SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
วัตถุประสงค์
ทราบการเลือกใช้ยาทีเหมาะสมในเด็ก การคํานวณขนาดยาในเด็ก รวมถึงการให้คําแนะนําสําหรับโรคทีพบบ่อยใน
ร้านขายยา เช่น ไข้ผืนผ้าอ้อม โรคในระบบทางเดินหายใจส่วนบน โรคในระบบทางเดินอาหาร
การกําหนดช่วงอายุของเด็ก
1. ทารกคลอดก่อนกําหนด (Premature) หมายถึง ทารกทีคลอดก่อนครบกําหนดอายุครรภ์ (อายุครรภ์< 38 สัปดาห์)
2. ทารกแรกเกิด (new born, neonate) หมายถึง เด็กทีมีอายุตังแต่แรกเกิด – 1 เดือน
3. ทารก (infant) หมายถึง เด็กทีมีอายุ 1 เดือน – 1 ปี
4. เด็กเล็ก (small child) หมายถึง เด็กทีมีอายุ 1 – 5 ปี
5. เด็กโต (old child) หมายถึง เด็กทีมีอายุ 6 – 12 ปี
6. วัยรุ่น (adolescents) หมายถึง เด็กทีมีอายุ 13 – 18 ปี
เนืองจาก Pharmacokinetic processes ของเด็กยังไม่สมบูรณ์ การใช้ยาในเด็กจึงต้องให้ความระมัดระวังในการใช้ให้
เหมาะสม มิฉะนัน อาจจะทําให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาได้ เช่น
- Chloramphenicol ทําให้เกิดปัญหา Grey baby syndrome มีอาการคลืนไส้ อาเจียน ปวดท้อง ตัวสีเขียวคลําจน
คล้ายสีเทา เนืองจากขาด oxygen เนืองจาก Chloramphenicol มีการแปรสภาพทีตับโดยอาศัยเอนไซม์ และขับ
ออกทางไต แต่ในเด็ก เอนไซม์ยังทํางานไม่สมบูรณ์ และการขับออกทางไตก็ไม่สมบูรณ์ ทําให้เกิดการสะสมของ
ยาได้
- Sulfnamides ทําให้เกิดปัญหา Kernicterus มีอาการ encephalopathy เนืองจากการใช้ยาในเด็กเล็กเกินไป หรือใช้
ในขนาดไม่เหมาะสม อาการผิดปกติดังกล่าว เกิดขึนจากยาทีมีปริมาณมากไปแทนที billirubin ทีจับอยู่กับ
albumin ที albumin site ทําให้มีปริมาณ free billirubin เพิมมากขึน และกระจายเข้าไปในไขสันหลัง ผ่าน BBB
และเกิด encephalopathy ในทีสุด
- การดูดซึมยาผ่านทางผิวหนังของเด็กเกิดขึนได้ง่าย เนืองจากผิวมีความชุ่มชืนสูง และผิวบาง ทําให้ยาดูดซึมได้ง่าย
ดังนัน การใช้ยาทางผิวหนังจึงต้องใช้อย่างระมัดระวัง เช่น การใช้ยากลุ่ม corticosteroid ต้องเลือกใช้ชนิดทีมี
potency ตํา ๆ
ข้อควรพิจารณาในการคํานวณขนาดยาในเด็ก
1. การปรับขนาดยาคิดตามนําหนักหรือพืนทีผิวของเด็ก ในช่วงขวบปีแรก
2. ขนาดยาควรปรับตามนําหนัก จะถึงเด็กมีนําหนัก50 kg ให้คิดเท่าขนาดทีใช้ในผู้ใหญ่
3. สําหรับยาทีมีความปลอดภัยค่อนข้างสูง อาจกําหนดขนาดยาเป็นช่วงตามกลุ่มอายุ
4. อาจกําหนดขนาดยาในเด็ก โดยคํานวณจากขนาดยาในผู้ใหญ่ โดยใช้อายุ นําหนักตัว หรือพืนทีผิวร่างกาย โดยวิธีที
น่าเชือถือทีสุด คือ การใช้Body Surface Area (BSA)
การคํานวณขนาดยาในเด็ก
1. การคํานวณขนาดยาตามอายุ(กรณีไม่ทราบนําหนัก)
- Young’s Rule ใช้สําหรับเด็กอายุ 2 – 12 ปี
หญ่ขนาดยาผู้ใ
12(year)อายุ
(year)อายุ
◌็กขนาดยาในเด 


** (ค่าโดยประมาณ เด็กอายุ6 ปี ~ 1/3 ของขนาดยาในผู้ใหญ่)
- Fried’s Rule ใช้สําหรับทารกแรกเกิด – 1 ปี
หญ่ขนาดยาผู้ใ
150
(month)อายุ
◌็กขนาดยาในเด 
** (ค่าโดยประมาณ เด็กอายุ6 เดือน ~ 1/25 ของขนาดยาในผู้ใหญ่)
2. การคํานวณขนาดยาตามนําหนักร่างกาย
- Clark’s Weight Rule ใช้สําหรับเด็กอายุ 2 ปีขึนไป
150
หญ่ขนาดยาผู้ใ(lb)นําหนัก
◌็กขนาดยาในเด


** (ค่าโดยประมาณ เด็กนําหนัก 10 kg (10 x 2.2) ~ 11/75 ของขนาดยาในผู้ใหญ่)
- เภสัชตํารับมักระบุขนาดการใช้ยาเป็น mg/kg
ขนาดยา = นําหนักร่างกาย (kg) x mg/kg ของยา
frequency(mg/mL).conc
(kg)wt)(mg/kg/daydose
(mL)Dose



สูตรคํานวณนําหนักตัวเด็ก 1-12 ปี
- อายุ1-6 ปี
นําหนัก = [อายุ (year) x 2] + 8 kg
- อายุ6-12 ปี
 
kg
2
57(year)อายุ
นําหนัก


** Quick weight calculation = 2 x (age + 4)
ตัวอย่าง Paracetamol syrup 120 mg/5 mL ให้คํานวณขนาดยาในเด็กอายุ1 ปี
วิธีทํา จาก Quick weight calculation = 2 x (age + 4)
= 2 x (1 + 4) = 10 kg
ขนาดยา paracetamol 10-15 mg/kg/dose  เด็กคนนีควรได้รับยาขนาด 100-150 mg/dose
จากโจทย์ Paracetamol syrup 120 mg/5 mL
ดังนัน ขนาดยาทีผู้ป่วยเด็กคนนีควรได้รับ = 120mg/5 mL คือ รับประทาน 1 ช้อนชา
3. การคํานวณขนาดยาตามพืนทีผิวร่างกาย
มีความเหมาะสมมากกว่า เนืองจาก ขนาดยาขึนกับอัตราเร็วของการเผาผลาญอาหาร มวลของร่างกาย ซึงสัมพันธ์กับ
พืนทีผิวมากกว่า แต่ต้องระวัง ในเด็กอ้วน เนืองจากอาจจะได้ขนาดยาทีสูงเกินจําเป็น ให้คํานวณจาก IBW
IBWMale = 50 + 2.3 (ht in inch over 5 ft) IBWFemale = 45 + 2.3 (ht in inch over 5 ft)
หญ่ขนาดยาผู้ใ
)(m1.73
)(mเด็กพืนทีผิว
◌็กขนาดยาในเด 2
2

