียนมาจากพื้นฐานความสนใจของเด็กเป็นหลัก ทาให้ เด็กมีความสนใจและกระตือรือร้นที่จะเรียน 1.4 ลักษณะหลักสูตรเน้นทักษะที่มีความหมายในตัวบริบท (Skills in Meaningful Context) ในการให้เด็กเรียนรู้ในสิ่งที่เขาสนใจนั้น ควรเน้นการฝึกทักษะควบคู่กันไปด้วย การฝึกนั้นต้องเป็นทักษะที่มีความหมายต่อตัวเด็ก ตัวอย่างเช่น กิจกรรมเรื่องวันหยุดควร ให้เด็กฝึกสะกดตัวที่เกี่ยวกับวันหยุดให้ถูกต้อง ซึ่งดีกว่าบอกเด็กท่องจาคาสะกดจาก รายการในบัตรคา 1.5 ลักษณะหลักสูตรที่มีความยืดหยุ่น (Flexibility) เป็นหลักสูตรที่มีความยืดหยุ่น ที่ไม่สร้างแรงกดดันให้กับครูและนักเรียน เช่น ถ้าสร้างหลักสูตรใยแมงมุมในหน่วยเดือน ธันวาคมโดยครูวางแผนว่าแต่ละข่ายใย (เส้น) วิชาใดต้องมีกิจกรรมอะไรบ้าง ถ้าครูไม่ สามารถทาได้หมด หรือกิจกรรมในวิชาใดขอบข่ายใดไม่เหมาะสมกับเวลาหรือฤดูกาลก็ เลี่ยงได้ไม่จาเป็นต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับเด็กอาจไปจัดในโอกาสหน้าก็ได้ 1.6 ลักษณะของหลักสูตรเป็นเสมือนเครื่องมือการวางแผน (A Planning Dcvicc) การสร้างหลักสูตรแบบใยแมงมุม ช่วยทาให้ครูสามารถบูรณาการวิชาต่าง ๆ ในการสอน หน่วย นั้น ๆ ได้ การทาข่ายใยเป็นการเตรียมการจัดวางแผนการสอน เนื้อหา กระบวนการ และกิจกรรมได้ชัดเจน โครงสร้างการสร้างข่ายใยไม่ซับซ้อนแต่บรรจุมากด้วยเนื้อหา กระบวนการและกิจกรรม ตัวอย่าง เช่น การสร้างหน่วยการสอนเรื่องเดือนธันวาคม ถ้า พบว่าวิทยาศาสตร์จัดเนื้อหาและ กิจกรรมน้อยเกินไปก็จะช่วยให้ครูสามารถคิดเนื้อหาและ กิจกรรมเพิ่มเติมได้อีกในเวลาที่จะสอนหน่วยนี้ใน 1 สัปดาห์หรือ 1 เดือน ซึ่งการวาง โครงสร้างของหลักสูตรใยแมงมุมนี้ไม่ใช่การวางครั้งเดียวแล้วทาสิ้นสุดลงเลย แต่สามารถ จัดวางแผนทาอีกต่อไปได้อีก 2. วิธีการสร้างหลักสูตรใยแมงมุม 2.1 เลือกและคัดหัวเรื่อง (Theme) / ชื่อ / (Unit) โดยหัวข้อเรื่องควรเกี่ยวกับ ชีวิตของเด็กสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้มีโอกาสฝึกทักษะมีแหล่งค้นคว้าเพียงพอ 2.2 ครูและนักเรียนช่วยกันระดมความคิด เลือกหัวข้อต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กันจน ได้หัวข้อเรื่องต่าง ๆ 2.3 เลือกกิจกรรมสนองตอบต่อเนื้อหา
