SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  96
Challenge in management of
   Tuberculosis in HIV-AIDS
                   นพ.มนูญ ลีเชวงวงศ
                 นายกสมาคมโรคเอดสแหงประเทศไทย
ประธานทุนวิจัยวัณโรคดื้อยา ในพระอุปถัมภสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟา
     กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ศิริราชมูลนิธิ
เปนที่นาภูมิใจที่แนวทางการรักษาโรคติดเชื้อ
HIV และโรคเอดสในประเทศไทย พัฒนาขึ้น
มาตามลําดับ ปจจุบันมาตรฐานใกลเคียงกับ
ประเทศที่เจริญแลว แตกตางจากแนวทางการ
รักษาวัณโรคยังเหมือนประเทศในแอฟริกา ที่เปน
เชนนี้เพราะกลุมผูติดเชื้อวัณโรคไมสามารถรวม
กันผลักดันผูบริหารเหมือนกับกลุมผูติดเชื้อ HIV
ประเทศไทย
• มีผูปวยวัณโรค (รายเกาที่รักษาไมหายและ
  รายใหม) ประมาณ 120,000 คน/ป
• มีผูปวยวัณโรครายใหม 92,000 คน เสมหะ
  บวก 40,000 คน เสียชีวิต 12,000 คน/ป
• อัตราติดเชื้อ HIV ผูปวยวัณโรครายใหม
  รอยละ 17
ประเทศไทย
• High TB burden อันดับ 18 ของโลก
• High HIV prevalence รอยละ 17 ของผูปวย
                                        
  วัณโรคติดเชือ HIV
               ้
• High MDR in previously treated TB patients
  รอยละ 34 ของผูปวยที่เคยรักษามาแลว เปน
                   
  MDR-TB
• High level of INH resistance รอยละ 10
  (คาเฉลี่ยของทุกประเทศ 7.4%)
1. การติดเชื้อ HIV เปนปจจัยเสี่ยงสําคัญ
   ที่สุด ทําใหคนทีเ่ ปนวัณโรคแฝง
   (latent TB infection) และคนทีไดรับ
                                    ่
   เชื้อวัณโรคเขาสูรางกายครั้งแรก ปวย
   เปนวัณโรค (active TB disease) ใน
   ระยะเวลาอันสั้น
เมื่อรับเชื้อวัณโรคเขารางกายครั้งแรก
                โอกาสปวย       ระยะเวลา
                เปนวัณโรค

ผูปวยเอดส      30%           สัปดาห
คนปกติ             5%          1 - 2 ปแรก
               อีก 5%        ชวงชีวิตที่เหลือ
คนที่มีเชื้อวัณโรคแฝงในตัว
                  โอกาสปวยเปนวัณโรค
                      รอยละ/ป
เมือติดเชือ HIV
   ่      ้              10
คนปกติ                   0.3
2.วัณโรคเปนโรคติดเชื้อฉวยโอกาส
  และสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของ
  ผูติดเชื้อ HIV และผูปวยเอดสใน
  ประเทศไทย
3. อาการแสดงและภาพรังสีของวัณโรค
   ปอดในผูปวยเอดส โดยเฉพาะคนที่มีระดับ
   CD4 ต่ํา ไมมีลักษณะเฉพาะเจาะจง ทําให
   การวินิจฉัยลาชา
   ผูปวยเอดสมี negative sputum AFB smear
   และ extrapulmonary TB มากกวาคนที่ไม
   ติดเชื้อ HIV รวมดวย
Simple Questionnaires to
  Screen for TB in pt with HIV
• The presence of cough of any duration,
• Fever of any duration,
• Or night sweats lasting 3 more weeks in the
  preceding 4 weeks
  was 93% sensitive and 36% specific for TB
Ref. Cain KP et al. An Algorithm for TB screening and diagnosis in people with HIV. N Eng J Med
    2010;362:701-16.
4.การวินิจฉัยวัณโรคในผูปวยโรคเอดสสวนใหญ
  ยังอาศัยการทํา AFB smear ซึ่งไมไวพอ ถา
  ยอมพบเชื้อ ไมไดบอกวาเปน TB และไมบอก
  วาไวตอยาตัวไหน
  ถาวินิจฉัย MDR/XDR-TB ไดชา และไมให
                                 
  การรักษาที่ถูกตอง จะทําใหโอกาสเสียชีวิตสูง
DOTS Strategy
         1994-1995
เนน
• การกํากับการกินยา
• คนหาโดยการยอมเชือในเสมหะ ไมใช
                    ้
  เพาะเชือและตรวจหาความไวตอยา
         ้
การวินิจฉัยวัณโรคโดยอาศัยการยอมสี
AFB ดูดวยกลองจุลทรรศนอยางเดียว
ผิดหลักดานพืนฐาน (basic concept)
             ้
ของการวินิจฉัยโรคติดเชือที่ตองรูวา
                       ้
เปนเชือโรคอะไร ไวหรือดื้อตอยาตัว
       ้
ไหนเพือจะใหยารักษาไดถูกตอง
         ่
ประมาณรอยละ 5 ของผูปวยที่ไมติดเชื้อ
HIVและมากถึงรอยละ 10 ของผูปวยที่ติด
                               