สําหรับพืนทีผิวของเด็ก สามารถหาได้จากnomogram หรือ BSA (m2
) = 0.007184 x ht (m)0.725
x wt (kg)0.425
โดยทัวไปจะถือว่าเด็กอายุมากกว่า12 ปี จะใช้ยาขนาดเท่ากับผู้ใหญ่ (นําหนัก ≥ 50 kg)
ปัญหาทีพบบ่อยในเด็ก
1. อาการไข้ (Fever)
 อาการไข้คือ ภาวะทีเด็กมีอุณหภูมิ > 37.4 C (oral), > 38 C (rectal), > 37.8 C (axillary) และสามารถเกิดอาการชัก
ได้หากมีอุณหภูมิสูงกว่า 39 C หรือเคยมีประวัติการชักจากไข้สูง
 เมือเด็กมีไข้ควรพิจารณาอาการอืนร่วม เช่น ผืน ภาวะหายใจลําบาก ท้องเสีย ปวดหู เจ็บคอ ไอ นํามูก ปวดท้อง
 สาเหตุของอาการไข้ อาจเกิดจากการติดเชือ URI, UTI, common cold, tonsillitis, otitis media, pneumonia,
meningitis, การตอบสนองต่อวัคซีน
 การดูแลรักษา อาจให้ยาลดไข้ (Paracetamol, Ibuprofen, Aspirin) หรือรักษาทัว ๆ ไป เช่น เช็ดตัวด้วยนําอุ่น ดืม
นํามาก ๆ ไม่ใส่เสือผ้าหนา ๆ หรือห่มผ้าหนา ๆ
 อย่าใช้ยาลดไข้นานเกิน 5 วันโดยไม่ทราบสาเหตุของไข้(ถ้ามีไข้สูงเกิน 5 วัน โดยไม่ทราบสาเหตุ  refer)
การใช้ยาลดไข้
1.1 Paracetamol
 เป็นยาทีเลือกใช้เป็นอันดับแรก มีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับ aspirin ในการลดไข้ มีหลายรูปแบบและหลายความ
เข้มข้นให้เลือกใช้
 Dose 10-15 mg/kg q 4-6 hr, max dose 75 mg/kg/day (5 ครังต่อวัน)
1.2 Aspirin
 ไม่แนะนําให้ใช้ในเด็กอายุน้อยกว่า 16 ปี หรืออีสุกอีไส หรือ respiratory viral infections  Reye’s Syndrome
(encephalopathy, hepatic dysfunction, death)
 Dose 10-15 mg/kg q 4-6 hr, max dose 4 g/day  รับประทานหลังอาหารทันที
1.3 Ibuprofen
 มีประสิทธิภาพในการลดไข้ดีกว่า Paracetamol
 ไม่แนะนําให้ใช้ในเด็กทีมีอุณหภูมิไม่สูงมาก หรืออายุน้อยกว่า 6 เดือน (ใช้Paracetamol)
 Dose ในเด็ก 6 เดือน-2 ปี
- T < 39 C  5 mg/kg
- T > 39 C  10 mg/kg, max dose 40 mg/kg/day (4-6 ครัง)
2 Common cold, Acute rhinitis
 เป็นโรคติดเชือของโพรงจมูกจากเชือไวรัส มีไข้ตํา ๆ หนาว ๆ ร้อน ๆ ปวดเมือยตามตัว ร่วมกับอาการนํามูกใส
(อาจเหลืองตอนเช้า) จาม คัดจมูก เจ็บคอ และไอ
 การดูแลรักษา ไข้หวัดหายได้เองภายใน 1-5 วัน ไม่เกิน 1 wk ควรรักษาตามอาการโดยให้ยาลดไข้ ยาลดนํามูก
แนะนําให้สังนํามูกออกหรือใช้ลูกยางแดงดูดนํามูก หรือทําnasal irrigation (0.9% NaCl 5-10 cc) ถ้านํามูกเหนียว
แห้ง หยอด 0.9% NaCl 1-2 หยด
การใช้ยาบรรเทาอาการ
1.1 Antihistamines
 1st
generation (CPM, brompheniramine, diphenhydramine, tripolidine), 3rd
generation (loratadine, cetirizine,
fexofenadine)
 ยาทีมีฤทธิ anticholinergic (1st
gen) ให้ผลลดนํามูกได้ดีกว่า แต่หากใช้ในเด็กเล็กอาจเกิดอาการนอนไม่หลับ
กระวนกระวายได้
1.2 Decongestants สําหรับลดอาการบวมของเยือบุจมูก
 Oral decongestants เช่น pseudoephedrine 1 mg/kg tid-qid  ไม่แนะนําให้ใช้ในเด็กเล็ก อายุ< 1 ปี
 ยาพ่นจมูกหรือหยอดจมูก เช่น 0.5% ephedrine, phenylephrine, naphazoline  ไม่แนะนําให้ใช้ในเด็กเล็ก
อายุ < 1 ปี การใช้ติดต่ดกันนานเกิน 5 วัน อาจทําให้เกิด rebound phenomenon (rhinitis medicamentosa, rebound
congestion, rhinorrhea)
1.3 ยาลดอาการไอ
 Antitussive (diphenhydramine, dextromethorphan, codeine)  ไม่ควรใช้ในเด็ก เพราะทําให้ไอไม่ออก เสมหะ
ค้างและอุดหลอดลมได้
 Expectorants (guaifenesin, glyceryl guaiacolate, bromhexine, ambroxol)
 Mucolytics (acetylcysteine, carbocysteine)
3. Acute Otitis Media (AOM)
เป็นอาการของหูชันกลางอักเสบ เนืองจากการติดเชือ พบได้บ่อยในเด็กอายุ 6 เดือน-3 ปี เนืองจากเด็กมีท่อ eustachine
สันและทํามุมมากกว่าผู้ใหญ่ เชือก่อโรคทีสําคัญ เช่น S. aureus, H. influenzae, Moraxella catarrhalis เป็นต้น อาการสําคัญ
ได้แก่ ปวดหู กวน จับใบหูหรือเอานิวแหย่รูหู กดเจ็บหลังหู นํามูกไหล หนองไหลออกจากหู ไข้ ถ้าส่องกล้องจะพบเยือแก้วหู
แดง โป่งออกหรือมีฝ่าขุ่น มีนําในหูชันกลาง ถ้าเป็นมากกว่า3 เดือน  Chronic Otitis Media
การรักษา รักษาโดยให้ยาปฏิชีวนะ 5-7 วัน (AOM ไม่มีภาวะแทรกซ้อน), 10-14 วัน (เด็กอายุ < 2 ปี เยือแก้วหูทะลุ มี
การกลับเป็นซํา immunocompromised)
 AOM ไม่มีภาวะแทรกซ้อน  Amoxicillin 40-50 mg/kg/day หากเชือเริมดือยา80-90 mg/kg/day bid-tid
 กรณีไม่ตอบสนองต่อ Amoxicllin หรืออาการไม่ดีขึนใน 48 hr  Amoxiciilin-clavulanic acid (amoxicillin
80-90 mg/kg/day) หรือ 2nd
gen Cephalosporins ชนิดกิน หรือ Ceftriaxone (IM) single dose
 กรณีแพ้Beta-lactams  azithromycin or clarithromycin or TMP-SMX
4. Acute rhinosinusitis
เป็นอาการติดเชือของโพรงอากาศรอบ ๆ จมูก โดยอาการใน 7 วันแรก ไม่สามารถแยกออกจาก common cold ได้ มัก
พบร่วมกับประวัติภูมิแพ้ อาการหลัก คือ facial pain, facial congestion, nasal obstruction, postnasal drip, fever รับกลินได้ลดลง
และอาการรอง (ทีอาจเกิดได้) คือ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บหู ปวดฟัน มีกลินปาก เชือสาเหตุหลักเหมือนAOM
ควรคํานึงถึง sinusitis เมือ เป็นหวัดนานกว่า 10 วัน และอาการไม่ดีขึน มีไข้สูง นํามูกข้นเขียว ปวดกระบอกตา แก้ม