  • 16. 312 2.4 ตัวอย่างของหัวข้อ (หน่วยการเรียน) ที่จัดขึ้นโดย เคทส์ และ ชาร์ค (Brewer , 1992 : 136 อ้างถึงใน วรนาท รักสกุลไทย, 2537 : 175) แยกออกเป็นกลุ่มๆคือ 1) ตัวเด็ก เช่น บ้าน เด็กเล็ก ครอบครัว อาหาร โรงเรียน รถโรงเรียน รายการโทรทัศน์ของเล่นและเกม 2) ชุมชนท้องถิ่น ประชากร โรงพยาบาล ร้านค้า แหล่งก่อสร้าง การขนส่ง มวลชน ตลาด 3) เหตุการณ์ในท้องถิ่น เช่น งานวัด งานประจาปี วันสาคัญทางศาสนา 4) สถานที่ เช่น แม่น้า เชิงเขา ทะเลสาบ 5) เวลา เช่น นาฬิกา ฤดูกาล ปฏิทิน เทศกาล 6) ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น อากาศ น้า ลม พืช หิน 7) มโนทัศน์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา เช่น ตรงกันข้าม สี ความสมบูรณ์ รูปแบบ 8) ความรู้ทั่วไป เช่น เรือ ทะเล 9) เบ็ดเตล็ด เช่น หมวก รูปสุนัข 3. ตัวอย่างหลักสูตรใยแมงมุม การสร้างข่ายใยแมงมุมหลักสูตรเป็นการกระจายเรื่องใหญ่สู่เรื่องย่อยเพื่อเชื่อมโยง องค์ประกอบเนื้อเรื่องที่มีอยู่ด้วยการเริ่มต้นกระจายเรื่องใหญ่หรือเนื้อหาหลักไปสู่เนื้อหา รองที่เป็นส่วนประกอบย่อย ตัวอย่างเช่น เรื่องหลักคือต้นไม้ ถ้าเด็กปฐมวัยจะเรียนเรื่อง ต้นไม้ครูจะสอนอะไรบ้าง ข่ายใยแมงมุมหลักสูตรจะบอกให้ครูทราบว่าจะสอนอะไรดัง ตัวอย่าง (กุลยา ตันติผลาชีวะ. 2543 : 27) ภาพที่ 2 ต้นไม้ ส่วนประกอบของต้นไม้ ผล กินไม่ได้กินได้ ราก ดอก ใบ ลักษณะ สี การเจริญเติบโตการอนุรักษ์ ประโยชน์ ปลูกป่า ไม่ตัด ทำลำย ป้องกัน ไฟป่ำ ร่มเงา สร้างบ้านยากิน แสงแดด น้า ดิน ปุ๋ย
  • 17. 313 ภาพที่ 2 ตัวอย่างหลักสูตรใยแมงมุม ที่มา (กุลยา ตันติผลาชีวะ. 2543 : 27) 4. การสอนภาษาแบบธรรมชาติ (Whole Language Approach) การสอนภาษาแบบธรรมชาติ หรือการสอนภาษาโดยองค์รวม (Whole Language Approach) เป็นนวัตกรรมการศึกษาที่เสนอแนวคิดใหม่ในการสอนภาษา เกิดจาก ความพยายามของนักการศึกษาและ นักภาษาศาสตร์ มองเห็นปัญหาการเรียนรู้ภาษา ของเด็ก ซึ่งเกิดจากการสอนที่ครูมุ่งเน้นสาระทางภาษาเป็นหลัก ทาให้การเรียนการสอน ไม่น่าสนใจ ไม่เป็นไปตาม ธรรมชาติคือ ไม่เหมาะกับวัย ความสนใจและความสามารถ ของเด็ก และเมื่อคานึงถึงประโยชน์ที่เด็กจาเป็นต้องใช้ภาษาในการเรียนรู้และสื่อสารใน ชีวิตจริงพบว่าการสอนภาษาแบบเดิม (Traditional approaches) ไม่เน้นความสาคัญของ ประสบการณ์และภาษาที่เด็กใช้ในชีวิตจริง จึงไม่ได้ให้โอกาสเด็กเรียนรู้ภาษาและใช้ภาษา เพื่อสื่อสารอย่างมีความหมายเท่าที่ควร (ภรณี คุรุรัตนะ. 2542 : 85) แนวคิดเกี่ยวกับการสอนภาษาแบบธรรมชาติก็คือถ้าเด็กได้อ่านเขียนเช่นเดียวกับที่ เด็กหัดพูด เด็กจะไม่เกิดความเครียด เพราะวิธีการที่เด็กหัดพูดเกิดจากการที่เด็กพัฒนา จากพูดอ้อแอ้จากนั้นพูดเป็นคาๆ 2 – 3 คา แล้วจึงค่อยพูดประโยคยาว ๆ ที่มีคาศัพท์และ โครงสร้างไวยากรณ์คล้ายคาพูดของผู้ใหญ่เด็กเรียนรู้คาศัพท์หลายพันคาได้อย่าง เหมาะสมก่อนที่เด็กจะเข้าโรงเรียน ดังนั้นในการหัดอ่านเขียน ครูควรเปิดโอกาสให้เขาหัด อ่านเขียนโดยการสังเกตและใช้คาพูดตามความมุ่งหมาย การสอนภาษาแบบธรรมชาติจึง มุ่งให้เด็กอ่านเขียนเพื่อสื่อความหมาย โดยแนะนาให้เข้าใจการใช้ภาษาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่เขาประสบในชีวิตประจาวัน และจัดสภาพแวดล้อมและ กิจกรรมในห้องเรียนที่ เปิดโอกาสให้เด็กหัดอ่านเขียนจากภาษาที่เขาเห็นรอบตัว ทาให้เด็กได้เรียนรู้ภาษาใน หลาย ๆ สถานการณ์ ในขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้เด็กเรียนรู้องค์ประกอบย่อยของ ภาษา เช่น ตัวสะกดและไวยากรณ์ที่ถูกต้อง เมื่อเขาจาเป็นต้องสื่อความหมายให้ทุกฝ่าย เข้าใจตรงกัน ในลักษณะนี้เองที่เด็กจะได้เรียนรู้ว่าองค์ประกอบย่อย ๆ ของภาษาสัมพันธ์ กับความหมายโดยรวมซึ่งเป็น เป้าหมายของผู้สื่อภาษาว่าต้องการสื่อสารอย่างไร 1. หลักการพื้นฐานการสอนภาษาแบบธรรมชาติ สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2538 : 75 – 77) กล่าวถึงแนวการสอนภาษาแบบ ธรรมชาติว่ามี หลักการและแนวทางในการสอนเด็กดังนี้
  • 18. 314 1. เด็กมีโอกาสได้ใช้ภาษาอย่างเต็มที่ การสอนภาษาแบบธรรมชาตินี้ เปิดโอกาสให้ เด็กมีส่วนร่วมทากิจกรรมเกี่ยวกับการใช้ภาษาอย่างเต็มที่ ตอบสนองตรงตามจุดมุ่งหมาย แนวความคิดการเรียนการสอนภาษาไปพร้อม ๆ กันทั้งระบบ เด็ก ๆ มีโอกาสใช้ภาษาและ เห็นเป็นจริงว่า ในชีวิตประจาวันของเขาภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการตั้งคาถาม การอธิบาย การสร้างและสื่อจินตนาการ การเล่นบทบาทสมมุติ การสะท้อนแสดง ความเข้าใจกับคนอื่น ๆ การแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ 2. ภาษาพูดมีความสาคัญ เป็นพลังพื้นฐานการพัฒนาทางภาษาในลาดับต่อไป การสอนภาษาแบบธรรมชาติมีแนวคิดพื้นฐานเชื่อว่าเด็กเกิดมาพร้อมกับการรับรู้และมี ประสบการณ์กับภาษา โดยเฉพาะภาษาแรกเริ่มที่เด็กเรียนรู้ คือ ภาษาพูด เด็กเมื่อเริ่มแรก คลอดจากครรภ์มารดาจะตกอยู่ในสภาพแวดล้อมที่พรั่งพร้อมไปด้วยภาษาพูดจากบุคคล ใกล้ชิด คือ พ่อแม่ พี่น้อง