เชือ HIV ที่มีเสมหะ AFB smear บวก พบ
   ้
เปน non tuberculous mycobacteria
 (NTM) ไมใช TB การอาศัยผล AFB
 smear อยางเดียว จะทําใหรักษาผิดโรค
 สิ้นเปลืองคายาโดยไมจําเปน
ในอดีต องคการอนามัยโลกใหความ
สําคัญในการควบคุม (control) วัณโรค
ชนิดที่ไมดื้อยา ในประชากร (population)
มากกวา การใหการดูแลรักษา (care)
ผูปวยวัณโรค (individual) ที่มีทั้งดื้อและ
ไมดื้อยา
กอนหนาป ค.ศ. 1997 องคการอนามัยโลก
จะขวางประเทศที่กําลังพัฒนาไมใหทําการ
ตรวจเพาะเชือหาความไวตอยา ดวยเหตุผล
               ้
ที่วาสิ้นเปลือง ทําไมได และเปลาประโยชน
เปนการนําทรัพยากรที่มีจํากัดไปรักษาวัณ
โรคดื้อยา แทนที่จะรักษาวัณโรคที่ไมดื้อยา
ใหไดกอน
Irresponsible Suggestions
• The proposal to perform susceptibility testing for all
  sputum smear-positive patients is an irresponsible
  suggestion because it will draw away the money from
  other existing funds
• Sputum culture and susceptibility test is reserved for
  exceptional cases who fail to respond to both standard
  and resistant regimens
            Director of TB Division, MOPH
            WHO consultant in TB for Thailand

           Payanandana V, Sawert H. Letter to the editor. J Inf Dis Antimibrob. Agents 1998;15:158-159.
ทุนวิจัยวัณโรคดื้อยา
                       ในพระอุปถัมภ
              สมเด็จพระเจาพีนางเธอ
                             ่
               เจาฟากัลยาณิวัฒนา
           กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร
ทัศวรรณ     ดวงสมร       รศ.ดร. อังคณา       ฉายประเสริฐ
นิภา         สมบุญ        รศ.นพ. เชิดศักดิ์   ธีระบุตร
วิยะดา       ยศปญญา      อ.นพ. มนูญ          ลีเชวงวงศ
ปริญญา       กรณิกา       อ.ดร. เทิดศักดิ์    พราหมณะนันทน
น้ําผึ้ง     บุษยมาส      ศ.คลินิก ปยะสกล    สกลสัตยาทร
สุนทรี       ชุติมา
จุดประสงคของทุนวิจัยวัณโรคดื้อยา
• ทดสอบความไวของเชือวัณโรคใหกบ
                       ้            ั
  ผูปวยจากสถานพยาบาลของรัฐที่เสมหะ
  ยอมพบเชือ โดยวิธี Direct susceptibility
             ้
  testing ตอ INH และ rifampicin โดย
  ไมคิดคาใชจาย
               
ทุนวิจัยวัณโรคดื้อยาฯ เลือกใชวิธีการเพาะเชื้อ
และตรวจหาความไวตอยา INH และ
rifampicin บนอาหารวุน 7 H10 agar media
เพราะไดผลเร็วกวาทําบนอาหารแข็ง egg-based
 solid media ถึงแมจะไดผลชากวาทําบนอาหาร
เหลว liquid media เล็กนอย แตราคาถูกกวามาก
เหมาะสําหรับเปนการ screening เฉพาะผูปวยที่
มีเสมหะยอมเชื้อพบ AFB
Direct Susceptibility Testing (DS)
         Proportion Method on M7H10


 - Directly from clinical sample:
              Smear “positive”
 - M7H10 agar
 - Isoniazid and Rifampicin
 - Turnaround Time: 4-6 wks

• Indirect Susceptibility Test:
  -From pure culture
  -Turnaround Time: 4 wks
  - M7H10 agar or LJ
• หากพบเชือดื้อยา isoniazid จะสง
             ้
  ตรวจหา first line drug susceptibility
  test (DST) โดยวิธี indirect test ใหฟรี
• หากตรวจพบเชือดื้อยา rifampicin หรือ
                  ้
  isoniazid และrifampicin สงตรวจทั้ง
  first line และ second line DST ใหฟรี
ผลการทํา DS จากเสมหะที่ยอมพบ AFB ตั้งแตปพ.ศ.
2544-2552 ในโครงการทุนวิจัยวัณโรคดื้อยา ศิริราชมูลนิธิ
ในพระอุปถัมภสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิ
วัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร
MDR-TB and XDR-TB : data analysis from Drug-
 Resistant TB Research Fund during 2001-2008
No. of AFB-smear positive                                18,007
  sputa samples
M. TB isolated                                           10,346
MDR-TB patients                                          586 (5.66%)
XDR-TB patients                                          33 (0.31%)
Prammanan T, Boonaiam S, Srimuang S, et al: Abstract ISAAR 2009
• More than 60% of MDR-TB also resist to
  streptomycin
• 40% and 49% of MDR-TB resist to EMB and
  PZA respectively
• 5% of MDR-TB resist to aminoglycoside
  ( kanamycin, amikacin ) and fluoroquinolone
  i.e. XDR-TB
Susceptibility of MDR-TB against second-line drugs
                                        Susceptible strains
                                                    History of
                                  Previously treatment not
              New cases          treated cases       available      Total
Second-line    (n = 22)             (n = 49)          (n = 28)    (n = 99)
drugs           n (%)                n (%)             n (%)       n (%)
Amikacin      22 (100)            44 (89.79)      28 (100)       94 (94.95)
Kanamycin     22 (100)            44 (89.79)      28 (100)       94 (94.95)
Ciprofloxacin 22 (100)            43 (87.76)      25 (89.28)     90 (90.91)
Ofloxacin     22 (100)            43 (87.76)      25 (89.28)     90 (90.91)
Ethionamide 17 (77.27)            36 (73.47)      25 (89.28)     78 (78.79)
PAS           20 (90.91)          42 (85.71)      23 (82.14)     85 (85.86)
Prammananan T et al, Int J Tuberc Lung Dis 2005;9(2):216-219.
การศึกษาจากโรงพยาบาลราชวิถี ยืนยัน
วา direct susceptibility testing โดยใช
7H10 agar media เมื่อเปรียบเทียบกับ
ทําบน egg-based media ในผูปวยที่มี
เสมหะ AFB smear บวก ไดผลเร็วกวา
(ประมาณ 38 วัน) ถูกตอง และราคาถูก
Prevalence of MDR-TB and XDR-TB in
     Chest Disease Institute from 1997-2005
  Year           No. of                No. (%)                No. (%)
                patients              MDR-TB                  XDR-TB
  1997           1,345               150 (11.15)               6 (4.0)
  1998           1,438                97 (6.74)                6 (6.2)
  1999           1,082               113 (10.44)               9 (8.0)
  2000           1,342                108 (8.05)               4 (3.7)
  2001           1,276                 88 (6.90)               3 (3.4)
  2002           1,013                 78 (7.70)               3 (3.8)
  2003            919                  72 (7.83)               2 (2.8)
  2004           1,006               115 (11.43)               4 (3.5)
  2005            868                  88 (10.14)              2 (2.3)
  Total          10,289                909(8.8)                39(4.3)
Ref: Chuchottaworn C. Extensively Drug Resistant Tuberculosis (XDR-TB)
in Chest Disease Institute, 1997-2005. J Med Assoc Thai Vol.93 No.1 2010.
ปรากฏการณและขอมูลที่ทาใหองคการ
                            ํ
อนามัยโลกเปลี่ยนแนวทางการรักษาวัณโรค
1.พบการระบาดของ XDR-TB ในประเทศ
  แอฟริกาใต ในป ค.ศ. 2006
2.ขอมูลที่พบวาการรักษา MDR-TB ใน
  ประเทศที่กําลังพัฒนาไดผลดีเทากับ
  ประเทศที่เจริญแลว
XDR exposes the TB infection control
               neglect
      The Tugela Ferry case
          Ghandi et al Lancet 2006; 368:1575-80.