หรือบริเวณเหนือลูกตา หรือบวมรอบตา มีอาการไอ มักไอมากตอนกลางคืน หายใจมีกลินเหม็น อาจไม่มีไข้หรือไข้ตํา ๆ โดย
แยกจาก allergic rhinitis ตรงที allergic rhinitis จะเป็นซํา ๆ คันจมูกหรือมีอาการภูมิแพ้อืน ๆ ร่วม
การรักษา ให้ Amoxicillin 10-14 วัน (หากแพ้ใช้ Macrolides) หากอาการไม่ดีขึนใน 3-5 วัน หรือกลับเป็นซําใน 2 wk
ใช้ Amoxiciilin-clavulanic acid หรือ 2nd
gen Cephalosporins ชนิดกิน อาจให้ร่วมกับ decongestants, antihistamine (ไม่ควรใช้
รุ่น 1)
5. Colic
เป็นอาการทีเด็กร้องไห้โยเยไม่หยุด โดยเฉพาะเวลาเย็นทุกวัน นานกว่า 2-3 hr/day, 3 day/week และเป็นอยู่นาน 3 wk
ในเด็กอายุ < 3 เดือน มักพบได้บ่อยในเด็กอายุ 1-4 เดือน โดยไม่มีสัญญาณของโรคหรือความเจ็บป่วยอืน ๆ อาจเกิดจากลําไส้
ทํางานหนักเกินไป อากาศไหลเข้าไปในลําไส้ กินเร็ว มากเกินไป หรือกลืนอากาศเข้าไปมาก
การรักษาป้องกัน เช่น การป้องกันการกลืนลมเข้าไป อย่าป้อนนมมากหรือน้อยเกินไป อุ้มทารกพาดบ่าในเรอหลังกิน
นม ใช้ทิงเจอร์มหาหิงคุ์ ทาบาง ๆ ทีหน้าท้อง ใช้ยา Simethicone, Gripe water, Charmomine tea
6. Diarrhea
มีอาการถ่ายเหลว ถ่ายมาก มักเกิดจาก gastroenteritis การติดเชือ retroviruses (ระยะฟักตัว 1-2 วัน) แต่หากมีไข้ ถ่าย
เป็นมูกเลือด กลินเหม็น อาจเกิดจากการติดเชือแบคทีเรีย การตรวจร่างกายทีสําคัญ คือ การประเมินสภาวะขาดนํา (dehydration)
ซึงเป็นสาเหตุการตายทีสําคัญในเด็กอายุ< 4 ขวบ
การประเมินสภาวะขาดนํา สามารถประเมินได้จาก
 Tachycardia  moderate dehydration
 Hypotension  severe dehydration
 Increase in respiratory rate  higher degree of dehydration
 กระหม่อมบุ๋ม ปากแห้ง นําลายข้นเหนียว ผิวหนังแห้ง เย็น ขาดความยืดหยุ่น ปัสสาวะน้อย ขุ่น มีความถ่วงจําเพาะมาก
สภาวะขาดนํา
 Mild  อาการไม่ชัดเจน อาจสังเกตจากการกระหายนํา
 Moderate  หิวนํา กระสับกระส่าย ร้องกวน ผิวหนังแห้ง ปากแห้ง ตาลึก กระหม่อมบุ๋ม ชีพจรเต้นเร็วขึน
 Severe  ชีพจรเต้นเร็ว ซึมไม่รู้สึกตัว shock
การรักษา
 Rehydration and electrolyte replacement  หากอยู่ในระดับ severe dehydration ให้ IV fluid infusion 20 CC of
NSS or lactate Ringer’s solution หากอยู่ในระดับ mild-moderate ให้ ORS สําหรับเด็ก (5-20 cc q 5-10 min)
โดยเฉพาะช่วง 4-6 ชัวโมงแรก ถ้าเด็กอาเจียนระหว่างดืม ORS ให้หยุดดืม 5-10 นาที แล้วค่อยดืมใหม่ ถ้ามีอาการ
อาเจียนร่วมด้วย ให้ค่อย ๆ จิบครังละ 1 ช้อนชา ทุก 5 นาที
 หยุดให้นําเกลือ เมือระยะห่างของการถ่ายแต่ละครังมากกว่า 6-8 ชัวโมง หรืออาการขาดนําหายไป
 ให้ยาลดการเคลือนไหวของลําไส้ เช่น Loperamide, diphenoxylate ไม่ควรใช้ในเด็กอายุ < 6 ปี และท้องเสียเนืองจาก
การติดเชือ
 ให้ยาทีมีฤทธิดูดซับ เช่น Kaolin, pectin, activated charcoal ไม่ช่วยให้อาการดีขึน ถ้าใช้มากกว่า 2 วัน จะทําให้อุจจาระ
แข็งเป็นก้อน ถ่ายลําบาก และไม่ควรใช้ในเด็กอายุ< 3 ปี
 ภาวะอุจจาระร่วงส่วนใหญ่หายได้เอง ไม่จําเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพ ควรหาสาเหตุและแก้ไข ร่วมกับกับให้ ORS
 สามารถให้นมแม่ต่อได้หรือให้นมผงชนิดไม่มี lactose ให้อาหารอ่อน
 Refer กรณีเด็กอายุ < 3 เดือน
7. ท้องผูก (Constipation)
อาการ คือ ถ่ายลําบาก ปวดท้อง อุจจาระแข็ง หลายวันจึงจะถ่าย มักพบบ่อยในทารกและเด็ก สาเหตุเกิดจากการ
รับประทานอาหารหรือนําไม่เพียงพอ หรือมีการเปลียนจากนมแม่เป็นนมขวด สาเหตุทีเกิดจากโรคมักพบน้อย
การรักษา
 แก้ทีสาเหตุ คือ ในเด็กทีสามารถรับประทานอาหารได้ให้เพิมอาหารทีมีกากใย ผัก ผลไม้อาจใช้ยาเหน็บหรือยาสวน
 ควรหลีกเลียงยาระบายแบบ stimulant (Senna, Bisacodyl) ในเด็กทารก และไม่แนะนําให้ใช้แบบ chronic use
- ยาเหน็บ glycerin (hyperosmotic) ใช้สําหรับเด็กทารก
- Bisacodyl 5 mg (ยาเม็ด) ใช้ในเด็กอายุ> ปี
- ยาเหน็บทวาร ขนาด mg ใช้ในเด็กอายุ > 2 ปี
- ยาสวนทวาร เช่น Saline enema  safe and efficacy เหมาะกับอุจจาระแข็ง ถ่ายยาก
- Bulk forming agents เช่น methylcellulose ใช้ในเด็กอายุ > 6 ปี
- Lubricants เช่น mineral oil ใช้ในเด็กอายุ> 6 ปี และให้ระวัง lipid pneumonia จาก GERD และการสําลัก
- Magnesium hydroxide ระวังการเกิดพิษในเด็กทารก และระวังการใช้ในผู้ป่วยเด็กโรคไต
8. ผืนผ้าอ้อม (Nappy rash/ Diaper rash)
พบการเกิดได้ในเด็กอายุ - เดือน สาเหตุเกิดจากการหมักหมมของ urine และ feces บนผิวหนัง โดยเชือแบคทีเรีย
ทําให้เกิดแอมโมเนีย เกิดการทําลายผิวหนัง อาการ คือ มีผืนแดง (erythema), สะเก็ด (scaling) , เป็นตุ่มหนอง (pustules) อาจเกิด
ภาวะแทรกซ้อนจากเชือ Candida ได้ภายใน วัน จะทําให้ผิวแฉะ ชืน และมีกลินเหม็น
การรักษา
 รักษาความสะอาดโดยการเปลียนผ้าอ้อมบ่อย ๆ (อย่างน้อยทุก ชัวโมง) ล้างคราบสบู่ให้หมดหลังอาบนํา
 First line therapy  zinc oxide ointment เป็น antiseptic and astringent และไม่ทําให้เกิดผืนแพ้
 Protective agent เช่น zinc oxide, Vaseline, caster oil ointment  ให้ความชุ่มชืนแก่ผิวหนัง
 Powdered protective agents  Talcum
 Low potency corticosteroid  1% hydrocortisone apply bid 1 wk สําหรับ severe inflammation
 Anticandidal agents  clotrimazole, miconazole, nystatin เมือมีการติดเชือ Candida