จนขยายวงมาสู่บุคคลในชุมชนและสังคม เด็กจะได้ฟังภาษาพูด ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ฟังนิทาน ฟังเพลงกล่อมเด็ก เพลงปลอบเด็ก ฟังเพลง ฟังบทกลอน บทสนทนาและอื่น ๆ จากสภาพแวดล้อมทางด้านภาษาที่ได้รับเด็ก ๆ ได้เรียนรู้การออก เสียงพูดจากการพูดเป็นคา วลีและประโยคในที่สุด นับเป็นการเรียนรู้ภาษาก่อนที่มา โรงเรียน ดังนั้นในการจัดกิจกรรมในห้องเรียน ครูควรจัดกิจกรรมภาษาให้สนุกสนานเด็ก เรียนรู้คาศัพท์ใหม่ ๆ แปลก ๆ และประโยคที่สลับซับซ้อน การเรียนภาษาพูดที่เด็กเรียนรู้ มาก่อนนี้ นับเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้การอ่านและการเขียนในลาดับขั้นต่อไป 3. การอ่านเป็นพื้นฐานนาไปสู่กระบวนการคิด ในการสอนภาษาในอดีตและที่ เป็นอยู่ในปัจจุบันครูมักสอนให้นักเรียนรู้จักโครงสร้างของภาษาเรียนรู้ตั้งแต่พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ นาส่วนต่าง ๆ มาผสมกันอ่านเป็นคา ออกเสียง การเรียนความหมายของคา แล้วนาคาต่าง ๆ มา สร้างเป็นประโยค โดยมีกฎเกณฑ์ต้องให้ถูกตามไวยากรณ์ของภาษา เด็ก ๆ เรียนอย่างไม่สนุกสนานแต่การสอนอ่านตามแบบการสอนภาษาแบบธรรมชาตินั้น เป็นการเตรียมสภาพแวดล้อมทางด้านภาษา ด้วยการให้เด็กหยิบจับต้องสัมผัสหนังสือ อย่างมากมายและกว้างขวาง เด็กสามารถเลือกอ่านได้อย่างสม่าเสมอ เด็กจะค่อย ๆ เรียนรู้ รับรู้และเข้าใจโครงสร้างภาษาในที่สุด และจากการอ่านนี้นาเด็กไปสู่ความสามารถ สร้างกระบวนการคิดที่สร้างประโยคขึ้นมาใหม่ได้ นับเป็นพื้นฐานการฝึกทักษะการเขียน ต่อไป 4. การเขียนเป็นทักษะที่พัฒนามาเป็นลาดับขั้นตอนการสอนเขียนแก่เด็กตาม แนวความคิดพื้นฐานของการสอนแบบธรรมชาติจะไม่เป็นทักษะการสอนเขียนที่แยก ออกมาเฉพาะ โดด ๆ อย่างเดียว การสอนเขียนเป็นกระบวนการที่มีความเคลื่อนไหว ควบคู่กับการที่เด็กได้รับประสบการณ์จากการอ่าน การเขียนตัวอักษร คา วลี ประโยค
  • 19. 315 จากเนื้อหาการอ่านเด็ก ๆ สามารถจาส่วนต่าง ๆ โดยไม่รู้ความหมายในขั้นแรก ซึ่ง นับเป็นการให้เด็กได้มีทักษะการเขียนโดยไม่มีการบังคับ แต่เป็นพลังอานาจในตัวเด็กที่ อยากเขียนถ่ายทอดออกมาเป็นภาษาเขียน ซึ่งนาไปสู่ความสามารถเขียนได้ในที่สุด 5. การสอนเขียนและสอนอ่าน เป็นทักษะที่สอนควบคู่ไปพร้อม ๆ กัน การสอน ภาษาแบบธรรมชาติมีแนวคิดพื้นฐานว่า ในการสอนเขียนและสอนการอ่านเป็นทักษะ การสอนควบคู่กันไปในชีวิตประจาวันการที่เด็กฝึกอ่านคานาไปสู่การที่เด็กสามารถเขียนคา