         1539 isolates tested

                              997 (65%) Cx- MTB

         542 (35%) Cx+ MTB

                            323 (59%) Susceptible

          221(41%) MDRTB


          53 (10%) XDR-TB
          (24% of MDR-TB)
                                                    • Evidence for nosocomial
                                                    transmission
• All 44 tested for HIV were +                         • 51% no prior TB treatment
                                                       • 67% prior hospitalization
• 52 XDR cases died                                    • 8 health workers died of XDR
• Median survival of 16 days
                                                    • By March 2007: 555 XDR
• Typing identified 6-drug                          cases in South Africa (267 in
MDRTB strain in Kwa-Zulu                            Tugela Ferry)
Characteristics of KZN XDR-TB Patients
  Characteristics                      No (%)
  • No prior TB treatment              26 (51)
  • Proior TB treatment
     – Cure or completed treatment     14 (28)
     – Treatment Default or Failure     7 (14)
  • HIV-infected (44 tested)          44 (100)
  • Dead (includes 34% on ARV)         52 (98)
  • Identical M.Tb spoligotype          26/30
DOTS policy
   a role in the evolution of XDR-TB ?
• 2001 – the year South Africa implemented the WHO’s
  DOTS strategy to combat TB
• MDR-TB had already been circulating for at least seven
  years in KZN
• The evolution of the KZN XDR strain suggests WHO
  strategy to treat all diagnosed individuals with a fixed
  combination of drugs without drug susceptibility testing
  may have, in part, led to the rapid evolution of XDR-TB
                                  CID 2007
ความผิดพลาดในการทําตามแนวทาง
 ขององคการอนามัยโลก สงผลให
วัณโรคดื้อยาเพิมขึ้นทั้งจํานวน
               ่
และความรุนแรงจากดื้อยา 1 ขนาน เปน
หลายขนาน (MDR-TB) และเปนเกือบ
ทุกขนาน (XDR-TB)
ในปจจุบน องคการอนามัยโลกเห็น
          ั
ความสําคัญของวัณโรคดื้อยา ใหความ
สําคัญทั้ง care และ control ของ
วัณโรคทุกชนิดทั้งดื้อและไมดื้อยา
องคการอนามัยโลกกําหนดใหทุก
ประเทศในโลก สามารถวินิจฉัยดวยการ
เพาะเชื้อและตรวจหาความไวตอยา และ
ใหการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน
(MDR-TB) ทุกคน ภายในป ค.ศ. 2015
Treatment of tuberculosis guidelines, 4th edition ; WHO 2010
องคการอนามัยโลกสนับสนุนหองปฏิบัติ
การวัณโรคทั่วโลกใหเพิมขีดความสามารถ
                       ่
ในการทํา culture และ drug
susceptibility testing ไดอยางกวางขวาง
ไมใชแคทํา AFB smear อยางเดียว
Treatment of tuberculosis guidelines, 4th edition, WHO 2010
องคการอนามัยโลกเริ่มแนะนําให
ตรวจเพาะเชื้อ และหาความไวตอยา
วัณโรคโดยวิธีที่รวดเร็ว ถูกตอง
เชื่อถือได และราคาไมแพง
องคการอนามัยโลกแนะนําให
• สงเพาะเชือและหาความไวตอยาจากสิ่งสงตรวจของ
               ้
  ผูปวยวัณโรคทีเ่ คยรักษามาแลว กอนที่จะใหการ
  รักษาใหม อยางนอยที่สุดตองตรวจหาความไวตอยา
  INH และ rifampicin
• ใหใชวิธี liquid media หรือวิธีโมเลกุลมากกวาวิธี
  solid culture
• ผูปวย HIV ทีเ่ สมหะยอมพบเชื้อทุกคน โดยแนะนํา
  ใหใชวิธีการตรวจใหผลเร็ว
Treatment of tuberculosis guidelines, 4th edition ; WHO 2010
ในประเทศที่มี High HIV prevalence
(ผูหญิงตั้งครรภติดเชื้อ HIV >1% หรือ
ผูปวยวัณโรคติดเชื้อ HIV >5%) ควรทํา
การเพาะเชื้อเมือสงสัยวาเปนวัณโรค
               ่
แตเสมหะยอมเชื้อไมพบ เพือยืนยันวา
                             ่
เปนวัณโรคจริง
Treatment of tuberculosis guidelines, 4th edition ; WHO 2010
การตรวจหาเชื้อวัณโรคดื้อยาดวย molecular tests
          (genotypic resistance)