Contenu connexe

Tendances

ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 

Tendances (20)

ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 

En vedette

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดtopsaby99
 
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
 ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยUtai Sukviwatsirikul
 
Drugstore Market Overview Utai Sukviwatsirikul
Drugstore Market Overview Utai SukviwatsirikulDrugstore Market Overview Utai Sukviwatsirikul
Drugstore Market Overview Utai SukviwatsirikulUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาสิว 2010
แนวทางการรักษาสิว 2010แนวทางการรักษาสิว 2010
แนวทางการรักษาสิว 2010Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
Cpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionCpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559Utai Sukviwatsirikul
 

En vedette (20)

Aerius drug monograph
Aerius drug monograph Aerius drug monograph
Aerius drug monograph
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
 
Cpg urticaria 2015
Cpg urticaria 2015Cpg urticaria 2015
Cpg urticaria 2015
 
Cpg for gerd
Cpg for gerdCpg for gerd
Cpg for gerd
 
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
 ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
 
Cpg urticaria 2015
Cpg urticaria 2015Cpg urticaria 2015
Cpg urticaria 2015
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
Drugstore Market Overview Utai Sukviwatsirikul
Drugstore Market Overview Utai SukviwatsirikulDrugstore Market Overview Utai Sukviwatsirikul
Drugstore Market Overview Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัยความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
ความรู้เรื่องอาหารเสริมตามวัย
 
Cpg for acne
Cpg for acneCpg for acne
Cpg for acne
 
แนวทางการรักษาสิว 2010
แนวทางการรักษาสิว 2010แนวทางการรักษาสิว 2010
แนวทางการรักษาสิว 2010
 
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
 
Cpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionCpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addiction
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
 

Similaire à การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)

คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.25554LIFEYES
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสWan Ngamwongwan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 

Similaire à การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics) (20)

Allergic rhinitis
Allergic rhinitisAllergic rhinitis
Allergic rhinitis
 
URI.pptx
URI.pptxURI.pptx
URI.pptx
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
Sinusitis
SinusitisSinusitis
Sinusitis
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
โรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเสโรคหลอดลมอักเส
โรคหลอดลมอักเส
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
 
PALS 2010
PALS 2010PALS 2010
PALS 2010
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
Asthma guideline for children
Asthma guideline for childrenAsthma guideline for children
Asthma guideline for children
 