ได้ ซึ่งเด็กสามารถเขียนเป็นเนื้อเรื่องได้ในที่สุด 6. การสอนเป็นหน่วยบูรณาการการจัดหลักสูตรการสอนแบบธรรมชาตินี้เป็น การสอนแบบบูรณาการโดยเป็นการบูรณาการทั้งเนื้อหาและทักษะเด็กๆจะได้รับ ประสบการณ์เห็นความสัมพันธ์ของ เนื้อหาและทักษะต่าง ๆ ที่เรียน เป็นกลไกเคลื่อนไหว ตามธรรมชาติตามความที่เขา สนใจเป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ดังตัวอย่าง เช่น ให้ เด็กเรียนเรื่องปลาในทะเลครูให้ประสบการณ์เด็กด้วยการให้เด็กเห็นภาพทะเล ภาพปลา ฟังนิทานเกี่ยวกับปลา ให้เด็กวาดปลาด้วยสีเทียน พิมพ์ภาพ ฉีกกระดาษปะภาพปลา ฟังบทกลอน โคลง เกี่ยวกับปลาและทะเลให้เด็กร้องเพลงทะเล มีการจัดตู้ปลา พาออกไป นอกสถานที่ดูพิพิธภัณฑ์สัตว์น้า หรือดูปลาที่ตลาดหรือทะเล สนทนาเกี่ยวกับชาวประมง ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ เป็นการจัดเนื้อหาให้สัมพันธ์กันเปิดโอกาสให้นักเรียนมีโอกาส สารวจคิดค้นพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กันช่วยทาให้ขยายความเข้าใจของเด็กให้ กว้างขวางขึ้น เด็ก ๆ มีโอกาสเรียนรู้ว่าการพูดการอ่าน การฟัง การเขียน เป็นเครื่องมือที่ นาไปสู่กระบวนการคิด แล้วถ่ายทอดออกมาทางภาษาและทักษะต่าง ๆ ทางภาษาเกิดขึ้น ไปพร้อม ๆ กัน นับเป็นการเรียนรู้อย่างสนุกสนานและมีความหมายต่อเด็ก 7. บทบาทของครูมีความสาคัญ ถือว่าเป็นหัวใจที่สาคัญที่สุดของการสอนภาษา แบบธรรมชาติ คือ ตัวครู ครูจะต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ในเรื่องพัฒนาการของเด็กปฐมวัย มีความชานาญ และทักษะในการสอนอ่านและสอนเขียน มีความรอบรู้เรื่องหนังสือ วรรณกรรมของเด็ก เนื้อหา และโครงสร้างหลักสูตรแบบบูรณาการและควรเป็นบุคคลที่มี ความตื่นตัวในเรื่องเกี่ยวกับวรรณกรรมของเด็กการมีปฏิสัมพันธ์การใช้ภาษากับเด็ก การรู้จักจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนให้พรั่งพร้อมทางด้านภาษาใช้ความรู้สังเกต พัฒนาการทางด้านภาษาของเด็กพร้อมๆกัน การสอนภาษาแบบธรรมชาติเป็นแนวคิดที่น่าสนใจที่น่าจะนามาสู่วิธีการสอนภาษา ที่เหมาะสมกับเด็ก เนื่องจากการเรียนรู้ภาษามีความหมายกว้างครอบคลุมถึงการเรียนรู้ ทุกสิ่งทุกอย่างทั้งนี้เนื่องจากมนุษย์ต้องใช้ภาษาเป็นสื่อสาคัญในการแสวงหาและการสร้าง เสริมประสบการณ์ชีวิตโดยตลอด ถึงแม้ว่าการจัดการศึกษาปฐมวัยยังไม่ได้มุ่งเน้นให้เด็ก