ตรวจยีนดื้อยา rifampicin (rpoB gene)
              Isoniazid (katG และ inhA)
จากเสมหะที่ AFB smear บวก ไดผลภายใน 1-2
วัน
• หากไมพบยีนดื้อยา rifampicin (rpoB
  gene) ใหสงตรวจเสมหะ first line drug
  susceptibility test (DST)

• หากตรวจพบยีนดื้อยา rifampicin มักจะมี
  การดื้อยา isoniazid รวมดวย มากกวา
  รอยละ 90 ควรสงตรวจทั้ง first line และ
  second line DST
องคการอนามัยโลกแนะนําใหยกเลิกการแบง
สูตรยาสําหรับผูปวยวัณโรค เปน categories
1, 2 , 3 และ 4 ใหเหลือเพียง 3 สูตร เทานั้น
1.New patients 2 HRZE / 4 HR
2.Retreatment with first-line drugs
  2 HRZES / 1 HRZE / 5 HRE
3.MDR regimen
Treatment of tuberculosis guidelines, 4th edition ; WHO 2010
สูตรยา retreatment with first line drugs
เหมาะสําหรับใชในประเทศที่
• ผูปวยเคยไดรบการรักษามาแลวดวย 2
              ั
  HRZE / 6 HE ไมใชเคยไดรับการรักษาดวย
  2 HRZE / 4 HR แลวกลับมาเปนซ้า  ํ
• ในประเทศที่มี low prevalence of initial
  drug resistance
  เพราะฉะนันประเทศไทยไมควรใชสูตรนี้อีก
            ้
  ตอไป
องคการอนามัยโลกเลิกแนะนําใหใชสูตรยา
2 HRZ / 4 HR (หรือ category 3) อีกตอไป
แตกอนเคยแนะนําใหใชในรายทีไมมี
                              ่
cavity, smear negative หรือเปน
extrapulmonary ที่ไมติดเชื้อ HIV รวมดวย

Treatment of tuberculosis guidelines, 4th edition ; WHO 2010
องคการอนามัยโลกแนะนําประเทศที่
คนไขวัณโรคใหมมการดื้อตอยาINH สูง
                  ี
และไมมการสงตรวจหาความไวตอยา
        ี
ควรพิจารณาใหสูตรยา HRZE 2 เดือน
ตอดวย HRE (แทนที่จะเปน HR) อีก
4 เดือน เพือปองกันการเกิด MDR-TB
           ่
องคการอนามัยโลกจะชวยประเทศที่ทํา
DOT อยางจริงจัง สามารถรักษาวัณโรคให
หายขาดไดมากกวา รอยละ 85 ดวยการ
สนับสนุนใหตรวจหาความไวตอยา ดวยวิธี
โมเลกุล และใหยาสํารองในราคาถูกมาก
(เพียงรอยละ 5 ของราคาตลาด)
Global Laboratory Initiative (a Stop TB
Partnership Working Group) รวมกับ
Foundation for Innovative New Diagnostics
(FIND) และ Global Drug Facility
ไดใหทงยา 2nd line drugs และ molecular tests
       ั้
แก 27 ประเทศ ใน ค.ศ.2009
องคการอนามัยโลกแนะนําใหทุก
ประเทศไปปรับปรุงแกไขแนวทางการ
รักษาวัณโรคแหงชาติใหเขากับแนว
ทางใหมขององคการอนามัยโลก