Plus de Aiman Sadeeyamu

การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agentการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic AgentAiman Sadeeyamu
 
การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...
การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...
การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...Aiman Sadeeyamu
 
คำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินัง
คำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินังคำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินัง
คำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินังAiman Sadeeyamu
 
ประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินัง
ประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินังประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินัง
ประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินังAiman Sadeeyamu
 
สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิ
สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิ
สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิAiman Sadeeyamu
 
ประกาศกำหนดการสอบ โภชนากร
ประกาศกำหนดการสอบ โภชนากรประกาศกำหนดการสอบ โภชนากร
ประกาศกำหนดการสอบ โภชนากรAiman Sadeeyamu
 
ประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพ
ประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพ
ประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพAiman Sadeeyamu
 
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60Aiman Sadeeyamu
 
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60Aiman Sadeeyamu
 
รับสมัคร ธุรการ+แม่บ้าน
รับสมัคร ธุรการ+แม่บ้านรับสมัคร ธุรการ+แม่บ้าน
รับสมัคร ธุรการ+แม่บ้านAiman Sadeeyamu
 
ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์Aiman Sadeeyamu
 
ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์Aiman Sadeeyamu
 

Plus de Aiman Sadeeyamu (20)

It slide
It slideIt slide
It slide
 
Point it
Point itPoint it
Point it
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agentการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
 
การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...
การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...
การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...
 
คำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินัง
คำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินังคำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินัง
คำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินัง
 
ประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินัง
ประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินังประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินัง
ประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินัง
 
สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิ
สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิ
สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิ
 
ประกาศกำหนดการสอบ โภชนากร
ประกาศกำหนดการสอบ โภชนากรประกาศกำหนดการสอบ โภชนากร
ประกาศกำหนดการสอบ โภชนากร
 
Form accident 94689
Form accident 94689Form accident 94689
Form accident 94689
 
ประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพ
ประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพ
ประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพ
 
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60
 
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60
 
รับสมัคร ธุรการ+แม่บ้าน
รับสมัคร ธุรการ+แม่บ้านรับสมัคร ธุรการ+แม่บ้าน
รับสมัคร ธุรการ+แม่บ้าน
 
ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์
 
Risk management-manual
Risk management-manualRisk management-manual
Risk management-manual
 
ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์
 
Measles kpn 2017
Measles kpn 2017Measles kpn 2017
Measles kpn 2017
 
Rn3
Rn3Rn3
Rn3
 
Rn2
Rn2Rn2
Rn2
 
Rn1
Rn1Rn1
Rn1
 

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)

  • 1. การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics) วัตถุประสงค์ ทราบการเลือกใช้ยาทีเหมาะสมในเด็ก การคํานวณขนาดยาในเด็ก รวมถึงการให้คําแนะนําสําหรับโรคทีพบบ่อยใน ร้านขายยา เช่น ไข้ผืนผ้าอ้อม โรคในระบบทางเดินหายใจส่วนบน โรคในระบบทางเดินอาหาร การกําหนดช่วงอายุของเด็ก 1. ทารกคลอดก่อนกําหนด (Premature) หมายถึง ทารกทีคลอดก่อนครบกําหนดอายุครรภ์ (อายุครรภ์< 38 สัปดาห์) 2. ทารกแรกเกิด (new born, neonate) หมายถึง เด็กทีมีอายุตังแต่แรกเกิด – 1 เดือน 3. ทารก (infant) หมายถึง เด็กทีมีอายุ 1 เดือน – 1 ปี 4. เด็กเล็ก (small child) หมายถึง เด็กทีมีอายุ 1 – 5 ปี 5. เด็กโต (old child) หมายถึง เด็กทีมีอายุ 6 – 12 ปี 6. วัยรุ่น (adolescents) หมายถึง เด็กทีมีอายุ 13 – 18 ปี เนืองจาก Pharmacokinetic processes ของเด็กยังไม่สมบูรณ์ การใช้ยาในเด็กจึงต้องให้ความระมัดระวังในการใช้ให้ เหมาะสม มิฉะนัน อาจจะทําให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาได้ เช่น - Chloramphenicol ทําให้เกิดปัญหา Grey baby syndrome มีอาการคลืนไส้ อาเจียน ปวดท้อง ตัวสีเขียวคลําจน คล้ายสีเทา เนืองจากขาด oxygen เนืองจาก Chloramphenicol มีการแปรสภาพทีตับโดยอาศัยเอนไซม์ และขับ ออกทางไต แต่ในเด็ก เอนไซม์ยังทํางานไม่สมบูรณ์ และการขับออกทางไตก็ไม่สมบูรณ์ ทําให้เกิดการสะสมของ ยาได้ - Sulfnamides ทําให้เกิดปัญหา Kernicterus มีอาการ encephalopathy เนืองจากการใช้ยาในเด็กเล็กเกินไป หรือใช้ ในขนาดไม่เหมาะสม อาการผิดปกติดังกล่าว เกิดขึนจากยาทีมีปริมาณมากไปแทนที billirubin ทีจับอยู่กับ albumin ที albumin site ทําให้มีปริมาณ free billirubin เพิมมากขึน และกระจายเข้าไปในไขสันหลัง ผ่าน BBB และเกิด encephalopathy ในทีสุด - การดูดซึมยาผ่านทางผิวหนังของเด็กเกิดขึนได้ง่าย เนืองจากผิวมีความชุ่มชืนสูง และผิวบาง ทําให้ยาดูดซึมได้ง่าย ดังนัน การใช้ยาทางผิวหนังจึงต้องใช้อย่างระมัดระวัง เช่น การใช้ยากลุ่ม corticosteroid ต้องเลือกใช้ชนิดทีมี potency ตํา ๆ ข้อควรพิจารณาในการคํานวณขนาดยาในเด็ก 1. การปรับขนาดยาคิดตามนําหนักหรือพืนทีผิวของเด็ก ในช่วงขวบปีแรก 2. ขนาดยาควรปรับตามนําหนัก จะถึงเด็กมีนําหนัก50 kg ให้คิดเท่าขนาดทีใช้ในผู้ใหญ่ 3. สําหรับยาทีมีความปลอดภัยค่อนข้างสูง อาจกําหนดขนาดยาเป็นช่วงตามกลุ่มอายุ 4. อาจกําหนดขนาดยาในเด็ก โดยคํานวณจากขนาดยาในผู้ใหญ่ โดยใช้อายุ นําหนักตัว หรือพืนทีผิวร่างกาย โดยวิธีที น่าเชือถือทีสุด คือ การใช้Body Surface Area (BSA) การคํานวณขนาดยาในเด็ก 1. การคํานวณขนาดยาตามอายุ(กรณีไม่ทราบนําหนัก) - Young’s Rule ใช้สําหรับเด็กอายุ 2 – 12 ปี หญ่ขนาดยาผู้ใ 12(year)อายุ (year)อายุ ◌็กขนาดยาในเด    ** (ค่าโดยประมาณ เด็กอายุ6 ปี ~ 1/3 ของขนาดยาในผู้ใหญ่)
  • 2. - Fried’s Rule ใช้สําหรับทารกแรกเกิด – 1 ปี หญ่ขนาดยาผู้ใ 150 (month)อายุ ◌็กขนาดยาในเด  ** (ค่าโดยประมาณ เด็กอายุ6 เดือน ~ 1/25 ของขนาดยาในผู้ใหญ่) 2. การคํานวณขนาดยาตามนําหนักร่างกาย - Clark’s Weight Rule ใช้สําหรับเด็กอายุ 2 ปีขึนไป 150 หญ่ขนาดยาผู้ใ(lb)นําหนัก ◌็กขนาดยาในเด   ** (ค่าโดยประมาณ เด็กนําหนัก 10 kg (10 x 2.2) ~ 11/75 ของขนาดยาในผู้ใหญ่) - เภสัชตํารับมักระบุขนาดการใช้ยาเป็น mg/kg ขนาดยา = นําหนักร่างกาย (kg) x mg/kg ของยา frequency(mg/mL).conc (kg)wt)(mg/kg/daydose (mL)Dose    สูตรคํานวณนําหนักตัวเด็ก 1-12 ปี - อายุ1-6 ปี นําหนัก = [อายุ (year) x 2] + 8 kg - อายุ6-12 ปี   kg 2 57(year)อายุ นําหนัก   ** Quick weight calculation = 2 x (age + 4) ตัวอย่าง Paracetamol syrup 120 mg/5 mL ให้คํานวณขนาดยาในเด็กอายุ1 ปี วิธีทํา จาก Quick weight calculation = 2 x (age + 4) = 2 x (1 + 4) = 10 kg ขนาดยา paracetamol 10-15 mg/kg/dose  เด็กคนนีควรได้รับยาขนาด 100-150 mg/dose จากโจทย์ Paracetamol syrup 120 mg/5 mL ดังนัน ขนาดยาทีผู้ป่วยเด็กคนนีควรได้รับ = 120mg/5 mL คือ รับประทาน 1 ช้อนชา 3. การคํานวณขนาดยาตามพืนทีผิวร่างกาย มีความเหมาะสมมากกว่า เนืองจาก ขนาดยาขึนกับอัตราเร็วของการเผาผลาญอาหาร มวลของร่างกาย ซึงสัมพันธ์กับ พืนทีผิวมากกว่า แต่ต้องระวัง ในเด็กอ้วน เนืองจากอาจจะได้ขนาดยาทีสูงเกินจําเป็น ให้คํานวณจาก IBW IBWMale = 50 + 2.3 (ht in inch over 5 ft) IBWFemale = 45 + 2.3 (ht in inch over 5 ft) หญ่ขนาดยาผู้ใ )(m1.73 )(mเด็กพืนทีผิว ◌็กขนาดยาในเด 2 2  สําหรับพืนทีผิวของเด็ก สามารถหาได้จากnomogram หรือ BSA (m2 ) = 0.007184 x ht (m)0.725 x wt (kg)0.425 โดยทัวไปจะถือว่าเด็กอายุมากกว่า12 ปี จะใช้ยาขนาดเท่ากับผู้ใหญ่ (นําหนัก ≥ 50 kg)