Treatment of tuberculosis guidelines, 4th edition ; WHO 2010
รางคูมือแผนงานวัณโรคแหงชาติ 2553
แนะนําใหสงเสมหะตรวจเพาะเชื้อและทดสอบความไวตอยา
• ผูปวยรายใหม
   – ผูปวยที่ติดเชื้อเอชไอวีรวมดวย
   – ผูปวยที่มีประวัติสัมผัสกับผูปวย MDR-TB
   – กลุมเสี่ยงอื่น ๆ เชน ผูปวยตามแนวชายแดน ผูปวยใน
       เรือนจํา เบาหวาน และผูปวยวัณโรคที่มีแผลโพรงขนาด
       ใหญ
• ผูปวยที่มีประวัติการรักษาวัณโรคมากอน
• ผูปวยวัณโรคที่มีผลเสมหะเปนบวกเมื่อสินเดือนที่ 2 และ
                                           ้
  สิ้นเดือนที่ 5 ขณะกําลังรักษา
5. การรักษา TB และโรคเอดสพรอมกัน
 ยากกวาการรักษาวัณโรคอยางเดียว
 ผูปวยตองทานยามาก อาจทําใหทานยา
 ไมครบ
 ผลขางเคียงของยา TB และ ARV
 คลาย ๆ กัน ทําใหแยกไมออกวาเกิดจาก
 ยาตัวไหน
ยา rifampicin กระตุน enzyme cytochrome
โดยเฉพาะ CYP 3A4 ทําใหระดับยา NNRTI และ
PI ลดลง
สูตรยา INH, RIF, PZA และ EMB
สามารถใหผปวยโรคเอดสที่กําลังรับยา 2 NRTI
              ู
กับ efavirenz หรือ nevirapine ถาเปนไปไดควร
เลือกใช efavirenz มากกวา nevirapine
ถาเริ่ม nevirapine ให dose ตามปกติทันที
ไมตองมี lead in 2 สัปดาห
ARV regimen for TB/HIV patients
Preferred NRTI
• Zidovudine (AZT) + lamivudine (3TC)
• Tenofovir (TDF) + lamivudine (3TC) or
  emtricitabine (FTC)
Preferred NNRTI
• efavirenz > nevirapine
  lead-in dose of nevirapine is not necessary
ระยะเวลาการรักษา TB ดวยสูตร
short course HRZE 2 เดือน ตาม
ดวย HR อีก 4 เดือน ในรายที่เชื้อไม
ดื้อยา อาจนานไมพอ ควรใหนาน 9
เดือน
6. ผูปวยเอดสแพยา Rifampicin
  มากกวาคนที่ไมติดเชื้อ HIV ทํา
   ใหการรักษายากขึน และนานขึ้น
                     ้
การแพยา Rifampicin
• คนไทยอายุมากและผูปวยที่มีโรคเอดสรวมดวย มีอัตราการ
  แพยา Rifampicin คอนขางสูง (รอยละ 18)
• คลื่นไส อาเจียน เบืออาหาร คันตามผิวหนัง มีผื่นหรือไมมี
                       ่
  ผื่นก็ได
• Jaundice จากตับอักเสบ
• Thrombocytopenic purpura และ acute hemolytic
  anemia พบไดนอย
• อาการแพมักเกิดขึนภายใน 1-2 สัปดาห
                     ้
7. เกิด TB-IRIS (Immune
    Reconstitution Inflammatory
    Syndrome) มากขึ้นเมื่อใชยา
    TB และ ARV รวมกันสูงถืง
    รอยละ 30
TB-IRIS (Immune Reconstitution
      Inflammatory Syndrome)
• Paradoxical IRIS : clinical deterioration of
  a previously treated TB
• Unmasking IRIS : active TB with
  heightened intensity of clinical
  menifestations unmasked by ART in a
  previously asymptomatic patient
Paradoxical TB-IRIS
• เกิดขึ้นกับผูติดเชื้อ HIV และ TB ซึงกําลังรับ
                                        ่
  การรักษาดวยยา TB แลวเริ่มยาตาน ARV
• อาการวัณโรคกําลังดีขึ้นเมื่อไดรับยารักษา
  TB แตอาการกลับแยลงหลังเริ่มยาตาน ARV
  มีไขขึ้น เหนื่อย ตอมน้ําเหลืองโตขึ้น มีอาการ
  ทางทอง หรือทาง CNS รวมกับ x-ray ที่แย
  ลง
• ผูปวยทานยา TB และ ARV ครบไมขาดยา
Unmasking TB-IRIS
• ผูติดเชื้อ HIV ที่ไมมอาการบงชี้วาเปน
                         ี
  TB, CXR ก็ปกติ หลังเริ่มยาตาน ARV
  มีอาการและ x-ray เขาไดกับ TB เกิดขึ้น
  อยางรุนแรงและรวดเร็ว
• TB เกิดขึ้นภายใน 3 เดือน หลังเริ่มยา
  ARV
Two Components of TB- IRIS

• Paradoxical TB IRS
  (Worsening of TB)
     TB                          ART          TB IRS
             Response to TB Rx


                                         Exclude other causes


• Incident TB IRS (Unmasking TB )
    ART                          TB


Exclude active TB          Incident TB IRS
Dx of Paradoxical TB-IRIS
1. Atypical or inflammatory clinical
   manifestations after ART initiation
2. Active antiretroviral therapy
   – HIV-viral load > 1 log10 copies/ml
   – increase in CD4 cell count
3. Clinical manifestations not explained by
   – TB relapse or resistance
   – non-adherence to treatment
   – drug side effect
   – new infection or other diagnosis
TB-IRIS prevention
• Initiate ART early before severe
  immunosuppression and TB
• Search systematically for TB and treat subacute TB
  before ART initiation
• Delay or defer ART according to CD4 cell count
• Initiate ART with steroid in patients at high risk of
  IRIS
ขอบงชีในการเริมยาตานไวรัสในผูติดเชื้อที่เปนวัณโรค
       ้       ่               
ระดับ CD4                       คําแนะนํา
(cells/mm3)
   <200 เมื่อผูปวยสามารถรับประทานยาตานวัณโรคไดดี
                   
             อยางนอย 2-8 สัปดาห จึงเริ่มยาตานไวรัส
 200 - 350 เริ่มยาตานไวรัส ประมาณ 2 เดือนหลังเริ่มยาตาน
             วัณโรค
   >350 ยังไมเริ่มยาตานไวรัส
             ใหติดตามอาการและตรวจระดับ CD4 ทุก 6 เดือน
การใหยาตานไวรัส เร็วเกินไป อาจมีความเสี่ยงตอการเกิด Immune
Reconstitution Inflammatory Syndrome (IRIS) มากขึ้น
8. ผูติดเชื้อ HIV และผูปวยเอดส
   มีโอกาสปวยเปนวัณโรคดื้อยา
   initial resistant to INH (12 VS
   10 ) และ MDR-TB ( 6 VS 3 )%
   มากกวาคนที่ไมติดเชื้อHIV
เชื้อวัณโรคดื้อยา MDR-TB
 และ XDR-TB พบไดบอย
 แคไหน ในประเทศไทย?
Incidence of MDR-TB in Thailand
                                                MDR-TB
ผูปวยวัณโรคใหม               90,252 ราย/ป   1,491 ราย/ป

ผูปวยเคยรักษา                  3,887 ราย/ป   1,342 ราย/ป

ผูปวยวัณโรคทั้งหมด            94,139 ราย/ป   2,834 ราย/ป

W.H.O. 4th Global Report,Feb 26, 2008
Prevalence of MDR-TB
         in Thailand
รายใหม + รายเกาสะสม ~ 8,500 ราย/ป
Incidence of XDR-TB
        in Thailand

ผูปวย XDR-TB ~140 ราย/ป
Prevalence of XDR-TB
         in Thailand
รายใหม + รายเกาสะสม ~ 420 ราย/ป
Outcome of MDR-TB treatment with
CAT2 (2HRZES/1HRZE/5HRE) regimen
                           Number of MDR-TB patients
Complete Rx                        4* (4.9)
Death                            13 (15.9)
Failure                          46 (56.1)
Default                            0 (0)
Total                           63
4* patients relapsed in 6 months
Ref: Sukkul A. Thai J Tuberc Chest Dis Crit Care 2008;29:103-113
การรักษา MDR-TB
•Kanamycin เปนยาฉีด 1 st choice

• หามใช Streptomycin เปน empirical
  treatment เพราะโอกาสดื้อ streptomycin
  สูงถึง รอยละ 60
สูตรยารักษา MDR-TB ควรประกอบดวย
1. Kanamycin
2. levofloxacin หรือ moxifloxacin
   หามใช ciprofloxacin
3. PAS หรือ ethionamide (บางรายอาจใหทั้ง 2 ขนาน)
4. Cycloserine
5. PZA
6. Ethambutol
ให empirical treatment ระหวางรอผล drug
susceptibility เมื่อทราบผลจึงคอยปรับ/เปลี่ยนยา
ระยะเวลาการรักษา MDR-TB
• ใหยาฉีดอยางนอย 6 เดือน หรืออยาง
  นอย 4 เดือน หลังจาก negative
  smear หรือ culture
• ใหยารักษา MDR-TB อยางนอย 18
  เดือน หลังจาก negative culture
9. ยังไมมียา TB ใหม ๆ
   และ vaccine สําหรับปองกัน
   วัณโรคในเวลาอันใกล
Clinical Development Pipeline-Phase I/III
Compound Development stage   Sponsor/coordinator
Moxifloxacin Phase IIl       Bayer ; CDC/TBTC;
                             John Hopkins U.;
                             TB Alliance; U. College
                             of London
TMC 207        Phase II      Tibotec
                             (Johnson&Johnson)
OPC-67683      Phase II      Otsuka Pharmaceutical
                                Co.,Ltd.
PA 824         Phase II      TB Alliance
LL-3858        Phase I       Lupin Ltd.
SQ-109         Phase I       Sequella Inc.
10. การทํา DOT โดยอาศัยคน
    ในครอบครัว ทําใหผลการ
    รักษาวัณโรคไมเปนทีพอใจ
                        ่
ผลการรักษาและบุคคลที่ทําหนาที่พี่เลียงดูแล
                                            ้
          ผูปวยวัณโรค (DOTS) จังหวัดตาก
            
                                พี่เลี้ยงดูแลกํากับการรักษาวัณโรค
          รักษาประสบ
  ป      ความสําเร็จ         จนท.          อสม.       สมาชิก     อื่น ๆ
                            สาธารณสุข                 ครอบครัว
2544            59%             38%          5%         52%           5%
2545            57%             16%          2%         77%           5%
2546            63%             6%           0%         87%           7%
กิตติพัทธ เอี่ยมรอด และปราณี อายจุม. การควบคุมวัณโรคตามแนวทางการ
รักษาวัณโรคแบบมีพี่เลี้ยง (DOTS) จังหวัดตาก ปงบประมาณ 2544-2546,
วารสารวัณโรค โรคทรวงอก และเวชบําบัดวิกฤต 2547: 193-198.
• DOT ในประเทศไทยสวนใหญทํา
  โดยคนในครอบครัว ซึ่งอาจจะทํา
  บางไมทําบาง ไมจริงจัง
• ฝรั่งวิจารณวา เปน Sloppy DOTS
  (DOT แบบเหยาะแหยะ หรือ
  หละหลวม)
ใน WHO Report 2006 : Global
      Tuberculosis Control
• ประเทศไทยไดทํา DOT ทั้งประเทศตั้งแต ค.ศ.
   2001
• ในแงความสําเร็จของ DOT (รักษาใหหายขาด
   มากกวา 85%) ผลการรักษาของประเทศไทยไม
   เปนที่พอใจ และไมมีทีทาจะดีขึ้น
  (Poor treatment outcomes showing no signs
 of improving)
ปญหาของประเทศไทย คือ ความ
ผิดพลาดประกาศทํา DOT ทั้งประเทศ
ตั้งแต ค.ศ. 2001 แตทําไดไมเปนที่พอใจ
แทนที่จะคอย ๆ ทําในพื้นที่เล็ก ๆ กอน
ใหไดผลดี แลวคอย ๆ ขยายออกไป
เหมือนประเทศเขมร ฟลปปนส และ
                          ิ
เวียดนาม
11.การปองกันผูติดเชื้อ HIV
   และผูปวยเอดส ไมใหปวย
   เปนวัณโรคยังทําไดไมดี
การปองกันผูติดเชื้อ HIV และผูปวยเอดส
            