  • 3. ปัญหาทีพบบ่อยในเด็ก 1. อาการไข้ (Fever)  อาการไข้คือ ภาวะทีเด็กมีอุณหภูมิ > 37.4 C (oral), > 38 C (rectal), > 37.8 C (axillary) และสามารถเกิดอาการชัก ได้หากมีอุณหภูมิสูงกว่า 39 C หรือเคยมีประวัติการชักจากไข้สูง  เมือเด็กมีไข้ควรพิจารณาอาการอืนร่วม เช่น ผืน ภาวะหายใจลําบาก ท้องเสีย ปวดหู เจ็บคอ ไอ นํามูก ปวดท้อง  สาเหตุของอาการไข้ อาจเกิดจากการติดเชือ URI, UTI, common cold, tonsillitis, otitis media, pneumonia, meningitis, การตอบสนองต่อวัคซีน  การดูแลรักษา อาจให้ยาลดไข้ (Paracetamol, Ibuprofen, Aspirin) หรือรักษาทัว ๆ ไป เช่น เช็ดตัวด้วยนําอุ่น ดืม นํามาก ๆ ไม่ใส่เสือผ้าหนา ๆ หรือห่มผ้าหนา ๆ  อย่าใช้ยาลดไข้นานเกิน 5 วันโดยไม่ทราบสาเหตุของไข้(ถ้ามีไข้สูงเกิน 5 วัน โดยไม่ทราบสาเหตุ  refer) การใช้ยาลดไข้ 1.1 Paracetamol  เป็นยาทีเลือกใช้เป็นอันดับแรก มีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับ aspirin ในการลดไข้ มีหลายรูปแบบและหลายความ เข้มข้นให้เลือกใช้  Dose 10-15 mg/kg q 4-6 hr, max dose 75 mg/kg/day (5 ครังต่อวัน) 1.2 Aspirin  ไม่แนะนําให้ใช้ในเด็กอายุน้อยกว่า 16 ปี หรืออีสุกอีไส หรือ respiratory viral infections  Reye’s Syndrome (encephalopathy, hepatic dysfunction, death)  Dose 10-15 mg/kg q 4-6 hr, max dose 4 g/day  รับประทานหลังอาหารทันที 1.3 Ibuprofen  มีประสิทธิภาพในการลดไข้ดีกว่า Paracetamol  ไม่แนะนําให้ใช้ในเด็กทีมีอุณหภูมิไม่สูงมาก หรืออายุน้อยกว่า 6 เดือน (ใช้Paracetamol)  Dose ในเด็ก 6 เดือน-2 ปี - T < 39 C  5 mg/kg - T > 39 C  10 mg/kg, max dose 40 mg/kg/day (4-6 ครัง) 2 Common cold, Acute rhinitis  เป็นโรคติดเชือของโพรงจมูกจากเชือไวรัส มีไข้ตํา ๆ หนาว ๆ ร้อน ๆ ปวดเมือยตามตัว ร่วมกับอาการนํามูกใส (อาจเหลืองตอนเช้า) จาม คัดจมูก เจ็บคอ และไอ  การดูแลรักษา ไข้หวัดหายได้เองภายใน 1-5 วัน ไม่เกิน 1 wk ควรรักษาตามอาการโดยให้ยาลดไข้ ยาลดนํามูก แนะนําให้สังนํามูกออกหรือใช้ลูกยางแดงดูดนํามูก หรือทําnasal irrigation (0.9% NaCl 5-10 cc) ถ้านํามูกเหนียว แห้ง หยอด 0.9% NaCl 1-2 หยด การใช้ยาบรรเทาอาการ 1.1 Antihistamines  1st generation (CPM, brompheniramine, diphenhydramine, tripolidine), 3rd generation (loratadine, cetirizine, fexofenadine)  ยาทีมีฤทธิ anticholinergic (1st gen) ให้ผลลดนํามูกได้ดีกว่า แต่หากใช้ในเด็กเล็กอาจเกิดอาการนอนไม่หลับ กระวนกระวายได้
  • 4. 1.2 Decongestants สําหรับลดอาการบวมของเยือบุจมูก  Oral decongestants เช่น pseudoephedrine 1 mg/kg tid-qid  ไม่แนะนําให้ใช้ในเด็กเล็ก อายุ< 1 ปี  ยาพ่นจมูกหรือหยอดจมูก เช่น 0.5% ephedrine, phenylephrine, naphazoline  ไม่แนะนําให้ใช้ในเด็กเล็ก อายุ < 1 ปี การใช้ติดต่ดกันนานเกิน 5 วัน อาจทําให้เกิด rebound phenomenon (rhinitis medicamentosa, rebound congestion, rhinorrhea) 1.3 ยาลดอาการไอ  Antitussive (diphenhydramine, dextromethorphan, codeine)  ไม่ควรใช้ในเด็ก เพราะทําให้ไอไม่ออก เสมหะ ค้างและอุดหลอดลมได้  Expectorants (guaifenesin, glyceryl guaiacolate, bromhexine, ambroxol)  Mucolytics (acetylcysteine, carbocysteine) 3. Acute Otitis Media (AOM) เป็นอาการของหูชันกลางอักเสบ เนืองจากการติดเชือ พบได้บ่อยในเด็กอายุ 6 เดือน-3 ปี เนืองจากเด็กมีท่อ eustachine สันและทํามุมมากกว่าผู้ใหญ่ เชือก่อโรคทีสําคัญ เช่น S. aureus, H. influenzae, Moraxella catarrhalis เป็นต้น อาการสําคัญ ได้แก่ ปวดหู กวน จับใบหูหรือเอานิวแหย่รูหู กดเจ็บหลังหู นํามูกไหล หนองไหลออกจากหู ไข้ ถ้าส่องกล้องจะพบเยือแก้วหู แดง โป่งออกหรือมีฝ่าขุ่น มีนําในหูชันกลาง ถ้าเป็นมากกว่า3 เดือน  Chronic Otitis Media การรักษา รักษาโดยให้ยาปฏิชีวนะ 5-7 วัน (AOM ไม่มีภาวะแทรกซ้อน), 10-14 วัน (เด็กอายุ < 2 ปี เยือแก้วหูทะลุ มี การกลับเป็นซํา immunocompromised)  AOM ไม่มีภาวะแทรกซ้อน  Amoxicillin 40-50 mg/kg/day หากเชือเริมดือยา80-90 mg/kg/day bid-tid  กรณีไม่ตอบสนองต่อ Amoxicllin หรืออาการไม่ดีขึนใน 48 hr  Amoxiciilin-clavulanic acid (amoxicillin 80-90 mg/kg/day) หรือ 2nd gen Cephalosporins ชนิดกิน หรือ Ceftriaxone (IM) single dose  กรณีแพ้Beta-lactams  azithromycin or clarithromycin or TMP-SMX 4. Acute rhinosinusitis เป็นอาการติดเชือของโพรงอากาศรอบ ๆ จมูก โดยอาการใน 7 วันแรก ไม่สามารถแยกออกจาก common cold ได้ มัก พบร่วมกับประวัติภูมิแพ้ อาการหลัก คือ facial pain, facial congestion, nasal obstruction, postnasal drip, fever รับกลินได้ลดลง และอาการรอง (ทีอาจเกิดได้) คือ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บหู ปวดฟัน มีกลินปาก เชือสาเหตุหลักเหมือนAOM ควรคํานึงถึง sinusitis เมือ เป็นหวัดนานกว่า 10 วัน และอาการไม่ดีขึน มีไข้สูง นํามูกข้นเขียว ปวดกระบอกตา แก้ม หรือบริเวณเหนือลูกตา หรือบวมรอบตา มีอาการไอ มักไอมากตอนกลางคืน หายใจมีกลินเหม็น อาจไม่มีไข้หรือไข้ตํา ๆ โดย แยกจาก allergic rhinitis ตรงที allergic rhinitis จะเป็นซํา ๆ คันจมูกหรือมีอาการภูมิแพ้อืน ๆ ร่วม การรักษา ให้ Amoxicillin 10-14 วัน (หากแพ้ใช้ Macrolides) หากอาการไม่ดีขึนใน 3-5 วัน หรือกลับเป็นซําใน 2 wk ใช้ Amoxiciilin-clavulanic acid หรือ 2nd gen Cephalosporins ชนิดกิน อาจให้ร่วมกับ decongestants, antihistamine (ไม่ควรใช้ รุ่น 1) 5. Colic เป็นอาการทีเด็กร้องไห้โยเยไม่หยุด โดยเฉพาะเวลาเย็นทุกวัน นานกว่า 2-3 hr/day, 3 day/week และเป็นอยู่นาน 3 wk ในเด็กอายุ < 3 เดือน มักพบได้บ่อยในเด็กอายุ 1-4 เดือน โดยไม่มีสัญญาณของโรคหรือความเจ็บป่วยอืน ๆ อาจเกิดจากลําไส้ ทํางานหนักเกินไป อากาศไหลเข้าไปในลําไส้ กินเร็ว มากเกินไป หรือกลืนอากาศเข้าไปมาก การรักษาป้องกัน เช่น การป้องกันการกลืนลมเข้าไป อย่าป้อนนมมากหรือน้อยเกินไป อุ้มทารกพาดบ่าในเรอหลังกิน นม ใช้ทิงเจอร์มหาหิงคุ์ ทาบาง ๆ ทีหน้าท้อง ใช้ยา Simethicone, Gripe water, Charmomine tea
  • 5. 6. Diarrhea มีอาการถ่ายเหลว ถ่ายมาก มักเกิดจาก gastroenteritis การติดเชือ retroviruses (ระยะฟักตัว 1-2 วัน) แต่หากมีไข้ ถ่าย เป็นมูกเลือด กลินเหม็น อาจเกิดจากการติดเชือแบคทีเรีย การตรวจร่างกายทีสําคัญ คือ การประเมินสภาวะขาดนํา (dehydration) ซึงเป็นสาเหตุการตายทีสําคัญในเด็กอายุ< 4 ขวบ การประเมินสภาวะขาดนํา สามารถประเมินได้จาก  Tachycardia  moderate dehydration  Hypotension  severe dehydration  Increase in respiratory rate  higher degree of dehydration  กระหม่อมบุ๋ม ปากแห้ง นําลายข้นเหนียว ผิวหนังแห้ง เย็น ขาดความยืดหยุ่น ปัสสาวะน้อย ขุ่น มีความถ่วงจําเพาะมาก สภาวะขาดนํา  Mild  อาการไม่ชัดเจน อาจสังเกตจากการกระหายนํา  Moderate  หิวนํา กระสับกระส่าย ร้องกวน ผิวหนังแห้ง ปากแห้ง ตาลึก กระหม่อมบุ๋ม ชีพจรเต้นเร็วขึน  Severe  ชีพจรเต้นเร็ว ซึมไม่รู้สึกตัว shock การรักษา  Rehydration and electrolyte replacement  หากอยู่ในระดับ severe dehydration ให้ IV fluid infusion 20 CC of NSS or lactate Ringer’s solution หากอยู่ในระดับ mild-moderate ให้ ORS สําหรับเด็ก (5-20 cc q 5-10 min) โดยเฉพาะช่วง 4-6 ชัวโมงแรก ถ้าเด็กอาเจียนระหว่างดืม ORS ให้หยุดดืม 5-10 นาที แล้วค่อยดืมใหม่ ถ้ามีอาการ อาเจียนร่วมด้วย ให้ค่อย ๆ จิบครังละ 1 ช้อนชา ทุก 5 นาที  หยุดให้นําเกลือ เมือระยะห่างของการถ่ายแต่ละครังมากกว่า 6-8 ชัวโมง หรืออาการขาดนําหายไป  ให้ยาลดการเคลือนไหวของลําไส้ เช่น Loperamide, diphenoxylate ไม่ควรใช้ในเด็กอายุ < 6 ปี และท้องเสียเนืองจาก การติดเชือ  ให้ยาทีมีฤทธิดูดซับ เช่น Kaolin, pectin, activated charcoal ไม่ช่วยให้อาการดีขึน ถ้าใช้มากกว่า 2 วัน จะทําให้อุจจาระ แข็งเป็นก้อน ถ่ายลําบาก และไม่ควรใช้ในเด็กอายุ< 3 ปี  ภาวะอุจจาระร่วงส่วนใหญ่หายได้เอง ไม่จําเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพ ควรหาสาเหตุและแก้ไข ร่วมกับกับให้ ORS  สามารถให้นมแม่ต่อได้หรือให้นมผงชนิดไม่มี lactose ให้อาหารอ่อน  Refer กรณีเด็กอายุ < 3 เดือน 7. ท้องผูก (Constipation) อาการ คือ ถ่ายลําบาก ปวดท้อง อุจจาระแข็ง หลายวันจึงจะถ่าย มักพบบ่อยในทารกและเด็ก สาเหตุเกิดจากการ รับประทานอาหารหรือนําไม่เพียงพอ หรือมีการเปลียนจากนมแม่เป็นนมขวด สาเหตุทีเกิดจากโรคมักพบน้อย การรักษา  แก้ทีสาเหตุ คือ ในเด็กทีสามารถรับประทานอาหารได้ให้เพิมอาหารทีมีกากใย ผัก ผลไม้อาจใช้ยาเหน็บหรือยาสวน  ควรหลีกเลียงยาระบายแบบ stimulant (Senna, Bisacodyl) ในเด็กทารก และไม่แนะนําให้ใช้แบบ chronic use - ยาเหน็บ glycerin (hyperosmotic) ใช้สําหรับเด็กทารก - Bisacodyl 5 mg (ยาเม็ด) ใช้ในเด็กอายุ> ปี - ยาเหน็บทวาร ขนาด mg ใช้ในเด็กอายุ > 2 ปี - ยาสวนทวาร เช่น Saline enema  safe and efficacy เหมาะกับอุจจาระแข็ง ถ่ายยาก - Bulk forming agents เช่น methylcellulose ใช้ในเด็กอายุ > 6 ปี
  • 6. - Lubricants เช่น mineral oil ใช้ในเด็กอายุ> 6 ปี และให้ระวัง lipid pneumonia จาก GERD และการสําลัก - Magnesium hydroxide ระวังการเกิดพิษในเด็กทารก และระวังการใช้ในผู้ป่วยเด็กโรคไต 8. ผืนผ้าอ้อม (Nappy rash/ Diaper rash) พบการเกิดได้ในเด็กอายุ - เดือน สาเหตุเกิดจากการหมักหมมของ urine และ feces บนผิวหนัง โดยเชือแบคทีเรีย ทําให้เกิดแอมโมเนีย เกิดการทําลายผิวหนัง อาการ คือ มีผืนแดง (erythema), สะเก็ด (scaling) , เป็นตุ่มหนอง (pustules) อาจเกิด ภาวะแทรกซ้อนจากเชือ Candida ได้ภายใน วัน จะทําให้ผิวแฉะ ชืน และมีกลินเหม็น การรักษา  รักษาความสะอาดโดยการเปลียนผ้าอ้อมบ่อย ๆ (อย่างน้อยทุก ชัวโมง) ล้างคราบสบู่ให้หมดหลังอาบนํา  First line therapy  zinc oxide ointment เป็น antiseptic and astringent และไม่ทําให้เกิดผืนแพ้  Protective agent เช่น zinc oxide, Vaseline, caster oil ointment  ให้ความชุ่มชืนแก่ผิวหนัง  Powdered protective agents  Talcum  Low potency corticosteroid  1% hydrocortisone apply bid 1 wk สําหรับ severe inflammation  Anticandidal agents  clotrimazole, miconazole, nystatin เมือมีการติดเชือ Candida