         ไมใหปวยเปนวัณโรค
                
• เริ่มยา ARV เร็ว
• มีมาตรการควบคุมการแพรกระจายเชื้อวัณโรค
  ในสถานพยาบาล
• ให INH prevention therapy
Antiretroviral therapy reduces TB
  • Up to 90% at an individual
    level
  • 60% at a population level
  • 50% TB recurrence rates
Early initiation of ARV
   (CD4 >200 and <350) results in
• 75% reduction in the rate of death
• 50% decrease in the incidence of
  tuberculosis
Severe P, et al. Early versus standard antiretroviral therapy for
HIV-infected adults in Haiti. NEJM July 15, 2010.
ประเทศไทยยังไมมีระบบ
ปองกันการแพรกระจายเชื้อ
วัณโรคในสถานพยาบาลดี
เพียงพอ
ผลการศึกษาระบาดวิทยาโดยลายพิมพ DNA จาก
                 “ทุนวิจัยวัณโรคดื้อยา”
           ในพระอุปถัมภสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ
เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร
                       โดยวิธี
IS 6110-Southern blot hybridization
       และ Spoligotyping
ยืนยันวามีการแพรระบาดของเชื้อวัณโรคดื้อยาหลายขนาน
ในบางพื้นที่ของประเทศไทย
การศึกษาโดยการตรวจลายพิมพนิ้วมือ
IS 6110 และ spoligotyping พบมีการ
ระบาด (nosocomial transmission) ของ
เชื้อวัณโรคดื้อยา MDR-TB สายพันธ
Beijing ทีโรงพยาบาลมะการักษ
          ่
จ.กาญจนบุรี และชุมชนบริเวณนี้
Trend of multi-drug resistant TB
      in Makarak hospital 2002-2007
Year                                        2002-2006                   2007
No. of TB patients                          1254                        213
No. of positive AFB smear                    203                         145
  sputa tested for
  susceptibility
MDR (%)                                     81 (39.9)                   39 (26.89)
primary drug resistance                      3 (1.48)                   12 (8.27)
acquired drug resistance                    78 (38.42)                  27 (18.62)
                            Sukkul A. Thai J Tuberc Chest Dis Crit Care 2008;29:103-113
การควบคุมการแพรกระจายเชือวัณโรค
                           ้
         ในสถานพยาบาล - 1
1. ผูปวยวัณโรคใสหนากากอนามัยเวลาไอจาม
2. เก็บเสมหะในทีโลงแจง (outdoor) หรือในหอง
                   ่
   เก็บเสมหะที่มการปองกันอยางดี โดยติดตั้ง
                 ี
   hepafilter และพัดลมดูดอากาศ
3. ใน OPD และหองพักผูปวยตองมีอากาศถายเทได
   ดี โดยเปดหนาตางประตูทั้ง 2 ดาน เพื่อระบาย
   อากาศ (natural ventilation )
สถานพยาบาลกอสรางกอน ค.ศ.1950 ที่มีหนาตาง
ใหญทั้ง 2 ดาน และเพดานสูง พบวา เมือเปดประตู
                                       ่
หนาตางทั้ง 2 ดาน เกิดการระบายอากาศไดสูงถึง
40 air-changes/ช.ม. มากกวาหองที่ติดตังระบบ
                                         ้
negative pressure ventilation ซึ่งมีเพียง
17 air-changes/ช.ม. (P<0.001)
AR Escombe et al. Natural ventilation for the prevention of airborne
contagion. Plos February 2007.
การควบคุมการแพรกระจายเชือวัณโรค
                           ้
         ในสถานพยาบาล - 2
4. ถาเปนหองติดแอร ควรติดตั้งโคมไฟยูวี (upper air
   UV germicidal irridation)
5. ผูปวยอยูในหองแยกที่ติดตั้ง negative pressure
   ventilation (ถามี)
6. แพทย พยาบาล เจาหนาที่ ใกลชิดกับผูปวย ใส
   หนากาก N95
การทดลองที่สําคัญพิสูจนวา UVGI มีประสิทธิภาพ
  การติดตั้งโคมไฟ UV-C หอยจากเพดานหองผูปวย
  วัณโรค (UV-upper air irradiation) สามารถลดการ
  ติดเชื้อวัณโรคในหนูตะเภาจาก 35% เหลือ 9.5%
  (p < 0.0001) และลดการปวยเปนวัณโรคของหนู
  ตะเภาจาก 8.5% เหลือ 3.6% (P < 0.03) คือ
  ลดการติดเชื้อวัณโรคได 70% และลดการปวย
  เปนวัณโรคได 54%
Escombe AR, et al. Upper-room ultraviolet light and negative air ionization
to prevent tuberculosis transmission PLoS Medicine 2009;6:0312-0323
การลดเชื้อวัณโรคในอากาศ : ติดตั้งรังสียวี-C โดยหอย
                                       ู
โคมจากเพดาน หรือติดโคมกับผนังขางฝา (upper air
                  irradiation )
     หองตรวจคนไข
     บริเวณรอรับยา รอตรวจ
     หอง x-ray
     ER, ICU, หอง Lab
     หองทํา Bronchoscopy
     หองแยกสําหรับคนไข
องคการอนามัยโลกกําลังกดดัน
ประเทศที่กําลังพัฒนาใหทํา INH
Preventive Therapy กับ ผูติด
 เชือ HIV ที่ PPD บวกทุกคน
    ้
การให INH preventive therapy อาจ
สรางปญหา ทําใหเชือดื้อยา INH มากขึน
                    ้                  ้
เพราะเราไมไดสง AFB C/S เพือ่
exclude active TB
INH preventive therapy ไมใชเรื่องที่
สําคัญอันดับตน ๆ ที่ตองทําขณะนี้ใน
ประเทศไทย

Contenu connexe

Tendances

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nursetaem
 
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCAแบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCASuradet Sriangkoon
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศtumetr
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 
การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์และนรีเวชวิทยา
การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์และนรีเวชวิทยาการพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์และนรีเวชวิทยา
การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์และนรีเวชวิทยาChutchavarn Wongsaree
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักAiman Sadeeyamu
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
รู้ทันภัยไซเบอร์
รู้ทันภัยไซเบอร์รู้ทันภัยไซเบอร์
รู้ทันภัยไซเบอร์Saran Yuwanna
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การบริหารงานคุณภาพ Tqm
การบริหารงานคุณภาพ Tqmการบริหารงานคุณภาพ Tqm
การบริหารงานคุณภาพ TqmBoohsapun Thopkuntho
 
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaPart 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaKamol Khositrangsikun
 

Tendances (20)

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
 
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCAแบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
แบบบันทึกการวิเคราะห์ RCA
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
 
Drugs used in lactation
Drugs used in lactationDrugs used in lactation
Drugs used in lactation
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์และนรีเวชวิทยา
การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์และนรีเวชวิทยาการพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์และนรีเวชวิทยา
การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์และนรีเวชวิทยา
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
Introduction to nutrition
Introduction to nutritionIntroduction to nutrition
Introduction to nutrition
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
รู้ทันภัยไซเบอร์
รู้ทันภัยไซเบอร์รู้ทันภัยไซเบอร์
รู้ทันภัยไซเบอร์
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การบริหารงานคุณภาพ Tqm
การบริหารงานคุณภาพ Tqmการบริหารงานคุณภาพ Tqm
การบริหารงานคุณภาพ Tqm
 
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattayaPart 2 - PD guideline  Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
Part 2 - PD guideline Dialysis Weekend 9-11 feb 2018_pattaya
 

En vedette

รายงาน อ.วิยุทย์
รายงาน อ.วิยุทย์รายงาน อ.วิยุทย์
รายงาน อ.วิยุทย์viruntree
 
Tb@aids25 พค55
Tb@aids25 พค55Tb@aids25 พค55
Tb@aids25 พค55taskk
 
tia52010918560
tia52010918560tia52010918560
tia52010918560tungmsu
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีTanchanok Pps
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12tungmsu
 
ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.Pairot Sreerata
 
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์Ann Ann
 
Mycobacterium tuberculosis
Mycobacterium tuberculosisMycobacterium tuberculosis
Mycobacterium tuberculosisAnushi Jain
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationSirinoot Jantharangkul
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)Sambushi Kritsada
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Sirinoot Jantharangkul
 

En vedette (20)

Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
รายงาน อ.วิยุทย์
รายงาน อ.วิยุทย์รายงาน อ.วิยุทย์
รายงาน อ.วิยุทย์
 
Tb@aids25 พค55
Tb@aids25 พค55Tb@aids25 พค55
Tb@aids25 พค55
 
User manual tb_data_hub_r6_26 มีค 55
User manual tb_data_hub_r6_26 มีค 55User manual tb_data_hub_r6_26 มีค 55
User manual tb_data_hub_r6_26 มีค 55
 
TB Genotyping
TB GenotypingTB Genotyping
TB Genotyping
 
tia52010918560
tia52010918560tia52010918560
tia52010918560
 
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรีดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
ดูงานโรงพยาบาลราชบุรี
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12
 
ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.ส่งการบ้าน La.
ส่งการบ้าน La.
 
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
คู่มือประเมินคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
 
Mycobacterium tuberculosis
Mycobacterium tuberculosisMycobacterium tuberculosis
Mycobacterium tuberculosis
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
4.2 การปฏิบัติงานของภาควิชาและฝ่ายต่างๆ ภาควิชาจุลชีววิทยา
 
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
7.ภาควิชาปรสิตวิทยา
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
 
Present ward muk1
Present ward muk1Present ward muk1
Present ward muk1
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 

Similaire à Management of tb ppt

Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrAntimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrDel Del
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance SystemsUltraman Taro
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Patinya Yutchawit
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้techno UCH
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 14LIFEYES
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาUtai Sukviwatsirikul
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemictaem
 

Similaire à Management of tb ppt (20)

Hiv and obgyn resident
Hiv and obgyn residentHiv and obgyn resident
Hiv and obgyn resident
 
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdrAntimicrobial stewardship(asp)and mdr
Antimicrobial stewardship(asp)and mdr
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
Protec
ProtecProtec
Protec
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 

Plus de Loveis1able Khumpuangdee

Plus de Loveis1able Khumpuangdee (20)

Rollup01
Rollup01Rollup01
Rollup01
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet
FactsheetFactsheet
Factsheet
 
Eidnotebook54
Eidnotebook54Eidnotebook54
Eidnotebook54
 
Data l3 148
Data l3 148Data l3 148
Data l3 148
 
Data l3 147
Data l3 147Data l3 147
Data l3 147
 
Data l3 127
Data l3 127Data l3 127
Data l3 127
 
Data l3 126
Data l3 126Data l3 126
Data l3 126
 
Data l3 113
Data l3 113Data l3 113
Data l3 113
 
Data l3 112
Data l3 112Data l3 112
Data l3 112
 
Data l3 92
Data l3 92Data l3 92
Data l3 92
 
Data l3 89
Data l3 89Data l3 89
Data l3 89
 
Data l2 80
Data l2 80Data l2 80
Data l2 80
 
Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555
 
Hfm work2550
Hfm work2550Hfm work2550
Hfm work2550
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Publichealth
PublichealthPublichealth
Publichealth
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 

Management of tb ppt